The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดทำแผนที่ดิจิทัล (ปี 2559)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

การจัดทาํ แผนท่ดี ิจิทลั
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 

คาํ นํา

กรมท่ีดินมีภารกิจในด้านการให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
เพ่ือให้บุคคลมีความมั่นคงในการถือครองที่ดินและได้รับการบริการท่ีมีประสิทธิภาพ ในการให้บริการดังกล่าว
ต้องใช้ข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินและข้อมูลทะเบียนที่ดิน ซึ่งข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินส่วนใหญ่ถูกจัดเก็บ
ในรูปของกระดาษหรือเอกสารในแตล่ ะสาํ นกั งานทีด่ นิ ทั่วประเทศ ทําให้ข้อมูลท่ดี ินมีข้อจํากัดในการนาํ ไปใช้งาน

ศูนย์ข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินจึงได้จัดทําหนังสือการจัดทําแผนท่ีดิจิทัลเพ่ือให้เจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบและผู้ที่สนใจ สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทําข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
ไดค้ รบถ้วนเป็นปัจจุบัน และสามารถเรยี กค้นข้อมูลเพ่อื นําไปใชใ้ นการบริหารจัดการได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ศนู ยข์ อ้ มลู แผนท่ีรปู แปลงทดี่ นิ
สงิ หาคม ๒๕๕๙

การจดั ทาํ แผนท่ีดิจทิ ลั
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 

สารบัญ

เร่อื ง หนา้ ที่

บทที่ ๑ การจัดเตรยี มข้อมลู ระวางแผนทเี่ พือ่ การนําเขา้ ข้อมลู ๑-๑
๑. การจัดเตรยี มระวางแผนท่ีโดยการกราดภาพ (Scan) ๑–๕
๒. การจดั ทาํ สารบัญระวางแผนที่ดิจทิ ัล (Map Index) ๑–๗
๓. การปรบั แก้คา่ พิกัดภาพ Scan
๒-๑
บทที่ ๒ การนาํ เขา้ ขอ้ มลู รปู แปลงที่ดนิ โดยวิธีอา่ นคา่ พกิ ดั แผนท่ี (Digitize) ๒–๕
๑. การนาํ เข้าขอ้ มูลรูปแปลงทดี่ นิ จากระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก ยู ที เอม็ ๒ – ๑๓
๒. การอ่านคา่ พกิ ัด (Digitize) ๒ – ๑๕
๓. การนาํ เข้าข้อมลู ประจําแปลงที่ดินในตารางข้อมลู ทดี่ ิน ๒ – ๑๖
๔. การต่อรมิ ระวางแผนท่ี
๕. การนาํ เข้าข้อมูลรูปแปลงที่ดินจากระวางภาพถ่ายทางอากาศ น.ส.๓ ก ๓-๑
๓–๔
บทท่ี ๓ การตรวจสอบการนําเข้าข้อมูลรปู แปลงทด่ี นิ
๑. การตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลเชงิ พ้ืนท่ี
๒. การตรวจสอบความถกู ต้องของความสมั พันธเ์ ชงิ พ้ืนท่ี (Topology Relation)

การจัดทําแผนท่ีดิจทิ ลั
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา้ ท่ี

บทที่ ๑ การจดั เตรยี มข้อมลู ระวางแผนทเ่ี พ่ือการนาํ เขา้ ข้อมูล ๑-๑
ภาพท่ี ๑ - ๑ ตวั อยา่ งในการขีดฆา่ รปู แปลงเดิมออกดว้ ยหมึกสีแดง ๑-๒
ภาพที่ ๑ - ๒ แบบการตัง้ ชอื่ ไฟลภ์ าพ Scan ระวางแผนทรี่ ะบบพิกดั ฉาก ยู ที เอ็ม ๑-๓
ภาพที่ ๑ - ๓ แบบการตงั้ ชือ่ ไฟลภ์ าพ Scan ระวางภาพถา่ ยทางอากาศ น.ส.๓ ก ๑-๔
ภาพที่ ๑ - ๔ แบบการตั้งช่ือไฟลภ์ าพ Scan ระวางแผนทรี่ ะบบศูนยก์ าํ เนดิ ๑-๕
ภาพท่ี ๑ - ๕ แสดงบรเิ วณทมี่ ขี ้อมลู ระวางแผนที่ มาตราสว่ น ๑ : ๔,๐๐๐ ๑-๕
ภาพท่ี ๑ - ๖ แสดงบริเวณท่มี ีข้อมลู ระวางแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๒,๐๐๐ ๑-๖
ภาพที่ ๑ - ๗ แสดงบรเิ วณท่ีมีข้อมลู ระวางแผนที่ มาตราสว่ น ๑ : ๑,๐๐๐ ๑-๖
ภาพท่ี ๑ - ๘ การสร้างตัวเชื่อมโยง ๑-๗
ภาพที่ ๑ - ๙ ตัวอยา่ งแสดงการกําหนดตาํ แหนง่ จุดควบคมุ ค่าพิกดั ณ จดุ มุมระวางแผนท่ี ๑-๘
ภาพท่ี ๑ - ๑๐ ตัวอยา่ งระวางแผนที่ดิจทิ ลั
๒-๑
บทที่ ๒ การนาํ เขา้ ขอ้ มลู รปู แปลงที่ดนิ โดยวธิ ีอา่ นค่าพกิ ดั แผนท่ี (Digitize)
ภาพท่ี ๒ - ๑ ตัวอย่างสารบัญระวางแผนท ี่ ๒-๒
ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงการนาํ เขา้ ข้อมูลรปู แปลงที่ดิน ๒-๒
จากภาพระวางแผนทที่ ไ่ี ด้ทําการ Rectify แล้ว ๒-๓
ภาพที่ ๒ - ๓ แสดงการตรวจสอบภาพระวางแผนทก่ี ับภาพถา่ ยทางอากาศเชิงเลข  ๒-๕
ภาพท่ี ๒ - ๔ การสรา้ งจุดร่วมท่ีเป็นจุดตัดกันของเส้น (Point)  ๒-๖
ภาพที่ ๒ - ๕ ขน้ั ตอนการแปลงข้อมลู Template Shape file  ๒-๖
ภาพที่ ๒ - ๖ วิธีการเปิดช้ันขอ้ มูลท่เี ปน็ ภาพ  ๒-๗
ภาพท่ี ๒ - ๗ แสดงภาพระวางรปู แปลงทีด่ ินในแต่ละมาตราส่วน  ๒-๘
ภาพที่ ๒ - ๘ แสดงวธิ ีการกําหนดระยะ ๒-๙
ภาพที่ ๒ - ๙ เริ่มการนําเข้ารูปแปลงท่ีดิน ๒ - ๑๐
ภาพท่ี ๒ - ๑๐ เลือกรูปแบบการนําเข้ารปู แปลงท่ดี นิ ๒ - ๑๑
ภาพที่ ๒ - ๑๑ การนาํ เข้ารูปแปลงทดี่ ิน ๒ - ๑๒
ภาพที่ ๒ - ๑๒ การนาํ เข้ารปู แปลงทดี่ ิน ๒ - ๑๓
ภาพที่ ๒ - ๑๓ การเคลอื่ นยา้ ย Vertex ๒ - ๑๔
ภาพที่ ๒ - ๑๔ การเปิดตารางข้อมลู ทดี่ นิ
ภาพท่ี ๒ - ๑๕ การกรอกข้อมูลใน Field ตา่ งๆ ใหค้ รบโดยใช้ Field Calculator

การจดั ทําแผนท่ดี จิ ิทัล
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา้ ท่ี

ภาพท่ี ๒ - ๑๖ แสดงการเช่อื มโยงกันของรูปแปลงทด่ี นิ และตารางขอ้ มลู ทด่ี นิ ๒ - ๑๕
ภาพที่ ๒ - ๑๗ แสดงรอยตอ่ รมิ ระวางแผนที่ ๒ - ๑๕
ภาพท่ี ๒ - ๑๘ แสดงการปรบั รปู แปลงที่ดนิ น.ส.๓ ก ให้เขา้ กบั ชนั้ ขอ้ มลู รปู แปลงทดี่ นิ
๒ - ๑๖
ที่เป็นโฉนดทีด่ ิน

บทท่ี ๓ การตรวจสอบการนาํ เข้าข้อมลู รปู แปลงทดี่ นิ

ภาพที่ ๓ - ๑ แสดงข้อมลู แผนที่รปู แปลงดิจทิ ัลจากการนาํ เข้าขอ้ มลู ทุกระวาง ทุกมาตราส่วน

ทม่ี กี ารรวมเปน็ ผืนเดียวกนั ตรวจสอบกับสารบัญระวางแผนท่ดี จิ ิทัล  ๓ - ๑

ภาพที่ ๓ - ๒ แสดงการตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความครบถว้ นของตารางบนั ทึก

รายละเอยี ดขอ้ มูลประจําแปลงทด่ี นิ ๓-๒

ภาพท่ี ๓ - ๓ แสดงการตรวจสอบความถกู ตอ้ งเชิงตาํ แหน่งของขอ้ มูล Vector

กับระวางแผนทภ่ี าพถา่ ยทางอากาศเชิงเลข ๓-๒

ภาพที่ ๓ - ๔ แสดงการตรวจสอบเลขที่ดินใหค้ รบถว้ นตามบญั ชคี ุมหลกั ฐานการรงั วัด ๓ - ๓

ภาพที่ ๓ - ๕ แสดงช้นั ข้อมูลรปู แปลงที่ดินดจิ ทิ ลั ท่เี กดิ ความคลาดเคลอ่ื นในการนาํ เข้าข้อมลู ๓ - ๕

ภาพท่ี ๓ - ๖ แสดงชน้ั ขอ้ มลู รปู แปลงท่เี กิดความคลาดเคล่อื นเปรยี บเทยี บกบั ชนั้ ขอ้ มลู

รปู แปลงท่ดี ินในระวางแผนที่ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ๓-๖

การจดั ทําแผนทด่ี จิ ทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้าที่

บทท่ี ๒ การปรบั ปรงุ ข้อมลู ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ ัน (Update) ๒-๔
ตารางที่ ๒ – ๑ แสดงรายละเอียดการบันทกึ ขอ้ มลู ประจําแปลงทีด่ นิ ๒ - ๑๗
ตารางท่ี ๒ – ๒ แสดงรายละเอียดการบันทึกข้อมูลประจาํ แปลงท่ดี ินของ น.ส.๓ ก

 

 

การจัดทาํ แผนท่ีดิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๑
การจัดเตรยี มขอ้ มลู ระวางแผนท่ีเพือ่ การนาํ เขา้ ขอ้ มลู

๑. การจดั เตรียมระวางแผนที่โดยการกราดภาพ (Scan)
๑) สาํ รวจและจดั เตรียมขอ้ มูลระวางแผนทแี่ ละทะเบียนทดี่ ินในพ้ืนทีด่ าํ เนนิ การ
๒) รับระวางทุกประเภทจากสํานักงานท่ีดินในพื้นที่เป้าหมายมาซ่อมแซม เตรียมทําการกราดภาพ

(Scan) ระวางแผนท่ที กุ ระบบ รวมทงั้ ระวาง น.ส.๓ ก (ถ้ามี)
๓) ทําการกราดภาพระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ระวางแผนที่ระบบศูนย์กําเนิด

และระวาง น.ส.๓ ก (ถา้ มี) ครอบคลมุ พืน้ ท่ีสํานกั งานทด่ี นิ พนื้ ทีเ่ ปา้ หมาย ด้วยเคร่อื งกราดภาพ (Scanner)
และบันทกึ รูปแบบไฟลน์ ามสกลุ .TIF โดยกําหนดคา่ ความละเอยี ดในการกราดภาพทเ่ี หมาะสม ดังน้ี

• ภาพสี ความละเอียดของภาพ ๑๕๐ DPI
• ภาพขาว – ดาํ ความละเอยี ดของภาพ ๓๐๐ DPI
๔) เม่ือกราดภาพระวางแผนที่ (Scan) เป็นภาพดิจิทัลแล้ว ภาพท่ีได้จะต้องเห็นรายละเอียดของ
ข้อมูลรูปแปลงชัดเจน ถ้ามีการขีดฆ่ารูปแปลงเดิมออก และเขียนเลขแปลงที่ดินท่ีเกิดขึ้นใหม่ เจ้าหน้าที่จะ
ทาํ การลงข้อมลู ด้วยหมึกสแี ดง ดงั นนั้ ในการนําเข้าข้อมลู ควรทาํ การกราดภาพแบบภาพสี

ภาพท่ี ๑ – ๑ ตวั อยา่ งในการขดี ฆา่ รปู แปลงเดิมออกด้วยหมกึ สีแดง

๑-๑

การจดั ทําแผนท่ีดิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๕) การตั้งช่อื File ภาพ Scan จะแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ ระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก
ยู ที เอม็ ระวาง น.ส. ๓ ก และระวางแผนท่ีระบบศนู ย์กาํ เนดิ

การตงั้ ชื่อไฟล์ ระวางแผนทร่ี ะบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็

ชื่อระวางฯ มาตราสว่ น 1 : 50,000

เลขมาตราส่วน

เลขรหัส 20020000-51351-1466-00-4m m = ระวางแผนที่
สํานกั งานท่ดี ิน แปลงท่ีดิน

  p = ระวางแผนท่ี
รูปถ่ายทางอากาศ
ชื่อระวางฯ มาตราส่วน เลขแผ่น
v = ระวางแผน่ ทาบ
1 : 4,000
e = ระวางขยาย
หมายเหตุ ในกรณีท่ีชอื่ ระวางซาํ้ ใหเ้ พมิ่ “-1” หลัง เลขมาตราส่วน เชน่

20020000-51351-1466-00-4-1m 

ภาพที่ ๑ – ๒ แบบการต้งั ช่ือไฟล์ภาพ Scan ระวางแผนทร่ี ะบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม

จากภาพที่ ๑ – ๒ ในตัวเลข ๘ ตัวแรก คือ รหัสสํานกั งานทีด่ ิน เชน่ สํานักงานทด่ี นิ จังหวดั ชลบรุ ี
สาขาศรีราชา มีรหสั เป็น 20020000

ตามดว้ ย “-” และตัวเลข ๕ ตัว คือ ชื่อมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ตามด้วย “-” และตัวเลข ๔ ตัว
คือ ชือ่ มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐

ตามด้วย “-” และตัวเลข ๒ ตัว คือ เลขแผ่นในมาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ใช้เลขแผ่น 00
ในมาตราส่วน ๑ : ๒,๐๐๐ ใช้เลขแผ่น 1 ถึง 4 ในมาตราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ ใช้เลขแผ่น 1 ถึง 16 มาตราส่วน
๑ : ๕๐๐ ใชเ้ ลขแผน่ 1 ถงึ 64

ตามดว้ ย “-” และ ตวั เลข ๑ ตัว คือ เลขมาตราสว่ น
ในมาตราสว่ น ๑ : ๔,๐๐๐ แทนด้วยตวั เลข 4
๑ : ๒,๐๐๐ แทนด้วยตวั เลข 2
๑ : ๑,๐๐๐ แทนด้วยตัวเลข 1
๑ : ๕๐๐ แทนดว้ ยตัวเลข 5

และตามดว้ ยตัวอักษร ๑ ตวั คือ ประเภทของระวางแผนท่ี
m ใช้แทน ระวางแผนที่แปลงที่ดิน

๑-๒

การจัดทําแผนท่ดี จิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

p ใชแ้ ทน ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ
v ใช้แทน ระวางแผ่นทาบ (Overlay)
e ใชแ้ ทน ระวางขยาย

การตั้งช่ือไฟล์ ระวางภาพถา่ ยทางอากาศ น.ส. ๓ ก

เลขรหสั ชื่อระวางฯ มาตราสว่ น 1 : 50,000 เลขประเภท น.ส.๓ ก
สาํ นักงานทีด่ ิน
20020000-51351-025-3p p = ระวางภาพถ่าย
  ทางอากาศ
เลขแผ่น
v = ระวางแผน่ ทาบ
e = ระวางขยาย

หมายเหตุ ในกรณที ่ีชือ่ ระวางซาํ้ ใหเ้ พม่ิ “-1” หลงั เลข 3 เช่น

20020000-51351-025-3-1p 

ภาพที่ ๑ – ๓ แบบการตง้ั ช่ือไฟลภ์ าพ Scan ระวางภาพถ่ายทางอากาศ น.ส.๓ ก

ในตัวเลข ๘ ตัวแรก คือ รหัสสํานักงานท่ีดิน เช่น สํานักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาศรีราชา
มีรหัสเป็น 20020000

ตามด้วย “-” และตวั เลข ๕ ตวั คอื ชื่อมาตราสว่ น 1 : 50,000
ตามดว้ ย “-” และตัวเลข ๓ ตวั คือ เลขแผน่
ตามด้วย “-” และตวั เลข ๑ ตวั คอื เลข 3 เปน็ เลขประเภท น.ส.๓ ก
และตามด้วยตัวอักษร ๑ ตวั คือ ประเภทของระวางแผนท่ี

p ใชแ้ ทน ระวางภาพถ่ายทางอากาศ
v ใช้แทน ระวางแผน่ ทาบ (Overlay)
e ใช้แทน ระวางขยาย
ภาพทีผ่ ่านการ Rectify แลว้ จะตั้งช่อื ไฟลโ์ ดยเพม่ิ r หลังชอ่ื ภาพ เชน่

20020000-51351-025-00-3pr 

 

๑-๓

การจัดทําแผนทดี่ จิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การตงั้ ช่อื ไฟล์ ระวางแผนทีร่ ะบบศูนยก์ ําเนิด

ชื่อระวางฯ ศนู ย์กําเนิด เลขมาตราสว่ น

เลขรหัส 20020000-039S007W-00-4
สาํ นักงานท่ีดนิ

 

N = เหนอื (น) เลขแผ่น

S = ใต้ (ต)

E = ตะวนั ออก (อ)

W = ตะวนั ตก (ฏ)

หมายเหตุ ในกรณีที่ชื่อระวางซา้ํ ให้เพิ่ม “-1” หลัง เลขมาตราสว่ น เช่น

20020000-039S007W-00-4-1 

 

ภาพที่ ๑ – ๔ แบบการตง้ั ช่ือไฟลภ์ าพ Scan ระวางแผนท่ีระบบศูนย์กาํ เนดิ

ตัวเลข ๘ ตัวแรก คือ รหัสสํานักงานที่ดิน เช่น สํานักงานท่ีดินจังหวัดชลบุรี สาขาศรีราชา
มีรหัสเป็น 20020000

ตามด้วย “-” และตัวเลข ๓ ตัว คือ ชื่อระวางแผนท่รี ะบบศนู ย์กําเนิดในแนวเหนอื หรือ ใต้
ตามด้วย ตวั อักษร ๑ ตวั N ใช้แทน น หรือ S ใช้แทน ต
ตามด้วย ตวั เลข ๓ ตวั คอื ชอ่ื ระวางแผนทรี่ ะบบศูนย์กาํ เนิดในแนวตะวันออก หรือตะวันตก
ตามด้วย ตัวอักษร ๑ ตวั E ใช้แทน อ หรอื W ใชแ้ ทน ฏ
ตามด้วย “-” และตวั เลข ๒ ตัว คือ เลขแผน่
ตามดว้ ย “-” และตัวเลข ๑ ตัว คอื เลขมาตราส่วน
ภาพที่ผ่านการ Rectify แล้วจะตัง้ ชือ่ ไฟล์โดยเพ่มิ r หลังชือ่ ภาพ เชน่

20020000-039S007W-00-4-1r 

๑-๔

การจัดทําแผนที่ดจิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒. การจัดทําสารบัญระวางแผนท่ดี ิจิทลั (Map Index)
ในกระบวนการจัดทําสารบัญระวางแผนที่ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ได้แก่ การปรับแก้ค่าพิกัด (Rectify)

การนําเข้าข้อมูลรูปแปลงที่ดินโดยวิธีอ่านค่าพิกัดแผนที่ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (Digitize) และการตรวจสอบ
การนําเข้าข้อมูลจําเป็นต้องจัดทําสารบัญระวางแผนที่ดิจิทัล เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเชิงตําแหน่ง
ของข้อมูล และความครบถว้ นในการนําเข้าข้อมลู ระวางแผนที่

การจัดทําสารบัญระวางแผนที่ดิจิทัล (Map Index) เป็นการตรวจสอบความมีอยู่จริงของระวางแผนที่
ในสํานักงานท่ีดินอีกทางหน่ึง โดยนําบัญชีคุมระวางแผนที่ของสํานักงานที่ดินที่ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบ
ตารางข้อมูลมาเชื่อมโยงกับสารบัญระวางมาตราส่วนต่างๆ ที่ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบกราฟิก เพื่อให้ทราบว่า
มีระวางแผนที่แต่ละแผ่นอยู่ที่ใดบ้าง และนําไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนจัดการในการนําเข้าข้อมูล
รูปแปลงท่ดี ิน ตวั อยา่ งดังภาพท่ี ๑ – ๕ ถึงภาพที่ ๑ – ๗

ภาพท่ี ๑ – ๕ แสดงบริเวณทีม่ ขี ้อมลู ระวางแผนที่ มาตราสว่ น ๑ : ๔,๐๐๐

ภาพท่ี ๑ – ๖ แสดงบรเิ วณทม่ี ีข้อมูลระวางแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๒,๐๐๐

๑-๕

การจดั ทําแผนที่ดิจิทลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี ๑ – ๗ แสดงบริเวณที่มีขอ้ มลู ระวางแผนที่ มาตราสว่ น ๑ : ๑,๐๐๐

วธิ ีการสร้างสารบัญระวางแผนทใ่ี นแตล่ ะมาตราสว่ น มขี น้ั ตอนดงั นี้

๑) จัดทําบัญชีรายช่ือระวางแผนท่ี (Index ภาพ Scan) ที่ทําการ Scan ในตารางด้วยโปรแกรม

Microsoft office Excel เพือ่ ตรวจสอบไฟลภ์ าพ Scan

๒) นําเข้ารายชื่อระวางแผนที่ในโปรแกรม Excel โดยรูปแบบของการตั้งชื่อระวางแผนท่ี

ตามข้อ ๑) ดงั นี้ 20020000 – 51351 – 1466 – 00 - 4m

๓) นําไฟล์ข้อมูลบัญชีคุมระวางแผนที่ของสํานักงานที่ดินที่ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบตารางข้อมูล

Shape file มาเพิ่มช่องบันทึกข้อมูล (Field) เพิ่มขึ้นมา ๑ Field เพื่อใช้สําหรับการเช่ือมโยงข้อมูล (Link)

บัญชีรายช่ือระวางแผนที่กับสารบัญระวางแผนท่ี มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นท่ีจังหวัดท่ีดําเนินการ

โดยต้ังช่ือ Field ใหม่ให้สอดคล้อง เช่น ตั้งชื่อ Rlink เป็นต้น ในการเชื่อมโยงตารางข้อมูลสามารถจัดการได้

ในโปรแกรมจัดการขอ้ มลู ดา้ นแผนท่ี ๑.สูตรสรา้ งตวั เช่ือมโยง

๒.กดดับเบิ้ลคล๊ิก

ภาพท่ี ๑ – ๘ การสรา้ งตวั เชอ่ื มโยง

๑-๖

การจัดทําแผนทด่ี จิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๔) สําหรับการสร้างตารางข้อมูลระวางแผนที่มาตราส่วนอ่ืนให้เช่ือมโยงกับตําแหน่งของสารบัญ
ระวางแผนท่ี มีข้ันตอนการปฏิบัติที่เหมือนกับขั้นตอนในข้อ ๑) – ข้อ ๓) เพียงแต่เปล่ียนแปลงช่ือมาตราส่วน
ของสารบัญระวางแผนท่ี หรือหากใช้โปรแกรมด้านการจัดการข้อมูลแผนที่อื่นๆ จะมีแนวทางการจัดทําเหมือนกัน
เพียงแตต่ า่ งกนั ท่ีลักษณะของโปรแกรมเทา่ นนั้
๓. การปรับแกค้ ่าพิกดั ภาพ Scan

๑) ทําการตรึงค่าพิกัด (Registration) และปรับแก้ค่าพิกัดภาพ (Rectification) ด้วยโปรแกรม
สําหรับการ Rectify ภาพแผนที่โดยเฉพาะ โดยการกําหนดจุดควบคุมค่าพิกัด อย่างน้อย ๔ จุด บนมุมระวาง
ทั้ง ๔ ดา้ น ดงั ภาพตวั อย่าง

ภาพท่ี ๑ – ๙ ตัวอย่างแสดงการกําหนดตําแหน่งจุดควบคุมค่าพิกดั ณ จดุ มมุ ระวางแผนท่ี

๑-๗

การจัดทําแผนท่ีดิจิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒) ตรวจสอบความถูกตอ้ งเชิงตําแหน่งในการปรับแก้ค่าพิกัดภาพ Scan ให้เป็นค่าพิกัดภาพเชิงพ้ืนที่
(Raster) โดยเปรียบเทียบกับสารบัญระวางแผนที่ดิจิทัล (Map Index) พร้อมทั้งตรวจสอบการต้ังชื่อ
ภาพระวางแผนท่ดี ิจทิ ลั น้นั ให้ถกู ตอ้ งตามชอ่ื ในสารบญั ระวางแผนที่ ดังภาพ

ภาพท่ี ๑ – ๑๐ ตวั อยา่ งระวางแผนทีด่ จิ ิทัล
จากภาพที่ ๑ – ๑๐ แสดงถึงเมื่อมีการปรับแก้ค่าพิกัดภาพ Scan ระวางแผนที่รูปแปลงที่ดิน
มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ และทําการตรวจสอบโดยการเรียกค้นจากชื่อไฟล์ภาพท่ีปรับแก้แล้วมาซ้อนทับกับไฟล์ข้อมูล
สารบญั ระวางแผนที่ ด้วยโปรแกรมการจัดการข้อมูลแผนท่ีตําแหน่ง ชื่อไฟล์ภาพ และตําแหน่งค่าพิกัดของภาพ
จะถกู ต้องตรงกนั

๑-๘

การจดั ทาํ แผนทีด่ ิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๒
การนาํ เข้าขอ้ มลู รปู แปลงท่ีดินโดยวิธีอา่ นค่าพกิ ัดแผนท่ี (Digitize)

๑. การนําเขา้ ข้อมลู รปู แปลงทดี่ นิ จากระวางแผนที่ระบบพกิ ัดฉาก ยู ที เอ็ม
ในการนําเข้าข้อมูลรูปแปลงท่ีดินจะต้องนําเข้าให้ครบทุกระวาง รูปแปลงที่ดินทุกประเภทท่ีปรากฏ

ในระวาง ทุกมาตราส่วน และทุกแผ่น เนื่องจากในกรณีที่เป็นระวางแผนที่ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม การสร้าง
ระวางแผนที่มีการสร้างระวางเดียวกัน และมาตราส่วนเดียวกันหลายแผ่น หรือแม้กระทั่งในบริเวณพื้นที่เดียวกัน
มีการสร้างระวางแผนท่ีหลายมาตราส่วน จะต้องทําการวางแผนเพื่อกําหนดการนําเข้าข้อมูลให้ครบถ้วน
โดยกําหนดให้ทําการนําเข้าข้อมูลรูปแปลงที่ดินทุกแผ่น ตามบล็อคของสารบัญระวางแผนที่ท่ีได้จัดเตรียมไว้ก่อน
หน้านี้ ท้ังมาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ มาตราส่วน ๑ : ๒,๐๐๐ มาตราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ และมาตราส่วน ๑ : ๕๐๐
(ถ้ามี) ดังภาพที่ ๒ – ๑ ตัวอย่างแสดงให้เห็นถึงการใช้สัญลักษณ์ต่างกันในการใช้สารบัญระวางแผนท่ี
เป็นตัวกําหนด หรือเป็นตัวบ่งชี้ให้มีการนําเข้าข้อมูลระวางแผนท่ีครบทุกแผ่นในสํานักงานที่ดินพื้นที่เป้าหมาย
ตามภาพระวางรูปแปลงทีด่ ิน มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ระวาง 5135 II 1450 แสดงโดยใชส้ ญั ลักษณ์เส้นขอบ
สีนํ้าเงิน มีระวางรูปแปลงท่ีดิน มาตราส่วน ๑ : ๒,๐๐๐ จํานวน ๒ ระวาง แผ่นท่ี ๓ และแผ่นที่ ๔ แสดง
โดยใช้สัญลักษณ์เส้นขอบสีแดง และมีระวางรูปแปลงที่ดิน มาตราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ จํานวน ๙ ระวาง แผ่นท่ี ๑
แผ่นท่ี ๒ แผ่นที่ ๓ แผ่นท่ี ๕ แผ่นท่ี ๖ แผ่นท่ี ๗ แผ่นที่ ๙ แผ่นท่ี ๑๓ และแผ่นที่ ๑๔ แสดงโดยใช้
สญั ลกั ษณ์เสน้ ขอบสีเขยี ว

ภาพท่ี ๒ – ๑ ตวั อย่างสารบญั ระวางแผนท่ี
การนําเข้าข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินโดยวิธีอ่านค่าพิกัดแผนที่ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (Digitize)
ข้อมูลเปน็ รปู แบบ Vector มีคุณลกั ษณะเป็นแบบ Polygon (รูปปดิ ) มีหลกั ในการนําเข้าข้อมลู ที่สําคญั ดังนี้
นําเข้าข้อมูลรูปแปลงท่ีดินจากภาพระวางแผนท่ีท่ีได้ทําการ Rectify แล้ว ให้ครบทุกแปลงโดยยึด
ลวดลายทม่ี องเหน็ อยา่ งชดั เจนในแปลงท่ดี ินเปน็ หลัก ดงั ภาพที่ ๒ - ๒

๒-๑

การจัดทาํ แผนท่ดี ิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ ๒ – ๒ แสดงการนาํ เขา้ ขอ้ มลู รปู แปลงท่ดี ิน
จากภาพระวางแผนทีท่ ไี่ ด้ทําการ Rectify แลว้

ถ้าหากลวดลายบนภาพระวางแผนท่ีรูปแปลงที่ดินไม่ชัดเจน หรือมีการเขียนข้อมูลลวดลายบนแผนที่
คลาดเคล่ือน เช่น ไม่สามารถระบุได้ ให้ทําการตรวจสอบกับภาพระวางแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลขแล้ว
ค่อยทําการ Digitize ลวดลาย ดังภาพที่ ๒ – ๓ หากลวดลายบริเวณขอบระวางแผนท่ีรูปแปลงที่ดิน
ไม่ชัดเจน ให้ทําการตรวจสอบโดยเปิดภาพระวางแผนที่รูปแปลงที่ดินที่เป็นระวางติดต่อกันมาตรวจสอบ
ประกอบ

ภาพที่ ๒ – ๓ แสดงการตรวจสอบภาพระวางแผนท่กี ับภาพถา่ ยทางอากาศเชิงเลข

๒-๒

การจดั ทาํ แผนทีด่ จิ ิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ให้ทําการสร้าง Feature ท่ีเป็น Node เพื่อสร้างข้อมูลท่ีเป็นตัวแทนของข้อมูลเชิงพ้ืนที่ที่เป็น
Point โดยทาํ การบนั ทึกค่าพิกดั โดยการสร้างจดุ ร่วมระหวา่ งเส้น มิใชเ่ พยี งสรา้ งจดุ หักของเส้น (Vertex) เทา่ น้ัน

ใหส้ รา้ งจุดรว่ มท่ีเป็นจุดตดั กนั
ของเส้น (Point) โดยให้ยึดกลาง

หมดุ เปน็ หลัก จากภาพ
เปน็ การสร้างจดุ ไม่ตรง
กบั ตรงกลางของหมุด

ประจําแปลงท่ดี นิ
ทาํ ให้รูปแปลงที่ดนิ คลาดเคล่อื น

ภาพที่ ๒ – ๔ การสร้างจุดร่วมทีเ่ ป็นจุดตดั กันของเสน้ (Point)

นอกจากน้ัน สามารถตรวจสอบความถูกต้องของลวดลายรูปแปลงท่ีดินได้จากภาพโฉนดที่ดินท่ีได้
ทาํ การ Scan และบนั ทกึ เปน็ ไฟล์ดิจทิ ัลไวแ้ ล้ว

ทําการสร้าง Template Shape file เพ่ือบันทึกรายละเอียดข้อมูลประจําแปลงท่ีดิน โดยกําหนด
การสร้างตารางบันทึกข้อมูล ตามโครงสรา้ งท่สี ํานักเทคโนโลยสี ารสนเทศกาํ หนด ดังนี้

Field name Field Field Key Type Description Domain

Type Size

PARCEL_ID Int 11 Parcel_ID

PIN Char 13 รหัสประจาํ แปลงที่ดนิ

UTMMAP1 Char 4 หมายเลขระวางแผนที่

1:50,000

UTMMAP2 Int 1 หมายเลขแผ่นของระวาง 1-4

แผนที่ 1:50,000

 

 

๒-๓

การจดั ทําแผนทด่ี ิจทิ ลั

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Field name Field Field Key Type Description Domain

Type Size

UTMMAP3 Char 4 หมายเลขแผ่นของระวาง

แผนท่ี 1:4000

UTMMAP4 Char 2 หมายเลขแผ่นของระวาง 4000:00 , 2000:01-04

ตามมาตราสว่ น 1000:01-16 , 500:01-64

UTMSCALE Int 4 มาตราส่วนระวางแผนที่ 4000,2000,1000,500

UTMPARNO Int 6 เลขท่ีดิน

TYPENO Int 2 ประเภทแปลงทด่ี ิน 1:แปลงท่ดี นิ มโี ฉนด

2:ทางสาธารณประโยชน์

(ทางบก)

3:ทางสาธารณประโยชน์

(ทางนา้ํ )

4:แปลงทด่ี ินมี น.ส.ล.

5:แปลงทด่ี นิ มี น.ส.๓ก

6:แปลงทด่ี นิ มี น.ส.๓

7:แปลงทด่ี ินมี โฉนดตราจอง

8:แปลงทด่ี นิ มี ตราจองฯ

9:ทสี่ าธารณประโยชน์

10:ท.ค.

11:อ่ืนๆ

REMARK Char 100 รายละเอียดที่ต้องการ

ใสเ่ พมิ่ เตมิ

ตารางที่ ๒ – ๑ แสดงรายละเอียดการบนั ทกึ ขอ้ มูลประจาํ แปลงทด่ี ิน

๒-๔

การจดั ทาํ แผนทีด่ ิจิทลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒. การอ่านค่าพกิ ัด (Digitize)
การอ่านค่าพิกัด (Digitize) เริ่มด้วยการใช้ Template Shape file ที่สรา้ งไว้แล้ว Export เป็น

Shape file ตวั ใหม่ โดยตงั้ ช่อื ให้ตรงกบั ระวางรปู แปลงท่ีดินทีก่ าํ ลังนําเข้าอยู่ เชน่ d51352_1450.shp

๑. คลกิ ขวา

๓. คลกิ ซา้ ย

๒. เลอื ก

๕.ตง้ั ช่ือ ๖.คลิกซ้าย

๔.คลกิ ซา้ ย

ภาพท่ี ๒ – ๕ ข้นั ตอนการแปลงขอ้ มูล Template Shape file

๒-๕

การจดั ทาํ แผนท่ีดจิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เปิดภาพระวางรูปแปลงที่ดินขึ้นมาทั้งหมด เพ่ือดูความสอดคล้องกันของระวางรูปแปลงท่ีดินในแต่ละ

มาตราสว่ น

๑. กดปุ่มเพมิ่ ๒. เลือกทีเ่ กบ็ ข้อมูล
ชนั้ ข้อมูล

๔. กดปมุ่

๓. กด shift และเมาส์
ซา้ ยค้างไว้แล้วลากลง

ภาพท่ี ๒ – ๖ วธิ กี ารเปิดชั้นข้อมูลทีเ่ ปน็ ภาพ

ภาพที่ ๒ – ๗ แสดงภาพระวางรปู แปลงท่ีดนิ ในแตล่ ะมาตราส่วน

๒-๖

การจัดทาํ แผนท่ดี ิจทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ก่อนที่จะทําการอ่านพิกัด (Digitization) ให้กําหนดระยะ Snapping ก่อน เพื่อให้การอ่านพิกัด
(Digitization) งา่ ยขึน้ Vertex ท่ีอยูใ่ นระยะนี้ จะถูกดึงมาให้ติดกันโดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงควรมีการกําหนด
ระยะ Snapping

๑. เลอื กรูปแบบการ Snapping ๓. กําหนดระยะ

๒. เลือกเมนู

๔. กดปมุ่

ภาพท่ี ๒ – ๘ แสดงวธิ กี ารกําหนดระยะ
เลือกรูปแบบการ Snapping และกําหนดระยะ Snapping ตามความเหมาะสม โดยเลือกเมนู
Options และใสค่ า่ เพื่อกาํ หนดระยะ

๒-๗

การจดั ทาํ แผนท่ีดิจิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เร่ิมทําการนําเข้ารูปแปลงท่ีดิน โดยคลิกท่ีเมนู Editor แล้วเลือก Start Editing ก็จะสามารถแก้ไข
เพ่อื เติมขอ้ มูลรปู แปลงท่ดี นิ ได้

๑. เลอื กเมนู Start Editing

๒. เลอื กชัน้ ขอ้ มูล

๓. กดปุ่ม
ภาพท่ี ๒ – ๙ เรมิ่ การนําเขา้ รูปแปลงที่ดิน

๒-๘

การจดั ทาํ แผนทด่ี ิจิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

นาํ เขา้ รูปแปลงทีด่ นิ โดยเรมิ่ จากการสร้างรูปปดิ (Polygon) แรกขึน้ มา โดยเลือกปุ่มเพ่ิมรูปปิดแล้ว
Digitize โดยสร้างรูปปิดให้ครอบคลุมทั้งระวาง ในการทําวิธีนี้ทําให้ไม่ต้องนําเข้าทางสาธารณประโยชน์
และทางนา้ํ สาธารณประโยชน์ ชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลาการนําเข้ารปู แปลงท่ดี ิน

๒. คลิกเมาสซ์ า้ ย

๓. คลกิ เมาส์ซา้ ย

๑. คลกิ เลอื กปมุ่ เพิ่มรูปปิด

๔. คลิกเมาส์ซา้ ย

๕. ดบั เบลิ้ คลกิ เมาส์ซา้ ย
ภาพที่ ๒ – ๑๐ เลือกรูปแบบการนาํ เขา้ รูปแปลงท่ดี ิน

หมายเหตุ ในกรณีที่นําเข้าข้อมูลรูปแปลงท่ีดินหลายมาตราส่วน แนะนําให้นําเข้ามาตราส่วนใหญ่ก่อน
เพราะมีความถูกต้องมากกว่า เช่น ควรนําเข้า มาตราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ ก่อน มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ หรือใช้
ภาพถา่ ยทางอากาศ โดยนาํ เข้ามาตราส่วนทส่ี อดคล้องกบั ภาพถ่ายทางอากาศมากกว่าก่อน

๒-๙

การจดั ทําแผนทด่ี ิจิทลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จากนั้นขยายไปยังบริเวณท่ีต้องการนําเข้ารูปแปลงท่ีดิน เลือกปุ่ม แล้วคลิกเมาส์ซ้ายจากหมุด
แปลงที่ดินหมุดหนึ่งไปถึงหมุดแปลงที่ดินหมุดถัดไป จนถึงหมุดแปลงที่ดินสุดท้ายให้ดับเบิ้ลคลิกเมาส์ซ้าย
โดยมีหลักวา่ ให้ Digitize ๑ จุด ต่อ ๑ หมุด

๑. คลกิ เลอื กปมุ่ ตัดรปู ปดิ

๓. คลิกเมาส์ซา้ ย

๒. คลิกเมาส์ซา้ ย

๕. ดับเบิล้ คลกิ เมาส์ซา้ ย

๔. คลิกเมาสซ์ า้ ย
ภาพท่ี ๒ – ๑๑ การนาํ เขา้ รปู แปลงทด่ี ิน

๒ - ๑๐

การจดั ทาํ แผนท่ีดจิ ทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

นาํ เขา้ ข้อมลู รูปแปลงโดยใชด้ ้านของรปู แปลงทด่ี ินเดิม

๑. คลิกเมาสซ์ า้ ย

๓. ดบั เบลิ้ คลกิ เมาสซ์ ้าย

๒. คลกิ เมาสซ์ า้ ย

ภาพท่ี ๒ – ๑๒ การนําเขา้ รูปแปลงทีด่ ิน

การใช้ Snapping น้ี จะช่วยลดความผิดพลาดในการนําเข้าข้อมูลได้มาก ไม่ว่าจะเป็นการเกิดช่องว่าง
(Gap) ระหว่างแปลงที่ดิน หรือการซ้อนทับกันระหว่างแปลงท่ีดิน (Overlap) เพราะ Vertex จะถูกดึงมาชิดกัน
สนิทโดยอัตโนมัติ ถ้าจุดอย่ใู นภายในวงกลมระยะ Snapping

๒ - ๑๑

การจัดทําแผนทีด่ จิ ทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หากตอ้ งการแกไ้ ข Vertex สามารถเคล่ือนยา้ ย Vertex ไดโ้ ดยคลิกเมาสซ์ า้ ย ทป่ี ่มุ แลว้
ย้าย Vertex ดงั แสดงตัวอย่างในภาพท่ี ๒ – ๑๓

๑. คลิกเมาส์ซา้ ย

๒. ดับเบล้ิ คลกิ เมาสซ์ ้าย

๓. เคลอื่ นยา้ ย Vertex

ภาพท่ี ๒ – ๑๓ การเคลอ่ื นย้าย Vertex

ในบริเวณท่ไี ม่สามารถตัดสนิ ใจไดว้ า่ จะนาํ เข้ารูปแปลงทดี่ ินอยา่ งไร ให้นาํ ระวางแผนทภี่ าพถ่ายออร์โทสี
เชงิ เลข มาตราสว่ น ๑ : ๔,๐๐๐ มาประกอบเพอื่ ช่วยในการตดั สินใจ

๒ - ๑๒

การจดั ทําแผนท่ีดิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓. การนําเขา้ ขอ้ มลู ประจาํ แปลงที่ดนิ ในตารางขอ้ มลู ท่ดี นิ

นําข้อมูลประจําแปลงที่ดินกรอกลงในตาราง โดยคลิกเมาส์ขวาท่ีช้ันข้อมูล และเลือกเมนู Open

Attribute Table เพื่อเปดิ ตาราง

๑.คลิกขวา

๒.เลือกเมนู

ภาพท่ี ๒ – ๑๔ การเปิดตารางขอ้ มลู ทด่ี นิ

นําเข้าข้อมูลช่ือแผนที่โดยป้อนช่ือลงในตาราง เนื่องจากเวลานําเข้าข้อมูลจะนําเข้าทีละระวาง ข้อมูล

ชือ่ ระวางจึงเหมือนกันทุกๆ แปลง ในการป้อนข้อมูลลงตารางในแต่ละรายการนั้น มีบางรายการที่มีข้อมูลเหมือนกัน

เชน่ ชอ่ื ระวาง จงึ สามารถใชฟ้ งั กช์ นั ป้อนข้อมูลท้ังหมดไดใ้ นครัง้ เดียว โดยมวี ธิ ีการดังนี้

ในตารางข้อมูลถ้ามีการเลือกข้อมูลอยู่ ให้กดปุ่ม เพื่อให้มีการเลือกข้อมูลทั้งหมดในตาราง

เนื่องจากหากใชฟ้ ังกช์ นั ในการทาํ งานต่างๆ จะทาํ เฉพาะข้อมลู ท่ถี กู เลอื กเทา่ น้นั

เลือก Field ที่ต้องการกรอกข้อมูลในท่ีน้ี คือ Field UTMMAP1 ซ่ึงเป็นชื่อตาราง จากนั้น เลือก

Field Calculator เพ่ือกรอกข้อมลู ในตาราง

๒ - ๑๓

การจัดทาํ แผนที่ดิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. คลกิ เลอื ก Field
๒. เลือก

๓.กรอกข้อมลู

ภาพท่ี ๒ – ๑๕ การกรอกขอ้ มูลใน Field ต่างๆ ใหค้ รบโดยใช้ Field Calculator

๒ - ๑๔

การจัดทําแผนทีด่ จิ ิทลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ในการบันทึกรายละเอียดข้อมูลประจําแปลงท่ีดินจะต้องตรวจสอบกับรูปแผนที่เสมอเพื่อป้องกัน
การผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล ซ่ึงโดยปกติแล้วการนําเข้าข้อมูลระวางแผนท่ีโดยวิธีอ่านค่าพิกัดแผนท่ีให้อยู่ใน
รปู แบบดจิ ทิ ัล (Digitize) โปรแกรมจะกําหนดให้มีการบันทึกรายละเอียดข้อมูลประจําแปลงทุกครั้ง เนื่องจาก
มกี ารเชื่อมโยงกันระหวา่ งขอ้ มูลรูปแปลงทด่ี นิ และตารางขอ้ มลู ทีด่ ิน การเปลีย่ นแปลงขอ้ มูลจึงมผี ลท้ังรูปแผนท่ี
แปลงท่ดี ิน และรายละเอยี ดข้อมลู แปลงทด่ี นิ ในตารางข้อมลู ดังภาพ

ตารางขอ้ มลู

รูปแปลงทดี่ ิน

ภาพท่ี ๒ – ๑๖ แสดงการเช่ือมโยงกันของรูปแปลงทดี่ นิ และตารางข้อมลู ท่ีดนิ
๔. การต่อริมระวางแผนที่

การตอ่ ริมระวางแผนท่รี ูปแปลงที่ดนิ ให้เป็นผืนเดียวกัน ทําได้โดยลบขอบริมระวางแผนท่ีแล้วต่อเส้น
รปู แปลงท่ีดนิ ใหเ้ ปน็ แปลงเดียวกนั ดงั ภาพ

แนวรอยต่อรมิ ระวางท่ตี อ้ งแกไ้ ข

ภาพท่ี ๒ – ๑๗ แสดงรอยต่อรมิ ระวางแผนท่ี

๒ - ๑๕

การจัดทําแผนทีด่ ิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๕. การนาํ เข้าข้อมูลรูปแปลงที่ดินจากระวางภาพถ่ายทางอากาศ น.ส.๓ ก
ในการนําเข้ารูปแปลงที่ดินจากระวางภาพถ่ายทางอากาศ น.ส.๓ ก ให้จัดทําเป็นอีกช้ันข้อมูล โดยให้

ปรับรูปแปลงท่ีดิน น.ส.๓ ก ให้เข้ากับชั้นข้อมูลรูปแปลงที่ดินท่ีเป็นโฉนดท่ีดิน โดยไม่ต้องนําเข้าทาง
สาธารณประโยชน์ นาํ เขา้ เฉพาะรูปแปลงท่ีดนิ น.ส.๓ ก ทย่ี ังไมไ่ ดอ้ อกเปน็ โฉนดท่ีดินเทา่ นัน้

แผนที่ระบบพกิ ัดฉาก ยู ที เอม็ แผนท่รี ูปแปลงท่ีดิน น.ส.๓ ก

ภาพที่ ๒ – ๑๘ แสดงการปรบั รูปแปลงท่ีดิน น.ส.๓ ก ใหเ้ ขา้ กับชั้นข้อมูลรูปแปลงทด่ี ินทเ่ี ปน็ โฉนดทด่ี ิน
สามารถตรวจสอบได้ว่ารูปแปลงที่ดินท่ีนําเข้านี้ใช่หรือไม่ โดยดูจากเลขท่ีดินในระวางแผนที่รูปแปลงที่ดิน

น.ส.๓ ก และเลขท่ี น.ส.๓ ก ในระวางแผนที่ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ กบั ข้อมลู ในทะเบียนวา่ ตรงกันหรือไม่ 

๒ - ๑๖

การจดั ทาํ แผนท่ีดจิ ทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ทําการสร้างตารางข้อมูลเพ่ือบันทึกรายละเอียดข้อมูลประจําแปลงท่ีดิน โดยกําหนดการสร้างตาราง
บันทึกข้อมูล ตามโครงสรา้ งทกี่ ําหนด ดงั น้ี

Field name Field Field Key Description Domain
Type
PARCEL_ID Int Size Type 1-4
PIN Char
UTMMAP1 Char 11 Parcel_ID 1:แปลงท่ดี นิ มี
UTMMAP2 Int น.ส.๓ ก
NS3SHEET Int 13 รหัสประจาํ แปลงทีด่ นิ 2:แปลงทดี่ ินมี
NS3K_ID Int น.ส.ล.
NS3K_NO Char 4 หมายเลขระวางแผนท่ี 1:50,000
TYPENO Int
1 หมายเลขแผน่ ของระวางแผนท่ี 1:50,000

3 หมายเลขแผน่ ของระวาง น.ส.๓ ก

4 เลขที่ดินของ น.ส.๓ ก

6 เลขที่ น.ส.๓ก

2 ประเภทแปลงทด่ี นิ

TBDOL_CODE Char 6 รหัสตําบลของกรมทีด่ ิน
REMARK Char 100 รายละเอยี ดท่ตี ้องการใส่เพมิ่ เตมิ

ตารางท่ี ๒ – ๒ แสดงรายละเอยี ดการบนั ทกึ ขอ้ มูลประจาํ แปลงท่ีดนิ ของ น.ส.๓ ก

๒ - ๑๗

การจดั ทําแผนที่ดิจิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๓
การตรวจสอบการนําเขา้ ขอ้ มูลรูปแปลงทดี่ ิน

๑. การตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู เชงิ พนื้ ที่
ตรวจสอบความครบถ้วนของลวดลายรปู แปลงท่ีดินดิจทิ ลั (Vector) กับชน้ั ข้อมูลแผนท่ีเชิงภาพที่เป็น

รูปแปลงท่ีดินในระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พร้อมท้ังตรวจสอบความถูกต้องเชิงตําแหน่งกับช้ันข้อมูล
แผนที่เชิงภาพท้ังที่เป็นระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศสีเชิงเลข และระวางแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศขาวดํา
เชิงเลข ดงั นี้

๑) ตรวจสอบความครบถ้วนในการนําเข้าข้อมูลรูปแปลงที่ดินให้ครบถ้วนทุกระวางท่ีมีอยู่จริง
ในสํานกั งานทด่ี ิน โดยตรวจสอบกบั สารบัญระวางแผนทีด่ จิ ทิ ลั ท่ีไดจ้ ัดเตรยี มไว้ในขั้นตอนการจัดเตรียมข้อมูลแล้ว
ดังภาพ

ภาพท่ี ๓ – ๑ แสดงขอ้ มลู แผนท่รี ปู แปลงดิจิทัลจากการนาํ เขา้ ขอ้ มูลทกุ ระวาง ทกุ มาตราส่วน
ทมี่ ีการรวมเปน็ ผนื เดียวกัน ตรวจสอบกับสารบญั ระวางแผนทีด่ จิ ทิ ลั

๓-๑

 

การจัดทําแผนท่ีดจิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒) ตรวจสอบลวดลายข้อมูลรูปแปลงที่ดินที่ได้นําเข้าเป็นข้อมูลดิจิทัล (Vector) แล้วให้เป็นไป
ตามลวดลายที่ปรากฏในระวาง และตรวจสอบความครบถ้วนในการนําเข้าข้อมูลแปลงที่ดินตามจํานวน
ภาพ Scan โฉนดทด่ี ิน และ น.ส.๓ ก พรอ้ มทัง้ ตรวจสอบความครบถ้วนของจํานวนแปลงที่ดิน ตามที่ปรากฏ
ในระวาง โดยตรวจสอบกับภาพระวางแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินของสํานักงานที่ดินที่ทําการ Rectify แล้ว กรณีท่ีมี
การเชื่อมโยงฐานข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินกับฐานข้อมูลทะเบียนที่ดินท่ีได้รับการตรวจทานแล้วนั้น
ให้ตรวจสอบการลงระวางแผนที่รูปแปลงทด่ี ินใหค้ รบถ้วนตามทีป่ รากฏในฐานข้อมูลทะเบียนที่ดินด้วย

ภาพท่ี ๓ – ๒ แสดงการตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความครบถว้ นของตารางบันทึกรายละเอียด
ขอ้ มลู ประจําแปลงท่ดี นิ

ภาพที่ ๓ – ๓ แสดงการตรวจสอบความถูกต้องเชิงตําแหน่งของข้อมูล Vector
กับระวางแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลข

๓-๒

 

การจัดทาํ แผนทด่ี ิจทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓) เชื่อมโยงฐานข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงที่ดิน และฐานข้อมูลทะเบียนท่ีดินที่ได้รับการตรวจทาน
ความครบถ้วนถูกต้องของฐานข้อมูล สําหรับอ้างอิงในการตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของรูปแปลงที่ดิน
ตามจํานวนเอกสารสิทธิที่มีอยู่จริงในสํานักงานท่ีดิน ทั้งนี้ ให้ตรวจสอบเลขที่ดินให้ครบถ้วนตามบัญชี
คมุ หลกั ฐานการรังวัด ดังภาพ

ภาพที่ ๓ – ๔ แสดงการตรวจสอบเลขที่ดนิ ให้ครบถว้ นตามบญั ชคี มุ หลกั ฐานการรังวัด
เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่ารูปแปลงท่ีดินไม่ครบถ้วน และไม่ปรากฏรูปแผนที่ในระวางให้ทําการค้นหา
รูปแปลงทด่ี ิน จากระวางขยายรูปแผนทเ่ี พื่อนาํ มาดาํ เนินการตามกระบวนการนําเข้าขอ้ มลู ใหค้ รบถ้วนตอ่ ไป
หลังจากที่ได้ทําการตรวจสอบความถูกต้อง และความครบถ้วนของลวดลายรูปแปลงที่ดินแล้ว
ในด้านข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) ซ่ึงเป็นข้อมูลรูปแปลงดิจิทัล จะต้องการตรวจสอบความถูกต้องของ
ความสมั พนั ธเ์ ชิงพ้นื ที่ (Topology Relation) ของแปลงท่ดี ินดว้ ยเช่นกัน

๓-๓

 

การจัดทําแผนทด่ี จิ ทิ ลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒. การตรวจสอบความถูกต้องของความสมั พันธเ์ ชงิ พน้ื ท่ี (Topology Relation)
๑) การตรวจสอบความคลาดเคล่อื น
หลักในการตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงพื้นท่ีสําหรับข้อมูลแผนที่ดิจิทัล ข้อมูลเป็นรูปแบบ

Vector มคี ุณลกั ษณะ (Feature) ความสมั พันธเ์ ชิงพน้ื ท่ี ประกอบไปด้วย ๓ รปู แบบ ดังน้ี
• Point คณุ ลกั ษณะข้อมูลแผนทที่ เ่ี ป็นจดุ ทบ่ี อกถงึ ตาํ แหนง่ เฉพาะ
• Line คณุ ลกั ษณะข้อมูลแผนทีท่ เี่ ปน็ เสน้ ทีต่ ่อเนื่องกนั ได้
• Polygon คุณลักษณะข้อมูลแผนท่ี ทเ่ี ป็นรูปปดิ
ในการตรวจสอบความสมั พันธเ์ ชิงพื้นที่ของขอ้ มลู รูปแปลงทด่ี นิ ทเ่ี ปน็ Vector ต้องตรวจสอบให้ครบ

ทั้ง ๓ องค์ประกอบ โดยกําหนดกฎในการตรวจสอบความคลาดเคลื่อนของความสัมพันธ์เชิงพื้นท่ี
(Topology) ครอบคลมุ ทัง้ ๓ คุณลักษณะ ดังนี้

• Area Errors รปู Polygon คลาดเคล่อื น
• Line Errors รปู เสน้ ไม่ต่อเนื่อง
• Point Errors เปน็ การคลาดเคลือ่ นของการสร้างจดุ
ก่อนท่ีจะทําการตรวจสอบความถูกต้องของความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Topology Relation)
ของรูปแปลงที่ดินดิจิทัล ซึ่งเป็นข้อมูลแบบ Vector นั้นจะต้องทําการสร้าง Topology เพื่อตรวจสอบ
ความสัมพันธ์เชงิ พื้นทที่ ี่คลาดเคล่อื น ในการตรวจสอบความสมั พนั ธเ์ ชิงพ้นื ที่ กรณที ีใ่ ช้โปรแกรม ArcGIS
การกําหนดกฎในการตรวจสอบความถูกต้องของความสัมพันธ์เชิงพ้ืนที่ สามารถจัดการด้วย
โปรแกรมเฉพาะด้านการจัดการข้อมูลแผนที่ หรือเป็นโปรแกรมด้านภูมิสารสนเทศที่เป็นระดับ Advance
จะมีฟังก์ชั่นนี้สําหรับจัดการตรวจสอบข้อมูล และรายงานผลที่กําหนดไว้เป็นข้อมูลภาพเชิงพ้ืนท่ี (Graphic)
หรือเรียกได้เป็นชั้นข้อมูล (Layer) ที่ถูกบันทึกเป็นอีก ๑ ชั้นข้อมูล เพื่อรายงานผลให้ผู้ใช้งานโปรแกรม
(User) ทราบ แยกตา่ งหากจากชน้ั ขอ้ มูลแผนท่ีรูปแปลงทีด่ นิ ต้นฉบับ ถ้าหากพบความคลาดเคลื่อนโปรแกรม
จดั การขอ้ มูลแผนทีโ่ ดยเฉพาะทวั่ ไปจะรายงานผล ปรากฏดงั ภาพ

๓-๔

 

การจัดทําแผนทดี่ ิจทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Errors Topology

ภาพที่ ๓ – ๕ แสดงชนั้ ขอ้ มูลรูปแปลงทด่ี นิ ดิจิทัลท่เี กิดความคลาดเคลอ่ื นในการนาํ เข้าข้อมูล
เมื่อโปรแกรมรายงานผลความคลาดเคล่ือนแล้ว ผู้ดูแลข้อมูล หรือเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบข้อมูลจะต้องทํา
การแก้ไขข้อมูลเพื่อขจัดความคลาดเคลื่อนโดยแก้ไข Errors ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเชิงพื้นที่
และเมือ่ นําข้อมูลจัดเกบ็ ลงสูฐ่ านขอ้ มูลแลว้ มีประสิทธิภาพในการนํามาใช้งานการบริการประชาชนในสํานักงาน
ท่ีดนิ
๒) การแกไ้ ขข้อมลู รูปแปลงทด่ี นิ ดิจทิ ัลเพอื่ ขจัดความคลาดเคลอ่ื น

มีแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
๑. เปิดรูปชั้นข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงที่ดินดิจิทัลที่ได้นําเข้าและตรวจสอบความถูกต้องเชิงตําแหน่ง
ข้นึ มาดว้ ยโปรแกรมเฉพาะดา้ นการจดั การขอ้ มูลแผนท่ี เพ่อื เรยี กขอ้ มลู ข้นึ มาแกไ้ ข
๒. เปดิ ช้นั ขอ้ มูลทีร่ ายงานผลความคลาดเคล่ือนขนึ้ มาซอ้ นทบั ดังภาพ

๓-๕

 

การจดั ทาํ แผนทดี่ จิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี ๓ – ๖ แสดงช้ันข้อมูลรปู แปลงท่เี กดิ ความคลาดเคลื่อนเปรียบเทยี บกบั ช้นั ขอ้ มลู รปู แปลงทดี่ นิ
ในระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ัดฉาก ยู ที เอม็

ในการนําเข้ากําหนดให้เป็นแบบ Polygon (ท่ีเป็นรูปปิด) จึงมีความคลาดเคล่ือนเป็นแบบ Area
Errors

• รูป Polygon ซ้อนทับกันมากกว่า ๑ รูป หมายความว่า มีการนําเข้าข้อมูลแปลงท่ีดิน
ในตาํ แหนง่ เดียวกันน้ไี ว้ ๒ รูป (Object) และในตารางขอ้ มลู มกี ารบันทกึ รูปแปลงท่ีดินถูกบันทึกไว้ ๒ แถว
(Record) จะต้องแก้ไขด้วยการลบท้ิง ๑ Record หรือใช้วิธีรวม Object ให้เหลือเพียง ๑ Object ได้
เชน่ เดียวกนั

• เกิดจากช่องว่างเส้นไม่ต่อเน่ือง ถูกตัด หรือมีการซ้อนทับของเส้นทําให้เกิด Area Errors
คอื มีรูป Polygon มากกว่า ๒ Object (Overlap) หรือมีเส้นท่ีต้องใช้ด้านร่วมกันระหว่างแปลงที่ดิน ๒ แปลง
แต่รูปแผนที่มีช่องว่าง (Gap) เกิดขึ้น เนื่องจากไม่เป็นเส้นเดียวกัน ทําให้ไม่สามารถสร้าง Topology
ท่ีต่อเนือ่ งกันได้ ต้องแก้ไขโดยการแก้รปู เส้นท่ใี ช้ดา้ นร่วมกันให้เป็นเสน้ เดียวกัน

• Point Errors เป็นการคลาดเคลื่อนของการสร้างจุดท่ีเป็นตัวแทนของตําแหน่งที่ต้ังของ
วัตถุในภูมิประเทศจริง เช่น ตําแหน่งของอาคารบนรูปแปลงที่ดิน หากมีการนําเข้าข้อมูลในลักษณะดังกล่าว
ความคลาดเคล่อื นทพ่ี บโดยทวั่ ไป จะมีการบันทึกตําแหน่งของวัตถุซ้อนทับกันในจุดเดียวกัน การแก้ไขโดยลบ
จุดที่เปน็ ตําแหนง่ พกิ ัดเดยี วกันให้เหลือเพียงจุดเดยี ว

• เม่ือทําการแก้ไขข้อมูลจนถูกต้องท่ีสุดแล้วก็จัดเก็บบันทึกเป็นฐานข้อมูลสําหรับนํามาใช้
งานต่อไป หรอื อาจดาํ เนินการส่งใหส้ าํ นกั งานที่ดินตรวจสอบข้อมูลกับพน้ื ที่จรงิ อกี คร้ัง

๓-๖

 

การจดั ทาํ แผนท่ดี จิ ิทัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เมื่อทําการตรวจข้อมูลรูปแปลงที่ดินในพ้ืนที่จริงแล้ว หากมีการแก้ไขข้อมูลรูปแปลงที่ดิน เช่น
กรณีที่แปลงที่ดินถูกเวนคืนเพื่อสร้างถนนแล้ว แต่ในระวางแผนท่ียังไม่มีการแก้ไขข้อมูล ต้องทําการแก้ไขให้
เป็นปจั จบุ นั เพอ่ื ทาํ ใหข้ อ้ มลู มคี วามเป็นปจั จบุ ันมากท่ีสดุ ก่อนจัดเกบ็ ลงสฐู่ านข้อมูล

 

๓-๗

 


Click to View FlipBook Version