The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน : ที่สาธารณประโยชน์ (ปี 2563)

สำนักจัดการที่ดินของรัฐ (KM ปี 2563)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

แนวทางการจดัทด่ีินทำกนิใหชุมชน
:ทส่ีาธารณประโยชน

สำนักจดัการที่ดินของรฐั
กองฝกอบรม

กรมที่ดินกระทรวงมหาดไทย

คานา

การจัดที่ดินทากินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.)
เป็นนโยบายท่ีสาคัญของรัฐบาล และเป็นส่วนหน่ึงของยุทธศาสตร์ชาติด้านการเสริมสร้างพลัง
ทางสังคม เดิมสานักจัดการท่ีดินของรัฐ ได้จัดทาหนังสือ เร่ือง กระบวนการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชน
ตามนโยบายรัฐบาล เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชน
ในทุกประเภททีด่ ิน เพอื่ ใหเ้ จ้าหนา้ ทท่ี ี่เกี่ยวข้องกับการจัดที่ดนิ ทากนิ ใหช้ มุ ชนใชเ้ ป็นแนวทางปรับใช้เพ่ือให้
สามารถขับเคล่ือนการดาเนินงานได้อย่างสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ยังมิได้มีการจัดทาหนังสือที่เกี่ยวกับการจัดที่ดินทากินให้ชุมชน ในที่ดิน
สาธารณประโยชน์ในรูปแบบแปลงรวม ซ่ึงเป็นภารกิจหลักของกรมที่ดิน และปัจจุบันได้มี
พระราชบญั ญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ เม่ือวันที่ 13 มิถุนายน 2562
มีผลยกเลิกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. 2557
ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 10 ตุลาคม 2561 มีมติให้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
และหน่วยงานที่เก่ียวข้องเร่งประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับ
เจตนารมณ์หลักเกณฑ์และเง่ือนไขในการดาเนินการ ตามโครงการดังกล่าวให้ชัดเจน และถูกต้อง
ตรงกันด้วย อีกท้ังที่ผ่านมาได้มีปัญหาเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในกระบวนการจัดที่ดินทากินในท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ให้ชุมชนในเรื่องต่าง ๆ จานวนมาก โดยกรมที่ดินในฐานะฝ่ายเลขานุการ
คณะอนุกรรมการจดั ที่ดนิ ไดต้ อบแนวทางปฏิบัติให้จังหวัดนาไปเป็นแนวทางปฏิบัติแล้ว เห็นสมควรท่ี
จะรวบรวมปัญหาและแนวทางปฏิบัติในเรื่องดังกล่าว ไว้เป็นรูปเล่มเพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติได้นา
ไปปรับใช้ เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานได้อย่างสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
เกดิ ผลสัมฤทธอิ์ ยา่ งเปน็ รูปธรรมและมีประสิทธิภาพตอ่ ไป

สานักจัดการท่ีดินของรัฐ จึงไดด้ าเนนิ การจัดทาองค์ความรู้ “แนวทางการจัดที่ดินทากิน
ให้ชุมชน : ที่สาธารณประโยชน์” ได้รับคัดเลือกจาก คณะกรรมการจัดการความรู้ของกรมที่ดิน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติได้ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
ตามกระบวนการจัดทดี่ นิ ทากนิ ใหช้ มุ ชนในทด่ี นิ สาธารณประโยชน์ ภายใต้คณะกรรมการนโยบายท่ีดิน
แห่งชาติ (คทช.) ในพ้ืนที่เป้าหมาย ได้อย่างถูกต้องในทิศทางเดียวกัน เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปแบบ
และเกดิ ประโยชน์แก่ประชาชนเสริมสร้างพลงั ทางสังคมตามทไี่ ดก้ าหนดไว้ในยุทธศาสตรช์ าติตอ่ ไป

สานักจัดการทดี่ ินของรัฐ
กองฝึกอบรม

กรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทย



สารบญั

หนา

 ทมี่ าของการจัดทดี่ ินทาํ กินใหชมุ ชน : ทสี่ าธารณประโยชน. ....................................................................1
 หลักเกณฑการจดั ระเบยี บท่ดี นิ สาธารณประโยชนใ หชุมชนทํากนิ หรอื อยูอาศัยตามนโยบาย

ของรฐั บาลและคณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหง ชาติ (คทช.)..................................................................3
 กระบวนการเริ่มตน โครงการ

1. การคัดเลอื กแปลงท่ีดิน......................................................................................................................4
2. การประชมุ ช้แี จงราษฎรในพนื้ ทดี่ ําเนินการ.......................................................................................5
3. อําเภอหรือองคก รปกครองสวนทองถิ่นท่ีจัดทาํ โครงการบริหารจัดการ.............................................5
4. การวางผงั แปลงท่ดี ิน.........................................................................................................................6
5. การรังวัดผังแปลง...............................................................................................................................7
 การรังวดั ทําแผนท่ที างกายภาพ................................................................................................................8
 การรายงานเรอ่ื งรงั วัด.............................................................................................................................14
 การพิจารณาคัดเลือกบุคคล....................................................................................................................15
 หลักเกณฑการพิจารณาอนญุ าต.............................................................................................................17
 การออกหนังสอื อนญุ าตใหใชประโยชนใ นทดี่ นิ ของรัฐฯ.........................................................................20
 ขอกาํ หนดการใชที่ดนิ ของผไู ดรับการจัดท่ีดนิ .........................................................................................21
 ระยะเวลาในการอนุญาต........................................................................................................................22
 การเรียกคา ตอบแทน..............................................................................................................................23
 กรณีผูไ ดร ับการจดั ทด่ี นิ ถึงแกกรรม.........................................................................................................24
 การยกเลิก เพิกถอน หนังสืออนญุ าต......................................................................................................25
 การจดั ทําสาธารณปู โภค.........................................................................................................................26
 สรปุ ขนั้ ตอนการจัดท่ีดินทาํ กินใหช มุ ชนในท่ีดินสาธารณประโยชน. ........................................................28
 การจัดทาํ โครงการบรหิ ารจดั การ การใชประโยชนในท่ดี ินสาธารณประโยชน

ที่มกี ารบกุ รุกเพอ่ื ขจดั ความยากจนและพฒั นาชนบท.............................................................................30
 การจดั ตง้ั สหกรณตามนโยบายคณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แหง ชาติ.....................................................35

1. ลักษณะทัว่ ไปของสหกรณ. ...............................................................................................................36
2. การดาํ เนินธรุ กจิ ของสหกรณ. ...........................................................................................................37
3. การบรหิ ารจัดการทด่ี นิ ของรัฐทไ่ี ดร ับอนญุ าตใหเ ขาทาํ ประโยชน. ....................................................39
 ขั้นตอนการจดั ตัง้ สหกรณ ตามนโยบายคณะกรรมการทดี่ นิ แหง ชาติ (คทช.) ในที่ดนิ

สาธารณประโยชน. ..................................................................................................................................41

ภาคผนวก

หนา

• ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการอนญุ าตใหประชาชนใชป ระโยชนใ นที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547....49
• หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดว นที่สดุ ที่ มท 0511.4/ว 719 ลว. 10 มี.ค. 48

เรื่อง การจัดท่ดี นิ สาธารณประโยชนต ามนโยบายแกไขปญหาสังคมและความยากจนฯ.........................58
• หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดวนที่สดุ ท่ี มท 0511.4/ว 4014 ลว. 29 พ.ย. 48

เรอ่ื ง การจัดท่ีดนิ ตามแผนปฏบิ ตั ิการบริหารจดั การท่ดี นิ ของรัฐฯ..........................................................60
• หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดวนทส่ี ดุ ท่ี มท 0511.4/ว 3679 ลว. 19 ต.ค. 49

เร่ือง การจัดท่ีดนิ ตามแผนปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจัดการทีด่ ินของรฐั ฯ..........................................................67
• หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ดวนทสี่ ุด ท่ี มท 0511.4/ว 4368 ลว. 14 ธ.ค. 49

เรื่อง การจัดทาํ สาธารณูปโภคขน้ั พื้นฐานในแปลงท่ีดนิ สาธารณประโยชนฯ ...........................................72
• หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนทส่ี ุด ท่ี มท 0511.4/ว 7920 ลว. 22 ม.ี ค. 50

เรื่อง การจัดท่ดี นิ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารจัดการทด่ี นิ ของรัฐฯ...........................................................74
• หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดว นทส่ี ดุ ท่ี มท 0511.3/ว 349 ลว. 1 ก.พ. 48

เรื่อง ซักซอ มความเขาใจเกย่ี วกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการอนุญาตใหป ระชาชนใช
ประโยชนในทด่ี ินของรฐั พ.ศ. 2547......................................................................................................83
• หนังสือกรมทีด่ ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0511.4/ว 31483 ลว. 19 ต.ค. 47
เร่อื ง การรงั วัดออกหนงั สอื สาํ คญั สาํ หรบั ที่หลวง....................................................................................86
• หนงั สอื กรมท่ดี ิน ดวนทส่ี ุด ที่ มท 0511.4/ว 16948 ลว. 9 ม.ิ ย. 48 เร่ือง การรังวัดทําแผนท่ี
และการรายงานตามโครงการบรหิ ารจัดการการใชป ระโยชนในทดี่ ินสาธารณประโยชนฯ .....................91
• หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ดว นท่สี ดุ ที่ มท 0511.3/ว 965 ลว 26 มี.ค. 51 เรื่อง ซักซอ มความเขาใจ
เกีย่ วกับการจัดเกบ็ คา ตอบแทน ตามมาตรา 9/1 แหง ประมวลกฎหมายท่ีดนิ .......................................98
• หนงั สอื กรมทดี่ ิน ท่ี มท 0511.3/ว 19899 ลว 19 ก.ค. 54 เรอื่ ง การหมายเหตกุ ารยกเลิก
หรือเพิกถอน และการตอ อายใุ บอนญุ าตใหใชประโยชนในท่ดี นิ ของรัฐฯ...............................................100
• หนังสือกรมทด่ี ิน ดวนทสี่ ุด ท่ี มท 0511.4/12407 ลว. 7 ก.ค. 57 เร่ือง หารอื การตรวจสอบ
คณุ สมบัติผขู อเขารว มโครงการบริหารจดั การการใชป ระโยชนใ นทด่ี นิ ของรัฐฯ...................................107
• หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ดวนท่ีสดุ ท่ี มท 0511.4/ว 3351 ลว 16 ม.ิ ย. 58
เร่อื ง การปรบั แผนปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจัดการท่ีดินของรัฐฯ....................................................................109
• หนงั สือกรมทดี่ นิ ท่ี มท 0511.2/7153 ลว. 31 ม.ี ค. 63 เรอ่ื ง หารือแนวทางปฏบิ ตั ิ กรณี สหกรณ
จดั ที่ดินทงุ ประเทยี นอ ยหนองปลอ ง จํากดั ขอใชทดี่ ินสาธารณประโยชนเ พือ่ ตงั้ อาคารสาํ นกั งานฯ....111
• หนงั สอื กรมที่ดนิ ท่ี มท 0511.4/32324 ลว. 19 ธ.ค. 59 เร่อื ง หารือการตอ หนงั สืออนุญาตฯ...........113
• หนงั สอื กรมทดี่ ิน ดว นที่สุด ท่ี มท 0511.4/7088 ลว. 31 มี.ค. 63 เรื่อง หารอื แนวทาง
การดําเนนิ การตามโครงการบริหารจดั การการใชป ระโยชนในทดี่ ินสาธารณประโยชนฯ .....................116
• มตคิ ณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหงชาติ คร้งั ท่ี 1/2563 เมื่อวนั ท่ี 16 มกราคม 2563........................118
• ตวั อยา งการจดั ทาํ โครงการจดั ทดี่ นิ ทาํ กนิ ใหช มุ ชนในท่ดี นิ สาธารณประโยชน ....................................169

ท่ีมาของการจดั ทีด่ ินทากินใหช้ ุมชน : ท่สี าธารณประโยชน์

เดิมได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 24 มกราคม 2540 เห็นชอบนโยบายการจัดการใช้ประโยชน์
ในทดี่ นิ ของรฐั โดยมี 6 หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ ที่อทุ ยานและที่ป่าไม้ของกรมป่าไม้ ท่ีราชพัสดุของกรมธนารักษ์ ท่ี ส.ป.ก.
ของ ส.ป.ก. ท่ีนิคมสหกรณ์ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ท่ีนิคมสร้างตนเองของกรมพัฒนาและสวัสดิการ และ
ท่ีสาธารณประโยชน์ของกรมท่ีดิน โดยกรมท่ีดินได้จัดทาแผนปฏิบัติการบริหารจัดการท่ีดินของรัฐในพื้นที่
ท่ีมีการบุกรุก ในท่ีดินสาธารณประโยชน์เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน กระทรวงมหาดไทย กรมท่ีดิน โดยใช้ช่ือ
โครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ ที่มีการบุกรุกเพื่อขจัดความยากจนและพัฒนา
ชนบท โดยเป็นการนาที่ดินสาธารณประโยชน์ ท่ีราษฎรเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้วและมีผู้อยู่อาศัยทากินมาจัด
ระเบยี บการถอื ครอง ตามสภาพเดิมครอบครวั ละไม่เกิน 15 ไร่ เพอื่ ให้ราษฎรที่ครอบครองทากินอยู่เดิมและมีฐานะ
ยากจนไม่มีที่ดินทากินหรือมีน้อยไม่เพียงพอ ได้รับอนุญาตให้เข้าครอบครองทาประโยชน์ โดยอาศัยอานาจ
ตามมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินและมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้พิจารณาอนุญาตตามคาส่ัง
กระทรวงมหาดไทย ท่ี 109/2538 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2538 นอกจากน้ียังได้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย
การอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 วางแนวทางปฏิบัติให้ โดยเป็นการจัดให้ราษฎร
เปน็ รายบคุ คล ตอ่ มาได้มรี ะเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. 2557 และ
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 22 ธันวาคม 2558 อนุมัติหลักการการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาลใน
ลักษณะแปลงรวมโดยมิให้กรรมสิทธ์ิ แต่อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ในที่ดินของรั ฐเป็นกลุ่มหรือชุมชน
ตามหลักเกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติกาหนด ในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบอ่ืนที่เหมาะสม
โดยการดาเนินการตามนโยบายดังกล่าวให้หน่วยงานของรัฐซ่ึงมีอานาจหน้าที่ตามกฎหมายของประเภทที่ดิน
กาหนดระเบียบ หลกั เกณฑ์ ขอ้ กาหนด หรือเงื่อนไขภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
และได้มีมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 21 มิถุนายน 2559 รับทราบ กระบวนการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชนตามนโยบาย
รัฐบาลในพื้นท่ีท่ีดินสาธารณประโยชน์ การดาเนินการจัดที่ดินทากินในที่ดินสาธารณประโยชน์จึงปรับเปลี่ยน
แนวทางปฏิบัติเป็นการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) มาจนถึง
ปัจจุบัน แต่ยังคงใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ
พ.ศ. 2547 เป็นแนวทางปฏิบัติอยู่เพียงแต่ปรับปรุงหลักเกณฑ์ ข้อกาหนด หรือเง่ือนไข ให้เป็นไปตามท่ี
คณะกรรมการนโยบายท่ดี นิ แห่งชาติ (คทช.) กาหนด โดยใช้ชื่อ “โครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ ที่มีการบุกรุกเพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท” ซ่ึงอยู่ในแผนงานยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านเสริมสร้างพลังทางสังคม โดยปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ พ.ศ. 2562
ใชบ้ งั คบั แล้ว ซง่ึ มผี ลยกเลกิ ระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรีฉบับดังกล่าว

1

กรมที่ดนิ กระทรวงมหาดไทย 1

โดยสรุปการจัดท่ีดินทากินและอยู่อาศัยให้ชุมชนในท่ีดินสาธารณประโยชน์ เป็นการนาที่ดิน
สาธารณประโยชน์ที่ประชาชนเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้ว มาจัดระเบียบการถือครองให้แก่ราษฎรเป็นแปลงรวม
โดยการออกหนังสืออนุญาตให้แก่ชุมชนท่ีมีฐานะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบอ่ืนที่เหมาะสมตามสภาพ
พื้นท่ี เพ่ือเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ ตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9 และระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. 2547 ส่วนคุณสมบัติข้อกาหนดและเงื่อนไขในการใช้
ประโยชน์ในทด่ี ินของผู้ทไ่ี ดร้ บั การจัดใหเ้ ปน็ ไปตามที่ คทช. กาหนด

2

2 แนวทางการจัดทีด่ ินท�ำ กนิ ให้ชุมชน : ทีส่ าธารณประโยชน์

หลักเกณฑ์การจัดระเบยี บท่ีดนิ สาธารณประโยชน์ให้ชุมชนทากินหรืออยู่อาศัย
ตามนโยบายของรัฐบาลและคณะกรรมการนโยบายทดี่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.)

โดยการนาที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ีประชาชนเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้ว มาจัดระเบียบการถือครอง
ใหแ้ ก่ราษฎร ดงั นี้

1) จัดท่ีดินทากินหรืออยู่อาศัยให้ชุมชนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบอ่ืน
ท่เี หมาะสมตามสภาพพืน้ ที่

2) การใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เป็นไปตามข้อกาหนดและเงื่อนไขของหน่วยงานผู้รับผิดชอบพื้นที่
ซึง่ ไดผ้ ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหง่ ชาติ (คทช.) แล้ว

3) จัดทดี่ ินใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ ทาประโยชน์หรอื อยู่อาศยั ในพ้ืนทอ่ี ยู่แล้วตามทคี่ รอบครองอยูจ่ ริงเป็นลาดับแรก
หากมีพ้ืนที่เหลือจากการจัดที่ดินให้คงไว้เป็นพื้นท่ีส่วนกลาง เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันสาหรับพื้นท่ีที่มีผู้ครอบครอง
แต่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ หรือคุณสมบัติ หรือเง่ือนไขท่ีกาหนดไว้ให้พิจารณาจัดให้แก่ผู้ที่ถูกผลักดันและอพยพออก
จากพืน้ ท่ปี ่าตน้ น้าและป่าอนรุ กั ษ์ หรือพนื้ ท่ีทท่ี างราชการกาหนดให้เป็นท่ีสงวนหวงห้ามตลอดไป โดยพิจารณาจาก
บุคคลที่มีถิ่นที่อยู่ในท้องท่ีท่ีจะจัดที่ดินหรือใกล้เคียงในหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด ตามลาดับ ตามเกณฑ์
การตรวจสอบข้อมูลการถือครองและแนวทางการจัดท่ีดินท่ีคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เห็นชอบ
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการควบคุมและร่วมกนั ดูแลท่ีสาธารณประโยชน์ โดยจัดให้ครัวเรอื นละไม่เกนิ 15 ไร่

4) ให้ชุมชนท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ท่ีดินนาที่ดินดังกล่าวไปดาเนินการ บริหารจัดการ
จัดให้แก่สมาชิกในชุมชนตามนโยบายรัฐบาล โดยร่วมกับคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช.จังหวัด)
หน่วยงานผูม้ หี น้าที่ดูแลรักษาตามกฎหมายและระเบยี บของหน่วยงานนั้น

3

กรมทดี่ ิน กระทรวงมหาดไทย 3

กระบวนการเรม่ิ ตน้ โครงการ

1. การคัดเลอื กแปลงท่ดี นิ
1) ต้องเป็นที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ีประชาชนเคยใช้ประโยชน์ร่วมกันแต่ปัจจุบันเลิกใช้ประโยชน์

ร่วมกนั แล้ว
2) มผี ้คู รอบครองอย่อู าศยั ทากนิ เต็มแปลงหรือบางส่วน โดยต้องมีการทาประโยชน์ชัดเจนถาวรมาเป็น

เวลานานแล้ว (ก่อนปี พ.ศ. 2546) และสามารถรวมตวั เปน็ กลุ่มในรปู แบบสหกรณ์หรือรูปแบบอื่นท่เี หมาะสมได้
3) มหี นังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง (น.ส.ล.) และในกรณไี ม่มี น.ส.ล. หากสามารถดาเนินการออก น.ส.ล. ได้

กส็ ามารถนามาจดั ทาโครงการ และออก น.ส.ล. ไปในคราวเดยี วกนั ได้
4) ตอ้ งไมอ่ ยู่ในพ้นื ท่ีทม่ี พี ระราชกฤษฎกี ากาหนดเปน็ เขตปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก) หรือพ้ืนที่

ป่าไม้
5) กรณีที่ดินสาธารณประโยชน์ต้ังอยู่ในพ้ืนที่ที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปท่ีดินเพ่ือ

เกษตรกรรม (สปก.) ตอ้ งอยู่นอกเขตดาเนินการ ท้ังนี้เขตปฏิรูปดังกล่าวจะต้องไม่ใช่พ้ืนที่จาแนกออกจากเขตป่าไม้
เพอื่ ให้ สปก. นามาดาเนินการ

6) ผู้ครอบครองอยอู่ าศยั ทากินต้องยอมรบั วา่ อยู่ในทดี่ นิ สาธารณประโยชน์และยอมรับการจัดท่ีดินทากิน
ตามแนวทางของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) และการรวมกลุ่มเป็นชุมชน เช่น กลุ่มสหกรณ์ กลุ่ม
เกษตรกร หรอื รปู แบบอื่นทเี่ หมาะสมด้วย

7) หากมีผู้โต้แย้งสิทธิในที่ดิน ให้กันส่วนนั้นออกจากโครงการเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สิทธิ
ตามแนวทางของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) หากพิสูจน์สิทธิแล้ว ผลปรากฏว่าเป็นผู้บุกรุก
จะต้องมาขอรับการจัดที่ดินตามหลักเกณฑ์และแนวทางท่ีกาหนด หากยังไม่ยอมรับจะต้องถูกดาเนินการ
ตามกฎหมาย

8) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอ และจังหวัด เห็นชอบให้นาที่ดินสาธารณประโยชน์ดังกล่าว
มาดาเนินการตามแนวทางการจัดทีด่ นิ ตามแนวทางของคณะกรรมการนโยบายทด่ี นิ แห่งชาติ (คทช.) ได้

4

4 แนวทางการจดั ทดี่ นิ ท�ำ กินใหช้ ุมชน : ท่สี าธารณประโยชน์

2. การประชุมชี้แจงราษฎรในพนื้ ที่ดาเนนิ การ ให้อาเภอ/อปท. จัดประชุมช้ีแจงราษฎรที่อยู่อาศัยทากิน
ในทีด่ นิ สาธารณประโยชน์ เพอื่ ทราบและยอมรับหลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขแนวทางการดาเนนิ การจัดท่ีดินทากินและที่
อยู่อาศยั ใหช้ มุ ชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แห่งชาติ (คทช.)

3. อาเภอหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดทาโครงการบริหารจัดการ การใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท นาเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา
อนุมัติ โดยเสนอผา่ นสานักงานที่ดนิ จงั หวัดเปน็ ผู้พิจารณาตรวจสอบให้ความเหน็

5

กรมทด่ี ิน กระทรวงมหาดไทย 5

4. การวางผังแปลงท่ีดิน ให้จดั ตามสภาพเดมิ แตไ่ ม่เกินครอบครวั ละ 15 ไร่ โดยคานึงถึง
1) จานวนสมาชกิ ในครัวเรอื น

2) อาชพี
3) ความสามารถในการผลิต
4) หากครอบครองเกนิ 15 ไร่ ให้พจิ ารณาจัดใหค้ รอบครัวท่ี 2 หรือท่ี 3
5) ถ้าดาเนินการแล้วยังคงมีท่ีดินครอบครองเกินอยู่อีกให้ส่งมอบคืนเพ่ือนาไปจัดสรรให้ราษฎร

ผูย้ ากจนและอยใู่ นพ้นื ที่ดังกลา่ วเป็นอนั ดบั แรก
6) กันพื้นที่ไว้เป็นที่ส่วนรวมตามความเหมาะสม เช่น ถนน แหล่งน้า ที่ต้ังสานักงานสหกรณ์

ลานอเนกประสงค์ เปน็ ต้น

6

6 แนวทางการจดั ที่ดนิ ทำ�กนิ ใหช้ ุมชน : ท่ีสาธารณประโยชน์

5. การรังวดั ผงั แปลง
1. ใหอ้ าเภอหรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นยื่นเร่ืองแจ้งความประสงค์ขอรังวัดตรวจสอบหนังสือสาคัญ

สาหรับท่ีหลวง ในกรณีมีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงอยู่ก่อนแล้ว หรือขอรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ในกรณีที่ยังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงต่อสานักงานที่ดินจังหวัด หรือสานักงานที่ดินจังหวัด สาขาพ้ืนท่ี
รับผดิ ชอบ

2. ประมาณการค่าใช้จา่ ยตามหนังสือกรมทด่ี ิน ดว่ นทีส่ ุด ที่ มท 0511.4/31483 ลว. 19 ตลุ าคม 2547
3. การยื่นคาขอการแจ้งผู้มีสิทธิในส่วนเก่ียวข้อง การรังวัด ปักหลักเขตให้ถือปฏิบัติตามประเภท
ของรังวัด ถ้าเป็นรังวัดตรวจสอบ ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2529 หากเป็นการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดิน
ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง พ.ศ. 2517
4. การนัดรังวัดให้นัดรังวัดเป็นกรณีพิเศษ โดยควรมอบหมายให้ช่างรังวัดที่มีความรู้ความสามารถ
เหมาะสมในการดาเนนิ การ โดยถือปฏบิ ตั ติ ามหนงั สือกรมท่ดี นิ ที่ มท. 0611/ว 18134 ลว. 5 สงิ หาคม 2525

7

กรมท่ีดนิ กระทรวงมหาดไทย 7

การรงั วดั ทาแผนท่ีทางกายภาพ

การรังวดั จัดทาแผนทแ่ี สดงเขตการครอบครองท่ีดินของราษฎรให้ทาการรังวัดท่ีดินทุกแปลง ทั้งผู้ประสงค์
เข้าร่วมโครงการ ผไู้ ม่ประสงคเ์ ขา้ ร่วมโครงการ ผู้ทข่ี าดคุณสมบัติ รวมทั้งผทู้ ี่โต้แยง้ สิทธโิ ดยปฏิบตั ดิ งั น้ี

1. ในพ้ืนที่ยกระดับการรังวัดโดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
ให้ทาการรงั วัด โดยวธิ ีแผนท่ีช้ันหน่งี ด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์หรือรังวัดโยงยึดออกจาก
หมุดแผนท่ีท่ีมีค่าพิกัดสืบเน่ืองหรือสัมพันธ์กับค่าพิกัดของระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจ ลน์
ให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดโดยวิธีแผนที่ช้ันหน่ึง ด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียม
แบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 และระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดหมุดหลักฐานแผนท่ี
โดยระบบดาวเทียม พ.ศ. 2553 ประกอบกับระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการรังวัดและทาแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด
แปลงท่ดี ิน โดยวธิ แี ผนที่ช้นั หนงึ่ ในระบบพกิ ดั ฉาก UTM พ.ศ. 2542

2. ในพ้ืนท่ีอื่นให้รังวัดโยงยึดออกจากหมุดหลักฐานแผนที่ระบบพิกัดฉาก UTM ของกรมท่ีดิน ให้ปฏิบัติ
ตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการรังวัดหมุดหลักฐานแผนท่ีโดยระบบดาวเทียม พ.ศ. 2553 ประกอบระเบียบ
กรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดและทาแผนท่ีเพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน โดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงในระบบพิกัดฉาก
UTM พ.ศ. 2542

8

8 แนวทางการจดั ทดี่ ินท�ำ กนิ ใหช้ ุมชน : ท่สี าธารณประโยชน์

3. ในการนาเจา้ หนา้ ทีร่ งั วัดจัดทาแผนที่ให้ราษฎรผู้ครอบครองที่ดินเตรียมหลักไม้แก่นเพื่อใช้เป็นหลักเขต
และนาปกั ไว้ตามมมุ เขตทดี่ ินของตน

9

กรมทด่ี ิน กระทรวงมหาดไทย 9

4. กรณีผู้ครอบครองที่ดินท่ีไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการหรือผู้ที่ขาดคุณสมบัติหรือผู้โต้แย้งสิทธิไม่ยินยอม
ให้ทาการรังวัด ให้กันท่ีดินส่วนนั้นหรือพื้นท่ีบริเวณน้ันไว้ แล้วบันทึกผู้ปกครองท้องที่ไว้เป็นหลักฐานให้ได้
ข้อเท็จจริงรายละเอียดของการครอบครองท่ีดิน เช่น ระยะเวลาครอบครองท่ีดินสภาพการทาประโยชน์เป็นต้น
พรอ้ มทัง้ สาเหตุการไมย่ นิ ยอมให้ทาการรงั วัดโดยใช้แบบบันทึกถ้อยคา (ท.ด. 16)

5. ในกรณีที่ราษฎรยังใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่บางส่วน หรือได้มีการกันพ้ืนที่บางส่วนให้คงไว้ใช้ประโยชน์
รว่ มกัน เชน่ สระน้า ถนน หรอื อืน่ ๆ ให้ทาการรังวดั ทาแผนท่แี สดงเขตและระบชุ อื่ การใช้ประโยชนใ์ ห้ชัดเจนด้วย

10

10 แนวทางการจดั ทด่ี ินท�ำ กินให้ชุมชน : ที่สาธารณประโยชน์

6. การสอบสวน ให้เจ้าหน้าท่ีผู้ทาการสารวจรังวัดทาการสอบสวนผู้ครอบครองที่ดินแต่ละรายตามแบบ
บนั ทกึ ถอ้ ยคาผ้คู รอบครองท่ีดนิ สาธารณประโยชน์ ตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ
(คทช.) กาหนดเว้นแต่ผู้ที่ไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ ผู้ท่ีขาดคุณสมบัติหรือผู้โต้แย้งสิทธิ และไม่ยินยอมให้บันทึก
สอบสวนให้ทาการบันทึกผู้ปกครองท้องที่ไว้เป็นหลักฐาน ให้ได้ข้อเท็จจริงรายละเอียดของการครอบครองท่ีดิน
เช่นระยะเวลาครอบครองท่ีดินสภาพการทาประโยชน์ เป็นต้น พร้อมท้ังสาเหตุการไม่ยินยอมให้บันทึกสอบสวน
โดยใช้แบบบันทึกถ้อยคา (ท.ด. 16) กรณีผู้ครอบครองคัดค้านแนวเขตหรือคัดค้านเร่ืองสิทธิการครอบครองให้ทาการ
บันทึกผู้คัดค้านตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2517 และฉบับปรับปรุง
แก้ไขตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเพิกถอนแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ. 2529 แล้วแต่กรณี
รวมไวใ้ นเรอื่ งเพอ่ื พิจารณาดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบทเ่ี กีย่ วข้องต่อไป

7. การสร้างรูปแผนท่กี ายภาพ
1) การสร้างรปู แผนท่ขี ยายโดยใช้มาตราส่วนอย่างใดอย่างหน่ึงต่อไปนี้ 1:500 1:1000 1:2000 1:4000

หรือ 1:8000 ทง้ั น้ตี ามความเหมาะสม
2) การเขยี นหมุดหลักเขตท่ีดินใหว้ งหมุดหลกั เขตมีรัศมี 1 ม.ม. และขีดเขตทดี่ ินด้วยหมึกดา
3) การให้เลขที่ดินให้ใช้เลขอารบิก โดยที่สาธารณประโยชน์ทุกแปลงจะเร่ิมต้นจากเลขที่ดิน 1 ต้ังแต่

แปลงท่ีอยู่ตรงมุมบนด้านซ้ายมือเรียงเลขท่ีดินไปทางขวามือ (ตะวันออก) ตามลาดับเมื่อถึงแปลงที่ดินสุดท้าย
ริมขวามือแล้วให้เรียงเลขท่ีดินเวียนกลับมาทางซ้ายมือ (ตะวันตก) จนสุดแปลงให้ดาเนินการเช่นนี้ต่อเนื่องกันไป
จนกว่าจะเต็มแปลง โดยให้เลขท่ีดินทุกแปลง ทั้งแปลงที่เข้าร่วมโครงการและไม่ได้เข้าร่วมโครงการรวมท้ังแปลง
หรือกล่มุ แปลงที่ไม่ยินยอมใหท้ าการรังวัดด้วย

4) เขียนเลขที่ดนิ ด้วยเลขอารบกิ ไวท้ ี่บริเวณตรงกลางแปลงทีด่ นิ และเขียน ชือ่ -สกุล ผู้ครอบครองที่ดินไว้
ใต้ของเลขที่ดินแต่ละแปลงทุกแปลง ในกรณีที่ไม่สามารถเขียน ช่ือ-สกุล ผู้ครอบครองที่ดินในแปลงที่ดินได้
เนื่องจากรูปแปลงมีขนาดเล็กเกินไป ให้จัดทาตารางเทียบเลขท่ีดินกับ ชื่อ-สกุล ผู้ครอบครองท่ีดินไว้บริเวณท้าย
ของรูปแผนที่ขยายน้ัน สาหรับแปลงหรือกลุ่มแปลงท่ีไม่ยินยอมให้ทาการรังวัดรวมท้ังแปลงท่ีมีการคัดค้านหรือโต้แย้ง
สิทธิให้หมายเหตุไว้ในแปลงหรือในตารางเทียบว่าเป็นแปลงที่ไม่ยินยอมให้ทาการรังวัดหรือเป็นแปลงท่ีมีการ
คัดค้านหรือโตแ้ ย้งสทิ ธดิ ว้ ย

11

กรมทีด่ ิน กระทรวงมหาดไทย 11

8. การจัดทาบญั ชเี ลขทดี่ ินและรายช่ือผู้ครอบครองท่ีดิน ให้นาแบบพิมพ์สารบัญที่ดิน (บ.ท.ด. 39 ก) ของ
โฉนดท่ีดินมาใชโ้ ดยอนโุ ลม ให้เขยี นหนา้ ปกบัญชีสารบญั ทด่ี ินดงั น้ี

- บัญชีสารบญั ทด่ี ินและรายชือ่ ผ้คู รอบครองทีด่ ิน
- สาหรบั ที่สาธารณประโยชน์............................
- หนงั สือสาคญั สาหรับทีห่ ลวงเลขที่..................
- ตาบล.......อาเภอ........จังหวัด.........................
ตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุกเพ่ือขจัด
ความยากจนและพฒั นาชนบท
9. การเก็บหลักฐานแผนท่ี การเก็บหลักฐานแผนท่ีต่าง ๆ ได้แก่ ต้นร่างแผนที่ รายการรังวัด รายการ
คานวณและแผนท่ีสารวจพ้ืนท่ีทางกายภาพรวมท้ังบัญชีเลขที่ดินและรายชื่อผู้ครอบครองท่ีดิน ให้เก็บรวมกับ
หลกั ฐานแผนท่ีในการออกหนงั สือสาคัญสาหรับทห่ี ลวงแปลงนนั้ ๆ โดยใหป้ ฏบิ ัติดงั น้ี
1) กรณีมีระวางแผนที่ระบบเดิมให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการควบคุมต้นร่างแผนที่
รายการรังวัด รายการคานวณและระวางแผนที่ในสานักงานที่ดิน พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2
พ.ศ. 2525 และฉบับแก้ไข พ.ศ. 2526 และในกรณีเป็นระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก UTM ให้ถือปฏิบัติตาม
ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการเขียน การเก็บและการใช้ระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก UTM พ.ศ. 2530 ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2534 และฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2535
2) กรณีไมม่ รี ะวางแผนท่ใี ห้เก็บรวมไวเ้ ป็นแปลง ๆ แยกตาบล อาเภอ
3) รปู แผนที่กายภาพและบัญชสี ารบัญทีด่ ินและรายช่อื ผู้ครอบครองที่ดนิ ใหท้ าสาเนา 2 ชุด โดยส่งไปให้
ศตจ. อาเภอ/ก่ิงอาเภอ 1 ชดุ สานกั งานที่ดนิ จงั หวดั สาขา/ส่วนแยก 1 ชุด และหากอาเภอใดที่ยังไม่มีการประกาศ
ยกเลิกอานาจหน้าที่ของนายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิงอาเภอในการปฏิบัติการตามประมวล
กฎหมายทีด่ นิ ใหจ้ ดั ทาเพม่ิ อกี 1 ชุด สง่ ให้สานักงานทดี่ นิ อาเภอดว้ ย

12

12 แนวทางการจัดท่ีดนิ ทำ�กินใหช้ มุ ชน : ทส่ี าธารณประโยชน์

10. การเขียนรูปแผนที่ในหนังสืออนุญาตให้ใช้ในท่ีดินของรัฐเป็นการชั่วคราวตามแนวทางของ
คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ให้จัดทาหนังสืออนุญาตให้ชุมชนแปลงรวมเพียงแปลงเดียว พร้อม
จัดทาแผนผงั การใช้ประโยชนใ์ นท่ดี นิ สาธารณประโยชน์ โดยใหป้ ฏบิ ตั ิดงั น้ี

1) ถ้ารูปแผนที่มีขนาดเพียงพอบรรจุลงในพื้นที่สาหรับเขียนแผนท่ีในแบบพิมพ์หนังสืออนุญาตฯ ให้
จาลองรูปแผนทีล่ งในหนังสอื อนญุ าตฯ ได้

2) กรณีรูปแผนที่มีขนาดใหญ่กว่าพื้นท่ีสาหรับเขียนแผนที่ในแบบพิมพ์หนังสืออนุญาตฯ หรือมีขนาด
เล็กมากจนไม่สามารถเขียนเลขทดี่ ินได้ ใหย้ อ่ หรือขยายรปู แผนทใี่ ห้มขี นาดพอเหมาะกับพ้ืนท่ีสาหรับลงรูปแผนท่ีใน
แบบพมิ พห์ นังสืออนญุ าตฯ และใหเ้ ขียนมาตราส่วนทย่ี อ่ หรอื ขยายรปู แผนที่น้ัน ๆ ไวด้ ว้ ย

3) ให้เขียนเลขท่ีดินด้วยเลขอารบิกไว้ที่บริเวณตรงกลางแปลงท่ีดิน โดยไม่ต้องเขียน ชื่อ-สกุล ผู้ถือ
ครอบครองทดี่ นิ แต่อยา่ งใด

4) มมุ หลักเขตท่ดี นิ ไมต่ อ้ งเขียนคาวา่ “ล.ม.” หรอื ขอ้ ความใด ๆ
5) การเขยี นข้างเคยี งด้านท่ตี ดิ กบั แปลงสารวจอืน่ ใหเ้ ขยี นเลขท่ีดนิ ของแปลงข้างเคียงน้ัน เว้นแต่แปลง
ท่ีไม่ได้เข้าร่วมโครงการและแปลงที่ไม่ยินยอมให้ทาการรังวัดไม่ต้องเขียนเลขท่ีดินให้เขียน “ท่ีมีการครอบครอง”
โดยไมต่ อ้ งเขียน ชือ่ -สกุล ผ้ถู อื ครอบครองทดี่ ินแตอ่ ยา่ งใด ส่วนด้านท่ีติดกับแนวเขตที่ดินบริเวณนอกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวง ให้ถอื ปฏิบตั ิตามระเบียบกรมทีด่ ิน ว่าดว้ ยการเขยี นข้างเคียงและการรบั รองแนวเขตทด่ี ิน พ.ศ. 2541

13

กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย 13

การรายงานเรือ่ งรงั วัด

1. เรื่องรังวัดออกหรือตรวจสอบหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ให้รายงานและส่งเรื่องราวให้เจ้าพนักงานท่ีดิน
จงั หวัดสาขา/ส่วนแยก พิจารณาดาเนินการตอ่ ไป

2. เรอ่ื งรงั วดั ท่ีดินแปลงยอ่ ยทม่ี ีผคู้ รอบครอง ใหร้ ายงานผลการรังวัดเสนอเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/
หวั หนา้ ส่วนแยก แล้วแตก่ รณีพร้อมสรปุ รายชอ่ื และข้อมลู การสอบสวน โดยสรุปรายงานเป็น 2 สว่ น คือ

ส่วนที่ 1 แปลงท่ีดินราษฎรยอมรับการดาเนินการตามโครงการฯ เพ่ือรวบรวมส่งให้อาเภอพิจารณา
ดาเนินการตามขัน้ ตอนของโครงการฯ ตอ่ ไป

ส่วนท่ี 2 แปลงที่ดินที่ราษฎรไม่ยอมรับการดาเนินการตามโครงการฯ หรือเป็นผู้ไม่มีคุณสมบัติหรือ
ผู้โต้แย้งสิทธิ หรือไม่ยินยอมให้ทาการรังวัด เพื่อรวบรวมรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัดนาเข้าสู่กระบวนการ
พิจารณาของ กบร. ต่อไป

3. สานกั งานที่ดินจังหวัด รายงานกรมที่ดินเพ่ือส่งคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินกาหนดเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมาย
การจัดท่ีดินทากินให้ชุมชนในลักษณะแปลงรวมเสร็จแล้ว คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน จะส่งให้คณะอนุกรรมการ
จัดที่ดิน เพ่ือส่งให้คณะกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับการจัดท่ีดินต่อไป พร้อมทั้งให้
สานักงานที่ดินจังหวัด ส่งข้อมูลผังแปลงพร้อมรายช่ือให้อาเภอร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดทา
ประชาคมคดั เลอื กผู้ได้รบั การจดั ตามคุณสมบตั ิที่ คทช. กาหนด ในคราวเดียวกัน

14

14 แนวทางการจดั ทีด่ นิ ทำ�กินใหช้ ุมชน : ทีส่ าธารณประโยชน์

การพิจารณาคัดเลอื กบุคคล

1. ประเภทของผู้ไดร้ บั การจดั ท่ดี นิ
1) ผูท้ ี่เข้าครอบครองทาประโยชน์หรืออยู่อาศัยในที่ดินอยู่แล้ว โดยเป็นไปตามผลการตรวจสอบข้อมูล

รายชือ่ บุคคลผเู้ ขา้ ครอบครองและรปู แปลงท่ีดนิ
2) ผทู้ ่ถี กู ผลักดนั และอพยพออกจากพ้นื ทป่ี า่ ต้นน้า ปา่ อนุรักษ์ หรือพ้ืนที่ท่ีทางราชการกาหนดให้เป็นท่ี

สงวนหวงห้ามตลอดไป โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่ในท้องที่ท่ีจะจัดที่ดินหรือใกล้เคียงในหมู่บ้าน
ตาบล อาเภอ จังหวัด ตามลาดับ ตามเกณฑ์การตรวจสอบข้อมูลการถือครองและแนวทางการจัดที่ดิน
ท่ีคณะกรรมการนโยบายทดี่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.) เห็นชอบ

2. ให้อาเภอ/อปท. พิจารณาคัดเลือกบุคคลผู้ที่จะได้รับการพิจารณาเป็นผู้ได้รับการจัดท่ีมีคุณสมบัติ
ตามทคี่ ณะกรรมการนโยบายท่ดี นิ แห่งชาติ (คทช.) กาหนดดังน้ี

1) บคุ คลสญั ชาตไิ ทย
2) เปน็ ผู้ยากไรไ้ มม่ ที ที่ ากินและหรอื ที่อยู่อาศัยหรือมีรายได้ต่อปีไม่เกิน 30,000 บาท/คน
3) บรรลุนติ ภิ าวะแลว้ หรือเปน็ หัวหนา้ ครอบครวั
4) มีถนิ่ ทอี่ ยู่ในท้องทท่ี จี่ ะจัดทีด่ นิ หรือใกลเ้ คยี ง
5) มคี วามสามารถทาประโยชนใ์ นทด่ี นิ ได้
6) ไม่เปน็ คนวิกลจริต หรือจิตฟนั่ เฟือนไมส่ มประกอบ
7) ยนิ ยอมปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด และเง่ือนไขที่กาหนด
8) ปัจจุบันไม่ได้รบั การชว่ ยเหลอื ในการจดั ท่ดี ินจากทางราชการ
9) กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินพิจารณาถึงความจาเป็นเพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม
และความสงบเรียบร้อย โดยคานึงถึงลักษณะพื้นที่สภาพการใช้ประโยชน์/ทาประโยชน์คณะอนุกรรมการนโยบาย
ทด่ี ินจงั หวดั (คทช.จังหวดั ) จะผ่อนผันการปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑเ์ ปน็ การเฉพาะรายก็ได้

15

กรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย 15

3. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับอาเภอจัดประชุมประชาคมรับฟังความเห็นของราษฎร
ในพืน้ ท่ี โดยมสี านกั งานท่ีดินจงั หวัดสนับสนุนด้านข้อมูลระเบียบกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ช้ีแจงข้ันตอน เพื่อให้ทราบ
ถึงนโยบายของรัฐบาล แนวทางดาเนินการตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์
เพอื่ ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท และการรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบอ่ืนที่เหมาะสม ในการประชุม
รับฟังความเห็นของราษฎรในพ้ืนท่ีให้เป็นไปตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ นว.12576/2501 ลงวันที่ 15
สิงหาคม 2501 ข้อ. 4 โดยให้นาเรื่องการประชุมประชาคมตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์

การเปน็ กรรมการหมูบ่ า้ น การปฏิบตั ิหน้าทแ่ี ละการประชมุ ของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. 2551 ข้อ. 44 มาใช้ใน
การดาเนินการในเร่ืองดังกล่าวโดยอนุโลม ทั้งนี้ เป็นไปตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0310.1/ว 0003
ลงวันที่ 3 มกราคม 2561

4. สานักงานที่ดินจังหวัดจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 โดยนารายช่ือ
ผู้ครอบครองตามท่ีมีการรังวัดแปลงตรวจสอบว่ามีคุณสมบัติครบถ้วนตามท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.)
กาหนดให้หรือไม่ เพ่ือเป็นการกล่ันกรองก่อนนาเสนอคณะกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด พิจารณาคัดเลือก
คณุ สมบัตผิ ูไ้ ดร้ ับการจัดทีด่ ิน

5. สานักงานท่ีดินจังหวัดประสานกับสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
จัดประชุมคณะกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) เพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับการจัดท่ีดินในท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ ตามคุณสมบัติ หลกั เกณฑแ์ ละเง่อื นไขทีค่ ณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.) กาหนดไว้

6. ผู้ได้รับการคัดเลือกรวมตัวเป็นชุมชน เพ่ือขอจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หรือรูปแบบ
อื่นท่ีเหมาะสม (แต่เน่ืองจากการดาเนินการดังกล่าวจะใช้ระยะเวลานาน ราษฎรสามารถย่ืนขอจดทะเบียนเป็น
สหกรณ์กลุ่มเกษตร หรือรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสมไว้ก่อนท่ีคณะกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด)
จะพิจารณาคัดเลือกสามารถดาเนนิ การได้)

16

16 แนวทางการจดั ท่ดี นิ ทำ�กนิ ใหช้ มุ ชน : ทส่ี าธารณประโยชน์

หลักเกณฑ์การพจิ ารณาอนุญาต

1. ในการพิจารณาอนุญาตจะต้องถือตามหลักเกณฑ์การจัดระเบียบที่ดินสาธารณประโยชน์ให้ชุมชน
ทากินหรืออยู่อาศัย ตามแนวทางของคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) โดยการนาท่ีดินสาธารณประโยชน์
ทป่ี ระชาชนเลกิ ใช้ประโยชน์รว่ มกนั แลว้ มาจัดระเบียบการถอื ครองใหร้ าษฎรดังน้ี

1) จัดที่ดินทากินหรืออยู่อาศัยให้ชุมชนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบอ่ืน
ท่ีเหมาะสมตามสภาพพ้นื ที่

2) การใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เป็นไปตามข้อกาหนดและเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ
(คทช.) กาหนด

3) จดั ท่ดี ินให้แก่ผู้เข้าทาประโยชน์หรืออยู่อาศัยในพ้ืนท่ีอยู่แล้วตามท่ีครอบครองอยู่จริง เป็นลาดับแรก
หากมพี ้นื ทีเ่ หลือจากการจัดที่ดินให้คงไว้เป็นพ้ืนที่ส่วนกลาง เพ่ือใช้ประโยชน์ร่วมกัน สาหรับพ้ืนที่ท่ีมีผู้ครอบครอง
แต่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ หรือคุณสมบัติ หรือเง่ือนไขที่กาหนดไว้ ให้พิจารณาจัดให้แก่ผู้ที่ถูกผลักดันและอพยพออก
จากพ้ืนที่ป่าต้นน้าและป่าอนุรักษ์ หรือพื้นท่ีท่ีทางราชการกาหนดให้เป็นท่ีสงวนหวงห้ามตลอดไป โดยพิจารณา
จากบุคคลที่มีถ่ินท่ีอยู่ในท้องที่ที่จะจัดที่ดินหรือใกล้เคียงในหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด ตามลาดับ ตามเกณฑ์
การตรวจสอบข้อมูลการถือครองและแนวทางการจัดที่ดินท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) เห็นชอบ
ท้ังน้ี เพอื่ เปน็ การควบคุมและรว่ มกันดแู ลทสี่ าธารณประโยชน์ โดยจดั ใหค้ รวั เรือนละไม่เกิน ๑๕ ไร่

4) ให้ชุมชนท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินนาท่ีดินดังกล่าวไปดาเนินการบริหารจัดการ
จัดให้แกผ่ ู้ได้รับการจัดซ่ึงเป็นสมาชิกในชุมชนและมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการนโยบาย
ทด่ี นิ แห่งชาติ (คทช.) กาหนดไว้ โดยรว่ มกับคณะอนกุ รรมการนโยบายท่ีดนิ จังหวัด

17

กรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทย 17

2. ผู้ได้รับการจัดท่ีดิน จะต้องเป็นผู้ท่ีเข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์อยู่แล้ว
โดยเปน็ ไปตามผลการตรวจสอบข้อมูลรายช่ือบุคคลผู้เข้าครอบครองและรูปแปลงที่ดินของคณะกรรมการนโยบาย
ทดี่ นิ จังหวดั (คทช.จงั หวดั ) แล้ว

3. ผู้ได้รับการจัดท่ีดินจะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
(คทช.) กาหนด ดังนี้

1) บุคคลสัญชาตไิ ทย
2) เป็นผู้ยากไร้ไมม่ ีที่ทากนิ
3) บรรลนุ ิติภาวะแล้ว หรือเปน็ หวั หนา้ ครอบครวั
4) มีถน่ิ ทอี่ ยใู่ นทอ้ งทท่ี ่จี ะจัดทด่ี ินหรือใกล้เคยี ง
5) มคี วามสามารถทาประโยชนใ์ นทดี่ นิ ได้
6) ไมเ่ ปน็ คนวิกลจรติ หรือจิตฟนั่ เฟือนไม่สมประกอบ
7) ยินยอมปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ข้อกาหนด และเง่ือนไขทก่ี าหนด
8) ปัจจบุ นั ไม่ได้รบั การชว่ ยเหลือในการจัดทดี่ ินจากทางราชการ
9) กรณีที่คณะกรรมการนโยบายที่ดิน พิจารณาถึงความจาเป็นเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม
และความสงบเรียบรอ้ ย โดยคานึงถึงลักษณะพื้นท่ีสภาพการใช้ประโยชน์/ทาประโยชน์ คณะอนุกรรมการนโยบาย
ท่ดี ินจังหวดั (คทช.จงั หวัด) จะผ่อนผนั การปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์เป็นการเฉพาะรายกไ็ ด้
4. จานวนเนื้อท่ีที่อนุญาตไม่เกินครอบครัวละ 15 ไร่ ระยะเวลา 5 ปี ถ้าจัดใช้ประโยชน์เกิน 15 ไร่
ให้ปรับลดส่วนท่ีเกินให้ผู้ขอให้ประโยชน์รายอ่ืนต่อไป เช่น ครอบครัวที่สอง ครอบครัวท่ีสาม ตามหลักเกณฑ์
ที่กาหนด
5. กรณีท่ีผู้ครอบครอง (ผู้บุกรุก) ไม่ยอมรับการแบ่งแปลงให้ไม่เกิน 15 ไร่ ตามข้อกาหนดของการวาง
ผังแปลงที่ดินถือว่าไม่ยอมรับการดาเนินการตามนโยบายฯ และประสงค์จะคัดค้านแนวเขตให้กันพ้ืนท่ีบริเวณ
ดังกล่าวออกจากโครงการ แล้วดาเนินการตามแนวทางของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินแห่งชาติ
(กบร.) ตามหนังสอื ตอบขอ้ หารอื จังหวัดสงขลา ดว่ นทสี่ ุด ที่ มท 0511.4/11360 ลงวันท่ี 20 เมษายน 2549

18

18 แนวทางการจดั ที่ดนิ ทำ�กนิ ใหช้ ุมชน : ที่สาธารณประโยชน์

6. กรณมี นี อ้ ยแต่ไมเ่ พยี งพอนั้น ให้ใชจ้ านวนเน้อื ที่ 15 ไร่ เปน็ เกณฑ์ คอื ถา้ ไมม่ ีทีด่ นิ ของตัวเองเลย ก็จะ
ได้รับจัดสรรให้ตามท่ีครอบครองทาประโยชน์อยู่แต่ไม่เกิน 15 ไร่ หรือหากมีที่ดินอยู่แล้วแต่ยังไม่ถึง 15 ไร่ จึงได้
เข้าไปครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์อีกส่วนหน่ึง เม่ือรวมกับที่ดินท่ีมีอยู่แล้วต้องไม่เกิน 15 ไร่
ตามหนังสือตอบข้อหารอื จงั หวดั สุรนิ ทร์ ดว่ นทีส่ ดุ ที่ มท 0511.4/12407 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2557

7. เมอื่ พนกั งานเจ้าหนา้ ทอ่ี นุญาตแล้ว ให้ผ้รู บั อนุญาตลงชื่อรับทราบและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้หลัง
ใบอนุญาต (ซ่ึงสามารถปรับแก้ได้ให้เหมาะสมกับการจัดที่ดินทากินในรูปชุมชนตามหลักเกณฑ์ที่ คทช. กาหนด)
หากผู้รับอนุญาตไม่มารับใบอนุญาตภายในระยะเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีกาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควรให้ถือว่า
สละสทิ ธิ์การใช้ทด่ี ินน้นั ใหพ้ นกั งานเจ้าหนา้ ทีพ่ ิจารณายกเลกิ

19

กรมท่ีดนิ กระทรวงมหาดไทย 19

การออกหนังสอื อนุญาตใหใ้ ช้ประโยชน์ในทด่ี นิ ของรฐั
ตามแนวทางของคณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แห่งชาติ

เมื่อคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) พิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับการจัดแล้วให้ผู้ได้รับ
การจดั รวมตวั ย่ืนขอจัดตงั้ สหกรณ์ฯ หรือรวมกลุ่มในรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสม ซึ่งจะมีฐานะเป็นนิติบุคคลให้สานักงานที่ดิน
จังหวัดจัดทาหนังสืออนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐพิจารณาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะพนักงาน
เจ้าหน้าที่ลงนามในหนังสืออนุญาตให้แก่สหกรณ์หรือกลุ่มในรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสมนั้น เป็นแปลงรวมแปลงเดียว
โดยอาศัยอานาจตามมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินและสามารถกาหนดหลักเกณฑ์ เง่ือนไขให้ผู้ได้รับ
อนุญาตถอื ปฏิบตั ิตามแนวทางที่คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แห่งชาติ (คทช.) กาหนดไว้ โดยให้สหกรณ์หรือกลุ่มใน
รูปแบบอื่นท่ีเหมาะสม บริหารจัดการท่ีดินให้แก่สมาชิกตามแผนผังแปลงท่ีได้ดาเนินการรังวัดไว้ และสามารถ
กาหนดพนื้ ท่ีไวเ้ ปน็ ส่วนกลาง เพอ่ื จดั ทาเปน็ ท่ีสาธารณูปโภคในท่ีดินพ้ืนท่ี เช่น ถนน สระน้า ที่ต้ังสหกรณ์ฯ เป็นต้น
และสามารถกาหนดเง่ือนไขหลักเกณฑ์ให้แก่สมาชิกถือปฏิบัติด้วยโดยให้นายอาเภอและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นท้องท่ีในฐานะผู้มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชน์ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องท่ี
เป็นผู้ควบคุมกากับติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมาย และให้จัดทาบัญชีควบคุม
การอนุญาตและจัดเก็บแบบพิมพ์หนังสืออนุญาต ให้ถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท
0511.3/ว 3505 ลว. 21 ตุลาคม 2547

20

20 แนวทางการจดั ท่ดี ินท�ำ กินให้ชุมชน : ท่สี าธารณประโยชน์

ขอกาํ หนดการใชท ี่ดินของผูไ ดรับการจัดทีด่ นิ

1. ตองทําประโยชนและ/หรืออยูอาศัย ดวยตนเองหรือใหบุคคลในครอบครัวภายในเขตพ้ืนที่ที่ตนไดรับ
การจดั ทด่ี นิ เทานั้น หา มขยายพ้ืนท่ี

2. หามซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให ใหเชา ใหเชาซื้อ ใหยืม หรือโอนสิทธิการเชา หรือ โอนสิทธิครอบครอง
ใหบ คุ คลอืน่ เวนแตเปนไปตามระเบียบ กฎหมายของหนว ยงานทอี่ นญุ าตใหใ ชท ด่ี นิ

3. สามารถตกทอดแกท ายาทโดยธรรมได
4. ตองปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงานทอี่ นุญาตใหใชทีดนิ รวมถงึ ขอกาํ หนดที่
คณะกรรมการนโยบายท่ดี นิ แหง ชาติ (คทช.) จะกําหนดขึ้นใหมใ นภายหลังดวย

5. ใหค วามยนิ ยอมหรืออาํ นวยความสะดวกกับเจา หนา ทีท่ เ่ี ขาไปตรวจสอบพน้ื ที่ท่จี ดั ที่ดนิ
6. หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัตติ ามขอกาํ หนด หรือผูท่ีไดรบั การจดั ทีด่ ินไมประสงคจะใชทีด่ นิ
ใหคณะกรรมการพจิ ารณาเพื่ออนญุ าตใหป ระชาชนใชประโยชนในที่ดินของรัฐ สามารถพิจารณายกเลิกการใชท่ีดิน
และใหผ ูทไ่ี ดร ับการจัดทด่ี ินตอ งสง คนื พ้นื ที่
7. ตองระมัดระวังไมใ หก ารทําประโยชนของตนกระทบกระเทอื นหรือรบกวนบุคคลอื่นหรือกอ ใหเ กิดความ
เสียหายตอทรัพยสินของทางราชการและของเอกชน หากผูรับอนุญาตพบแร ทรัพยากรปาไม วัตถุโบราณ หรือ
ทรพั ยากรอนั ควรอนรุ กั ษ เปน ตน ใหห ยุดการทาํ ประโยชนไวและแจงใหพ นกั งานเจา หนาที่ทราบโดยดวน
8. ในกรณีที่มีความจําเปนเพ่ือประโยชนสาธารณะ หรือเพื่อประโยชนของทางราชการและทางราชการ
จะตองเรยี กพืน้ ทที่ ่ไี ดรับการจัดทีด่ นิ คืน ผูท ี่ไดรับการจัดทดี่ ินตองสงคืนพ้ืนทท่ี ันที
9. สมาชกิ ตอ งปฏิบตั ิตามขอ บังคับของสหกรณ หรอื นิติบคุ คลรปู แบบอ่นื

21

กรมท่ดี ิน กระทรวงมหาดไทย 21

ระยะเวลาในการอนุญาต

1. การนับระยะเวลาการอนุญาตคราวละ 5 ปี นั้น เร่ิมนับตั้งแต่วันท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีกาหนดไว้ใน
หนงั สอื อนุญาต โดยใหน้ บั ตามบทบญั ญตั ิในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 193/3

การนับระยะเวลาเป็นวันนั้น มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นเข้าร่วมด้วย เช่น วันเร่ิมต้นคือวันท่ี 1
มกราคม พ.ศ. 2563 วันส้ินสุด คือ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นต้น และให้ผู้ได้รับอนุญาต เช่น ผู้แทนสหกรณ์
ผู้แทนกลุ่มเกษตรกร ย่ืนแจ้งความประสงค์ขอต่ออายุหนังสืออนุญาตต่อเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด ก่อนครบ
กาหนดการอนุญาตไม่น้อยกว่า 90 วัน เว้นมีเหตุจาเป็น ซ่ึงพนักงานเจ้าหน้าท่ี (ผู้ว่าราชการจังหวัด) จะเห็นควร
พจิ ารณาผ่อนผนั

2. ให้เจา้ พนักงานทดี่ ินจังหวัดมอบหมายเจ้าหน้าท่ีออกไปตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์
ในท่ีดินท่ีอนุญาต ว่าได้ปฏิบัติตามเง่ือนไขในการอนุญาตหรือไม่อย่างไร และพิจารณาว่าสมควรต่อใบอนุญาต
หรือไม่ ด้วยเหตุผลประการใดเสร็จแล้วรวบรวมเร่ืองราวเสนอคณะกรรมการพิจารณาเพ่ืออนุญาตให้ประชาชน
ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐของจังหวัดและนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด ซ่ึงเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 9
แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ินพิจารณาการตอ่ ใบอนญุ าตต่อไป

3. สาหรับการจดแจ้งหมายเหตุนั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ได้รับมอบหมายเป็นผู้จดแจ้งการต่ออายุ
ใบอนุญาตทั้งต้นฉบับและผู้รับอนุญาต (ด้านหลังของเงื่อนไขการอนุญาต) โดยมีข้อความน้ี “ท่ีดินแปลงน้ีได้รับ
อนุญาตให้ต่ออายุการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐตามมาตรา 9 แห่ง ประมวลกฎหมายท่ีดินครั้งท่ี............มีกาหนด 5 ปี
นับตง้ั แตว่ ันที่ ....................................... จนถึงวันท่ี .........................................” พร้อมท้ังลงนามพร้อมวันเดือนปี
กากับไว้ สาหรับ... บัญชีควบคุมการอนุญาตในช่องหมายเหตุโดยจดแจ้ง “การต่ออายุใบอนุญาตครั้งท่ี ........
เมื่อวันที่ ........................” และให้ลงนามกากับไว้ตามหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0511.3/ว 19899 ลงวันท่ี 19
กรกฎาคม พ.ศ. 2554

22

22 แนวทางการจดั ทดี่ ินท�ำ กนิ ให้ชุมชน : ที่สาธารณประโยชน์

การเรยี กเก็บคา่ ตอบแทน

ผู้ได้รับอนุญาตจะต้องเสียค่าตอบแทนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 9/1 แห่งประมวล
กฎหมายที่ดินตามบัญชีแนบท้าย ประมวลกฎหมายท่ีดิน ในอัตราไม่เกินไร่ละ 1000 บาท/ปี โดยการออก
ขอ้ บัญญตั ิของทอ้ งถน่ิ โดยจะเรยี กเก็บในอตั ราเทา่ ใดกไ็ ด้ ตามท่ีกฎหมายกาหนด แต่ไม่สามารถจะออกข้อบัญญัติที่
มีข้อความขัดหรือแย้งหรือเกินกว่ากฎหมายแม่บท เช่น ยกเว้นค่าตอบแทนให้แก่ผู้รับอนุญาตรายหนึ่งรายใด หรือ
ประเภทใดได้ ตามหนงั สือกระทรวงมหาดไทย ดว่ นที่สดุ ที่ มท 0511.3/ว 965 ลงวนั ท่ี 26 มนี าคม พ.ศ. 2551

23

กรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย 23

กรณีผู้ไดร้ ับการจัดท่ีดินถึงแกก่ รรม

1) กรณีผู้ได้รับการจัดที่ดินถึงแก่กรรมให้ทายาทโดยธรรม แจ้งความประสงค์ขอใช้ประโยชน์ที่ดิน
สาธารณประโยชน์ภายใน 90 วัน นับแต่วันท่ีผู้รับจัดท่ีดินถึงแก่กรรมหากไม่ได้แจ้งความประสงค์ภายในกาหนด
โดยไม่มีเหตุอันสมควรให้ถือว่าสละสิทธิ์และสามารถพิจารณานาไปให้ คทช.จังหวัด พิจารณาจัดบุคคลที่มีสิทธิใน
ลาดบั ตอ่ ไปใชป้ ระโยชน์ได้

2) สิทธิในการได้รับการจัดท่ีดินนั้นเป็นสิทธิเฉพาะตัวจะโอนให้แก่ผู้อ่ืนไม่ได้ เพียงแค่กาหนดให้
ทายาทโดยธรรมมีสิทธิขอใช้ที่ดินน้นั ก่อนบุคคลอนื่ เท่านัน้

3) กรณที ายาทแจง้ ความประสงค์ขอใช้ประโยชน์ในท่ีดินภายในกาหนดให้คณะกรรมการพิจารณาอนุญาต
ให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ และ คทช.จังหวัด พิจารณาคุณสมบัติของทายาทตามหลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้อง
หากทายาทมีสิทธิได้รบั การจัดที่ดินให้แกไ้ ขข้อมูลรายช่ือผู้ไดร้ บั การจดั ใหถ้ ูกตอ้ งต่อไป

4) ทายาทโดยธรรมให้พิจารณาตามมาตรา 1629 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เว้นผู้ได้รับ
การจัดทด่ี นิ เดมิ ได้แจง้ ความประสงค์ไว้ใหเ้ ป็นไปตามความประสงค์ของผู้ได้รับการจดั เดิมนั้น

24

24 แนวทางการจดั ท่ดี ินท�ำ กนิ ใหช้ ุมชน : ทสี่ าธารณประโยชน์

การยกเลกิ เพกิ ถอน หนังสืออนุญาต

1. กรณีผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขท่ีระบุไว้ในหนังสืออนุญาต ไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของ
พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือขาดคุณสมบัติที่จะได้รับอนุญาตตามที่กฎหมายหรือระเบียบกาหนด ให้คณะกรรมการ
พิจารณาอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐและ คทช.จังหวัด สามารถพิจารณาเพิกถอนการอนุญาตและให้
พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกคืนหนังสืออนุญาต เพื่อหมายเหตุยกเลิกพร้อมต้นฉบับ โดยอาจเพิกถอนท้ังหมดหรือ
บางสว่ นกไ็ ด้

ส่วนกรณีผู้ได้รับการจัดที่ดินไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีระบุไว้ ไม่ปฏิบัติตามคาส่ัง ข้อบังคับ เงื่อนไข
ท่กี าหนดหรอื ขาดคุณสมบัติที่จะได้รับอนุญาตตามหลักเกณฑ์ที่ คทช. กาหนดไว้นั้น ให้ผู้ได้รับอนุญาต นายอาเภอ
องค์การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ทมี่ ีอานาจหนา้ ทดี่ ูแลรกั ษาและควบคมุ กากับดูแล และรายงานพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อ
พจิ ารณายกเลกิ สทิ ธใิ นการไดร้ ับการจัดท่ดี ิน และพิจารณาให้บุคคลในลาดบั ถัดไปได้รับสทิ ธใิ นการจัดท่ดี นิ แทน

2. กรณกี ารหมายเหตุยกเลิกหรอื เพิกถอนหนังสืออนญุ าต (ท้ังฉบับ) กรณีผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตาม
เงื่อนไข หรือคาส่ังพนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือขาดคุณสมบัติ ให้เจ้าหน้าที่สรุปเร่ืองราวเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด
เพื่อทราบสาหรับวิธีการหมายเหตุ ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดเป็นผู้จดแจ้งการยกเลิกหรือเพิกถอนด้วยวิธีขีดเส้น
คู่ขนานลงด้านหน้าหนังสืออนุญาตทั้งต้นฉบับและฉบับผู้รับอนุญาตโดยบรรยายด้วยอักษรสีแดง ว่า “หนังสือ
อนญุ าตฉบบั น้ีถูกยกเลกิ หรอื เพิกถอนตามมติคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
ของรัฐ ลงวันท่ี .........................” พร้อมท้ังลงนามและวันเดือนปีกากับไว้สาหรับบัญชีการควบคุมการอนุญาต
ในช่องหมายเหตใุ หจ้ ดแจ้งการยกเลกิ หรอื เพิกถอนวิธีการดงั กล่าวข้างตน้ โดยอนโุ ลม

กรณีการหมายเหตุการยกเลิกหรือเพิกถอนหนังสืออนุญาต (บางส่วน) กรณีผู้รับอนุญาต
ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือคาสั่งพนักงานเจ้าหน้าท่ี ให้เจ้าหน้าท่ีสรุปเร่ืองราวเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อทราบ
สาหรบั วิธีการหมายเหตุ ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดเป็นผู้จดแจ้งการยกเลิกหรือเพิกถอนดังกล่าวด้านหน้าหนังสือ
อนุญาต โดยบรรยายด้วยตัวอักษรสีแดงว่า “หนังสืออนุญาตฉบับนี้ได้ยกเลิกหรือเพิกถอนบางส่วนตามมติ
คณะกรรมการพจิ ารณาอนุญาตใหป้ ระชาชนใช้ประโยชน์ในทด่ี ินของรฐั ลงวนั ท่ี ..........................” สาหรับการ
แก้ไขให้ขีดฆ่าส่วนท่ียกเลิกหรือเพิกถอนและแก้ไขรูปแผนท่ี จานวนเน้ือที่ข้างเคียงและระยะ ท้ังต้นฉบับและ
ฉบับผู้รับอนุญาตให้ถูกต้องตรงกัน พร้อมท้ังลงนามและวันเดือนปีกากับไว้สาหรับบัญชีควบคุมการอนุญาตในช่อง
หมายเหตุให้จดแจง้ การยกเลิกหรือเพิกถอนบางสว่ นตามวิธกี ารดังกลา่ วข้างตน้ โดยอนุโลม

25

กรมทีด่ ิน กระทรวงมหาดไทย 25

การจัดทาสาธารณูปโภค

1. จัดให้มีพื้นท่ีเพ่ือการสาธารณูปโภคตามความเหมาะสม เช่น ถนน แหล่งน้า หรืออ่ืน ๆ โดยในกรณี
จาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งขยายหรือจดั ให้มีพืน้ ท่ีเพอื่ การสาธารณูปโภคเพ่ิมขึ้น จะต้องทาความตกลงกับราษฎร ผู้ครอบครอง
เพอ่ื ขอกันพ้นื ท่คี รอบครองมาดาเนินการ

2. ในการจัดทา ปรับปรงุ หรือพัฒนาส่งิ สาธารณูปโภค ตามขอ้ 1 จะต้องพิจารณาตามความจาเป็น และ
เหมาะสมแก่สภาพทอ้ งถน่ิ

3. ประมาณค่าใช้จ่าย รายละเอียดสาธารณูปโภคที่ประสงค์จะดาเนินการพร้อมแบบก่อสร้าง แผนผัง
แปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์ กาหนดตาแหน่งท่ีจะจัดทาสาธารณูปโภค และแบบสรุปงบประมาณการราคาวัสดุ
และคา่ แรงก่อสร้าง (แบบ ปร.4 ปร.5)

4. การจัดทาสาธารณูปโภค ได้แก่ ถนนผังจราจรลูกรัง เกรดบดอัด และสระน้า ในแปลงท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ทนี่ ามาจัดให้แก่ราษฎร ตามแนวทางคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) วัตถุประสงค์
เพื่อให้ความช่วยเหลือข้ันพื้นฐานแก่งานราษฎรในพื้นท่ีที่อยู่ในโครงการ ถือเป็นการจัดระเบียบการถือครองท่ีดิน
และใหไ้ ดร้ ับความสะดวกเพ่มิ ขนึ้ ในการคมนาคม และขนส่งผลผลิตออกจากพ้นื ท่ี ตลอดจนเพื่อเป็นแหล่งน้า ในการ
อุปโภค บริโภค โดยถือเป็นการจัดทาเพื่อรองรับความจาเป็นพื้นฐานเท่าน้ัน การจัดทาสาธารณูปโภคดังกล่าว
จึงไม่ใช่เพ่ือการพัฒนาโดยตรง ดังน้ัน การก่อสร้างถนนจานวนหลายเส้นทาง ได้งบประมาณจานวนมาก ขณะท่ีแปลง
ท่ีดินท่ีจะนามาจัดทาโครงการมีเน้ือที่ไม่มาก รวมทั้งจานวนผู้อยู่อาศัยทากินก็ไม่มาก หรือจัดทาถนนหินคลุกหรือ
ถนนคอนกรีต รวมทั้งการขุดลอก หนองน้า ลาคลอง สาธารณประโยชน์ที่มีอยู่เดิม จึงไม่สามารถจัดสรร
งบประมาณใหไ้ ด้ หรือกรณขี องบประมาณเพม่ิ เติมในพน้ื ท่เี ดิมคร้งั ทส่ี อง ครั้งท่ีสามด้วยและอาจส่งผลกระทบต่อผัง
แปลงที่ดิน ท่ีได้รับการจัด เน่ืองจากพ้ืนที่สาธารณูปโภคลุกล้าเข้าไปในที่ดินของราษฎรท่ีได้รับการจัดทาให้ต้องมี
การปรับเปลี่ยนรูปแปลงท่ีดินและต้องทาการรังวัดใหม่ ส่งผลกระทบต่อการดาเนินการต่อไป ได้แก่การจัดทา
ประชาคม การออกหนังสืออนุญาต ไมส่ ามารถดาเนินการได้ ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ผลดตี ่อการจัดทาโครงการในภาพรวม

26

26 แนวทางการจัดทดี่ ินท�ำ กินให้ชุมชน : ทสี่ าธารณประโยชน์

5. การคานวณราคากลางในการจดั ทาสาธารณูปโภค กรมที่ดิน ได้กาหนดแนวทางปฏิบัติไว้ตามหนังสือ
กรมทีด่ ิน ดว่ นท่สี ุด ท่ี มท. 0511.4/ว 7920 ลว. 22 มีนาคม 2550

6. การประมาณการค่าใช้จ่ายในการจัดทาสาธารณูปโภค (ถนนลูกรัง) ในแปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์
การประมาณการค่าก่อสร้างสาธารณูปโภค (ถนนลูกรัง) ให้ใช้หลักเกณฑ์การกาหนดราคากลางงานก่อสร้าง
ตามหนังสือสานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0205/ว 199 ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2544 และประมาณหลักเกณฑ์
การคานวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน งานก่อสร้างทางของคณะกรรมการการควบคุมราคากลาง สานัก
นายกรัฐมนตรีในกรณีที่คานวณราคากลางค่าก่อสร้างดังกล่าว ต้ังแต่วันที่ 22 มีนาคม 2550 ให้ใช้หลักเกณฑ์
ตามมติคณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ท่ี 6 กุมภาพันธ์ 2550 พร้อมนี้ขอให้ส่งเอกสารข้อมลู ประกอบการพิจารณาตรวจสอบ ดังนี้

1) บัญชีราคาประเมินรอบปีปัจจุบันของแหล่งดิน (ข้อมูลการคิดราคาดินในการถมที่)
พร้อมระยะทางโดยประมาณจากแหล่งดินถึงแปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์ที่จะทาการก่อสร้าง (ข้อมูลการคิดค่า
ขนส่ง)

2) ราคาดินลูกรังท่ีแหล่งท่ีใกล้กับแปลงที่ดินสาธารณประโยชน์นั้นต้ังอยู่พร้อม
ระยะทางโดยประมาณจากแหล่งดนิ ลกู รงั ถงึ แปลงที่ดินสาธารณประโยชนท์ จ่ี ะทาการก่อสรา้ ง

3) ราคาน้ามันดีเซลโดยเฉลี่ยที่อาเภอเมืองของจังหวัดที่แปลงที่ดินสาธารณประโยชน์
นั้นตั้งอยู่เพ่ือนามาคิดราคาค่างานต้นทุนตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกากับนโยบายราคากลางงานก่อสร้าง
กาหนด

ในการประมาณการราคาก่อสร้างสาธารณูปโภค (ถนนลูกรัง) ดังกล่าว ข้อมูลต่าง ๆ
หรือมีข้อสงสัยในการประมาณการขอให้ประสานงานขอข้อมูลจากหน่วยงานของกรมทางหลวง กรมทางหลวง
ชนบท หรอื กรมโยธาธกิ ารและผงั เมืองในพืน้ ท่ี

27

กรมทดี่ ิน กระทรวงมหาดไทย 27

สรุปขภ้ันาตยใอตคนณกะากรรรจมัดกาทรนี่ดโินยบทายําทก่ดี ินินแใหหง ชชาุมตชิ (คนทใชน.)ที่ดนิ สาธารณประโยชน

1. อําเภอ/อปท. พิจารณาคัดเลือกแปลงที่ดนิ สาธารณประโยชนท ่อี ยูใ นหลกั เกณฑท่ี คทช. กาํ หนด
2. อําเภอ/อปท. จัดประชุมชี้แจงราษฎร ท่ีอยูอาศัยทํากินในที่ดินสาธารณประโยชน เพ่ือใหยอมรับ
หลักเกณฑเ งอ่ื นไขและแนวทางการจัดที่ดินทํากินใหชุมชนตามที่ คทช.กําหนด พรอมทั้งเตรียมความพรอมในการ

รวมตั้งเปน กลุมสหกรณ หรอื รูปแบบอืน่ ทเี่ หมาะสม

3. อําเภอ/อปท. จัดทําโครงการบริหารจัดการการใชประโยชนในท่ีดินสาธารณประโยชนที่มีการบุกรุก
เพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทสงใหสํานักงานที่ดินจังหวัด เพื่อพิจารณาเสนอใหผูวาราชการจังหวัด

พจิ ารณาอนุมตั ิโครงการฯ

4. สํานักงานท่ีดนิ จังหวดั ประมาณการคา ใชจ ายจดั ทาํ โครงการฯ ที่ผูวาราชการจังหวัดอนุมัติและใหกรมท่ีดิน
พิจารณาจดั สรรงบประมาณในการรงั วัดผงั แปลง และจดั ทําสาธารณูปโภค (ถาม)ี

5. รังวัดรวมแปลงท่ีดินสาธารณประโยชนโดยรอบทั้งแปลงและรังวัดแปลงยอย (แปลงท่ีไดรับการจัด
ตามสภาพท่ีครอบครองอยูเดิม แตไมเกินครอบครัวละ 15 ไร) รวมทั้งแปลงท่ีเปนสวนกลาง และสอบสวนผูไดรับ

การจัดตามแบบที่กําหนดไวใ นหนงั สอื กรมท่ดี ิน ท่ี มท. 0511.4/ว 16948 ลงวันท่ี 9 มิถนุ ายน 2548 ดวย พรอมทั้ง

จดั ทําบัญชรี ายชอื่ ผูครอบครองและผังแปลงไวเ ปน หลกั ฐาน เสร็จแลว สง กรมทด่ี นิ พิจารณา

6. กรมที่ดินสงขอมูลผังแปลงและรายชื่อใหคณะอนุกรรมการจัดหาที่ดิน ซ่ึงมีกรมปาไมเปน
ฝายเลขานุการพิจารณาเหน็ ชอบ

7. คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินสงขอมูลผังแปลงและรายชื่อใหคณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน ซึ่งมีกรมที่ดิน
เปนฝา ยเลขานุการ เพ่ือสง ใหคณะกรรมการนโยบายที่ดินจงั หวดั (คทช.จงั หวดั ) พิจารณา

28

28 แนวทางการจัดทด่ี ินทำ�กนิ ให้ชมุ ชน : ท่สี าธารณประโยชน์

8. ในระหวางการดําเนินการตามขอ 6 และขอ 7 เม่ือสํานักงานที่ดินจังหวัด ไดรับเรื่องรังวัดผังแปลง
พรอมรายชื่อผูไดรับการจัดแลว สามารถสงเรื่องใหอําเภอ/อปท. พิจารณาคัดเลือกบุคคลผูไดรับการจัด
ตามหลักเกณฑที่ คทช. กําหนด พรอมจัดทําประชาคมหมูบานในพื้นที่ท่ีดินสาธารณประโยชนต้ังอยูเพื่อให
ความเห็น เสร็จแลวใหสํานักงานที่ดินจังหวัดนํารายช่ือผูที่ผานการพิจารณาคัดเลือกของอําเภอ/อปท. แลว
เสนอคณะกรรมการพิจารณาเพ่ืออนุญาตใชประโยชนในท่ีดินของรัฐ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการ
อนุญาตไหประชาชนใชประโยชนในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 เพื่อกลั่นกรอง เสร็จแลวนําเสนอคณะกรรมการ
นโยบายทด่ี นิ จงั หวัด (คทช.จงั หวดั ) พจิ ารณาตอ ไป

9. เม่ือคณะกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) พิจารณาเห็นชอบแลว ใหผูผานการพิจารณา
คัดเลือก ขอจัดต้ังกลุมสหกรณหรอื รูปแบบอ่นื ที่เหมาะสม ไดท ่ีสํานักงานสหกรณจ งั หวัดพ้นื ที่

10. เม่ือผูไดรับการพิจารณาคัดเลือกไดจัดต้ังกลุมสหกรณหรือรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสมแลว ใหสํานักงาน
ท่ีดินจังหวัดพิจารณาเสนอผูวาราชการจังหวัด ออกหนังสืออนุญาตใหกลุมสหกรณ หรือรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสมเขา
ใชประโยชน ตามหลักเกณฑและเง่ือนไขที่กําหนด โดยใหกลุมสหกรณ หรือรูปแบบอ่ืนที่เหมาะสมบริหารจัดการ
การใชป ระโยชนใ นทดี่ ินดงั กลา วใหกบั สมาชิก เขาใชป ระโยชนโ ดยสามารถกําหนดหลกั เกณฑ เง่ือนไข ใหสมาชิกถือ
ปฏิบัติไดเชนเดยี วกัน

11. คณะกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) รายงานคณะอนุกรรมการจัดที่ดิน เพื่อรายงาน
คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติ (คทช.) รับทราบ และสงขอมูลใหหนวยงานเจาของพ้ืนท่ี ผูมีอํานาจหนาที่ใน
การดูแลรักษา (อําเภอ/อปท.) กํากับการใชประโยชนใหเปนไปตามเงื่อนไขหลักเกณฑท่ีกําหนด ภายใตกรอบ
การบรหิ ารจดั การของคณะกรรมการนโยบายทด่ี ินแหงชาติ (คทช.)

29

กรมท่ดี นิ กระทรวงมหาดไทย 29

การจดั ทําโครงการบริหารจัดการ การใชป ระโยชนในท่ีดนิ สาธารณประโยชน
ทม่ี กี ารบกุ รุกเพอื่ ขจดั ความยากจนและพฒั นาชนบท

ในการจัดโครงการบริหารจดั การ การใชประโยชนในที่ดินสาธารณประโยชนที่มีการบุกรุก เพื่อขจัดความ
ยากจนและพัฒนาชนบท นนั้ ใหอําเภอ หรือองคการปกครองสวนทองถ่ิน จัดทําโครงการเสนอ ผูวาราชการจังหวัด
อนมุ ัติ ดงั นี้

1. ชื่อโครงการ
โครงการบรหิ ารจดั การการใชประโยชนในท่ดี ินสาธารณประโยชนท ี่มีการบุกรกุ เพื่อขจัดความยากจน

และพฒั นาชนบท ปงบประมาณ พ.ศ...................ทส่ี าธารณประโยชนแปลง............................................................
บาน................................................................หมูท.่ี ................ตําบล.........................................................................
อาํ เภอ.......................................................................จังหวัด.....................................................................................

2. หลักการและเหตผุ ล
เพื่อเปนการสนองนโยบายรัฐบาลและเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2559 และ

มติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ คร้ังที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2558 ซ่ึงมุงเนนขจัดความยากจน
ใหแกราษฎรผูยากไร ไดมีที่ดินทํากินและท่ีอยูอาศัย โดยไมตองเปนกรรมสิทธิ์แครับรองสิทธิรวมในการจัดที่ดิน
ของชุมชนในลักษณะแปลงรวมจึงไดจัดทําโครงการบริหารจัดการ การใชประโยชนในที่ดินสาธารณประโยชนที่มีการ
บุกรุกเพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทแปลง........................................... บาน..........................หมูท่ี.........
ตาํ บล.................................................อําเภอ.............................................จังหวดั .......................................................

3. วัตถปุ ระสงค
3.1 ประชาชนท่อี ยใู นท่ดี นิ ของรัฐไดรับการจัดระเบียบการถือครองท่ดี ิน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนใหอยดู มี สี ุขอยางยัง่ ยนื
3.2 เพื่อแกไขปญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการแกไขปญหา

การบกุ รุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545 และตามมติคณะรฐั มนตรีเมื่อวันท่ี 3 กมุ ภาพันธ 2547 ท่ี กบร. เสนอ
3.3 เพื่อสนับสนุนนโยบายการขจัดความยากจนและพัฒนาบทของรัฐบาล และตามมติ

คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหงชาติ ครั้งที่ 1/2558 เม่ือวนั ท่ี 19 มีนาคม 2558
4. เปา หมาย
เพือ่ นําท่ีดนิ สาธารณประโยชน แปลง.......................................................................................................

บาน..........................หมูท่ี..............ตําบล.............................อําเภอ............................จังหวัด............................
ตามหลักฐานหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง เลขท่ี...................ออกให เมื่อวันที่...........................เน้ือที่..........ไร
(กรณยี ังไมม ี น.ส.ล.ระบุ ซ่งึ ยังไมมีหนังสือสําคัญท่ีเปนท่ีหลวง) และราษฎรไดเขาครอบครองทําประโยชนเต็มทั้งแปลง
อยางชัดเจนมาเปนเวลานาน อีกทั้งไมมีความจําเปนจะตองหวงหามไวใชประโยชนรวมกันอีกตอไปมาจัดระเบียบ
การถอื ครองจํานวนประมาณ............ครวั เรือน (โดยระบุดว ยวา เปนการจัดทงั้ แปลง หรือบางสวน เนอ้ื ท่ปี ระมาณ......ไร)

30

30 แนวทางการจดั ทด่ี ินทำ�กนิ ใหช้ มุ ชน : ทีส่ าธารณประโยชน์

5. ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การ
5.1 องคกรปกครองสว นทองถนิ่ รวมกับอาํ เภอและสํานกั งานท่ดี นิ จัดทําประชาคมช้ีแจงทําความเขาใจ

กับราษฎรในพ้ืนท่ีในการยอมรับ การดําเนินการตามโครงการบริหารจัดการการใชประโยชนในที่ดิน
สาธารณประโยชนท่ีมีการบุกรุกเพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท โดยอนุญาตใหใชประโยชนที่ดินในรูปแปลงรวม
โดยใหราษฎรรวมกลุมกันเปนชุมชนในรูปแบบสหกรณ หรือรูปแบบอื่นตามความเหมาะสมของพ้ืนที่การรวมกลุมกัน
เปนชุมชนน้ัน ผูครอบครองท่ีดินสามารถสมัครเปนสมาชิกของกลุมสหกรณ หรืออื่น ๆ ครัวเรือนละหนึ่งคน
และแตงต้งั ตัวแทนอน่ื ขอจดทะเบียนตอ นายทะเบียนสหกรณ หรือนายทะเบียนอ่ืน ๆ ประจําจังหวัด เพ่ือใหมีฐานะ
เปนนิติบุคคล และสามารถบริหารจัดการการใชประโยชนในที่ดินของชุมชนได โดยจะตองนําหลักฐานการรับ
จดทะเบียนดังกลา ว มายนื่ ตอ สํานกั งานท่ดี นิ จงั หวัดกอนวนั ที่ผวู า ราชการจังหวดั ออกหนังสืออนุญาต

5.2 องคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมกับอําเภอจัดทําโครงการเสนอผูวาราชการจังหวัดอนุมัติโครงการ
และสง โครงการใหกรมที่ดนิ พิจารณาจดั สรรงบประมาณ

5.3 สํานักงานที่ดินจังหวัดรังวัดแปลงที่ดินแปลงรวมและแปลงยอย เพื่อทราบแนวเขตที่ครอบครอง
โดยรังวดั วางผังแบงแปลงตามแนวเขตการครอบครองเดิม พรอมจดั ทําบัญชรี ายช่อื ผคู รอบครองและผังแปลงไวเปน
หลักฐาน เสรจ็ แลว สง เรอื่ งใหก รมที่ดิน (กรณีไมมีชางรงั วัดสามารถขอชางรงั วดั จากกรมทด่ี ินได)

5.4 กรมที่ดินสงเร่ืองใหคณะอนุกรรมการจัดหาที่ดิน โดยกรมปาไมในฐานะฝายเลขานุการเสนอ
คณะกรรมการนโยบายทด่ี นิ แหง ชาติ (คทช.) พิจารณาเหน็ ชอบและมอบใหคณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน โดยกรมท่ีดิน
ในฐานะฝา ยเลขานกุ ารพจิ ารณาดําเนนิ การ

5.5 คณะอนุกรรมการจัดท่ีดินสงเร่ืองใหคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด)
ตรวจสอบคณุ สมบตั เิ พื่อเสนอผวู าราชการจังหวัด

5.6 ผูวาราชการออกหนังสืออนุญาตใหชุมชน (ท่ีไดจดทะเบียนตอนายทะเบียนสหกรณหรือ
นายทะเบยี นอืน่ เปนนิติบคุ คลแลว) ตามมาตรา 9 แหง ประมวลกฎหมายท่ีดิน

5.7 คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) รายงานคณะอนุกรรมการจัดท่ีดินเพ่ือ
รายงานคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติ (คทช.) ทราบ และใหคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด
(คทช.จังหวัด) สงขอมูลใหหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีกํากับดูแลการใชประโยชนใหเปนไปตามเง่ือนไขท่ีกําหนดภายใต
กรอบการบริหารจัดการของคณะกรรมการนโยบายทีด่ ินแหงชาติ (คทช.)

6. พื้นทด่ี ําเนินการ
ดําเนินการในที่ดินสาธารณประโยชนเพ่ือนําที่ดินสาธารณประโยชนแปลง........................................

บา น ......................... หมทู ี่ ......... ตําบล ................................ อาํ เภอ ............................ จังหวัด............................
ซึ่งมีผูครอบครองทํากินและอยูอาศัย (เต็มแปลง/บางสวน) เนื้อที่ประมาณ ............. ไร และราษฎรหมดความ
จําเปนเลิกใชประโยชนรวมกนั แลว มาดาํ เนินการตามโครงการ (รายละเอยี ดตามแผนทส่ี ังเขปแนบทา ยโครงการ)

31

กรมทดี่ นิ กระทรวงมหาดไทย 31

7. หนว ยงานรับผดิ ชอบ
7.1 องคการบรหิ ารสวนตําบล/เทศบาล.........................................
7.2 อาํ เภอ......................................................................................
7.3 สาํ นกั งานท่ดี ิน จังหวัด ........................./สาขา........................
7.4 คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ จังหวดั ........................................

8. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ

ดําเนินการใหแลว เสร็จภายใน ............. เดือน นับแตวันอนมุ ัติโครงการ

9. งบประมาณ
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณแผนดินจากกรมที่ดิน เพ่ือเปนคาใชจายในการรังวัดออกหนังสือสําคัญ

สาํ หรบั ท่หี ลวง (น.ส.ล.) และวางผงั แบง แปลงท่ดี นิ จํานวนทัง้ สนิ้ ...................................................บาท ดําเนินการ
โดยชางรงั วดั จากสํานกั งานที่ดนิ จงั หวัด (โดยชางรงั วดั จากกรมทด่ี นิ ) โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี

1. คาจางช่ัวคราว จํานวน........................................................บาท
2. คา ตอบแทน ใชสอย และวัสดุ จาํ นวน.................................บาท

ขอรับการสนับสนุนงบประมาณแผนดินจากกรมท่ีดิน เพ่ือเปนคาใชจายในการจัดทําสาธารณูปโภค
กอสรา งถนนดินลงลูกรังบดอัด ขนาดกวาง.........................................เมตร ผวิ จราจร......................................เมตร
ระยะทาง.............................................กโิ ลเมตร ดาํ เนินการโดย........................................................................(ถาม)ี

รายละเอียดตามแบบสรุปผลการประมาณการคาใชจาย และประมาณการราคากอสราง โครงการ
กอ สรางถนนลูกรงั ทแี่ นบมาพรอ มน้ี (ประมาณการโดยเทศบาล.....................................ใชเปรียบเทียบงบประมาณ
ตองไมเ กินงบ เทศบาล.........................................................โดยให. ..........................................................ดําเนนิ การ)

10. ผลท่ีคาดวาจะไดรบั
1. ราษฎรไดเขาอยูอาศัยในที่ดินของรัฐ มีความม่ันคงในการถือครองที่ดิน สงผลใหมีความมั่นใจใน

การลงทุนและประกอบกิจการในทด่ี นิ ทาํ ใหม คี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดีข้ึน
2. สามารถขจดั ความยากจน อันเปนการสนองนโยบายของรฐั บาลใหร ปู ธรรมมากยิ่งข้ึน
3. ลดขอพิพาทเกยี่ วกับสิทธิการถอื ครองท่ีดนิ ระหวา งรัฐกับราษฎร

11. การติดตามประเมนิ ผล
สํานักงานที่ดินจังหวัด......................................... รายงานผลการดําเนินการรังวัดตอกรมที่ดิน

เปน ประจําทุกเดอื นจนแลวเสรจ็ ตามโครงการ

32

32 แนวทางการจัดท่ดี ินทำ�กนิ ใหช้ ุมชน : ทสี่ าธารณประโยชน์

ข้นั ตอนการจดั ท่ีดินทาํ กนิ ใหช มุ ชนในทด่ี นิ สาธารณประโยชน
ภายใตคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแหงชาติ

อาํ เภอ/อปท. คดั เลอื กแปลง

อาํ เภอ/อปท. จัดประชุมชีแ้ จงราษฏรท่อี ยูในที่ดินสาธารณประโยชนใหย อมรบั หลักเกณฑ
และแนวทางการจดั ทีด่ นิ ใหชมุ ชนตามที่ คทช. กาํ หนด
อาํ เภอ/อปท. จัดทําโครงการฯ ใหส ํานักงานทดี่ ินจังหวดั
เพ่ือพจิ ารณาเสนอ ผวจ.จงั หวดั

สง กรมทด่ี ินเพ่อื พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณรังวัดผงั แปลงและจัดทาํ สาธารณูปโภค (ถามี)
สํานักงานที่ดินจงั หวัด/สาขา/เจาหนาทสี่ ว นกลาง ทาํ การรงั วัดผงั แปลง
เสรจ็ แลวสง ผังแปลงพรอมรายช่อื ผทู ีไ่ ดรับการจัดใหส ํานกั งานท่ีดินจงั หวัด

33

กรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย 33

เมื่อ คทช. จังหวดั พจิ ารณาเหน็ ชอบผูไ ดรับการคดั เลอื ก
ผูไ ดรับการคดั เลือกขอจัดตัง้ สหกรณหรอื รูปแบบอน่ื ทเ่ี หมาะสม
สาํ นกั งานท่ีดินจังหวดั เสนอ ผวจ.ออกหนงั สืออนุญาตใหกบั ชุมชน

รายงานคณะอนกุ รรมการจัดท่ีดิน
เพอ่ื รายงานคณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แหง ชาติ (คทช.) รับทราบ
พรอ มทงั้ สงขอ มลู ใหห นว ยงานเจา ของพืน้ ที่เพ่อื กํากบั ดแู ลการใชป ระโยชน

ตามเง่ือนไขที่ คทช. กาํ หนดภายใตก รอบของ คทช.

34

34 แนวทางการจัดท่ดี นิ ทำ�กินให้ชุมชน : ท่ีสาธารณประโยชน์

การจัดตั้งสหกรณตามนโยบายคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ

การจัดต้ังสหกรณมี 7 ประเภท ไดแก สหกรณการเกษตร สหกรณประมง สหกรณนิคม สหกรณ
รา นคา สหกรณบริการ สหกรณออมทรัพย และสหกรณเครดิตยเู นี่ยน

แนวทางการดําเนนิ งานของสหกรณ
สหกรณที่จัดตัง้ ในพน้ื ทโ่ี ครงการจัดที่ดินทํากินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล เกิดจากผูที่ไดรับการจัดท่ีดิน
ของรัฐโดยไมใหก รรมสทิ ธิ์ แตไ ดร บั อนุญาตใหเขาทําประโยชนในท่ีดินของรัฐในลักษณะแปลงรวม มีการรวมตัวกัน
และดาํ เนนิ การตามขั้นตอนการจัดต้ังสหกรณ จนไดรับการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลในรูปสหกรณตามกฎหมายวา
ดวยสหกรณแลว สหกรณจะตองบริหารจัดการท่ีดินของรัฐที่ไดรับอนุญาต โดยสหกรณและสมาชิกจะตองปฏิบัติ
ตามระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงานท่ีอนุญาตใหใชที่ดิน รวมท้ังขอกําหนดที่ คทช. จะกําหนดขึ้นใหม
ในภายหลัง รวมท้ังการสงเสริมการประกอบอาชีพเพ่ือสรางรายได ลดรายจายในครัวเรือนตามศักยภาพของพื้นที่
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภายใตการใชระบบอนุรักษดินและนํ้าที่เหมาะสม ซึ่งการดําเนินงานของสหกรณใน
พน้ื ทโ่ี ครงการมแี นวทางการดําเนนิ งาน ดังน้ี
1) ลกั ษณะทวั่ ไปของสหกรณ
2) การดําเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ
3) การบรหิ ารจัดการท่ดี ินของรัฐท่ไี ดร บั อนญุ าตใหเ ขาทําประโยชน โดยไมใ หก รรมสิทธ์ิ มแี นวทางดงั นี้

35

กรมท่ีดนิ กระทรวงมหาดไทย 35

1. ลักษณะทวั่ ไปของสหกรณ
สหกรณทจี่ ดั ตง้ั ขึ้นในพน้ื ท่ีโครงการจัดที่ดินทํากินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล สวนใหญจะเปนประเภท

สหกรณการเกษตร ซึ่งสหกรณการเกษตรจะมีลักษณะในการรวมกันแกไขปญหาเดือดรอนในดานการประกอบ
อาชีพเก่ียวกับเงินทุน การผลิตและการจําหนาย รวมทั้งเพื่อยกฐานะความเปนอยูของสมาชิกใหดีข้ึน ดวยการ
ชวยเหลือตนเองและชวยเหลือซ่ึงกันและกันตามหลักการสหกรณ โดยวัตถุประสงคของสหกรณจะกําหนดไวใน
ขอบงั คับเพือ่ ใชเปน กรอบในการดําเนนิ งานของสหกรณ ดังน้ี

1) จัดหาวัสดุการเกษตรและเครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคท่จี ําเปนมาจําหนายแกสมาชกิ
2)...รวบรวมผลิตผลการเกษตรผลิตภัณฑและบริการของสมาชิกมาจัดการขายหรือแปรรูปออกขาย โดย
ซ้อื หรือรวบรวมผลิตผลจากสมาชกิ กอ นผูอ ่นื
3) จดั ใหม ีเงนิ กู หรือสนิ เชือ่ แกส มาชิกเพอื่ การประกอบอาชีพและการดํารงชพี
4) สงเสรมิ การออมทรพั ยของสมาชิก
5) สง เสรมิ การเรยี นรแู ละพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ และชุมชน
6) รวมมือกับสหกรณอื่น สันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย ชุมชมสหกรณ องคกรชุมชนภาคเอกชน
และหนว ยงานของรัฐเพอ่ื สงเสรมิ และปรบั ปรงุ กิจการของสหกรณ
7) สงเสริมและเผยแพรอาชีพเกษตร หัตถกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือนหรือการประกอบอาชีพ
อยางอื่นในหมูสมาชิกและครอบครัวสมาชิกรวมท้ังการสงเสริมความรูในการผลิตทางอุตสาหกรรมเพ่ือใหสมาชิกมี
อาชีพและรายไดท่ีมั่นคง

36

36 แนวทางการจดั ท่ดี ินท�ำ กินให้ชมุ ชน : ที่สาธารณประโยชน์

2. การดาํ เนนิ ธรุ กิจของสหกรณ
สหกรณการเกษตรมีการดําเนินธุรกิจแบบอเนกประสงค กลาวคือ ดําเนินธุรกิจหลายดานเพ่ืออํานวย

ประโยชนและใหบริการแกมวลสมาชิกในการประกอบอาชีพทางการเกษตร ตามวัตถุประสงคของสหกรณขางตน
จําแนกธรุ กจิ ของสหกรณอ อกเปน 5 ดาน ดงั นี้

1) ธุรกจิ สินเชอื่
เปนธุรกิจท่ีสหกรณใหเงินกู หรือสินเชื่อการเกษตรแกสมาชิกตามระเบียบของสหกรณเพื่อให

สมาชิกนําไปใชเปนเงินทุนในการประกอบอาชีพ หรือใชจายท่ีจําเปน โดยแบงประเภทเงินกูตามระยะเวลาใหกู
ไดแ ก เงนิ กูระยะส้ัน เงินกูระยะปานกลางและเงินกูระยะยาว ซ่ึงเงินกูแตละประเภทมีเงื่อนไขแตกตางกันไป ตามที่
กําหนดในระเบียบของสหกรณ นอกจากนี้ สหกรณยังสามารถใหสหกรณอื่นกูยืมไดโดยปฏิบัติตามกฎของสหกรณ
ทีไ่ ดรับความเห็นชอบจากนายทะเบยี นสหกรณ

2) ธุรกิจการหาสินคา มาจําหนาย
เปนธุรกิจที่สหกรณจัดหาหรือจัดซื้อเครื่องจักรกลการเกษตร วัสดุอุปกรณการเกษตร เคร่ืองมือ

เคร่ืองใชในการประมง น้ํามันเชื่อเพลิงและหลอลื่น ตลอดจนสินคาอุปโภคบริโภคและอ่ืน ๆ ท่ีจําเปนเพื่อนํามา
จําหนายใหแกสมาชิกและผูมิใชสมาชิกตามที่กําหนดไวในระเบียบของสหกรณ โดยจําหนายในราคาที่เหมาะสม
สาํ หรับประเภท ชนิดและคุณภาพสินคา เปน ไปตามความตองการของสมาชิก

3) ธรุ กจิ รวบรวมผลติ ผล
เปนธุรกิจที่สหกรณรวบรวม หรือรับซื้อผลิตผลและผลิตภัณฑทางการเกษตรของสมาชิกเพ่ือนําไป

จําหนายเพ่ือใหราคาดี รักษาผลประโยชนของสมาชิกและเปนกลไกในการตอรองราคารวมท้ังใหความเปนธรรม
ในดานการชงั่ ตวง วัด และคดั คุณภาพผลิตผลของสมาชิกตามทก่ี ําหนดไวในระเบยี บของสหกรณ

37

กรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทย 37

4) ธรุ กิจแปรรปู ผลติ ผลการเกษตรและการผลิตสนิ คา
เปนธุรกิจที่สหกรณนําผลิตผลท่ีรวบรวม หรือรับซื้อจากสมาชิกมาแปรรูปเปนสินคาสําเร็จรูปเพ่ือ

นําไปจําหนายใหไดราคาดี รวมทั้งสงเสริมใหสมาชิกผลิตสินคา เพื่อนํามาจําหนายใหสหกรณตามที่กําหนดไวใน
ระเบียบของสหกรณ

5) ธรุ กจิ ใหบริการและสง เสรมิ การเกษตร
เปนธุรกิจที่สหกรณใหบริการแกสมาชิกในดานเกษตรกรรม การปศุสัตวและการประมง เชน

ใหบริการสูบน้ํา ปรับพื้นที่เพาะปลูก จัดระบบสงนํ้า ขออนุญาตสัมปทานจับสัตวน้ํา เปนตน โดยคิด
คาตอบแทน ในอัตราที่สมเหตุสมผล รวมทั้งชวยเหลือในดานการเผยแพรความรูเกี่ยวกับการเกษตร การวางแผน
เพาะปลูก และบํารุงท่ีดนิ เพอื่ ใหเ กิดประโยชนแ กสมาชิกตามท่กี ําหนดไวใ นระเบยี บของสหกรณ

นอกจากน้ีสหกรณการเกษตรยังสามารถระดมเงินทุนดวยการสงเสริมใหสมาชิกออมทรัพย
โดยใหบริการรับฝากเงินจากสมาชิกทั้งประเภทเงินฝากออมทรัพยและเงินฝากประจํา โดยกําหนดระยะเวลาการฝาก
และอัตราดอกเบย้ี เงนิ รบั ฝากแตละประเภทจะแตกตางกันไปตามที่กําหนดไวในระเบียบของสหกรณรวมทั้งสหกรณ
สามารถรับฝากเงินจากสหกรณอื่นไดโดยปฏิบัติตามระเบียบของสหกรณท่ีไดรับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
สหกรณ

38

38 แนวทางการจดั ทีด่ ินทำ�กนิ ให้ชุมชน : ทส่ี าธารณประโยชน์

3. การบรหิ ารจัดการทดี่ ินของรัฐทไี่ ดร ับอนญุ าตใหเขาทาํ ประโยชน
ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 22 ธันวาคม 2558 ไดอนุมัติหลักการการจัดท่ีดินทํากินใหชุมชนตาม

นโยบายรฐั บาลในลักษณะแปลงรวม โดยไมใ หกรรมสทิ ธ์ิ แตอ นญุ าตใหเ ขาทําประโยชนหรืออยูอาศัยในที่ดินของรัฐ
เปนกลุมหรือชุมชนตามหลักเกณฑและเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติกําหนด ในรูปแบบสหกรณ
หรือรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสม

เม่ือกระบวนการจัดท่ีดินทํากินใหชุมชนตามนโยบายของรัฐ ภายใตคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ
(คทช.) ไดดําเนินการเก่ียวกับการจัดหาที่ดินของรัฐ (พื้นท่ีปาสงวนแหงชาติ พื้นที่ปาชายเลน พื้นที่เขตปฏิรูปท่ีดิน
ที่ดินสาธารณประโยชน ท่ีราชพัสดุ ฯลฯ) และการจัดทําบัญชีรายชื่อผูท่ีไดรับการจัดท่ีดินใหเขาทําประโยชนใน
ที่ดนิ ของรัฐตามกฎหมายของประเภทที่ดินนน้ั เสร็จแลว

ผูที่ไดรับการจัดที่ดินนั้น มีการรวมตัวกันและไดรับจดทะเบียนตามกฎหมายสหกรณแลว สหกรณและ
สมาชิกจะตองรวมกันบริหารจัดการที่ดิน ท่ีไดรับอนุญาตใหเขาทําประโยชนหรืออยูอาศัยในท่ีดินของรัฐเพ่ือ
ดําเนินการตามที่ คทช. กําหนด ซึ่งเปนการดําเนินงานเพ่ิมเติมจากที่ตองดําเนินธุรกิจเพ่ือใหบริการสมาชิกในการ
ประกอบอาชีพ โดยสหกรณมีแนวทางการบริหารจดั การที่ดนิ ทไ่ี ดรบั อนุญาตฯ ดังน้ี

1. การรบั สมาชกิ
ผูที่จะเปนสมาชิกสหกรณท้ังในสวนผูลงช่ือขอจดทะเบียนสหกรณ และผูที่มีชื่ออยูในบัญชีรายชื่อของ

ผทู ี่เปน สมาชิก รวมท้งั ผทู ส่ี มัครเปนสมาชิกภายหลังท่ีสหกรณไดจดทะเบียนแลวจะตองเปนผูท่ีมีรายชื่ออยูในบัญชี
รายชื่อผูไดรับจัดท่ีดินท่ี คทช. จังหวัด เห็นชอบแลว โดยถือวาเปนสมาชิกอยางสมบูรณ เม่ือไดชําระคาหุน
ตามจาํ นวนที่จะถอื ครบถวนแลว

2. ทองที่ดําเนนิ งานของสหกรณ
ใหกําหนดตามเขตพื้นท่ี (เขตปกครอง) ท่ีระบุไวในหนังสืออนุญาตใหเขาทําประโยชนหรืออยูอาศัยใน

ทีด่ ินของรฐั ตามกฎหมายของประเภททด่ี ินนนั้

39

กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย 39

3. การปฏิบตั ิตามกฎหมายของประเภทท่ีดินของรัฐท่ีอนุญาตใหเ ขาทําประโยชน
สหกรณซ่ึงเปนผูแทนของมวลสมาชิกซึ่งมีรายชื่ออยูในบัญชีรายชื่อผูไดรับจัดที่ดินที่ คทช. จังหวัด

เห็นชอบ สหกรณและสมาชิกตองปฏิบัติตามขอกําหนด ระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงานที่อนุญาตใหใชท่ีดิน
รวมถงึ ขอ กําหนดท่ี คทช. จะกําหนดขนึ้ ใหมในภายหลัง

4. กรณกี ารขออนญุ าต/การอนุญาตใหสหกรณเ ขา ทําประโยชนใ นทีด่ ินของรัฐ
กําหนดใหมีการทําสัญญาเชาหรือขอตกลงอ่ืนเกี่ยวกับท่ีดินของรัฐที่ไดรับอนุญาตใหสหกรณเขาทํา

ประโยชน สหกรณแ ละสมาชกิ ตองปฏิบัติตามสัญญาเชา หรอื ขอ ตกลงนน้ั โดยมแี นวทางดังน้ี
4.1 ขอทราบขอมูลบัญชีรายชื่อท่ีไดรับการจัดท่ีดิน โดยมีขอมูลขอบเขตพ้ืนท่ีรายแปลง ของแตละราย
4.2 ช้ีแจงทําความเขาใจกับผูท่ีไดรับการจัดที่ดิน เพื่อทราบและปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาเชาหรือ

ขอตกลงอื่นที่สหกรณไดทําไวกับหนวยงานท่ีอนุญาต รวมทั้งเร่ืองเกี่ยวกับคาเชาท่ีดิน ท้ังนี้ อาจดําเนินการใน
ขั้นตอนการจัดต้ังสหกรณ ข้ันตอนการรับสมาชิกใหม ขั้นตอนการประชุมกลุม การประชุมคณะกรรมการ
ดาํ เนนิ การ และการประชมุ ใหญข องสหกรณ

4.3 สําหรบั อตั ราคาเชาท่ีดินและการชาํ ระคาเชา ใหก บั หนว ยงานท่อี นุญาต ใหสหกรณดําเนินการตามที่
หนวยงานท่ีอนุญาตกําหนด โดยสมาชิกซ่ึงเปนผูไดรับจัดที่ดินและเขาทําประโยชนในที่ดินของรัฐ จะตองชําระคาเชา
ที่ดินตามอัตราและระยะเวลาท่ีกําหนดกับสหกรณ และเรียกรับใบเสร็จรับเงินคาเชาที่ดินจากสหกรณ เพื่อที่
สหกรณจะไดร วบรวมและชําระคาเชาทีด่ ินกับหนวยงานทอ่ี นุญาตทเี่ ปน ผูใหเ ชา

40 แนวทางการจดั ทด่ี นิ ทำ�กนิ ให้ชมุ ชน : ที่สาธารณประโยชน์ 40

ขน้ั ตอนการจัดต้งั สหกรณ์ ตามนโยบายคณะกรรมการทดี่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.) 41
ในทด่ี ินสาธารณประโยชน์

1 • เตรียมการเบอ้ื งตน้
2 • ประสานงานและฝกึ อบรม
3 • ประชมุ ผู้ซ่งึ ประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ เพอ่ื
4 • ประชมุ คณะผูจ้ ัดต้งั สหกรณ์ เพอื่
5 • ประชุมผซู้ ึง่ จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ เพ่อื
6 • ยืน่ เอกสารขอจดทะเบยี นสหกรณ์
7 • พจิ ารณารับจดทะเบยี นสหกรณ์

ขัน้ ตอนการจัดตง้ั สหกรณ์ ตามนโยบายคณะกรรมการจดั ทดี่ นิ แห่งชาติ (คทช.)
ในทีด่ นิ สาธารณประโยชน์ (อธบิ ายรายละเอยี ด)
กรมที่ดนิ กระทรวงมหาดไทย 4421

ขน้ั ตอนการจัดตงั้ สหกรณ์ ตามนโยบายคณะกรรมการจดั ทดี่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.)
ในทด่ี นิ สาธารณประโยชน์ (อธิบายรายละเอียด)

ขน้ั ตอนท่ี กิจกรรม ระยะเวลา 42
ข้ึนอยกู่ ับ
เตรียมการเบือ้ งตน้ ความพร้อม
1  รวบรวมกลุ่มบคุ คลทีป่ ระสงคจ์ ะจดั ตั้งสหกรณ์ ของกล่มุ บคุ คล

 เปน็ บุคคลธรรมดาและบรรลนุ ิติภาวะ ขึน้ อยู่กับ
 มีปญั หาความเดือดร้อนทางเศรษฐกจิ และสังคม ความพร้อม
 มีความสมัครใจ เสียสละ มีวินัย และซ่ือสัตย์สุจริต จากรายช่ือ ของกลมุ่ บคุ คล
ผู้ได้รับการพิจารณาคัดเลือกที่ดินในท่ีสาธารณประโยชน์จาก ขึ้นอยกู่ ับ
คทช. จังหวดั ความพร้อม
ของกลมุ่ บุคคล
ประสานงานและฝึกอบรม สานักงานสหกรณ์จังหวัด ขน้ึ อยู่กับ
2  ผู้แทนกลุ่มบุคคลประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่เพ่ือขอ ความพร้อม
ของกล่มุ บคุ คล
คาแนะนา
 ใหก้ ารศึกษาอบรมแกก่ ลมุ่ บคุ คลโดยเจา้ หนา้ ที่ของหนว่ ยงานใน ระยะเวลา

พืน้ ที่ ไมน่ ้อยกว่า 6 ชั่วโมง
 กาหนดวันประชมุ ในข้นั ตอนตอ่ ไป

ประชุมผซู้ ึ่งประสงค์จะเปน็ สมาชิกสหกรณ์ เพ่ือ
3  กาหนดช่อื สหกรณ์

 คัดเลอื กคณะผูจ้ ัดตง้ั สหกรณ์ ไมน่ ้อยกวา่ 10 คน
 เสนอความเห็นเก่ียวกับการกาหนดประเภท วัตถุประสงค์

แผนดาเนินการ และรา่ งขอ้ บงั คบั

ประชมุ คณะผู้จัดต้งั สหกรณ์ เพื่อ
4  จองชอื่ สหกรณ์ผา่ น Website กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์

(WWW.CPD.GO.TH) หรอื หน่วยงานในพ้นื ที่
 เลอื กประเภทสหกรณ์ และกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของสหกรณท์ ีจ่ ะ

ขอจดั ตง้ั
 จดั ทารา่ งขอ้ บงั คบั สหกรณ์
 จดั ทาแผนดาเนินการเกย่ี วกับธุรกจิ หรอื กิจกรรมของสหกรณ์

อยา่ งน้อย 3 ปี
 จัดทาบัญชีรายชื่อผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์จากรายชื่อผู้ได้รับ

การพจิ ารณาคัดเลือกท่ีดินในท่ีสาธารณประโยชน์จาก คทช. จงั หวดั

ขัน้ ตอนที่ กจิ กรรม

42 แนวทางการจดั ที่ดนิ ทำ�กนิ ให้ชุมชน : ท่สี าธารณประโยชน์ 43

ขอจัดต้ัง
 จดั ทารา่ งขอ้ บังคับสหกรณ์
 จัดทาแผนดาเนนิ การเกยี่ วกับธรุ กิจหรอื กจิ กรรมของสหกรณ์

อย่างน้อย 3 ปี
 จัดทาบัญชีรายช่ือผู้ซ่ึงจะเป็นสมาชิกสหกรณ์จากรายชื่อผู้ได้รับ

การพจิ ารณาคัดเลือกที่ดินในท่ีสาธารณประโยชน์จาก คทช. จงั หวดั

ขนั้ ตอนท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา
ข้นึ อยกู่ ับ
ประชมุ ผู้ซึ่งจะเปน็ สมาชิกสหกรณ์ เพ่ือ ความพร้อม
5  รบั ทราบช่อื สหกรณ์ ประเภท วตั ถุประสงค์และแผนดาเนินการ ของกลมุ่ บคุ คล
ของสหกรณ์ ข้นึ อยูก่ ับ
 พิจารณาร่างข้อบังคับเพ่ือกาหนดให้เป็นข้อบังคับสหกรณ์ ความพร้อม 43
ของกล่มุ บคุ คล
โดยปรึกษาสานกั งานสหกรณจ์ ังหวัดในพ้ืนที่
ภายใน
ย่นื ขอจดทะเบียนสหกรณ์ 16 วันทาการ
6  คณะผู้จัดต้ังสหกรณ์ดาเนินการยื่นเอกสารขอจดทะเบียน

สหกรณป์ ระกอบด้วย
(1).คาขอจดทะเบยี นสหกรณ์ จานวน 2 ชุด
(2) สาเนารายงานการประชุมผู้ซ่ึงประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์

จานวน 2 ชุด
(3) สาเนารายงานการประชมุ คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ จานวน 2 ชดุ
(4) สาเนารายงานการประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์

จานวน 2 ชุด
(5) บัญชีรายช่ือผู้ซึง่ จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จานวน 2 ชุด
(6) แผนดาเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ หรือกิจกรรมของสหกรณ์

จานวน 2 ชดุ
(7) หนังสือยินยอมให้ใช้สถานท่ีเป็นที่ต้ังสานักงานสหกรณ์

จานวน 2 ชุด (กรณสี หกรณ์ไม่มสี านักงานเป็นของสหกรณ์เอง)
(8) ขอ้ บังคับสหกรณ์ จานวน 4 ฉบบั

พจิ ารณารับจดทะเบยี น
7  เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานในพื้นที่ตรวจสอบเอกสาร วิเคราะห์

ข้อมูลประกอบการขอจดทะเบียนสหกรณ์ เสนอความเห็นต่อ
นายทะเบยี นสหกรณ์
 นายทะเบียนสหกรณ์ พิจารณา
(1).รับจดทะเบียนสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์ลงนามใน
ใบสาคัญรบั จดทะเบยี นสหกรณ์ และแจง้ ใหส้ หกรณ์ทราบ
(2) ไม่รบั จดทะเบียนสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์แจ้งคาสั่งไม่รับ
จดทะเบยี นยสหกรณ์ พรอ้ มเหตผุ ลให้คณะผู้จัดต้ังสหกรณท์ ราบ

กรมทด่ี ิน กระทรวงมหาดไทย 43 44



ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version