The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การสนับสนุนระยะไกลให้สำนักงานที่ดินจัดทำข้อมูลดิจิทัลหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (ปี 2560)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานทีด่ ินจดั ทำขอ มลู ดิจิทัลหนังสอื สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำนำ

กรมที่ดิน เปนหนวยงานหน่ึงที่อยูในคณะกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐ
แบบบูรณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) ทุกระดับ และเปน หนว ยงานสนับสนนุ ขอมูลหนังสือสำคัญ
สำหรับท่ีหลวงใหคณะทำงานจัดเตรียมขอมูลฐานขอมูลที่ใชในการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ
แบบบูรณาการ ซึ่งเปนคณะทำงานที่คณะอนุกรรมการเทคนิคการปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐ
แบบบูรณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) เพื่อสงตอไปยังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขต
ท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการฯ ระดับจังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) เพ่ือปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐ
แบบบรู ณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ แตก รมทด่ี ินขาดเจาหนา ท่ีเทคนคิ ในการจดั การขอมลู

ศูนยขอมูล แผนท่ี รูป แป ลงท่ี ดิน ไดรับ มอบห มายใหจัดการอบ รมใหเจาหน าที่
จากสำนักงานที่ดินท่ัวประเทศ ที่อาคารรังวัดและทำแผนท่ี กรมท่ีดิน เนื่องจากการอบรมมีระยะเวลาสั้นและ
เจา หนาท่ีทเี่ ขารับการฝกอบรมขาดความชำนาญ เวลาปฏิบัติงานจริงจงึ เกดิ ปญหาขึ้น เพือ่ ใหความชวยเหลือใน
การแกป ญหาดังกลา ว ศูนยขอ มลู แผนที่รูปแปลงทด่ี ิน จึงจดั ใหมีเจาหนาท่ีท่ีมีความชำนาญในดา นตางๆ คอยให
ความชวยเหลือทางโทรศัพท อธิบายแกไขปญหา ซ่ึงหลายคร้ังตองใชเวลาในการอธิบายเน่ืองจากไมเห็นภาพ
จึงมี แ น วคิ ด การสนั บสนุ นระยะไกลให สำนั กงานที่ ดิ นจั ดทำขอมู ลดิ จิ ทั ลหนั งสื อสำคั ญ สำหรับ
ท่ีหลวงเพ่ือการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) โดยการ
ใชโปรแกรม Team viewer ซึ่งเปนโปรแกรมสนับสนุนการทำงานระยะไกลมาชวยในการใหคำแนะนำ
และเขาไปจัดการขอมูลท่ีมีปญหาน้ันได เสมือนกับเขาไปทำงานท่ีเครื่องของเจาหนาท่ีเอง ทำใหแกปญหาได
ตรงจุด และเปนเครอื่ งมือในการชว ยสอนการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร (GIS) ไดเปน อยา งดี โดย
ใชควบคูกับโทรศัพทเพื่อใชในการสื่อสาร และไดจัดทำคูมือการสนับสนุนระยะไกลใหสำนักงานท่ีดินจัดทำ
ขอมลู ดจิ ทิ ัลหนงั สือสำคัญสำหรบั ท่ีหลวง เพ่ือใหเจาหนาท่ีนำไปใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ศนู ยขอ มลู แผนทร่ี ูปแปลงท่ีดนิ
พฤษภาคม ๒๕๖๐

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทด่ี ินจดั ทำขอ มลู ดจิ ิทัลหนงั สือสำคัญสำหรบั ทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบญั หนา ที่
๑-๑
เรือ่ ง ๑-๑
บทที่ ๑ การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานท่ีดนิ จดั ทำขอมลู ดิจิทัล
๒-๑
หนงั สือสำคัญสำหรบั ท่ีหลวง ๒–๓
๑. ความเปน มา ๒–๔
บทที่ ๒ การใชง านโปรแกรม Team Viewer
๑. วิธีการ Download โปรแกรม Team Viewer ๓-๑
๒. วธิ ีการตดิ ตงั้ โปรแกรม Team Viewer ๓–๗
๓. ขน้ั ตอนการใชงานโปรแกรม Team Viewer ๓–๘
บทที่ ๓ องคความรทู จ่ี ำเปน ๓ – ๑๑
๑. โปรแกรม QGIS ๓ – ๒๗
๒. โปรแกรม ArcGIS
๓. วธิ กี ารจดั ทำขอ มลู ดิจทิ ลั หนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง
๔. หลกั เกณฑท ี่กำหนดในการใชป รบั ปรุงแนวเขต ๑๓ หลกั เกณฑ
๕. มาตรฐานตา งๆ ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยมาตรฐานระวางแผนที่

และแผนทรี่ ูปแปลงท่ดี ินในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐

การจัดทำแผนท่ีดิจิทลั
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนาที่
บทที่ ๒ การใชงานโปรแกรม Team Viewer ๒-๑
๒-๒
ภาพที่ ๑. แสดงโปรแกรม Team Viewer ๒-๓
ภาพท่ี ๒. แสดงวิธกี าร Download โปรแกรม Team Viewer ๒-๔
ภาพท่ี ๓. แสดงวธิ ีการติดตัง้ โปรแกรม Team Viewer ๓-๑
ภาพท่ี ๔. แสดงวิธกี ารใชโปรแกรม Team Viewer ๓-๒
บทท่ี ๓ การตรวจสอบการนำเขา ขอมูลรปู แปลงทด่ี นิ ๓-๒
ภาพท่ี ๕. แสดงสว นประกอบตางๆของโปรแกรม Quantum GIS ๓-๒
ภาพที่ ๖. แสดงเมนูจัดการไฟล ๓-๒
ภาพท่ี ๗. แสดงเมนจู ัดการชนั้ ขอ มลู ๓-๒
ภาพที่ ๘. แสดงเมนแู สดงรายละเอียด ๓-๓
ภาพท่ี ๙. แสดงเมนจู ดั การมุมมองแผนท่ี ๓-๔
ภาพที่ ๑๐. แสดงเมนแู กไ ขขอมูล ๓-๔
ภาพที่ ๑๑. แสดงการเปลยี่ นภาษาของโปรแกรม ๓-๕
ภาพท่ี ๑๒. แสดงการกำหนดระบบพกิ ัดอางอิง ๓-๕
ภาพท่ี ๑๓. แสดงการเลือกระบบพิกัดอางอิง (CRS) ๓-๖
ภาพท่ี ๑๔. แสดงคา ระบบพิกัดอางอิง (CRS) ทีก่ ำหนดเสรจ็ แลว ๓-๖
ภาพที่ ๑๕. แสดงการเลือก Project Properties ๓-๗
ภาพท่ี ๑๖. แสดงขนั้ ตอนการกำหนดระบบพกิ ัดอา งอิง (CRS) ของโครงการ ๓-๘
ภาพท่ี ๑๗. แสดงการกำหนด สีของการเลือก และหนว ยของการแสดงผล ๓-๘
ภาพท่ี ๑๘. แสดงสว นประกอบตางๆของโปรแกรม ArcGIS ๓-๙
ภาพท่ี ๑๙. แสดงการเมนูสรางชั้นขอ มลู Layer ๓-๙
ภาพท่ี ๒๐. แสดงการกำหนดคา ในการสรางช้ันขอ มลู Layer ๓ - ๑๐
ภาพท่ี ๒๑. แสดงการกำหนด Coordinate reference system ๓ - ๑๐
ภาพท่ี ๒๒. แสดงเมนู Snapping ๓ - ๑๐
ภาพที่ ๒๓. แสดงการกำหนดคา Snapping ๓ - ๑๑
ภาพท่ี ๒๔. แสดงการกำหนดคา Digitizing ๓ - ๑๑
ภาพที่ ๒๕. แสดงเมนู Digitizing ๓ - ๑๒
ภาพที่ ๒๖. แสดงการ Digitizing ๓ - ๑๒
ภาพท่ี ๒๗. แสดงตวั อยางหลกั เกณฑ ๑.๑ ๓ - ๑๓
ภาพท่ี ๒๘. แสดงตวั อยา งหลกั เกณฑ ๑.๒ ๓ - ๑๓
ภาพที่ ๒๙. แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๑.๓ ๓ - ๑๔
ภาพที่ ๓๐. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๒
ภาพที่ ๓๑. แสดงตัวอยา งหลกั เกณฑ ๓
ภาพที่ ๓๒. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๔

การจัดทำแผนทดี่ จิ ทิ ัล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบญั ภาพ
ภาพท่ี หนาที่
ภาพท่ี ๓๓. แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๕.๑ ๓ - ๑๔
ภาพท่ี ๓๔. แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๕.๒ ๓ - ๑๕
ภาพท่ี ๓๕. แสดงตัวอยา งหลกั เกณฑ ๕.๓.๑ ๓ - ๑๖
ภาพที่ ๓๖. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๕.๓.๒ ๓ - ๑๖
ภาพที่ ๓๗. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๖.๑ ๓ - ๑๗
ภาพที่ ๓๘. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๖.๑ (ตอ ) ๓ - ๑๘
ภาพท่ี ๓๙. แสดงตวั อยางหลกั เกณฑ ๖.๒ ๓ - ๑๘
ภาพท่ี ๔๐. แสดงตัวอยา งหลกั เกณฑ ๗.๑ ๓ - ๑๙
ภาพท่ี ๔๑. แสดงตัวอยางหลักเกณฑ ๗.๒ ๓ - ๑๙
ภาพท่ี ๔๒. แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๘.๑ ๓ - ๒๐
ภาพท่ี ๔๓. แสดงตวั อยา งหลกั เกณฑ ๘.๒ ๓ - ๒๑
ภาพท่ี ๔๔. แสดงตวั อยา งหลกั เกณฑ ๙.๑ ๓ - ๒๑
ภาพที่ ๔๕. แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๙.๒ ๓ - ๒๒
ภาพท่ี ๔๖. แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๑๐ ๓ - ๒๓
ภาพท่ี ๔๗. แสดงตัวอยางหลกั เกณฑ ๑๑ ๓ - ๒๔
ภาพที่ ๔๘. แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๑๒ ๓ - ๒๕
ภาพที่ ๔๙. แสดงตัวอยางหลักเกณฑ ๑๓ ๓ - ๒๖

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนกั งานที่ดนิ จัดทำขอ มลู ดจิ ิทลั หนังสอื สำคัญสำหรับทีห่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๑
การสนบั สนุนระยะไกลใหสำนกั งานทด่ี นิ จัดทำขอมูลดจิ ิทลั

หนงั สือสำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง

๑. ความเปน มา
การดำเนินการแกปญหาการบุกรุกและครอบครองท่ีดินของรัฐนับวันจะมีแนวโนมท่ีรุนแรง

มากยิ่งขึ้น ความขัดแยงเรื่องแนวเขตที่มีการพิพาทหรือการพิสูจนสิทธ์ิสวนหน่ึงเกี่ยวเนื่องมาจากปญหา
การทับซอนกันของแนวเขตท่ีดินของรัฐ เพื่อใหแนวเขตท่ีดินของหนวยงานรัฐมีความถูกตองตรงตามกฎหมาย
และใชแผนท่ีกลางมาตราสวนเดียวกัน รัฐบาลภายใตการนำของ ฯพณฯ พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรีไดส ่ังการใหท ุกหนวยงานที่มหี นาทีเ่ ก่ียวขอ งกับที่ดินของรฐั เรงรัดการดำเนินงาน โดยเหน็ ชอบให
แตงต้ังคณะกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราสวน 1 : 4000 (One Map)
ทำหนาที่กำหนดนโยบาย อำนวยการ และกำกับดูแลการปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ
มาตราสว น 1 : 4000 แบบดิจติ อล เพ่ือใหทกุ สวนราชการใชแ ละยดึ ถอื ในแนวทางเดียวกนั

การปรบั ปรุงแนวเขตท่ีดินของรฐั แบบบรู ณาการเปน การประสานการทำงานของหนวยงานรัฐ
ในทุกระดับ เพ่ือใหไดแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบดิจิตอล มาตราสวน 1 : 4000 ซึ่งตอไปจะเรียกวา
เสน One Map โดยมีคณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการฯระดับจังหวัด
(รวมกรุงเทพมหานคร) รับผิดชอบการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐใหไดเสน One Map โดยใช
หลักเกณฑและแนวทางที่คณะอนุกรรมการเทคนิคการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการฯ
กำหนด ควบคูกับแผนท่ีภาพถายทางอากาศเกา และสำรวจสภาพขอเท็จจริงในภาคสนามเพิ่มเติม ในดานการ
ก ำ กั บ ดู แ ล จ ะ มี ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เค ล่ื อ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ผ น ที่ แ น ว เข ต ที่ ดิ น ข อ ง รั ฐ แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ฯ
ประส าน งานติดตามกำกับ ดูแลเรงรัดการดำเนิน การตลอดจนดำเนิ นการยุติขอพิ พ าท ตางๆ
และมีคณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการฯ ระดับภาค 1 – 4 ทำหนาที่
อำนวยการ ประสานงาน เรงรัด กำกับดูแลการทำงานของคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัดและบูรณาการ
แนวเขตท่ีดนิ ของรัฐเช่ือมตอระหวางหลายจงั หวัด

การดำเนินงานปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการมาตราสวน 1 : 4000
(One Map) ตั้งเปาหมายดำเนินการระหวางเดือนพฤศจิกายน 2558 – กันยายน 2559 มีขั้นตอน
ดำเนินการรวม 5 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันเตรียมการ 2 เดือน (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2558) ข้ันดำเนินการ
5 เดือน (มกราคม – พฤษภาคม 2559) ขั้นสรุปผล 1 เดือน (มิถุนายน 2559) ข้ันขอความเห็นจาก
คณะรัฐมนตรี 1 เดือน (กรกฎาคม 2559) และข้ันแกไขกฎหมายและติดตามผล 2 เดือน (สิงหาคม –
กนั ยายน 2559) ซึ่งตอมาไดมีการขยายกรอบการดำเนินการในข้ันดำเนินการ ๘ เดือน (มกราคม – สิงหาคม
2559) ข้ันสรุปผล 1 เดือน (กันยายน 2559) ขั้นขอความเห็นจากคณะรัฐมนตรี 1 เดือน (ตุลาคม 2559)
และขน้ั แกไ ขกฎหมายและติดตามผล 2 เดือน (พฤศจกิ ายน – ธนั วาคม 2559)

กรมท่ีดิน เปนหนวยงานหน่ึงที่อยูในคณะกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐ
แบบบูรณาการ มาตราสวน 1 : 4000 (One Map) ทุกระดับ และเปนหนวยงานสนับสนุนขอมูลหนังสือ
สำคัญสำหรับที่หลวงใหคณะทำงานจัดเตรียมขอมูลฐานขอมูลท่ีใชในการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐ
แบบบูรณาการ ซ่ึงเปนคณะทำงานท่ีคณะอนุกรรมการเทคนิคการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ
แบบบูรณาการ มาตราสว น ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) เพือ่ สงตอไปยังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขต
ที่ดินของรัฐแบบบูรณาการฯ ระดับจังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) เพื่อปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตที่ดินของรัฐ

๑-๑

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี ินจัดทำขอมูลดจิ ิทลั หนังสือสำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบบูรณาการ มาตราสวน 1 : 4000 ซึ่งกรมท่ีดินสงขอมูลหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง มีจำนวนทั้งหมด
๑๔๖,๗๖๖ แปลง โดยจัดสงในรูปแบบดิจิทัล และในกรณีท่ีสาธารณประโยชนแปลงที่ยังไมมีการรังวัดออก
น.ส.ล. หรือมีเฉพาะแนวเขตโดยประมาณ ตามมติการประชุมคณะกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ
แบบบูรณาการ (One map) คร้ังท่ี ๓/๒๕๕๙ มอบหมายใหกรมที่ดนิ หนวยงานปกครอง ทองถิ่น และ กอ.รมน.
ชวยดำเนินการสำรวจใหไดขอมูลเบื้องตนเพื่อใชเปนแนวทางในการดำเนินงาน โดยใหรับรองขอมูลเบื้องตน
พรอมทง้ั ใหสำรวจดว ยวาในพ้ืนท่ีนั้นๆ ประชาชนไดดำเนนิ กจิ กรรมในพนื้ ท่ีแลวหรือไม เพื่อใชเ ปนขอ มูลในการ
วางแผนการบริหารจัดการในอนาคต ในการดำเนินการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ
มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) ตองใชเจาหนาที่เทคนิคที่มีความรูการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร (GIS) จำนวนมาก แตกรมท่ีดินขาดเจาหนาที่เทคนิคในการจัดการขอมูล อธิบดีกรมที่ดิน มีขอส่ัง
การใหจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และการใชเคร่ืองมือ
ในการสำรวจที่สาธารณประโยชนท่ียังไมไดออกหนงั สือสำคญั สำหรับท่ีหลวง (น.ส.ล.) ขึ้นในวนั ที่ ๓๐ เมษายน
- ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ โดยศูนยขอมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน ไดรับมอบหมายใหจัดการอบรมใหเจาหนาที่
จากสำนักงานที่ดินท่ัวประเทศ ที่อาคารรังวัดและทำแผนที่ กรมที่ดิน เนื่องจากการอบรมมีระยะเวลาส้ันและ
เจาหนาที่ทเ่ี ขารับการฝก อบรมขาดความชำนาญ เวลาปฏบิ ัตงิ านจรงิ จงึ เกดิ ปญหาขน้ึ เพ่อื ใหความชว ยเหลอื ใน
การแกปญหาดังกลาว ศูนยขอมูลแผนที่รูปแปลงท่ีดิน จึงจัดใหมีเจาหนาท่ีที่มีความชำนาญในดานตางๆ คอย
ใหค วามชวยเหลือทางโทรศัพท อธิบายแกไ ขปญ หา ซ่ึงหลายครั้งตองใชเวลาในการอธิบายเนอ่ื งจากไมเห็นภาพ
จึงมี แน วคิ ด การสนั บสนุ นระยะไกลให สำนั กงานท่ี ดิ นจัดทำขอมู ลดิจิทั ลหนั งสื อสำคั ญ สำหรับ
ทหี่ ลวงเพื่อการปรับปรงุ แผนที่แนวเขตที่ดินของรฐั แบบบูรณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) โดยการ
ใชโปรแกรม Team viewer ซึ่งเปนโปรแกรมสนับสนุนการทำงานระยะไกลมาชวยในการใหคำแนะนำ
และเขาไปจัดการขอมูลที่มีปญหานั้นได เสมือนกับเขาไปทำงานท่ีเคร่ืองของเจาหนาท่ีเอง ทำใหแกปญหาได
ตรงจุด และเปนเครื่องมือในการชวยสอนการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ไดเปนอยางดี
โดยใชค วบคูกับโทรศพั ทเ พื่อใชในการสอื่ สาร

๑-๒

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี ินจัดทำขอ มูลดจิ ทิ ัลหนังสือสำคัญสำหรับทีห่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๒
การใชงานโปรแกรม Team Viewer

โปรแกรม Team Viewer เปนโปรแกรมสนับสนุนการทำงานระยะไกล โดยเคร่ืองตนทาง
และเครื่องปลายทางจะตองมี โปรแกรม Team Viewer และสามารถทำงานผานการเชื่อมตอระบบ Internet
ได ซึ่งโปรแกรม Team Viewer เปนโปรแกรมท่ีรองรับไดหลาย Platform การเช่ือมตอระหวางเคร่ือง
คอมพิวเตอรกับเคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณมือถือกับพีซี พีซีกับอุปกรณมือถือ และแมแตระหวางอุปกรณมือ
ถือแบบขามแพลตฟอรมที่พรอมใหการรองรับ Windows, macOS, Linux, Chrome OS, iOS, Android,
Windows Universal Platform แ ล ะ BlackBerry ส า ม า ร ถ Download ม า ใช ได โด ย ท ด ล อ ง ใช
TeamViewer ไดฟรีโดยไมตองกรอกขอมูลสวนตัวใดๆ ท้ังยังสามารถใชงานแบบสวนตัวท่ีบานไดโดยไมตอง
เสียคาใชจายอีกดวยและสามารถใชงานไดทันที โดยผานการเช่ือมตอระบบ Internet ซ่ึงผูท่ีอยูปลายทาง
สามารถ Remote เขามาทำงานในเครื่องทีต่ องการใหแกปญหาไดเพียงทราบ Partner ID และ Password ไม
ตองเสียเวลาเดินทางและเสียคาใชจาย โดยผูที่อยูปลายทางสามารถเขามาจัดการแกปญหาไดอยางทันเวลา

ภาพท่ี ๑ แสดงโปรแกรม Team Viewer
๑. วธิ ีการ Download โปรแกรม Team Viewer

ใหเ ปด Web Browser จากนั้น เขา www.google.com แลวพิมพค น หา "teamviewer"
จะปรากฏหนาตา งมาให คลิกเลือก "Teamviewer.com - TeamViewer 12 Download" เพื่อเขามาใน

๒-๑

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานท่ีดินจัดทำขอมลู ดิจิทลั หนังสือสำคัญสำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หนาตางสำหรบ Download โปรแกรม Team viewer ใหเ ลือกปุม "ดาวนโหลด TeamViewer" โปรแกรมจะ
ปรากฏทม่ี ุมลางซายของหนาตา ง

๑.พมิ พค น หา "teamviewer"
๒. เลอื ก

๓. เลือก
๔. โปรแกรม Team Viewer
ภาพที่ ๒ แสดงวธิ กี าร Download โปรแกรม Team Viewer

๒-๒

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ ินจัดทำขอ มลู ดจิ ิทัลหนงั สอื สำคัญสำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒. วธิ ีการติดตง้ั โปรแกรม Team Viewer
ใหดับเบิล้ คลกิ ไฟล "TeamViewer_Setup_th-ahvs.exe" ท่ี Download มาจากขอ (๑) จะ

ปรากฏหนา ตา ง ดงั รปู จากนน้ั เลือก Basic installation และเลอื ก Personal/Non-commercial use และ
ใหกดปุม Accept - finish จะปรากฏหนา ตา งมา ใหกดปมุ Yes เมอื่ เสรจ็ แลว จะปรากฏหนา ตา ง
TeamViewer ท่ีพรอมสำหรับใชง าน

๑. เลือก

๒. เลือก

๔. เลอื ก
๓. เลอื ก

ภาพท่ี ๓ แสดงวิธีการติดตงั้ โปรแกรม Team Viewer

๒-๓

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานทดี่ นิ จดั ทำขอมลู ดิจิทลั หนงั สอื สำคัญสำหรับท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓. ขัน้ ตอนการใชงานโปรแกรม Team Viewer
เม่อื ติดตง้ั โปรแกรมทั้งเครื่องตน ทางและเครอ่ื งปลายทางแลว ใหฝ า ยปลายทางบอกเลข Your

ID และ Password จากน้ันฝายตนทางนำเลขไปกรอกในชอง Partner ID แลวกดปุม Connect to partner
ทางฝายตนทางจะสามารถ remote เขาไปทำงานในเคร่ืองปลายทางได ดังตัวอยางแสดงในภาพ แลวกรอก
Password ที่ไดจ ากเครื่องปลายทาง จากนั้นกดปุม Log On

๑.กรอก ID ของ
เคร่ืองปลายทาง

๒. กดปุม ๔. กดปมุ
๓. กรอก Password ที่
ไดจากเครอ่ื งปลายทาง

เครือ่ งปลายทาง

ภาพที่ ๔ แสดงวธิ ีการใชโ ปรแกรม Team viewer

๒-๔

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานที่ดินจดั ทำขอมูลดิจทิ ัลหนงั สอื สำคัญสำหรับทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทที่ ๓
องคความรูท ีจ่ ำเปน

๓.๑ โปรแกรม QGIS
โปรแกรม QGIS เปนโปรแกรม Desktop GIS ประเภทหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพในการนำมาใช

จัดการขอมูลปริภูมิ จัดอยูในกลุมซอฟตแวรรหัสเปด (free and Open Source Software : FOSS) ที่ใชงาน
งาย ลักษณะการใชงานเปนแบบ Graphic User Interface ซ่ึงสะดวกตอการใชงาน ไมวาจะเปนการเรียกใช
ขอ มูลภาพ ขอมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถสบื คนขอ มูล วิเคราะหข อมูล
และนำเสนอขอมูลในรูปแบบแผนท่ี สามารถเรียกใชขอมูลเวกเตอร แรสเตอร ในรูปแบบที่เปนมาตรฐาน
แพรหลาย เชน Shape File และ GeoTIFF QGIS สามารถแกไข Shape FileFormatได ซึ่งเปนท่ีตองการ
มากในเวลาน้ี QGIS พฒั นาบนพื้นฐานของ Qt ท่เี ปนไลบราลีส่ ำหรบั Graphic User Interface (GUI) ทใ่ี ชง าน
ไดทั้ง UNIX, Windows และ Mac การพัฒนาใชภาษา C++ เปนหลัก นอกจากน้ัน QGIS ยังเช่ือมตอกับ
Geospatial RDBMS เชน PostGIS/Postgre SQL สามารถอานและเขียนฟเจอรที่จัดเก็บใน PostGIS ได
โดยตรง สามารถเชื่อมตอกับ GRASS ได ทำใหสามารถเรียกดูขอมูลที่จัดเก็บใน GRASS โดยตรง และสามารถ
เรียกใชฟงกช่ันตางๆ ของ GRASS ได สนับสนุนการวิเคราะหเชิงพื้นท่ี (Spatial Data) และขอมูลตาราง
(Attribute Data) สามารถจัดการขอมูลไดงายโดยใชเครื่องมือตาม GUI ที่กำหนด โดยมีสวนประกอบตางๆ
ข อ ง โป ร แ ก ร ม GUI ป ร ะ ก อ บ ด ว ย Menu Bar, Tools Bar, Layer, Browser, Map Display, Map
Coordinate, Map Scale และ Project Properties ซ่ึงทุกรายการน้ีสามารถเคล่ือนยาย เปล่ียนขนาดตาม
ความเหมาะสมตอการใชง านเพื่ออำนวยความสะดวกของผใู ช

Menu Bar Tools Bar

Browser

Map Display

Layer

Map Coordinate Project Properties
Map Scale

ภาพที่ ๕ แสดงสวนประกอบตา งๆของโปรแกรม Quantum GIS

๓-๑

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานที่ดินจัดทำขอมูลดิจิทลั หนงั สอื สำคญั สำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โดยมเี คร่อื งมอื พืน้ ฐานทใ่ี ชเปนประจำ คือ เมนจู ดั การไฟลประกอบไปดว ยการสรา งโครงการ
ใหมเ ปดโครงการเกาที่ไดบันทึกไวบนั ทึกโครงการและสง ออกเพื่อทำแผนท่ี

ภาพท่ี ๖ แสดงเมนูจัดการไฟล
เมนูจัดการช้ันขอมูล ประกอบไปดวยการเพิ่มชั้นขอมูลเชิงเสนขอมูลเชิงภาพช้ันขอมูลจากฐานขอมูล
สรา งชัน้ ขอมูลใหมและเพิ่มขอมลู จาก GPS

ภาพที่ ๗ แสดงเมนจู ัดการชนั้ ขอ มูล
เมนูแสดงรายละเอียดจะใชสำหรับดูรายละเอียดตางๆของแผนท่ีโดยการเลือกดูที่แผนท่ีโดยตรงหรือ
จากการเปดตารางขอ มลู การวดั ระยะทาง

ภาพท่ี ๘ แสดงเมนแู สดงรายละเอยี ด
เมนูจัดการมุมมองแผนที่จะควบคุมการแสดงผลของแผนท่ีเชนการขยายแผนท่ีการเลื่อนแผนที่ การ
ขยายเตม็ จอหรอื การยอนกลบั ไปมมุ มองเดมิ เปน ตน

ภาพท่ี ๙ แสดงเมนจู ัดการมมุ มองแผนท่ี
เมนูแกไขขอมูลจะใชสำหรบั แกไขขอมูล เชน การเพ่ิมขอมูล การเลื่อนขอมูล การแกไขขอมูล การลบ
ขอ มลู การตัดขอมลู การสำเนาขอมูลการวางขอมูลสำเนา

ภาพที่ ๑๐ แสดงเมนแู กไ ขขอมูล
โดยกอนใชง านโปรแกรมจำเปนตอ งมีการกำหนดคาเร่ิมตน กอนใชโ ปรแกรม

(๑) การเปลย่ี นภาษาของโปรแกรม
โดยปกตแิ ลวเมอ่ื ลงโปรแกรมเสรจ็ สิ้น จะไดโ ปรแกรมท่ีมีเมนูเปน ภาษาไทย ถา ตอ งการเปลี่ยนเมนูเปน
ภาษาองั กฤษหรือภาษาอน่ื สามารถทำได ดงั นี้

๓-๒

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ ินจดั ทำขอ มูลดจิ ทิ ัลหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เลอื กเมนูกำหนดคา ->ทางเลือก -> Tab ทองถิ่น ->เขยี นทบั ระบบทองถ่นิ ->เลอื กภาษา (U.S. English) ดัง
ภาพท่ี ๑๑

๑. ทางเลอื ก

๓. เขียนทับระบบทองถน่ิ

๔. เลือกภาษา (U.S. English)

๒. ทองถนิ่

แสดงข้ันตอนการเปล่ียนภาษาของโปรแกรม
ภาพที่ ๑๑ แสดงการเปลย่ี นภาษาของโปรแกรม
จากนนั้ กดปุม OK แลว ปด โปรแกรม แลว ใหเ ปด โปรแกรม เมนูจะถูกเปลี่ยนเปน ภาษาองั กฤษ
(๒) กำหนดระบบพิกัดอางอิง (CRS)
โดยปกติแลวเมื่อลงโปรแกรมจะกำหนดเปน EPSG:4326 - WGS 84 ถาสามารถเปล่ียนเปนระบบ
พกิ ดั อางองิ อน่ื ๆ โดยเลือกเมนู Settings-> Options…->CRS-> Select CRS ดงั ภาพที่ ๑๒

๓-๓

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานท่ีดินจดั ทำขอ มูลดิจทิ ัลหนงั สอื สำคัญสำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. Options…

๓. Select CRS
๔. Select CRS
๒. CRS

แสดงขั้นตอนการกำหนดระบบพิกดั อา งอิง (CRS)
ภาพท่ี ๑๒ แสดงการกำหนดระบบพิกัดอางอิง
เม่อื กดปมุ Select… แลว จะปรากฏหนา ตางดงั ภาพ ใหเ ลือกระบบพกิ ัดอางอิง EPSG:24047 - Indian
1975 / UTM zone 47N ใน Recently used coordinate reference systems ถาไมมี ใหเลือกใน
Coordinate reference systems of the world -> Projected Coordinate Systems -> Universal
Transverse Mercator (UTM) -> Indian 1975 / UTM zone 47N

ภาพท่ี ๑๓ แสดงการเลือกระบบพิกัดอา งองิ (CRS)

๓-๔

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานทีด่ ินจดั ทำขอมลู ดิจิทัลหนงั สอื สำคญั สำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ ๑๔ แสดงคาระบบพิกัดอา งองิ (CRS) ท่ีกำหนดเสรจ็ แลว
กำหนดระบบพกิ ัดอางอิง (CRS) ของโครงการสามารถเปลยี่ นเปนระบบพิกัดอา งองิ อ่นื ๆ โดยเลือกเมนู
Project-> Project Properties->Tab Coordinate reference systems (CRS) ดงั ภาพที่ ๑๕

ภาพท่ี ๑๕ แสดงการเลือก Project Properties…

๓-๕

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานทีด่ นิ จดั ทำขอมูลดิจทิ ัลหนังสอื สำคญั สำหรับทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒. เลือก Enable
๑. CRS

๓. เลอื ก

๔. OK

ภาพที่ ๑๖ แสดงข้ันตอนการกำหนดระบบพิกัดอา งองิ (CRS) ของโครงการ
การกำหนด สีของการเลือก และหนวยของการแสดงผล สามารถกำหนดไดโดยเลือกเมนู Project->
Project Properties-> Tab General ดงั ภาพ

General

เลอื กสี

ภาพท่ี ๑๗ แสดงการกำหนด สขี องการเลือก และหนว ยของการแสดงผล

๓-๖

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี นิ จดั ทำขอมูลดจิ ิทลั หนังสอื สำคัญสำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓.๒ โปรแกรม ArcGIS

โปรแกรม ArcGIS เปนโปรแกรมArcGIS Desktop ประเภทหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพในการ
นำมาใชจัดการขอมูลปริภูมิ จัดอยูในกลุมซอฟตแวรท่ีมีลิขสิทธ์ิท่ีใชงานงาย ลักษณะการใชงานเปนแบบ
Graphic User Interface ซ่ึงสะดวกตอการใชงาน ไมวาจะเปนการเรียกใชขอมูลภาพ ขอมูลตาราง การ
แสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถสบื คน ขอมูล วิเคราะหข อมูลและนำเสนอขอ มูลในรูปแบบ
แผนที่ สามารถเรียกใชขอมูลเวกเตอร แรสเตอร ในรูปแบบที่เปนมาตรฐานแพรหลาย เชน Shape File และ
GeoTIFF QGIS สามารถแกไข Shape FileFormat ซ่ึงมีระดับความสามารถของโปรแกรมข้ึนอยูกับรูปแบบ
License ในระดับแรกคือ ArcView ประกอบดวยโปรแกรม ArcCatalog, ArcMap และ ArcToolbox ที่มี
ความสามารถ เรียก จัดการ วิเคราะห ปรับแก เอกสารแผนที่ไดลำดับถัดมาคือ ArcEditor มีฟงกช่ันท่ี
ArcView มีทั้งหมด พรอมทั้งมีเคร่ืองมือสามารถปรับแกขอมูลแบบ Coverage และ Geodatabase และ
ArcInofo มีฟงกช่ันที่ ArcEditor มีทั้งหมด พรอ มท้ังมีเครอื่ งมือ Geoprocessing และ ArcWorkstation ครบ
ชุด คือ (ARC, ArcEdit, ArcPlot, INFO, และ ARC Macro Language หรือเรียกวา AML) ซึ่งมีราคาสูงข้ึน
ตามความสามารถ เปนโปรแกรมมีลิขสิทธ์ิ ที่มีราคาสูงโดยมีสวนประกอบตางๆ ของโปรแกรม GUI
ประกอบดวย Menu Bar, Tools Bar, Layer, Map Display, Map Coordinate, Map Scale และ Project
Properties

Tools Bar Menu Bar

Table Of Layer

Map Display

Map Coordinate

ภาพที่ ๑๘ แสดงสว นประกอบตางๆของโปรแกรม ArcGIS

๓-๗

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานท่ีดนิ จัดทำขอมลู ดจิ ทิ ลั หนังสือสำคญั สำหรับทีห่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓.๓ วธิ ีการจัดทำขอ มูลดจิ ิทัลหนังสือสำคัญสำหรับท่หี ลวง
การสรา งชัน้ ขอ มูล Layer สามารถทจี่ ะสรางชั้นขอ มลู แบบรูปปด (Polygon) เพือ่ จัดเก็บ

ขอ มูลในรูปแบบของ Shapefile โดยไปทแ่ี ถบ Layer > Create Layer > New Shapefile Layer… ดงั ภาพ

ภาพที่ ๑๙ แสดงการเมนูสรางชัน้ ขอมลู Layer
จะปรากฏหนา ตา ง New Vecter Layer แลวเลือกรูปแบบประเภทชั้นขอมูลที่จะทำการสราง ซึ่งมีอยู
๓ ประเภทไดแก Point Line Polygon

ภาพท่ี ๒๐ แสดงการกำหนดคา ในการสรางชนั้ ขอมลู Layer
จากน้ันก็กำหนด Coordinate reference systems หรือพิกัดอางอิงทางภูมิศาสตร วาช้ันขอมูลที่
สรางจะอยูโซนไหน ในแถบ Select CRS สวนในแถบ New attribute เปนการเพิ่มและกำหนด
รายละเอียดของฟลด วาช้ันขอมูลจะเก็บขอมูลอะไรบาง และเก็บขอมูลประเภทไหน เปนตัวหนังสือ หรือ
ตัวเลข ซ่ึงจะเปนการเพ่ิมรายละเอียดทีละฟลด เม่ือกำหนดคาเรียบรอยก็คลิกที่ add attribute เพ่ือเพ่ิมหัว
ฟลดใหมเ ขา ไป ถาตองการเอาออกกใ็ หคลิกท่ี remove select attribute

๓-๘

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทด่ี ินจดั ทำขอ มูลดิจทิ ัลหนังสือสำคัญสำหรบั ทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การกำหนด Coordinate reference system เมื่อสรางช้ันขอมูลขึ้นมาใหมจำเปนจะตองกำหนด
CRS ใหกับแผนที่ เพ่อื ใหโปรแกรมรูวาแผนท่ีอยูโซนไหนของโลก โดยไปท่ีแถบ Select CRS แลว สามารถเลอื ก
จากรายการท่ีโปรแกรมแสดงออกมา หรือเลือกจาก CRS เดมิ ที่เคยใชลา สุดกไ็ ด

ภาพท่ี ๒๑ แสดงการกำหนด Coordinate reference system
เม่ือกำหนดรายละเอียดตางๆที่จะเก็บในช้ันขอมูลเสร็จแลว กดปุม OK โปรแกรมจะใหต้ังช่ือ
และบนั ทึกชัน้ ขอ มูลที่จะสราง และจะเพิม่ เขา มาในชั้นของขอมูล (Layers)
ในการวาดแผนท่ีจะตองมีการกำหนดคา Snapping เพ่ืออำนวยความสะดวกในการวาดและเพ่ือลด
ขอผิดพลาดในการเกิดพ้ืนท่ีวาง gap หรือพื้นท่ีซอนทับ overlap ระหวาง Polygon จึงจำเปนจะตอง
กำหนดคา snapping ใหก ับแผนที่กอ น โดยไปทแ่ี ถบ Settings > Snapping Options……

ภาพท่ี ๒๒ แสดงเมนู Snapping

๓-๙

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทด่ี ินจัดทำขอ มลู ดจิ ิทลั หนงั สอื สำคญั สำหรับท่หี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เมื่อเลือกท่ี Snapping Options... ที่ Snapping mode ใหเลือก Advanced จะปรากฏหนาตางให
กำหนดคา ดังน้ี

ภาพท่ี ๒๓ แสดงการกำหนดคา Snapping
เมื่อกำหนดเสรจ็ เรยี บรอยก็ใหกำหนดคา การ Digitizing โดยไปที่ แถบ Setting > Options >
ปรากฏหนา ตาง Options แลว เลอื กไปท่ีแถบ Digitizing ใสค า Snapping ในการ Digitize ดังรูป

ภาพที่ ๒๔ แสดงการกำหนดคา Digitizing
เม่ือกำหนดคาตางๆ เสร็จเรียบรอยแลว เร่ิมทำการ วาดรูปแผนท่ีไดแลว โดยจะใชเครื่องมือในการ
Digitizing ในแถบดังรปู

ภาพที่ ๒๕ แสดงเมนู Digitizing

๓ - ๑๐

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทดี่ นิ จัดทำขอ มูลดิจทิ ลั หนงั สือสำคญั สำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การเริ่มตน Digitizing ใหคลิกท่ีปุม เพ่ือใหปุมเคร่ืองมือสามารถใชงานได แลวคลิกท่ีปุม
เพ่ือทำการวาดรูปปด ( Polygon ) เมื่อวาดเสร็จใหคลิกขวาเพื่อจบการทำงาน หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง
Attributes เพ่ือใหกรอกรายละเอยี ดของรปู แปลงที่ทำการวาด ดังรูป

ภาพท่ี ๒๖ แสดงการ Digitizing
ใสขอ มลู ในแตล ะฟลดตามท่ตี องการ แลว กด OK จบการวาดรูปปด ( Polygon )
๓.๔ หลกั เกณฑท กี่ ำหนดในการใชปรับปรุงแนวเขต ๑๓ หลักเกณฑ
(๑) ปา สงวนแหงชาติทบั ซอนกบั ปา ไมถ าวร พจิ ารณาดังนี้
1.1) ปา ไมถาวรท่ีคณะรัฐมนตรมี มี ตกิ ำหนดใหเปนพ้ืนท่ีปา ไมต ามแนวเขตปา สงวนแหงชาติ
ใหใ ชแนวเขตปาสงวนแหงชาตทิ ี่มกี ารประกาศตามกฎหมายเปนหลกั

ภาพที่ ๒๗ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๑.๑

๓ - ๑๑

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ ินจดั ทำขอ มลู ดจิ ิทัลหนังสอื สำคญั สำหรับทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.2) ปา สงวนแหงชาตทิ ่ีมวี ัตถุประสงคประกาศตามแนวเขตปา ไมถาวรท้งั แปลง ใหใชแนวเขตปา
สงวนแหง ชาตทิ ม่ี ีการประกาศตามกฎหมายเปนหลัก

ภาพท่ี ๒๘ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๑.๒
1.3) ปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรีและปาสงวนแหงชาติที่ไมมีวัตถุประสงคใหใชแนวเขต
เดยี วกัน ใหใชแ นวเขตตามพนื้ ที่ปา นัน้ ๆ

ภาพท่ี ๒๙ แสดงตัวอยางหลักเกณฑ ๑.๓

๓ - ๑๒

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี นิ จดั ทำขอ มลู ดจิ ิทัลหนงั สอื สำคญั สำหรับทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๒) ปา สงวนแหง ชาตทิ ับซอนกับอุทยานแหง ชาตหิ รอื เขตรักษาพนั ธสุ ตั วปา พจิ ารณา ดังนี้
หากแนวเขตอุทยานแหงชาติหรือเขตรักษาพันธุสัตวปา ซึ่งมีเจตนาใชแนวเขตปาสงวนแหงชาติ

หรือเสนแนวเขตในแผนที่มีความใกลเคียงสอดคลองกัน ใหใชแนวเขตอุทยานแหงชาติหรือเขตรักษาพันธุสัตว
ปาเปนหลัก สำหรับแนวเขตที่มิไดเปนไปตามหลักเกณฑขางตน ใหใชแนวเขตตามกฎหมายของแตละ
หนว ยงาน

ภาพท่ี ๓๐ แสดงตัวอยางหลักเกณฑ ๒
(๓) ปาสงวนแหงชาติ ปาคุมครอง และพื้นท่ีในความรับผิดชอบของกรมปาไมนอกเขตปาสงวนฯที่มี
แนวเขตชัดเจนทบั ซอ น เขตหา มลาสัตวป า ใหใชแ นวเขตตามกฎหมายของแตละหนวยงาน

ภาพท่ี ๓๑ แสดงตัวอยางหลักเกณฑ ๓

๓ - ๑๓

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนักงานที่ดินจัดทำขอมลู ดิจทิ ลั หนงั สอื สำคญั สำหรับท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๔) ปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปาที่ทับซอนกับปาชาย
เลน ตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ใหใชแนวเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ เขตรกั ษาพันธสุ ัตวปา และ
เขตหา มลาสัตวปาเปนหลกั สวนกรณีแนวเขตปา ชายเลนท่ีอยนู อกแนวเขตพ้นื ที่ปาขางตนใหใชแนวเขตปา ชาย
เลน

ภาพที่ ๓๒ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๔
(๕) กรณีปาสงวนแหง ชาตทิ บั ซอนกับเขตปฏริ ูปทีด่ ิน (ส.ป.ก.) พิจารณาดังน้ี

5.1) กรณีปาสงวนแหงชาติทับซอนกับเขตปฏิรูปที่ดิน ใหใชแนวเขตตามพระราชกฤษฎีกา
กำหนดเขตปฏิรปู ท่ดี นิ ทม่ี ีแผนงานดำเนนิ การแลวเปน หลัก และอยูใ นเขตพนื้ ท่ีท่ีกรมปา ไมส ง มอบ ส.ป.ก.

ภาพที่ ๓๓ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๕.๑

๓ - ๑๔

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานท่ดี ินจัดทำขอมลู ดิจิทลั หนงั สือสำคัญสำหรบั ท่ีหลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กรณีพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตปฏิรูปท่ีดินท้ังตำบล/อำเภอ ใหใชแนวเขตปฏิรูปที่ดินตาม
แผนท่ีท่ีกรมปาไมสงมอบพ้ืนท่ีปาสงวนแหงชาติให ส.ป.ก.รวมท้ังพื้นท่ีที่ ส.ป.ก. กันคืน (RF) ตามบันทึก
ขอตกลงเม่อื วันท่ี 14 กนั ยายน 2538

5.2) กรณีพื้นที่ที่ ส.ป.ก. ไดรับมอบจากการจำแนกประเภทที่ดินออกจากปาไมถาวรตามมติ
คณะรัฐมนตรที ม่ี พี ระราชกฤษฎีกากำหนดเขตปฏริ ูปทีด่ ินท่มี ีรปู แผนที่แสดงแนวเขตท่ชี ัดเจนแลว ใหใ ชแนวเขต
ปฏริ ูปที่ดินเปน หลัก

ภาพท่ี ๓๔ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๕.๒

๓ - ๑๕

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ นิ จัดทำขอ มูลดจิ ิทัลหนังสือสำคญั สำหรบั ทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กรณีพ้ืนที่ที่ ส.ป.ก. ไดรับมอบจากการจำแนกประเภทท่ีดินออกจากปาไมถาวรตามมติ
คณะรัฐมนตรีท่ีมีพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตปฏิรูปท่ีดินท้ังตำบล/อำเภอ ใหใชแนวเขตตามแผนท่ีจำแนก
ประเภทท่ดี นิ ทส่ี งมอบพ้ืนที่ให ส.ป.ก.เปน หลัก พรอ มระบรุ ายละเอยี ดเกี่ยวกับมติคณะรฐั มนตรใี หช ัดเจน

5.3) กรณีขอบเขตพ้ืนที่กันคืนกรมปาไมตามแผนที่ตรวจสอบสภาพปา (RF) ตามบันทึกขอตกลง
ระหวางกรมปา ไม และ ส.ป.ก. คลาดเคลื่อน พิจารณาดังนี้

5.3.1) กรณีตำแหนงพ้นื ทกี่ นั คืนกรมปาไมต ามแผนท่ีตรวจสอบสภาพปา (RF) คลาดเคลือ่ น
ไมต รงกับขอ เท็จจริงในพื้นที่ หากพื้นท่ียังมีสภาพเปน ปา ใหป รบั เสนแนวเขตตามขอเท็จจริง

ภาพที่ ๓๕ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๕.๓.๑
5.3.2) กรณีตำแหนงพ้ืนท่ีกันคืนกรมปาไมตามแผนท่ีตรวจสอบสภาพปา (RF) ในบันทึก
ขอ ตกลงซ่ึงปจ จบุ นั สภาพปาไดห มดไป ใหยึดเสนแนวเขตตามตำแหนง RF เดมิ

ภาพที่ ๓๖ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๕.๓.๒

๓ - ๑๖

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ ินจัดทำขอ มลู ดิจทิ ลั หนังสอื สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๖) อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธสุ ัตวปา เขตหามลาสัตวปา ที่ทับซอนกับเขตปฏิรูปท่ีดิน พิจารณา
ดังนี้

6.1) กรณีกรมปาไมสงมอบพืน้ ท่ีให ส.ป.ก.และไดม พี ระราชกฤษฎกี ากำหนดใหเปนเขตปฏิรปู ที่ดิน
กอนการกำหนดใหเปน เขตอุทยานแหงชาติ เขตรกั ษาพันธสุ ัตวปา เขตหามลา สัตวปา ใหใชแนวเขตปฏิรูปท่ีดิน
เปนหลัก เวนแตเปนพื้นท่ีท่ีไมสมควรนำไปปฏิรูปท่ีดิน ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 1 มนี าคม 2537 ใหใช
แนวเขตอทุ ยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสตั วป า เขตหา มลาสัตวป า เปนหลัก

ภาพที่ ๓๗ แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๖.๑

๓ - ๑๗

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานที่ดนิ จดั ทำขอ มูลดิจทิ ัลหนงั สอื สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ ๓๘ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๖.๑ (ตอ)
6.2) กรณีกรมปาไมสงมอบพ้ืนท่ีให ส.ป.ก. และไดมีพระราชกฤษฎีกากำหนดใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน
หลังการกำหนดใหเปนแนวเขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และเขตหามลาสัตวปา
ตามพระราชบัญญัตสิ งวนและคุมครองสตั วปา พ.ศ. 2535 ใหใชแ นวเขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพนั ธสุ ตั วป า
เขตหา มลาสัตวปาดังกลา ว เปนหลกั

ภาพท่ี ๓๙ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๖.๒

๓ - ๑๘

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนกั งานทีด่ นิ จดั ทำขอมูลดจิ ทิ ัลหนงั สอื สำคญั สำหรับทห่ี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๗) ปา สงวนแหงชาติ ปาคมุ ครอง และพื้นที่ในความรับผิดชอบของกรมปาไมนอกเขตปาสงวนแหง ชาติ
ท่ี มี แ น ว เข ต ชั ด เจ น อุ ท ย า น แ ห ง ช า ติ เข ต รั ก ษ า พั น ธุ สั ต ว ป า แ ล ะ เข ต ห า ม ล า สั ต ว ป า
ทับซอ นกับนคิ มสรางตนเองหรอื นคิ มสหกรณ พิจารณาดังนี้

7.1) กรณีนิคมสรางตนเอง นิคมสหกรณ ท่ีมีแนวเขตตามกฎหมายบังคบั กอนการกำหนดแนวเขต
ปาไมขางตน ใหใชเขตนิคมสรางตนเองหรือเขตนิคมสหกรณท่ีไมมีสภาพปาเปนหลัก โดยระบุรายละเอียด
เกี่ยวกับแผนทท่ี มี่ สี ภาพปาใหช ัดเจน

ภาพที่ ๔๐ แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๗.๑
7.2) กรณีนิคมสรา งตนเอง นคิ มสหกรณ ทีม่ แี นวเขตตามกฎหมายบังคบั ภายหลังการกำหนดแนว
เขตปา ไมขา งตน ใหใชแนวเขตปา ไมขา งตนเปน หลัก

ภาพที่ ๔๑ แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๗.๒

๓ - ๑๙

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานทดี่ นิ จัดทำขอมลู ดจิ ทิ ลั หนังสือสำคญั สำหรบั ท่หี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๘) นิคมสรางตนเองหรือนิคมสหกรณทับซอนเขตปฏิรูปที่ดิน และนิคมสรางตนเองหรือนิคมสหกรณ
ทย่ี งั ไมม ีกฎหมายกำหนดพืน้ ที่ พิจารณาดงั นี้

8.1) กรณีแนวเขตนิคมสรางตนเองหรือนิคมสหกรณทับซอนแนวเขตปฏิรูปที่ดิน ใหยึดแนวเขต
ที่ประกาศเปนกฎหมายกอนเปน หลกั

ภาพที่ ๔๒ แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๘.๑

๓ - ๒๐

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนกั งานทดี่ นิ จัดทำขอ มลู ดิจทิ ัลหนงั สอื สำคัญสำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

8.2) กรณีนิคมสรางตนเองหรอื นิคมสหกรณท่ียังไมมีการกำหนดตามกฎหมาย ใหใชแ นวเขตตาม
แผนที่จำแนกประเภทที่ดินท่ีมีการสงมอบใหจัดตั้งนิคมสรางตนเองหรือนิคมสหกรณเปนหลักพรอมระบุ
รายละเอยี ดตามมตคิ ณะรัฐมนตรใี หชัดเจนดว ย

ภาพที่ ๔๓ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๘.๒
(๙) ปาสงวนแหงชาติ ปาคุมครอง และพื้นที่ในความรับผิดชอบของกรมปาไม นอกเขต
ปาสงวนแหงชาติที่มีแนวเขตชัดเจน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และเขตหามลาสัตวปา ทับซอน
กับทร่ี าชพสั ดุ พิจารณาดังน้ี

9.1) กรณีแนวเขตพ้ืนที่ปาไมขางตนทับซอนในลักษณะคาบเก่ียวหรือมีเจตนาใหเปนแนวเขต
เดียวกนั ใหใชแ นวเขตท่ีราชพัสดทุ ม่ี ีการออกหนงั สอื สำคญั ตามประมวลกฎหมายที่ดนิ ไวแ ลว เปนหลกั

กรณีนอกเหนอื จากนี้ ใหใชแ นวเขตตามกฎหมายของแตล ะหนวยงาน

ภาพท่ี ๔๔ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๙.๑

๓ - ๒๑

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานท่ดี นิ จดั ทำขอมลู ดจิ ิทลั หนงั สอื สำคัญสำหรบั ทีห่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

9.2) กรณีแนวเขตพ้ืนที่ปาไมขางตนทับซอนกับที่ราชพัสดุท่ียังไมมีการออกหนังสือสำคัญตาม
ประมวลกฎหมายทดี่ ิน ใหใชแนวเขตพ้นื ที่ตามกฎหมายของแตล ะหนว ยงาน

ภาพท่ี ๔๕ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๙.๒
(๑ ๐ ) ปาสงวนแหงชาติ ปาคุมครอง และพื้นท่ีในความรับผิดชอบของกรมปาไม นอกเขต
ปา สงวนแหงชาติท่ีมแี นวเขตชดั เจน อทุ ยานแหงชาติ เขตรกั ษาพันธุสัตวปา และเขตหามลา สัตวป า ทับซอ นกับ
ท่ีสาธารณประโยชนที่มีการออกหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง (น.ส.ล.) ไวแลว หากแนวเขตพื้นที่ปาไมขางตน
ทับซอนในลักษณะคาบเก่ียวหรือมีเจตนาใหเปนแนวเขตเดียวกันกับแนวเขตที่สาธารณประโยชนท่ีมีการออก
น.ส.ล. ไวแลว ใหใ ชแนวเขต น.ส.ล. ทโ่ี ตกวา เปน หลัก พืน้ ท่ีทับซอนสวนอื่นใหใ ชแ นวเขตตามกฎหมายของแต
ละหนว ยงาน

๓ - ๒๒

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนักงานที่ดินจดั ทำขอ มลู ดจิ ทิ ัลหนงั สือสำคญั สำหรบั ทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี ๔๖ แสดงตวั อยา งหลักเกณฑ ๑๐
(๑๑) กรณีแนวเขตที่ดินของรฐั ท่ีมีการกำหนดโดยใชแนวธรรมชาติหรือแนวเขตตามส่ิงกอสราง ใหใช
แนวธรรมชาติหรือส่ิงกอ สรางท่ปี รากฏลวดลายในแผนทีภ่ าพถา ยทางอากาศหรือภาพถายดาวเทยี มปที่กำหนด
แนวเขต หากไมมีแผนท่ีภาพถายทางอากาศหรือภาพถายดาวเทียมปที่กำหนดแนวเขตใหใชแผนท่ีภาพถาย
ครงั้ แรกภายหลงั จากการกำหนดแนวเขต

๓ - ๒๓

การสนบั สนุนระยะไกลใหส ำนักงานท่ดี ินจัดทำขอมูลดิจิทลั หนงั สอื สำคญั สำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ ๔๗ แสดงตวั อยางหลักเกณฑ ๑๑

๓ - ๒๔

การสนับสนุนระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี นิ จัดทำขอมลู ดิจทิ ลั หนังสือสำคัญสำหรับท่หี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(๑๒) กรณีท่ีหนวยงานของรัฐไมสามารถหาขอยุติตามหลักเกณฑท่ีกำหนดไวได ใหสรุปเร่ืองราว
พรอมรายละเอียดท่ีเก่ียวของ เสนอคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการพิจารณาเพ่ือใหไดขอยุติตามลำดับ
ดังน้ี

12.1) คณะอนุกรรมการปรับปรุงแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราสวน 1:4000
(One Map) ระดบั ภาค

12.2) คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนการปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ
มาตราสว น 1:4000 (One Map)

12.3) คณะกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราสวน 1:4000
(One Map)

กรณีพิจารณาแลวไมอยูในหลักเกณฑท ่ีกำหนดไว คณะกรรมการฯ จะกำหนดหลักเกณฑการ
ปรบั ปรงุ แผนที่แนวเขตทด่ี นิ ของรฐั แบบบรู ณาการเพม่ิ เตมิ ในภายหลัง

ในการปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการใหดำเนินการตามหลักเกณฑท่ีกำหนดไว
พรอมระบุไวในรายงานวาใชหลักเกณฑขอใด หามมิใหใชดุลยพินิจในการปรับปรุงแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบ
บรู ณการ

ภาพที่ ๔๘ แสดงขน้ั ตอนหลักเกณฑ ๑๒

๓ - ๒๕

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทีด่ นิ จัดทำขอ มูลดจิ ิทัลหนงั สือสำคญั สำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(13)
๑๓.๑) ใหคณะอนุกรรมการระดับจังหวัดรวบรวมขอมูลระวางแผนท่ีของกรมที่ดินท่ีมีการ

รับรองแนวเขตปาสงวนแหงชาติ ปาไมถาวร ปาชายเลน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลา
สตั วป า ไวเปนขอมลู เบื้องตน สำหรับใชในการดำเนินการภายหลัง

ภาพท่ี ๔๙ แสดงตัวอยา งหลักเกณฑ ๑๓.๑
๑๓.๒ ใหคณะทำงานการแกไขปญหาการทับซอนของพ้ืนที่ปาไมและเขตปฏิรูปท่ีดินระหวาง
กระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวบรวมขอมูลผลการ
ดำเนินงานทไี่ ดข อยตุ ิจากคณะทำงานฯ สงใหคณะกรรมการปรับปรงุ แผนที่แนวเขตท่ีดินของรฐั แบบบูรณาการ
มาตราสวน 1:4000 (One Map) เพื่อประกอบการพจิ ารณาตอไป

๓ - ๒๖

การสนับสนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานท่ดี ินจดั ทำขอ มลู ดจิ ทิ ลั หนังสือสำคญั สำหรบั ท่หี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๓.๕ มาตรฐานตางๆ ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยมาตรฐานระวางแผนที่และแผนที่รูปแปลง
ทีด่ นิ ในทีด่ นิ ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐

๓.๕.๑) กมร. 102-2551 มาตรฐานพ้ืนหลักฐานมาตรฐานพื้นหลักฐานจะครอบคลุมทั้งพื้นหลักฐาน
อินเดียน 1975 Indian datum 1975) และพ้นื หลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) ในการ
กำหนดตำแหนงบนพ้ืนผิวโลกใหมีความถูกตอ งน้ัน นอกจากวธิ ีที่ใชในการรังวัดจะตองมคี วามถูกตองสูงแลวส่ิง
ที่มีความสำคัญไมนอยไปกวากัน คือพ้ืนหลักฐาน (Datum) ซ่ึงใชเปนระบบอางอิงในการหาตำแหนงพ้ืน
หลกั ฐานอินเดียน 1975 (Indian datum 1975) เปนพ้ืนหลกั ฐานอา งอิงในการคำนวณงานทางดา นยีออเดติก
ของประเทศไทยในปจจุบนั ซง่ึ การวางโครงขายเพื่อหาคา พิกัดทางราบจะอาศัยวิธีงานขา ยสามเหล่ียมคาพิกัดที่
รังวัดมาไดจะถูกคำนวณลงบนรูปทรงรีเอเวอเรสต สวนคาพิกัดท่ีไดจากการรังวัดดวยดาวเทียมระบบ GPS
จะอางอิงอยูบนพื้นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) และคาพิกัดท่ีรังวัดมาไดจะถูก
คำนวณลงบนรูปทรงรี WGS 84 เชนเดียวกัน เนอื่ งจากขนาด รูปราง และทิศทาง การวางตัวของรูปทรงรี
ที่ใชในการคำนวณเพอ่ื หาคาพิกัดเปลยี่ นไป จึงทำใหคาพกิ ัดตำแหนงทีถ่ ูกคำนวณไดเ ปลีย่ นแปลงไปดว ย คาตัว
แปร (Parameter) ในการแปลงพ้ืนหลักฐานระหวาง อินเดียน 1975 (Indian datum 1975) และพื้น
หลกั ฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) คือ
∆X = - 204.5 ม.
∆Y = - 837.9 ม.

∆Z = - 294.8 ม.
มีคา RMS (Root mean square) แตละมิติ = ๐.๐๙ ม. (อางอิงจากประกาศกรมแผนท่ี
ทหาร เรื่องคาตัวแปรที่เหมาะสมในการแปลงพืน้ หลักฐาน เม่ือวนั ท่ี ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ อยา งไรก็
ตาม คา ตัวแปรอาจมีการเปลีย่ นแปลง เน่อื งจากการปรับคาของกรมแผนทท่ี หาร)
๓.๕.๒) กมร 302-2553 มาตรฐานพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) ที่ดินของรัฐมาตรฐาน
พจนานุกรมขอมูล เปนมาตรฐานเก่ียวกับขอมูลท่ีเก็บรวบรวมรายละเอียดตาง ๆเกี่ยวกับขอมูลท่ีจัดเก็บอยู
ภายในฐานขอมูล ซึ่งประกอบดวย โครงสรางขอมูล โครงสรางตาราง โครงสรางดัชนี กฎท่ีใชเพื่อควบคุม
ความบูรณภาพของขอมูล กฎที่ใชเ พอ่ื รักษาความปลอดภยั ของขอมูล และรายละเอียดอื่น ๆทเี่ กี่ยวของกับการ
บริหารฐานขอมูล เปนตน ท้ังนี้ ประโยชนของพจนานุกรมขอมูลคือ สนับสนุนการบริหารจัดการฐานขอมูล
ในแตละระบบงานขององคกรสนับสนุนการสรางมาตรฐานใน การพัฒนาระบบงาน ตลอดจนสนับสนุนการ
ทำงานของผูบริหารเน่ืองจากพจนานุกรมขอมูลชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูลบนฐานขอมูล และ
เปนแหลงสารสนเทศของขอมูล ตาง ๆ ในระบบฐานขอมูลขององคกรชุดขอมูลภูมิสารสนเทศท่ีดินของรัฐ
(NLP Package) ชุดขอมลู ทรี่ าชพสั ดุ Royal Land Subpackage
Layer name : RY_ST1_LAND

Layer Description : รูปแปลงที่ดินทรี่ าชพัสดุจาก สธ.๑

Feature Class : POLYGON

Table Name : RY_ST1_LAND

Data Source : กรมธนารกั ษแ ละ กรมทด่ี ิน

๓ - ๒๗

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานที่ดนิ จดั ทำขอ มูลดจิ ทิ ัลหนังสอื สำคัญสำหรับที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Field Name Field Type Field Key Description Domain

Size Type

PARCEL_ID Numeric 11 Parcel_ID

AREA Numeric 13.6 พ้ืนท่จี ากระบบ

PERIMETER Numeric 13.6 ความยาวเสนรอบรูป

PIN Character 8 รหสั ประจำแปลงทด่ี ิน

NL_CODE Character 10 รหสั ทะเบยี นทด่ี ินของรัฐ

UTMMAP1 Character 4 ช่ือระวางภูมปิ ระเทศ

UTMMAP2 Character 1 แผนท่ีระวางภูมิประเทศ 1-4

UTMMAP3 Character 4 ชื่อระวาง 1:4,000

UTMMAP4 Character 2 แผนท่รี ะวางขยาย 1:4.000 00

1:2,000 01-04

1:1,000 01-16

1:500 01-64

UTMPARNO Numeric 6 เลขทดี่ นิ UTM

UTMSCALE Numeric 4 มาตราสว นระวาง UTM 4,000 2,000

1,000 500

ONN Character 3 ระวางศนู ยฯ เหนือ-ใต 000 – 999

ON Character 1 ชอ่ื ระวางศนู ยฯ เหนือ-ใต น , ต

OEE Character 3 ระวางศูนยฯ ออก – ตก 000 – 999

OE Character 1 ชอ่ื ระวางศนู ยฯ ออก - ตก อ , ฏ

OSHEET Character 2 แผน ท่รี ะวางศนู ยฯ

๓ - ๒๘

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนักงานทด่ี นิ จดั ทำขอ มูลดจิ ทิ ลั หนังสือสำคัญสำหรบั ทหี่ ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Field Name Field Type Field Key Description Domain

Size Type

OSCALE Character 4 มาตราสว นระวางศูนยฯ 4,000 2,000

1,000 500

OPARNO Numeric 4 เลขที่ดนิ ระวางศูนยฯ

NS3KTOPO Character 4 TOPO_NUMBER 1/50,000

NS3KQ Character 1 TOPO_SHEET 1/50,000

NS3KSHEET Character 3 เลขแผน น.ส.3ก

NS3KPARNO Numeric 4 เลขท่ีดิน น.ส.3ก

NSL_TNO Character 2 ช่อื นำหนา นสล. (ตวั อกั ษร) กท: กรุงเทพฯ

NSL_NO Character 10 นสล. เลขท่ี (ตวั เลข)

NSL_ID Character 10 ทะเบยี นเลขทด่ี ิน นสล.

LANDUSE Character 150 การใชป ระโยชนของทดี่ ิน

AREA_RAI Numeric 5 เน้อื ที่ ไร

AREA_NGAN Numeric 2 เนอ้ื ท่ี งาน

AREA_WA Numeric 3.1 เน้อื ท่ี ตารางวา

TYPE Character 1 ประเภทการลงระวาง 1 = UTM, 2 = ศนู ย
กำเนิด, 3 = น.ส.3ก

REMARK Character 150 หมายเหตุ

CREATE_DATE Date 10 วนั ทน่ี ำเขา ขอมลู

MODIFY_DATE Date 10 วันที่ปรับปรุงขอมลู

๓ - ๒๙

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานท่ดี ินจัดทำขอ มลู ดิจิทัลหนงั สือสำคญั สำหรบั ที่หลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี ๔
บทสรุป

๔.๑ ผลสาํ เรจ็ ของงาน
- มีฐานขอมูลดิจิทัลหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงใชในการปรับปรุงแผนที่แนวเขตท่ีดินของรัฐ

แบบบรู ณาการมาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map)
- มีบุคคลากรท่ีมีความรูความสามารถในการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS)

เพม่ิ ขน้ึ เพื่อรองรบั งานในลกั ษณะน้ี ในอนาคตอนั ใกล
- ใหคำปรึกษาโดยใชโปรแกรม Team Viewer จำนวน ๔๗ คร้ัง ในพื้นท่ี ๑๘ จังหวัด

ประกอบดวย กรุงเทพมหานคร พะเยา พิษณุโลก ปทุมธานี อุดรธานี ระยอง สพุ รรณบรุ ี แมฮองสอน สุราษฎร
ธานี อุทัยธานี เชียงราย ปราจีนบุรี สระบรุ ี จนั ทบุรี ตราด สุรนิ ทร ยะลา และจงั หวัดเพชรบูรณ

๔.๒ การนาํ ผลงานไปใชประโยชน

- เพ่ือใหเจาหนาท่ีสามารถจัดทำขอมูลหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงในรูปแบบดิจิทัล เพ่ือการ
ปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ (One Map) ไดอยางมีประสิทธิภาพ
และทันตามกรอบระยะเวลาทกี่ ำหนด

- พัฒนาบุคคลากรของสำนักงานที่ดินใหมีความรูความสามารถในการใชโปรแกรมระบบ
สารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) เพิม่ ขึน้ เพ่ือรองรบั งานในลกั ษณะนี้ในอนาคตอนั ใกล

- ประหยดั เวลาและคาใชจา ย คาที่พักในการเดินทางไปใหคำปรกึ ษาท่ีสำนักงานทีด่ นิ
- สามารถใหคำปรึกษาและแกปญหาไดอยางทันทวงทีในทุกที่ที่มีสัญญาณ Internet ซ่ึงใน
การดำเนนิ งานในบางแหงเปน การสอนระยะไกลมายังหอ งประชมุ ของสำนักงานใชร ว มกับโทรศัพทมือถือ
- โปรแกรม Team Viewer เปนโปรแกรมใหทดลองใชฟรี สามารถ Download และติดต้ัง
ใชงานไดทันที และผูใ หค ำปรึกษาไมจำเปนท่จี ะตอ งติดตัง้ โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ในเครื่อง
ก็สามารถใหคำปรกึ ษาได
๔.๓ ความยุงยากในการดําเนนิ การ / ปญ หา / อุปสรรค
- ตามกรอบระยะเวลาการดำเนินการการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตท่ีดินของรัฐแบบบูรณาการ
มาตราสวน ๑:๔๐๐๐ (One Map) กำหนดใหส้ินสุดในเดือนกันยายน ๒๕๕๙ ซึ่งในขั้นตอนการดำเนินการของ
คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด และระดับภาคใหสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ทำใหระยะเวลาท่ี
กำหนดใหสำนักงานท่ีดินตรวจสอบขอมูลหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงและจัดทำขอมูลในสวนที่ยังไมเปนดิจิทัลมี
เวลาดำเนินการจำกดั
- เจาหนาท่ีทมี่ ีความรเู ก่ียวกบั การใชโ ปรแกรมระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร (GIS) มีจำนวนนอย
- เจาหนาท่ีตองมีความรูเก่ียวกับระบบพิกัดแผนที่ พ้ืนหลักฐานแผนที่ ความรูเกี่ยวกับระวาง
ศูนยก ำเนดิ ระวาง น.ส.๓ก และระวาง UTM
- เจาหนาท่ีท่ีใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ในการจัดทำขอมูลหนังสือสำคัญ
สำหรบั ทห่ี ลวงมีความหลากหลาย ทัง้ ตำแหนงและมพี ้ืนฐานความรูไมเทากัน

๔-๑

การสนบั สนนุ ระยะไกลใหส ำนกั งานทด่ี ินจัดทำขอมลู ดจิ ิทลั หนังสอื สำคญั สำหรบั ท่หี ลวง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

- เจาหนา ที่ท่ีดำเนินการอยูก ระจายทั่วท้ังประเทศ ในขณะทผ่ี ใู ชค ำปรึกษามอี ยจู ำนวนจำกัด
- ผูใหคำปรึกษาตองมีความรูการในใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS)
หลากหลายโปรแกรมหลายเวอรชัน มีความรูเก่ียวกับระบบพิกัดแผนท่ี การจัดทำขอมูลหนังสือสำคัญสำหรับท่ี
หลวง และทราบหลกั เกณฑท ี่จะตองใชในการปรบั ปรงุ แนวเขต ๑๓ หลักเกณฑ ทง้ั ขอกำหนด และวิธกี ารที่ออก
โดยกรมทีด่ ินและสามารถแกไขปญ หาไดอยางทันทวงที
- การใชโปรแกรม Team Viewer จำเปนตองมีระบบสัญญาณเครือขาย Internet ซึ่งความ
แรงของสญั ญาณในบางพน้ื ทไี่ มเ สถียร
- เจา หนาที่ทขี่ อคำปรึกษาตองมีโปรแกรม Team Viewer และมีความรูพ้นื ฐานบอกรหัสผูใช
และรหสั ผานเพอ่ื ใหผใู หค ำปรึกษาสามารถ Remote เขาไปชว ยแกป ญหาได

๔-๒


Click to View FlipBook Version