The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2557 (ปี 2557)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

รวมระเบียบค�ำ สั่ง
กรมทีด่ ิน

ประจำ�ปี ๒๕๕๗

กองแผนงาน กรมทีด่ ิน



สารบัญ

หน่วยงาน หนา้
๑. กองการเจ้าหน้าที่ ๑
๒. กองคลัง ๙๗
๓. สำ�นักกฎหมาย ๓๓๕
๔. สำ�นักจดั การทีด่ ินของรัฐ ๓๔๕
๕. สำ�นกั มาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด ๓๗๑
๖. สำ�นักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน ๓๗๗
๗. ส�ำ นักมาตรฐานการออกหนังสือสำ�คัญ ๖๒๓
๘. ส�ำ นักส่งเสริมธรุ กิจอสงั หาริมทรัพย์ ๖๕๓
๙. ส�ำ นกั เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖๖๗
๑๐. สำ�นกั งานเลขานกุ ารกรม ๖๗๓



บัญชีรายช่อื หนงั สอื เวียน ระเบียบ และค�ำ สั่งตา่ งๆ
กองการเจ้าหน้าท่ี

ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗

๑. เลขท่หี นังสือเวยี น ชอ่ื เรื่อง หน้า
ล�ำ ดับท่ี ระเบียบ คำ�ส่งั ๓

๒. ลงวนั เดือน ปี

๑. ที่ มท ๐๕๐๒.๕ / ว ๗๕๗ กฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการดำ�เนินการทางวินยั
ลว. ๒๘ ก.พ. ๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๖

๒. ท่ี มท ๐๕๐๒.๕ / ว ๑๓๖๗ กำ�หนดต�ำ แหน่งประธานกรรมการตามกฎ ก.พ. ๓๔
ลว. ๒๖ ม.ี ค. ๕๗ วา่ ดว้ ยการด�ำ เนนิ การทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
และแบบตามกฎ ก.พ. วา่ ด้วยการด�ำ เนินการ
ทางวินัยฯ

๓. ท่ี นร ๑๐๑๑/ว ๘ ระเบยี บ ก.พ. วา่ ดว้ ยการรายงานการด�ำ เนนิ การ ๘๒
ลว. ๒๕ ก.ย. ๕๗ ทางวินยั และการส่งั ให้ออกจากราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๖

๔. ท่ี มท ๐๒๐๒.๕ / ว ๓๒๔๕ การปรบั ราคาชดใช้แทนเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ๘๘
ลว. ๑ ต.ค. ๕๗ ท่ีไม่สามารถส่งคนื ตามกฎหมาย

๕. ที่ มท ๐๕๐๒.๒ / ว ๗๙๔๗ ซ้อมความเข้าใจเกีย่ วกับการลาไปชว่ ยเหลือ ๙๖
ลว. ๑๗ พ.ย. ๕๗ ภรยิ าท่คี ลอดบตุ ร






(สำ�เนา)

สว่ นราชการ กองการเจา้ หน้าท่ ี กลุ่มงานวินัย โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๓๘–๓๙

ท่ี มท ๐๕๐๒.๕ / ว ๗๕๗ วันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๕๗

เรอื่ ง กฎ ก.พ. ว่าดว้ ยการด�ำ เนนิ การทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖

เรยี น หวั หนา้ กลมุ่ งานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมทด่ี ิน ผูต้ รวจราชการกรม ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นัก
เจา้ พนักงานท่ีดนิ กรุงเทพมหานคร เลขานุการกรม ผู้อำ�นวยการกอง ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักงาน
ผอู้ �ำ นวยการกลุ่ม และผู้อำ�นวยการศนู ย์

ด้วยสำ�นักงาน ก.พ. ไดม้ ีหนงั สือ ที่ นร ๑๐๑๑/ว ๑ ลงวนั ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๗
แจง้ ว่า ก.พ. ไดอ้ อกกฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการดำ�เนินการทางวินยั พ.ศ.๒๕๕๖ และไดป้ ระกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา เม่อื วนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๖ แล้ว รายละเอียดดไู ด้จากเว็บไซตก์ รมท่ดี นิ
“www.dol.go.th” หวั ข้อ “ขา่ วกองการเจา้ หน้าท่”ี

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและแจ้งให้ขา้ ราชการในสงั กดั ทราบโดยทว่ั กัน

(ลงชื่อ) วิษณุ ธันวรกั ษก์ จิ
(นายวิษณ ุ ธันวรักษก์ จิ )
ผอู้ �ำ นวยการกองการเจา้ หน้าท่ี



(สำ�เนา)

กฎ ก.พ.
ว่าดว้ ยการด�ำ เนินการทางวินัย

__พ_._ศ_._ ๒_๕_๕__๖__
อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๘ (๕) มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖
มาตรา ๙๗ มาตรา ๑๐๑ และมาตรา ๑๐๕ แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรอื น
พ.ศ. ๒๕๕๑  อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำ�กัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบคุ คล ซง่ึ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำ�ได้โดยอาศัยอำ�นาจตามบทบัญญัติ
แหง่ กฎหมาย ก.พ. โดยอนมุ ัติคณะรัฐมนตรี จึงออกกฎ ก.พ. ไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ กฎ  ก.พ.  นี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป

หมวด ๑
การด�ำ เนนิ การเม่อื มีการกลา่ วห_า_ห_ร_ือ_ม_ีก_ร_ณ__ีเ_ป_็นท่สี งสยั ว่ามีการกระท�ำ ผดิ วินยั
ข้อ ๒ เม่ือมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผูใ้ ดกระทำ�ผิดวนิ ัย ผบู้ ังคับบญั ชาของผู้น้ันมีหน้าทีต่ ้องรายงานตามลำ�ดบั ชน้ั ให้ผู้บังคับบญั ชา
ซ่ึงมีอ�ำ นาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเรว็ โดยทำ�เป็นหนงั สือ ซงึ่ อยา่ งนอ้ ยต้องมีสาระ
ส�ำ คญั ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ชือ่ ผกู้ ลา่ วหา (ถ้ามี)
(๒) ช่ือและต�ำ แหนง่ ของผ้ถู ูกกลา่ วหา
(๓) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แห่งการกระทำ�ท่ีกล่าวหาหรือเป็นที่สงสัยว่ากระทำ�
ผิดวนิ ยั
(๔) พยานหลกั ฐานท่เี ก่ียวข้องเทา่ ที่มี
ขอ้ ๓ การกล่าวหาท่ีจะดำ�เนินการตามกฎ ก.พ.  น้ี  ถ้าเป็นการกล่าวหาเป็น
หนงั สอื ให้มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ระบุชือ่ ของผู้กลา่ วหา และลงลายมอื ช่อื ผู้กลา่ วหา
(๒) ระบุช่ือหรือตำ�แหน่งของผู้ถูกกล่าวหา  หรือข้อเท็จจริงท่ีเพียงพอให้ทราบว่า
เปน็ การกลา่ วหาขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผูใ้ ด
(๓) ระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่งการกระทำ�ที่มีการกล่าวหาเพียงพอท่ีจะ
เข้าใจได้ หรือแสดงพยานหลกั ฐานเพียงพอทีจ่ ะสบื สวนสอบสวนตอ่ ไปได้



ในกรณีที่เป็นการกล่าวหาด้วยวาจา ให้ผู้บงั คับบญั ชาผู้ไดร้ บั ฟงั การกล่าวหาจัดให้
มีการทำ�บันทึกคำ�กล่าวหาที่มีรายละเอียดตามวรรคหนึ่ง  และให้ผู้กล่าวหาลงลายมือช่ือไว้เป็น
หลกั ฐาน
ข้อ ๔ กรณเี ปน็ ทส่ี งสยั วา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั ทจ่ี ะด�ำ เนนิ การ
ตามกฎ ก.พ. น้ี อาจมลี กั ษณะดังนี้
(๑) มกี ารกล่าวหาทไ่ี ม่ไดร้ ะบุช่อื ผูก้ ลา่ วหา ไมไ่ ดล้ งลายมอื ช่ือผู้กล่าวหา แต่ระบุ
ชื่อหรือตำ�แหน่งของผู้ถูกกล่าวหา  หรือข้อเท็จจริงท่ีปรากฏน้ันเพียงพอที่จะทราบว่ากล่าวหา
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผู้ใด และข้อเท็จจรงิ หรอื พฤติการณ์น้ันเพยี งพอทจ่ี ะสืบสวนสอบสวน
ต่อไปได้ หรือ
(๒) มีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นท่ีสงสัยว่า
ข้าราชการพลเรือนสามัญผใู้ ดกระทำ�ผิดวนิ ยั โดยมพี ยานหลกั ฐานเพยี งพอทีจ่ ะสบื สวนสอบสวน
ต่อไปได้

หมวด ๒
การสบื สวน_ห__ร_ือ_พ_ิจ_า_ร_ณ__า_ในเบื้องต้น
ข้อ ๕ เมอ่ื ได้รบั รายงานตามขอ้ ๒ หรอื ความปรากฏต่อผบู้ งั คับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจ
สัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ว่ามีการกลา่ วหาหรือมกี รณเี ปน็ ท่ีสงสัยวา่ ขา้ ราชการพลเรือนสามัญผใู้ ด
กระทำ�ผดิ วนิ ัย ให้ดำ�เนินการอย่างใดอยา่ งหนึง่ ดงั ต่อไปนี้โดยเรว็
(๑) พจิ ารณาในเบอ้ื งตน้ วา่ กรณมี มี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ ผนู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั หรอื ไม่
(๒) ดำ�เนินการสืบสวนหรือสั่งให้ดำ�เนินการสืบสวน  และพิจารณาว่ากรณีมีมูล
ท่ีควรกล่าวหาว่าผู้นั้นกระทำ�ผิดวินัยหรือไม่  ในการนี้  ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตาม
มาตรา  ๕๗  อาจสืบสวนเอง  หรือให้ข้าราชการพลเรือนสามัญหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เก่ียวข้อง
ด�ำ เนินการสืบสวนแลว้ รายงานมาเพอื่ ประกอบการพิจารณาก็ได้
ในกรณีท่ีเห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�ผิดวินัย 
หรือเป็นกรณีท่ีมีพยานหลักฐานในเบ้ืองต้นอยู่แล้วและเห็นว่ามีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการ
พลเรือนสามัญผูใ้ ดกระทำ�ผดิ วนิ ยั ใหด้ �ำ เนินการตามขอ้ ๖ ต่อไป
ข้อ ๖ ในกรณที ี่ผ้บู งั คับบญั ชาซึ่งมอี ำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พจิ ารณาเหน็ ว่า
กรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ �ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ใหด้ ำ�เนินการตอ่ ไปตามหมวด ๓ ถา้ พจิ ารณาเห็นวา่ กรณีมมี ูลทค่ี วรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือน
สามัญผ้ใู ดกระทำ�ผิดวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง ใหด้ ำ�เนินการตอ่ ไปตามหมวด ๔ แตถ่ ้าพิจารณาเห็นว่า
กรณีไมม่ มี ูลทค่ี วรกลา่ วหาว่าข้าราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผิดวนิ ยั ใหย้ ุติเรอ่ื ง



ขอ้ ๗ กรณีที่ถือว่าไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�
ผิดวินัยและผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗  ส่ังให้ยุติเร่ืองได้  อาจเป็นกรณี
ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอให้ทราบว่า
ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผ้ใู ดเปน็ ผกู้ ระท�ำ ผดิ วินยั
(๒) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอที่จะทำ�ให้
เข้าใจไดว้ ่ามีการกระทำ�ผดิ วินยั หรือไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะด�ำ เนนิ การสืบสวนสอบสวนต่อไปได้
(๓) พฤติการณแ์ ห่งการกระท�ำ นั้นไม่เป็นความผดิ ทางวนิ ยั

หมวด ๓
การดำ�เนินการในกรณีมีมลู ทีค่ _ว_ร_ก_ล_า่_ว_ห__า_ว_่า_กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง
ข้อ ๘ ในกรณีทีผ่ ลการสบื สวนหรอื พิจารณาตามข้อ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏวา่ กรณี
มมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา
ซ่ึงมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗  ดำ�เนินการต่อไปตามหมวดน้ี  โดยไม่ต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนกไ็ ด้ แต่ถา้ ไดแ้ ต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนแลว้ ตอ้ งดำ�เนนิ การตามขอ้ ๑๒ ข้อ ๑๓
และข้อ ๑๔ จนแลว้ เสรจ็
ขอ้ ๙ ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗  ดำ�เนินการ
ทางวนิ ัยโดยไม่ตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ต้องด�ำ เนินการตามหมวดน้ใี ห้แล้วเสร็จโดยเรว็ ท้ังนี้
ต้องไม่เกินสี่สิบห้าวันนับแต่วันท่ีพิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่าง
ไม่รา้ ยแรง ในกรณที ไี่ ม่สามารถด�ำ เนนิ การให้แล้วเสร็จภายในเวลาดังกลา่ ว ให้ผบู้ ังคบั บัญชา
ซ่ึงมอี ำ�นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ขยายเวลาไดต้ ามความจำ�เป็น โดยแสดงเหตุผลความจ�ำ เป็น
ไว้ดว้ ย
ขอ้ ๑๐ ในการดำ�เนินการตามข้อ ๙ ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ที่สนบั สนนุ ขอ้ กล่าวหาเป็นหนังสือใหผ้ ูถ้ ูกกล่าวหาทราบ และตอ้ งใหโ้ อกาสผู้ถกู กลา่ วหาได้ชีแ้ จง
แกข้ อ้ กล่าวหาภายในระยะเวลาทกี่ ำ�หนด
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาภายในเวลาท่ีกำ�หนด  ให้ถือว่าผู้ถูก
กลา่ วหาไมป่ ระสงค์จะชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา
ขอ้ ๑๑ เมอ่ื ผบู้ ังคับบญั ชาซึง่ มีอ�ำ นาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ได้ด�ำ เนินการตาม
ข้อ ๑๐​ แล้ว ให้พิจารณาสั่งหรือด�ำ เนินการดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณที ่เี ห็นว่าผู้ถกู กลา่ วหาไม่ไดก้ ระท�ำ ผดิ วนิ ยั ตามขอ้ กลา่ วหา ให้ส่งั ยตุ เิ รื่อง
ตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง โดยท�ำ เปน็ ค�ำ สง่ั ตามขอ้ ๖๖



(๒) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้สั่งลงโทษ
ภาคทัณฑ์  ตัดเงินเดือน  หรือลดเงินเดือน  ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิดตาม
มาตรา ๙๖ และที่กำ�หนดไว้ในข้อ ๖๗ โดยทำ�เปน็ คำ�สัง่ ตามข้อ ๖๙
(๓) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยเล็กน้อย  และมีเหตุอันควรงดโทษ
จะงดโทษให ้ โดยใหท้ �ำ ทณั ฑบ์ นเปน็ หนงั สอื หรอื วา่ กลา่ วตกั เตอื นตามมาตรา ๙๖ กไ็ ด ้ โดยท�ำ เปน็
ค�ำ สง่ั งดโทษตามขอ้ ๗๑
(๔) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ให้ดำ�เนินการตาม
หมวด ๔ ตอ่ ไป
ขอ้ ๑๒ ในกรณที ผี่ ้มู ีอำ�นาจส่งั บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดำ�เนินการทางวินยั โดยแต่งตง้ั
คณะกรรมการสอบสวน การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน และการคัดค้านกรรมการสอบสวน
ให้นำ�ขอ้ ๑๘ วรรคหนึ่ง วรรคสอง วรรคสี่ ขอ้ ๑๙ ขอ้ ๒๐ ขอ้ ๒๑ ข้อ ๒๒ ขอ้ ๒๓ ข้อ ๒๔ และ
ข้อ ๒๕ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญตำ�แหน่งต่างกัน  หรือต่างกรม  หรือ
ต่างกระทรวงกันถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมกัน  การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตาม
วรรคหน่ึงใหเ้ ป็นไปตามมาตรา ๙๔ และท่ีกำ�หนดในข้อ ๑๖ และข้อ ๑๗
ขอ้ ๑๓ คณะกรรมการสอบสวนตามข้อ  ๑๒  ต้องดำ�เนินการสอบสวน  รวบรวม
ข้อเทจ็ จริง ข้อกฎหมาย และพยานหลกั ฐานทเ่ี กี่ยวข้อง แจง้ ขอ้ กล่าวหาและสรุปพยานหลกั ฐาน
ให้ผู้ถกู กล่าวหาทราบ รับฟงั คำ�ชแ้ี จงของผถู้ ูกกลา่ วหา แล้วเกบ็ รวบรวมไวใ้ นส�ำ นวนการสอบสวน
และทำ�รายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน  ท้ังนี้
ตอ้ งให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนบั แต่วนั ทีป่ ระธานกรรมการรบั ทราบค�ำ ส่งั
ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนมเี หตผุ ลและความจ�ำ เปน็ ไมอ่ าจด�ำ เนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็
ภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคหน่ึง  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนเพ่ือขอขยายเวลาตามความจำ�เป็น ในการนี้ ผู้สั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวนจะขยาย
เวลาใหต้ ามทเ่ี หน็ สมควรโดยตอ้ งแสดงเหตผุ ลไวด้ ว้ ย หรอื จะสง่ั ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนยตุ ิการ
ด�ำ เนินการแลว้ พจิ ารณาสั่งหรือด�ำ เนินการตามขอ้ ๑๑ ตอ่ ไปกไ็ ด้
ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคำ�ช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ย่ืนคำ�ชี้แจงแก้ข้อ
กล่าวหาภายในเวลาที่คณะกรรมการสอบสวนกำ�หนด  ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์จะชี้แจง
แก้ข้อกล่าวหา  เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรดำ�เนินการเป็นอย่างอ่ืนเพ่ือประโยชน์
แหง่ ความเปน็ ธรรม
ข้อ ๑๔ เม่ือผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและ
ส�ำ นวนการสอบสวนตามขอ้ ๑๓ แลว้ ให้พจิ ารณาส่ังหรอื ด�ำ เนินการตามข้อ ๑๑ หรอื สัง่ หรือ
ด�ำ เนินการดงั ตอ่ ไปน้ี



(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพ่ิมเติม  ให้กำ�หนด
ประเดน็ หรอื ข้อสำ�คญั ท่ีตอ้ งการใหค้ ณะกรรมการสอบสวนท�ำ การสอบสวนเพิ่มเตมิ
(๒) ในกรณีที่เห็นว่าการดำ�เนินการใดไม่ถูกต้อง  ให้ส่ังให้คณะกรรมการสอบสวน
ดำ�เนนิ การใหถ้ ูกตอ้ งโดยเร็ว

หมวด ๔
การดำ�เนนิ การในกรณมี ีมลู ท_่คี _ว_ร_ก_ล_า่_ว_ห__า_ว_า่ กระทำ�ผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง
ข้อ ๑๕ ในกรณที ่ีผลการสืบสวนหรอื พิจารณาตามขอ้ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏว่ากรณี
มมี ลู ที่ควรกลา่ วหาวา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผู้ใดกระทำ�ผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง ให้ผู้บงั คบั บญั ชา
ซึง่ มีอ�ำ นาจส่งั บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรอื ผมู้ อี �ำ นาจตามมาตรา ๙๔ แลว้ แตก่ รณี แตง่ ต้งั คณะ
กรรมการสอบสวน เพ่อื ดำ�เนนิ การสอบสวนต่อไป
ในกรณีที่เป็นการดำ�เนินการต่อเน่ืองจากการดำ�เนินการตามข้อ  ๑๑  (๔)
ให้ผู้บงั คบั บัญชาซึ่งมอี ำ�นาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ หรือผูม้ อี �ำ นาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแต่
กรณี แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้นึ ใหม่เพ่ือดำ�เนนิ การต่อไปตามหมวดน้ี ส่วนขอ้ เท็จจริงและ
พยานหลักฐานในสำ�นวนการสอบสวนตามขอ้ ๑๓ จะน�ำ มาใชใ้ นการสอบสวนน้หี รอื ไม่เพียงใด
ให้อยใู่ นดลุ พินจิ ของคณะกรรมการสอบสวน
ข้อ ๑๖ การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญ
ต�ำ แหน่งต่างกัน หรอื ต่างกรม หรอื ต่างกระทรวงกนั ถกู กล่าวหาว่ากระทำ�ผดิ วนิ ยั รว่ มกัน ส�ำ หรบั
กรณอี น่ื ตามมาตรา ๙๔ (๔) ใหด้ �ำ เนนิ การ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกันถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
รว่ มกนั ถ้าผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ของข้าราชการดงั กล่าวต่างกัน
ใหอ้ ธบิ ดหี รอื ผบู้ งั คบั บญั ชาซง่ึ มอี �ำ นาจสง่ั บรรจทุ ม่ี ตี �ำ แหนง่ เหนอื กวา่ เปน็ ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
สอบสวน แลว้ แต่กรณี
(๒) กรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญในสำ�นักงานรัฐมนตรี หรือส่วนราชการที่ไม่มี
ฐานะเปน็ กรม แตม่ หี วั หนา้ สว่ นราชการเปน็ อธบิ ดหี รอื ต�ำ แหนง่ ทเ่ี รยี กชอ่ื อยา่ งอน่ื ทม่ี ฐี านะเปน็ อธบิ ดี
ถกู กลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั รว่ มกบั ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ในสว่ นราชการอน่ื ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา
ซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เวน้ แต่เป็นกรณีท่ี
มผี ดู้ �ำ รงตำ�แหนง่ ประเภทบรหิ ารระดบั สูงถูกกลา่ วหาว่ากระทำ�ผดิ วนิ ยั ร่วมดว้ ย ให้นายกรฐั มนตรี
เปน็ ผู้ส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
(๓) กรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการท่ีมีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัด
กระทรวง  แต่อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือในส่วนราชการท่ีมีหัวหน้า



ส่วนราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี  ถูกกล่าว
หาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมกับข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการอื่น  ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
อำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ รว่ มกนั แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวน เว้นแตเ่ ป็นกรณที ี่มผี ดู้ ำ�รง
ตำ�แหน่งประเภทบรหิ ารระดับสงู ถกู กล่าวหาวา่ กระทำ�ผิดวนิ ัยร่วมด้วย ใหน้ ายกรัฐมนตรีเปน็ ผ้สู ่งั
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน
(๔) กรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญในราชการบริหารส่วนภูมิภาคจังหวัดเดียวกัน
แตอ่ ย่ตู ่างกรมหรือตา่ งกระทรวงกัน ถกู กลา่ วหาว่ากระทำ�ผดิ วนิ ัยรว่ มกัน ถ้าผู้ถกู กลา่ วหาทุกคน
ด�ำ รงตำ�แหน่งที่ผู้วา่ ราชการจงั หวัดเป็นผู้บังคับบัญชาซึง่ มอี ำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ (๑๑)
ให้ผวู้ ่าราชการจังหวดั เปน็ ผูส้ งั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
ข้อ ๑๗ ในกรณรี ว่ มกนั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน ใหผ้ ู้มีอ�ำ นาจส่งั แตง่ ต้ังคณะ
กรรมการสอบสวนของแต่ละส่วนราชการทำ�ความตกลงกันเพ่ือกำ�หนดตัวบุคคลเป็นกรรมการ
สอบสวน แล้วใหแ้ ตล่ ะส่วนราชการมีค�ำ สงั่ แตง่ ตงั้ บุคคลนนั้ เป็นคณะกรรมการสอบสวน
ขอ้ ๑๘ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ให้แต่งต้ังจากขา้ ราชการพลเรือนสามญั
ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการคนหนึง่ และกรรมการอื่นอีกอย่างนอ้ ยสองคน โดยให้กรรมการ
คนหน่ึงเป็นเลขานุการ  ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจำ�เป็นจะแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ
จากขา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื นซึ่งมิใชข่ ้าราชการการเมอื งก็ได้
ในขณะที่มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน  ประธานกรรมการต้องดำ�รง
ต�ำ แหนง่ ตามที่ ก.พ. กำ�หนด
กรรมการสอบสวนอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ คนตอ้ งเปน็ ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ นติ กิ ร หรอื ผไู้ ดร้ บั ปรญิ ญา
ทางกฎหมาย หรอื ผูไ้ ด้รบั การฝึกอบรมตามหลักสตู รการด�ำ เนนิ การทางวนิ ัย หรือผู้มีประสบการณ์
ดา้ นการดำ�เนนิ การทางวนิ ัย
เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการท่ีแต่งตั้งจากข้าราชการฝ่าย
พลเรือนซึ่งมิใช่ข้าราชการการเมืองหรือแต่งตั้งจากพนักงานราชการหรือลูกจ้างประจำ�ด้วยก็ได้
และให้นำ�ข้อ ๒๐ ข้อ ๒๒ ขอ้ ๒๓ ขอ้ ๒๔ ขอ้ ๒๕ และข้อ ๓๓ มาใช้บังคับกับผู้ช่วยเลขานุการ
โดยอนุโลม
ข้อ ๑๙ ค�ำ สง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนใหร้ ะบชุ อ่ื และต�ำ แหนง่ ของผถู้ กู กลา่ วหา
เรือ่ งทีก่ ลา่ วหา ช่ือของประธานกรรมการ และกรรมการ ทงั้ น้ี ตามแบบทสี่ �ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด
ในกรณีทมี่ กี ารแต่งต้ังผ้ชู ่วยเลขานกุ าร ให้ระบชุ ่ือผู้ชว่ ยเลขานกุ ารไวใ้ นค�ำ สัง่ นนั้ ด้วย
ข้อ ๒๐ ในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบสวน  ให้ดำ�เนินการโดยทำ�เป็น
ค�ำ สั่งตามแบบทสี่ ำ�นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด และให้แจ้งให้ผ้ถู ูกกล่าวหาทราบต่อไป
การเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบสวนตามวรรคหน่ึง  ไม่กระทบกระเทือนถึงการ
สอบสวนที่ได้ด�ำ เนินการไปแล้ว



ขอ้ ๒๑ เม่ือได้มีคำ�ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนแล้ว  ให้ผู้สั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนด�ำ เนินการดงั ต่อไปน้ี
(๑) แจ้งให้ผู้ถกู กลา่ วหาทราบคำ�ส่ังโดยเรว็ และใหผ้ ู้ถกู กล่าวหาลงลายมือชื่อและ
วนั ท่รี ับทราบไว้เป็นหลักฐาน ในการน้ ี ใหแ้ จ้งต�ำ แหนง่ ของประธานกรรมการ กรรมการ และ
ผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้าม)ี รวมท้ังสทิ ธทิ ่จี ะคดั ค้านกรรมการสอบสวนไปพร้อมกนั และให้มอบส�ำ เนา
คำ�ส่งั ใหผ้ ้ถู ูกกล่าวหาไวห้ นึง่ ฉบับดว้ ย ในกรณที ผ่ี ถู้ ูกกลา่ วหาไม่ยอมลงลายมอื ช่ือรับทราบค�ำ ส่งั
ถ้าได้ทำ�บันทึกลงวันที่และสถานที่ท่ีแจ้งและลงลายมือช่ือผู้แจ้ง  พร้อมทั้งพยานรู้เห็นไว้เป็น
หลกั ฐานแล้ว ใหถ้ อื วนั ทีแ่ จง้ นัน้ เปน็ วนั รบั ทราบ
การแจ้งตามวรรคหนงึ่ ให้แจ้งให้ผถู้ ูกกลา่ วหาทราบโดยตรงก่อน แตถ่ า้ ไมอ่ าจแจง้
ใหท้ ราบโดยตรงไดห้ รอื มเี หตจุ �ำ เปน็ อน่ื ใหแ้ จง้ เปน็ หนงั สอื สง่ ทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั ไปให้
ผถู้ กู กลา่ วหา ณ ทอ่ี ยซู่ ง่ึ ปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการ ในกรณเี ชน่ น ้ี ใหถ้ อื วา่ ผถู้ กู กลา่ วหา
ได้รับแจ้งเม่ือครบกำ�หนดเจ็ดวันนับแต่วันส่งสำ�หรับกรณีส่งในประเทศ  หรือเมื่อครบสิบห้าวัน
นบั แตว่ นั ส่งสำ�หรับกรณีส่งไปยังต่างประเทศ
(๒) ส่งสำ�เนาคำ�ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนพร้อมท้ังเอกสารหลักฐานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วหาใหป้ ระธานกรรมการโดยเรว็ แลว้ ใหป้ ระธานกรรมการลงลายมอื ชอ่ื และ
วันเดอื นปที ี่ไดร้ ับแล้วเกบ็ รวมไว้ในสำ�นวนการสอบสวน และสง่ สำ�เนาคำ�ส่งั แต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนใหก้ รรมการทราบเปน็ รายบคุ คล
(๓) ส่งหลักฐานการรับทราบหรือถือว่าทราบคำ�ส่ังของผู้ถูกกล่าวหาไปให้ประธาน
กรรมการเพือ่ เก็บรวมไว้ในสำ�นวนการสอบสวน
ข้อ ๒๒ เมื่อมีกรณีดังตอ่ ไปน้ี กรรมการสอบสวนอาจถูกคดั ค้านได้
(๑) เปน็ ผกู้ ลา่ วหาตามขอ้ ๓
(๒) เปน็ คู่หมน้ั หรอื ค่สู มรสของผู้กล่าวหาตามข้อ ๓
(๓) เปน็ ญาตขิ องผ้กู ลา่ วหาตามข้อ ๓​ คือ เปน็ บุพการหี รือผ้สู ืบสนั ดานไมว่ า่ ชั้นใดๆ
หรอื เปน็ พน่ี อ้ ง หรอื ลกู พล่ี กู นอ้ งนบั ไดเ้ พยี งสามชน้ั หรอื เปน็ ญาตเิ กย่ี วพนั ทางการสมรสนบั ไดเ้ พยี ง
สองช้นั
(๔) เป็นผู้มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหาหรือกับคู่หม้ันหรือคู่สมรสของ
ผู้ถูกกลา่ วหา
(๕) เปน็ ผมู้ ีประโยชน์ได้เสยี ในเร่ืองที่สอบสวน
(๖) เปน็ ผูร้ ู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระท�ำ ผดิ ตามเรอื่ งทีก่ ล่าวหา
(๗) เป็นผู้ที่มีเหตุอ่ืนซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจทำ�ให้การสอบสวนไม่เป็นกลางหรือ
เสยี ความเปน็ ธรรม

๑๐

ขอ้ ๒๓ การคัดค้านกรรมการสอบสวนต้องทำ�เป็นหนังสือยื่นต่อผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคำ�ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนหรือนบั แต่วนั ทีท่ ราบวา่ มีกรณีตามข้อ ๒๒ โดยหนงั สอื คัดคา้ นตอ้ งแสดงข้อเทจ็ จริงหรอื
พฤตกิ ารณ์ท่ีเป็นเหตแุ ห่งการคดั คา้ นตามท่กี ำ�หนดไวใ้ นขอ้ ๒๒
ในกรณีที่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการคัดค้านเป็นไปตามเง่ือนไข
ที่กำ�หนดตามวรรคหนึ่ง  ให้ส่งสำ�เนาหนังสือคัดค้านไปให้ประธานกรรมการเพ่ือทราบและ
เกบ็ รวบรวมไว้ในส�ำ นวนการสอบสวน รวมทงั้ แจง้ ให้ผูถ้ ูกคดั คา้ นทราบ และตอ้ งใหโ้ อกาสผ้ถู กู
คัดค้านได้ช้ีแจงเป็นหนังสือต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ผู้ถูก
คดั ค้านไดล้ งลายมือชือ่ และวนั ทท่ี ไี่ ด้รับแจ้งไว้เปน็ หลกั ฐาน ในการน้ี ผถู้ กู คดั คา้ นต้องหยดุ ปฏบิ ตั ิ
หน้าที่กรรมการสอบสวนต้ังแต่วันท่ีได้รับแจ้งน้ัน  แต่ถ้าเห็นว่าการคัดค้านไม่เป็นไปตามเงื่อนไข
ทก่ี ำ�หนดให้ผ้สู งั่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนสัง่ ไมร่ บั ค�ำ คดั ค้านนัน้ และแจง้ ให้ผ้คู ัดค้านทราบ
ขอ้ ๒๔ เมื่อได้ดำ�เนินการตามขอ้ ๒๓ แลว้ ใหผ้ ้สู ั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
พิจารณาสง่ั การอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ในกรณที เ่ี หน็ วา่ ค�ำ คดั คา้ นรบั ฟงั ได ้ ใหส้ ง่ั ใหผ้ ถู้ กู คดั คา้ นพน้ จากหนา้ ทใ่ี นการเปน็
กรรมการสอบสวน ในกรณีทีเ่ ห็นสมควรจะแตง่ ตัง้ ผอู้ ืน่ ใหเ้ ป็นกรรมการสอบสวนแทนผู้ถูกคดั ค้าน
ก็ได้ แตถ่ า้ กรรมการสอบสวนทีเ่ หลืออยมู่ จี �ำ นวนน้อยกวา่ สามคนใหแ้ ตง่ ตั้งผู้อ่ืนให้เป็นกรรมการ
สอบสวนแทนผู้ถูกคดั คา้ น และใหน้ �ำ ข้อ ๒๐ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม
(๒) ในกรณที ่ีเหน็ ว่าคำ�คดั คา้ นไม่อาจรบั ฟังได้ ให้สั่งยกค�ำ คัดคา้ น และมีหนงั สอื
แจง้ ให้ผคู้ ดั ค้าน ผ้ถู ูกคัดคา้ น และประธานกรรมการทราบโดยเรว็ คำ�สงั่ ยกค�ำ คดั ค้านใหเ้ ป็นท่สี ดุ
ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งพจิ ารณาและสง่ั การตามวรรคหนง่ึ ใหแ้ ลว้ เสรจ็
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีได้รับคำ�คัดค้าน  ถ้าไม่ได้ส่ังภายในกำ�หนดเวลาดังกล่าว  ให้ผู้ถูก
คดั คา้ นนน้ั พน้ จากการเปน็ กรรมการสอบสวนนบั แตว่ นั พน้ ก�ำ หนดเวลาดงั กลา่ ว และใหด้ �ำ เนนิ การ
ตาม (๑) ตอ่ ไป
ขอ้ ๒๕ ในกรณีท่กี รรมการสอบสวนผู้ใดเหน็ วา่ ตนมกี รณีตามขอ้ ๒๒ ใหผ้ นู้ นั้ แจ้ง
ใหผ้ ้สู ่งั แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทราบ  และใหผ้ ู้สัง่ แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณา
สั่งการตามขอ้ ๒๔ โดยอนโุ ลมต่อไป
ข้อ ๒๖ คณะกรรมการสอบสวนมีหน้าที่สอบสวนและพิจารณาตามหลักเกณฑ์
วธิ กี าร และระยะเวลาทีก่ �ำ หนดในกฎ ก.พ. น้ี เพอื่ แสวงหาความจรงิ ในเรอ่ื งท่กี ล่าวหาและดแู ล
ใหบ้ งั เกิดความยุตธิ รรมตลอดกระบวนการสอบสวน ในการน้ี ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวม
ประวตั แิ ละความประพฤตขิ องผถู้ กู กลา่ วหาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วหาเทา่ ทจ่ี �ำ เปน็ เพอ่ื ประกอบ
การพิจารณา และจดั ท�ำ บนั ทกึ ประจ�ำ วนั ท่ีมกี ารสอบสวนไว้ทุกคร้ังด้วย

๑๑

ในการสอบสวนและพิจารณาห้ามมิให้มีบุคคลอ่ืนอยู่หรือร่วมด้วย  เว้นแต่เป็นการ
สอบปากคำ�ตามขอ้ ๓๒ หรือเป็นกรณที ก่ี ฎ ก.พ. น้ี กำ�หนดไวเ้ ป็นอย่างอนื่
ขอ้ ๒๗ ให้ประธานกรรมการจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรก
ภายในเจ็ดวนั นับแตว่ นั ท่ีประธานกรรมการรบั เรื่องตามข้อ ๒๑ (๒) และ (๓) ในกรณที ไ่ี ม่อาจ
จัดประชุมได้ภายในกำ�หนด  ให้รายงานเหตุผลและความจำ�เป็นให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทราบ
ในการประชุมคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง  ให้คณะกรรมการสอบสวน
ก�ำ หนดประเด็นและวางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน
ข้อ ๒๘ เม่ือได้วางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐานตาม
ข้อ ๒๗ แล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนด�ำ เนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) รวบรวมข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ กฎหมาย และพยานหลกั ฐานท่ีเก่ยี วข้อง
(๒) แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหา
ทราบ
(๓) ใหโ้ อกาสผถู้ กู กล่าวหาไดช้ ้แี จงแสดงพยานหลกั ฐานเพ่อื แก้ข้อกลา่ วหา
(๔) พิจารณาท�ำ ความเหน็ เกี่ยวกบั เร่ืองที่สอบสวน
(๕) ทำ�รายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวน
ข้อ ๒๙ ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานท้ังปวงท่ีเห็นว่าเป็น
ประโยชน์แก่การสอบสวน  โดยไม่รับฟังแต่เพียงข้ออ้างหรือพยานหลักฐานของผู้กล่าวหาหรือ
ผู้ถูกกลา่ วหาเท่านนั้
ในกรณีที่ปรากฏว่ามีข้อเท็จจริงใดที่กล่าวอ้างหรือพาดพิงถึงบุคคล  เอกสาร  หรือ
วัตถุใดที่จะเป็นประโยชน์แก่การสอบสวน  ให้คณะกรรมการสอบสวนทำ�การสอบสวนและ
รวบรวมพยานหลักฐานน้ันไว้ให้ครบถ้วน  ถ้าไม่อาจเข้าถึงหรือได้มาซ่ึงพยานหลักฐานดังกล่าว
ให้บนั ทึกเหตนุ ั้นไว้ด้วย
ขอ้ ๓๐ ในการสอบปากคำ�ผู้ถูกกล่าวหาหรือพยานให้สอบปากคำ�คราวละหนึ่งคน
และในการสอบปากค�ำ พยาน ตอ้ งแจง้ ใหพ้ ยานทราบวา่ กรรมการสอบสวนมฐี านะเปน็ เจา้ พนกั งาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา การใหถ้ ้อยค�ำ อนั เป็นเทจ็ อาจเป็นความผิดตามกฎหมาย
การสอบปากคำ�ตามวรรคหนึ่ง  ต้องมีกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของ
จำ�นวนกรรมการสอบสวนท้ังหมดจึงจะทำ�การสอบปากคำ�ได้  แต่ในกรณีที่กึ่งหนึ่งของจำ�นวน
กรรมการสอบสวนทั้งหมดมีมากกว่าสามคน  จะให้กรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่าสามคนทำ�การ
สอบปากคำ�กไ็ ด ้

๑๒

ข้อ ๓๑ การสอบปากคำ�ตามข้อ ๓๐ ตอ้ งมีการบันทึกถ้อยค�ำ ของผูใ้ หถ้ อ้ ยคำ�ตาม
แบบที่ส�ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด แลว้ อา่ นใหผ้ ้ใู ห้ถอ้ ยค�ำ ฟังหรอื ใหผ้ ใู้ ห้ถอ้ ยค�ำ อา่ นเองก็ได้ แลว้ ให้
ผู้ให้ถ้อยคำ�  ผู้บันทึกถ้อยคำ�  และกรรมการสอบสวนซ่ึงอยู่ร่วมในการสอบปากคำ�ลงลายมือชื่อ
ในบันทึกถ้อยคำ�นั้นไว้เป็นหลักฐาน  ในกรณีที่บันทึกถ้อยคำ�ใดมีหลายหน้า  ให้ผู้ให้ถ้อยคำ�และ
กรรมการสอบสวนซง่ึ อยรู่ ว่ มในการสอบปากค�ำ หนง่ึ คนลงลายมอื ชอ่ื ก�ำ กบั ไวใ้ นบนั ทกึ ถอ้ ยค�ำ ทกุ หนา้
ในการบันทกึ ถอ้ ยคำ� ห้ามมใิ หข้ ดู ลบ หรือบันทึกข้อความทบั ข้อความทีไ่ ด้บันทกึ ไว้
ในบนั ทึกถ้อยคำ�แล้ว ถา้ จะตอ้ งแก้ไขหรือเพมิ่ เตมิ ข้อความท่ีบนั ทกึ ไว้ ใหใ้ ช้วิธขี ดี ฆา่ ขอ้ ความเดิม
และเพ่ิมเติมข้อความใหม่ด้วยวิธีตกเติม  แล้วให้ผู้ให้ถ้อยคำ�และกรรมการสอบสวนซ่ึงอยู่ร่วมใน
การสอบปากคำ�หนึ่งคนลงลายมอื ชอื่ ก�ำ กับไว้ตรงท่ีมกี ารแก้ไขเพิม่ เติมน้นั ทกุ แหง่
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคำ�ไม่ยอมลงลายมือชื่อ  ให้บันทึกเหตุที่ไม่ลงลายมือชื่อนั้นไว้ใน
บันทกึ ถอ้ ยค�ำ ดว้ ย
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคำ�ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้  ให้ดำ�เนินการตามมาตรา  ๙
แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ขอ้ ๓๒ ในการสอบปากคำ� หา้ มมใิ หบ้ คุ คลอื่นอย่ใู นท่ีสอบปากค�ำ เวน้ แต่เป็นบคุ คล
ซง่ึ กรรมการสอบสวนทท่ี �ำ การสอบปากค�ำ อนญุ าตใหอ้ ยใู่ นทส่ี อบสวนเพอ่ื ประโยชนใ์ นการสอบสวน
หรือเปน็ ทนายความ หรอื ทปี่ รึกษาของผู้ถกู กล่าวหาตามจำ�นวนท่กี รรมการสอบสวนที่ท�ำ การสอบ
ปากค�ำ เห็นสมควรใหเ้ ขา้ มาในการสอบปากคำ�ผถู้ ูกกล่าวหา
ขอ้ ๓๓ ห้ามมิให้กรรมการสอบสวนทำ�หรือจัดให้ทำ�การใดๆ  ซึ่งเป็นการให้คำ�มั่น
สญั ญา ขู่เขญ็ หลอกลวง บังคบั หรือกระทำ�โดยมชิ อบไม่วา่ ด้วยประการใด เพอ่ื จงู ใจให้ผู้ถูก
กลา่ วหาหรอื พยานใหถ้ อ้ ยคำ�อย่างใด
ขอ้ ๓๔ การนำ�เอกสารหรือวัตถุมาใช้เป็นพยานหลักฐานในสำ�นวนการสอบสวน
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนจัดให้มกี ารบนั ทึกไว้ด้วยว่าไดม้ าอยา่ งไร จากผู้ใด และเมอื่ ใด
เอกสารท่ีใช้เป็นพยานหลักฐานในสำ�นวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับ  แต่ถ้า
ไม่อาจนำ�ต้นฉบับมาได้  จะใช้สำ�เนาท่ีกรรมการสอบสวนหรือผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบรับรองว่าเป็น
สำ�เนาถกู ต้องกไ็ ด้
ในกรณีที่ไม่สามารถหาต้นฉบับเอกสารได้เพราะสูญหายหรือถูกทำ�ลายหรือโดยเหตุ
ประการอน่ื คณะกรรมการสอบสวนจะสืบจากส�ำ เนาเอกสารหรือพยานบคุ คลแทนกไ็ ด้
ขอ้ ๓๕ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเรียกบุคคลใดมาเป็นพยานเพื่อชี้แจง
หรือให้ถ้อยค�ำ ตามวัน เวลา และสถานทีท่ กี่ ำ�หนดแล้ว แต่บคุ คลนั้นไม่มาหรือมาแต่ไม่ชีแ้ จงหรือ
ไม่ให้ถ้อยคำ�  หรือในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่อาจเรียกบุคคลใดมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ�
ได้ภายในเวลาอันควร คณะกรรมการสอบสวนจะไม่สอบสวนบุคคลนน้ั ก็ได้ แต่ต้องบนั ทกึ เหตุน้ัน
ไวใ้ นบนั ทึกประจ�ำ วันท่ีมีการสอบสวน และในรายงานการสอบสวนด้วย

๑๓

ข้อ ๓๖ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนพยานบุคคลใดหรือ
การรวบรวมพยานเอกสารหรอื วตั ถใุ ดจะท�ำ ใหก้ ารสอบสวนลา่ ชา้ โดยไมจ่ �ำ เปน็ หรอื พยานหลกั ฐาน
น้นั มใิ ช่สาระสำ�คญั จะงดสอบสวนหรือไมร่ วบรวมพยานหลกั ฐานนนั้ ก็ได้ แต่ต้องบนั ทกึ เหตุน้ันไว้
ในบันทึกประจำ�วันทม่ี กี ารสอบสวน และในรายงานการสอบสวนดว้ ย
ขอ้ ๓๗ ในกรณีท่ีจะต้องสอบปากคำ�พยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานซ่ึงอยู่
ต่างท้องที่  ประธานกรรมการจะรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือขอให้มอบ
หมายให้หัวหน้าส่วนราชการ  หรือหัวหน้าหน่วยงานในท้องท่ีน้ันท่ีเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือน
สอบปากคำ�พยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานแทนก็ได้  โดยกำ�หนดประเด็นหรือข้อสำ�คัญที่จะ
ต้องสอบสวนไปให้  กรณีเช่นน้ี  ถ้าผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นควรจะมอบหมายให้
หัวหนา้ ส่วนราชการหรือหวั หนา้ หน่วยงานนัน้ ดำ�เนนิ การตามที่คณะกรรมการสอบสวนรอ้ งขอก็ได้
ในการสอบปากคำ�พยานและรวบรวมพยานหลกั ฐานตามวรรคหนึ่ง ใหห้ วั หน้าส่วน
ราชการหรอื หวั หนา้ หนว่ ยงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเลอื กขา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื นทเ่ี หน็ สมควรอยา่ งนอ้ ย
อกี สองคนมารว่ มเป็นคณะทำ�การสอบสวน และให้คณะทำ�การสอบสวนมีอำ�นาจหนา้ ทเี่ ชน่ เดียว
กบั คณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี
ข้อ ๓๘ เม่ือคณะกรรมการสอบสวนไดร้ วบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และพยาน
หลกั ฐานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตามข้อ ๒๘ (๑) แล้ว ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการสอบสวนเพื่อพจิ ารณา
ทำ�ความเหน็ วา่ ผู้ถูกกล่าวหากระท�ำ ผดิ วนิ ัยในเรื่องท่ีสอบสวนหรือไม่ ถา้ คณะกรรมการสอบสวน
พิจารณาเหน็ วา่ ผู้ถูกกล่าวหาไม่ไดก้ ระทำ�ผดิ วนิ ยั ในเร่ืองที่สอบสวน ใหร้ ายงานผลการสอบสวน
พรอ้ มความเหน็ เสนอต่อผู้ส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวน แตถ่ า้ คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า
จากข้อเท็จจริง  ข้อกฎหมาย  รวมทั้งพยานหลักฐานท่ีรวบรวมได้เพียงพอท่ีจะรับฟังได้ว่า
ผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยในเร่ืองท่ีสอบสวน  ให้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ี
สนบั สนนุ ข้อกล่าวหาใหผ้ ูถ้ กู กล่าวหาทราบ
การประชุมตามวรรคหน่ึง  ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่าสามคน
และไม่น้อยกว่าก่งึ หนึ่งของจำ�นวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด
ขอ้ ๓๙ ในกรณีที่มีคำ�พิพากษาถึงที่สุดว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำ�ผิดหรือต้องรับผิด
ในคดีเก่ียวกับเร่ืองที่สอบสวน  ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตาม
คำ�พิพากษาถึงที่สุดนั้นได้ความประจักษ์ชัดอยู่แล้วว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหา
คณะกรรมการสอบสวนจะนำ�เอาคำ�พิพากษาถึงที่สุดน้ันมาใช้เป็นพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อ
กล่าวหาโดยไม่ต้องรวบรวมพยานหลักฐานอื่นก็ได้  แต่ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปข้อเท็จจริง
ท่ีปรากฏตามคำ�พิพากษาท่ีถึงที่สุดน้ัน  เพ่ือใช้เป็นสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหา
ให้ผูถ้ กู กลา่ วหาทราบดว้ ย

๑๔

ข้อ ๔๐ การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ให้ทำ�
เป็นบันทึกระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ของผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทำ�การใด  เมื่อใด  อย่างไร
เปน็ ความผดิ วินยั ในกรณีใด และสรปุ พยานหลักฐานท่สี นับสนนุ ข้อกล่าวหา โดยจะระบชุ ่อื พยาน
ด้วยหรือไม่ก็ได้  รวมท้ังแจ้งให้ทราบสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาที่จะให้ถ้อยคำ�หรือยื่นคำ�ชี้แจง
แก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือ  สิทธิที่จะแสดงพยานหลักฐานหรือจะอ้างพยานหลักฐานเพื่อขอให้
เรียกพยานหลักฐานนนั้ มาได้ แลว้ แจง้ ใหผ้ ู้ถกู กลา่ วหาทราบ
บันทึกตามวรรคหน่ึง  ให้ทำ�ตามแบบท่ีสำ�นักงาน  ก.พ.  กำ�หนด  โดยให้ทำ�เป็น
สองฉบบั มขี อ้ ความตรงกัน ให้ประธานกรรมการและกรรมการอีกอย่างนอ้ ยหนึ่งคนลงลายมอื ชือ่
ในบนั ทกึ น้นั ดว้ ย
ข้อ ๔๑ เม่ือได้จดั ทำ�บนั ทกึ ตามขอ้ ๔๐ แลว้ ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนมหี นงั สือ
เรียกผู้ถูกกล่าวหามาพบตามวัน  เวลา  และสถานที่ท่ีคณะกรรมการสอบสวนกำ�หนด  เพ่ือแจ้ง
ข้อกลา่ วหาและสรปุ พยานหลกั ฐานท่ีสนับสนนุ ขอ้ กลา่ วหาใหผ้ ู้ถูกล่าวหาทราบ
เมือ่ ผูถ้ กู กลา่ วหาได้มาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ใหค้ ณะกรรมการสอบสวน
แจ้งข้อกล่าวหาพร้อมท้ังอธิบายข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้
ผถู้ ูกกล่าวหาทราบ และใหผ้ ถู้ กู กลา่ วหารับทราบขอ้ กลา่ วหาโดยลงลายมอื ชือ่ พร้อมทัง้ วันเดอื นปี
ในบนั ทึกนนั้ แลว้ มอบบนั ทกึ นั้นใหผ้ ู้ถกู กล่าวหาหน่ึงฉบบั และอีกฉบับหนงึ่ เก็บไว้ในส�ำ นวนการ
สอบสวน
ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมลงลายมือช่ือในบันทึกเพ่ือรับทราบข้อกล่าวหา
ให้คณะกรรมการสอบสวนบนั ทกึ ข้อเทจ็ จริงและพฤติการณ์ดังกลา่ วไวใ้ นบันทกึ น้ัน ในกรณเี ช่นน้ี
ใหถ้ อื วา่ ผถู้ กู กลา่ วหาไดร้ บั ทราบขอ้ กลา่ วหาและสรปุ พยานหลกั ฐานตง้ั แตว่ นั ทม่ี าพบคณะกรรมการ
สอบสวนแล้ว  และให้มอบบันทึกนั้นให้ผู้ถูกกล่าวหาหนึ่งฉบับ  และอีกฉบับหนึ่งเก็บไว้ใน
สำ�นวนการสอบสวน แตถ่ า้ ผู้ถูกกลา่ วหาไม่ยอมรบั บนั ทึกดังกลา่ ว ใหส้ ่งบันทึกน้ันทางไปรษณยี ์
ลงทะเบยี นตอบรบั ไปใหผ้ ูถ้ กู กลา่ วหา ณ ท่อี ยู่ซึง่ ปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการ
ข้อ ๔๒ เมื่อได้แจ้งข้อกล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบตามข้อ  ๔๑  แล้ว
ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งกำ�หนดวัน  เวลา  สถานที่  และวิธีการท่ีจะให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง
แก้ข้อกล่าวหาในวันท่ีมาพบคณะกรรมการสอบสวน  หรือแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถกู กล่าวหา ณ ท่ีอยู่ซ่ึงปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการกไ็ ด้
ในกรณีแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ  ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา
ได้รบั ทราบตง้ั แตว่ ันท่คี รบกำ�หนดสิบห้าวนั นบั แตว่ ันท่ีได้ส่งหนงั สอื ดังกล่าวทางไปรษณีย์
ขอ้ ๔๓ ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่มาพบตามที่กำ�หนดในข้อ  ๔๑  ให้ส่งบันทึกตาม
ขอ้ ๔๐ จ�ำ นวนหนึ่งฉบับทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผถู้ กู กล่าวหา ณ ทอี่ ยูซ่ ึ่งปรากฏ
ตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณีเชน่ น้ี ให้ถอื วา่ ผถู้ กู กล่าวหาได้รับทราบขอ้ กลา่ วหาตงั้ แต่
วันทคี่ รบกำ�หนดสบิ หา้ วันนับแตว่ ันทีไ่ ดส้ ง่ บนั ทกึ ดังกลา่ วทางไปรษณีย์

๑๕

คณะกรรมการสอบสวนจะส่งหนงั สือก�ำ หนดวัน เวลา สถานท่ี และวิธีการทจ่ี ะให้
ผู้ถูกกล่าวหาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาและชี้แจงว่าได้กระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่  อย่างไร
เพราะเหตใุ ด ไปพรอ้ มกับบนั ทึกแจ้งขอ้ กลา่ วหาตามวรรคหนง่ึ กไ็ ด้
ขอ้ ๔๔ ในกรณีท่ีผู้ถูกกลา่ วหาไม่อาจช้ีแจงแกข้ อ้ กล่าวหาไดต้ ามวนั เวลา สถานที่
และวิธีการท่ีกำ�หนดตามข้อ ๔๒ หรอื ข้อ ๔๓ โดยไดอ้ ้างเหตุผลหรอื ความจ�ำ เป็น หรอื ในกรณีที่
คณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ มีเหตจุ �ำ เป็น จะกำ�หนดวัน เวลา สถานท่ี หรอื วธิ ีการเสยี ใหมเ่ พือ่
ประโยชนแ์ หง่ ความเปน็ ธรรมกไ็ ด้
ขอ้ ๔๕ ในการสอบสวนให้คณะกรรมการสอบสวนถามผู้ถูกกล่าวหาด้วยว่าได้
กระทำ�ผิดตามขอ้ กล่าวหาหรอื ไม่ อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
คณะกรรมการสอบสวนจะดำ�เนินการตามวรรคหน่ึงไปในคราวเดียวกันกับท่ีได้
ด�ำ เนินการตามขอ้ ๔๑ กไ็ ด้
ข้อ ๔๖ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพว่าได้กระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหาใด
ให้คณะกรรมการสอบสวนบันทึกการรบั สารภาพตามขอ้ กลา่ วหานัน้ ไว้เปน็ หนงั สือ ในกรณเี ชน่ นี้
คณะกรรมการสอบสวนจะไม่ทำ�การสอบสวนในข้อกล่าวหานั้นก็ได้  แล้วดำ�เนินการในส่วนที่
เกี่ยวข้องตอ่ ไป
ขอ้ ๔๗ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคำ�ช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ยื่น
คำ�ชีแ้ จงแกข้ ้อกลา่ วหาเปน็ หนังสอื ภายในเวลาทก่ี �ำ หนดตามข้อ ๔๒ และข้อ ๔๓ ใหถ้ ือว่าผูุ้ถกู
กล่าวหาไม่ประสงคจ์ ะชแี้ จงแก้ข้อกล่าวหา เวน้ แต่คณะกรรมการสอบสวนจะเหน็ ควรดำ�เนินการ
เปน็ อย่างอื่นเพือ่ ประโยชน์แหง่ ความเป็นธรรม
ข้อ ๔๘ ในกรณีที่ปรากฏพยานหลักฐานเพิ่มเติมหลังจากที่คณะกรรมการสอบสวน
ได้แจง้ ข้อกล่าวหาและสรปุ พยานหลกั ฐานท่ีสนับสนนุ ข้อกล่าวหาในเร่อื งที่สอบสวนแลว้ ถ้าคณะ
กรรมการสอบสวนเห็นว่าพยานหลักฐานทเ่ี พม่ิ เตมิ นนั้ มีนาํ้ หนกั สนบั สนุนขอ้ กล่าวหา ใหแ้ จ้งสรปุ
พยานหลักฐานเพิ่มเติมนั้นให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ แต่ถ้าเห็นว่าพยานหลักฐานเพิ่มเติมนั้นมีผล
ทำ�ให้ข้อกล่าวหาในเรื่องท่ีสอบสวนน้ันเปล่ียนแปลงไปหรือต้องเพิ่มข้อกล่าวหา  ให้กำ�หนด
ข้อกล่าวหาใหม่หรือกำ�หนดข้อกล่าวหาเพิ่มเติมแล้วแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ทีส่ นับสนุนขอ้ กล่าวหาน้ันให้ผถู้ กู กล่าวหาทราบ ท้งั น้ี ให้น�ำ ความในขอ้   ๔๐ ข้อ  ๔๑ ขอ้   ๔๒
ขอ้ ๔๓ ข้อ ๔๔ และข้อ ๔๗ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ข้อ ๔๙ ในการสอบสวน  ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีพยานหลักฐานท่ีควร
กล่าวหาว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยในเรื่องอื่นด้วย  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่ง
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
เม่ือได้รับรายงานตามวรรคหน่ึงแล้ว  ให้ผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
พจิ ารณาด�ำ เนินการดังตอ่ ไปนี้

๑๖

(๑) ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยในเรื่องอื่นด้วย  ให้ยุติ
ไม่ตอ้ งด�ำ เนินการทางวินัยส�ำ หรับเรือ่ งอื่นน้ัน
(๒) ถา้ เหน็ วา่ กรณมี มี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั ในเรอ่ื งอน่ื ดว้ ย ใหด้ �ำ เนนิ การ
ทางวินัยในเรื่องอ่ืนน้ันด้วยตามกฎ  ก.พ.  น้ี  ในกรณีท่ีการกระทำ�ผิดวินัยในเร่ืองอื่นน้ันเป็นการ
กระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  จะแต่งต้ังให้คณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนคณะใหม่ดำ�เนินการสอบสวนและพิจารณาในเรอ่ื งอ่ืนน้นั กไ็ ด้
ขอ้ ๕๐ ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงข้าราชการพลเรือนผู้อ่ืน  ถ้าคณะ
กรรมการสอบสวนพิจารณาเห็นว่าผู้น้ันมีส่วนร่วมกระทำ�การในเร่ืองที่สอบสวนนั้นด้วย  ให้คณะ
กรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพื่อพิจารณาดำ�เนินการ
ตามกฎ ก.พ. น้ี ตอ่ ไป
ในกรณีท่ีการสอบสวนพาดพิงไปถึงเจ้าหน้าท่ีของรัฐอ่ืนหรือบุคคลอื่น
ถ้าคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาเห็นว่าผู้นั้นมีส่วนร่วมกระทำ�การในเรื่องท่ีสอบสวนน้ันด้วย
ให้คณะกรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพื่อพิจารณา
ตามท่ีเห็นสมควรต่อไป
ข้อ ๕๑ ในกรณที ่ผี สู้ ัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่ากรณมี มี ลู ทีค่ วรกล่าวหา
วา่ ขา้ ราชการพลเรอื นผอู้ น่ื รว่ มกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในเรอ่ื งทส่ี อบสวนตามขอ้ ๕๐ วรรคหนง่ึ
ให้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือทำ�การสอบสวนผู้น้ัน  โดยจะแต่งต้ังให้คณะกรรมการ
สอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนคณะใหม่ดำ�เนินการสอบสวนและ
พิจารณาก็ได้  แต่ถ้าเป็นกรณีที่มีผลทำ�ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗
เปลีย่ นไป ใหส้ ง่ เรื่องไปยงั ผูบ้ ังคบั บัญชา ซงึ่ มีอ�ำ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ หรือผู้มอี ำ�นาจตาม
มาตรา ๙๔ แล้วแต่กรณี ของข้าราชการพลเรือนผนู้ น้ั เพื่อด�ำ เนินการต่อไป
พยานหลักฐานท่ีได้จากการสอบสวนในเร่ืองท่ีสอบสวนเดิม  คณะกรรมการ
สอบสวนจะใช้ประกอบการพิจารณาดำ�เนินการทางวินัยแก่บุคคลตามวรรคหนึ่งได้ต่อเม่ือได้แจ้ง
ให้ผ้นู นั้ ทราบและให้โอกาสผนู้ ั้นได้ใชส้ ทิ ธติ ามกฎ ก.พ. นี้แล้ว
ข้อ ๕๒ เม่ือคณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ทีส่ นบั สนนุ ข้อกล่าวหาให้ผูถ้ ูกกลา่ วหาทราบ ได้ให้โอกาสผูถ้ กู กล่าวหาชีแ้ จงแก้ข้อกลา่ วหา และ
ได้รวบรวมพยานหลักฐานเพียงพอท่ีจะพิจารณาได้แล้ว  ให้คณะกรรมการสอบสวนประชุมเพื่อ
พิจารณาทำ�ความเหน็ เก่ยี วกับเร่อื งทส่ี อบสวน
ในการพิจารณาทำ�ความเห็นตามวรรคหนึ่ง  คณะกรรมการสอบสวนต้องพิจารณา
ทง้ั ขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ กฎหมาย และพจิ ารณามมี ตใิ นเรอ่ื งทส่ี อบสวนใหค้ รบทกุ ขอ้ กลา่ วหาและทกุ ประเดน็
ว่าผ้ถู ูกกลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ัยในเรื่องทีส่ อบสวนหรือไม่ ถ้าเห็นว่าผ้ถู ูกกลา่ วหาได้กระทำ�ผดิ วินยั
ต้องพิจารณาใหไ้ ด้ความดว้ ยว่าเปน็ ความผิดวนิ ัยกรณใี ด ตามมาตราใด ควรไดร้ ับโทษสถานใด
และมเี หตุอันควรลดหยอ่ นหรอื ไม่ เพยี งใด

๑๗

ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผลการสอบสวนยังไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ี
จะลงโทษเพราะกระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  แต่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาหย่อนความสามารถในอัน
ท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีราชการบกพร่องในหน้าท่ีราชการ  ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำ�แหน่งหน้าท่ี
ราชการ หรือมมี ลทนิ หรอื มวั หมองในกรณีทถี่ กู สอบสวน ถา้ ให้ผนู้ ัน้ รับราชการต่อไปจะเป็นการ
เสยี หายแกร่ าชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗) แลว้ แตก่ รณี ก็ให้ทำ�ความเห็นเสนอไวใ้ น
รายงานการสอบสวนด้วย
การประชุมเพ่ือพิจารณาทำ�ความเห็นตามข้อน้ี  ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุม
ไมน่ อ้ ยกวา่ สามคน และไม่น้อยกว่ากงึ่ หนึ่งของจ�ำ นวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด
ขอ้ ๕๓ เมือ่ คณะกรรมการสอบสวนได้ด�ำ เนินการตามข้อ ๕๒ แล้ว ใหจ้ ัดทำ�รายงาน
การสอบสวนเสนอต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามแบบท่ีสำ�นักงาน  ก.พ.  กำ�หนด
โดยให้เสนอไปพรอ้ มส�ำ นวนการสอบสวน
รายงานการสอบสวนตามวรรคหน่ึง  อย่างน้อยต้องประกอบด้วยเรื่องท่ีสอบสวน
ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง  ข้อกล่าวหา  พยานหลักฐานท่ีสนับสนุนหรือหักล้าง
ข้อกล่าวหา ประเดน็ ทต่ี อ้ งพจิ ารณาความเหน็ ของคณะกรรมการสอบสวนตามขอ้ ๕๒ วรรคสอง
และวรรคสาม  และลายมอื ชอ่ื กรรมการสอบสวนทกุ คน  รวมทง้ั ใหป้ ระธานกรรมการลงลายมอื ชอ่ื
กำ�กับไว้ในรายงานการสอบสวนหน้าอ่ืนด้วยทุกหน้า  ในกรณีท่ีกรรมการสอบสวนคนใดมีเหตุ
จำ�เป็นไม่อาจลงลายมือช่ือได้  ให้ประธานกรรมการสอบสวนบันทึกเหตุจำ�เป็นดังกล่าวไว้ด้วย
และในกรณีทกี่ รรมการสอบสวนผู้ใดมคี วามเหน็ แย้ง ให้แสดงช่อื และสรุปความเหน็ แย้งของผู้น้ัน
ไวใ้ นรายงานการสอบสวนดว้ ย ในการน ้ี ผมู้ คี วามเหน็ แยง้ นน้ั จะท�ำ บนั ทกึ รายละเอยี ดความเหน็ แยง้
และลงลายมือชอื่ ของตนแนบไว้กับรายงานการสอบสวนดว้ ยกไ็ ด้
ขอ้ ๕๔ ให้คณะกรรมการสอบสวนดำ�เนินการสอบสวนและจัดทำ�รายงานการ
สอบสวนพร้อมท้ังสำ�นวนการสอบสวนเสนอต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนให้แล้วเสร็จ
ภายในหนง่ึ ร้อยยส่ี ิบวนั นับแต่วนั ทมี่ ีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรกตามขอ้ ๒๗
ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจำ�เป็นไม่อาจดำ�เนินการ
ให้แล้วเสร็จได้ภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคหนึ่ง  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน เพอ่ื ขอขยายเวลาสอบสวนตามความจ�ำ เปน็ และใหผ้ สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
สอบสวนพิจารณาขยายเวลาได้ครั้งละไม่เกินหกสิบวัน  ในกรณีท่ีได้มีการขยายเวลาจนทำ�ให้
การสอบสวนดำ�เนินการเกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีมีการประชุมคณะกรรมการสอบสวน
ครง้ั แรกตามขอ้ ๒๗ ใหผ้ สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนรายงาน อ.ก.พ. กระทรวงทผ่ี ถู้ กู กลา่ วหา
สงั กัดอยูท่ ราบ เพือ่ ติดตามเรง่ รัดให้ด�ำ เนนิ การให้แล้วเสรจ็ โดยเร็วต่อไป
ขอ้ ๕๕ เมื่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและ
สำ�นวนการสอบสวนแล้ว  ให้พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของการสอบสวน  ถ้าเห็นว่าการ

๑๘

สอบสวนถูกตอ้ งครบถ้วนแลว้ ให้ผ้สู ่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนดำ�เนนิ การตามข้อ ๕๖ แต่ถา้
เห็นวา่ การสอบสวนยังไมถ่ กู ต้องหรอื ไมค่ รบถว้ น ก็ให้สงั่ หรอื ดำ�เนินการดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณที เ่ี หน็ วา่ ยงั ไมม่ กี ารแจง้ ขอ้ กลา่ วหาหรอื การแจง้ ขอ้ กลา่ วหายงั ไมค่ รบถว้ น
ใหส้ ง่ั ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนด�ำ เนนิ การแจง้ ขอ้ กลา่ วหาหรอื แจง้ ขอ้ กลา่ วหาใหค้ รบถว้ นโดยเรว็
(๒) ในกรณีที่เห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพิ่มเติม  ให้กำ�หนด
ประเด็นหรือข้อสำ�คัญท่ีต้องการให้คณะกรรมการสอบสวนทำ�การสอบสวนเพ่ิมเติมโดยไม่ต้อง
ท�ำ ความเห็น
(๓) ในกรณีที่เห็นว่าการดำ�เนินการใดไม่ถูกต้อง ให้สั่งให้คณะกรรมการสอบสวน
ดำ�เนนิ การให้ถูกต้องโดยเร็ว
ข้อ ๕๖ เมื่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนถูกต้องครบถ้วน
แลว้ ใหพ้ ิจารณามคี วามเห็นเพือ่ สั่งหรอื ด�ำ เนินการ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผู้ถกู กล่าวหาไม่ได้กระท�ำ ผิดวินยั หรอื
กระท�ำ ผิดวนิ ัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรง ถา้ ผสู้ ง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผู้ถูกกลา่ วหา กระท�ำ
ผิดวินยั อย่างไมร่ ้ายแรง หรือไม่ได้กระทำ�ผิดวินัย ใหผ้ สู้ ่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณา
ดำ�เนินการตามอำ�นาจหน้าที่ต่อไป  แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงก็ให้
ด�ำ เนินการตาม (๒)
(๒) ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง
ใหผ้ สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณาวา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงหรอื ไม่
และไม่ว่าผู้สั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนจะเหน็ ดว้ ยกบั ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวน
หรือไม่ก็ตาม ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สง่ เรอ่ื งให้ อ.ก.พ. จังหวัด
อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซง่ึ ผู้ถกู กลา่ วหาสงั กัดอยู่ตามท่ีก�ำ หนดในข้อ ๕๘ แล้วแต่กรณี
เพอื่ พิจารณาต่อไป
(๓) ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผลการสอบสวนยงั ไมไ่ ดค้ วามแนช่ ดั พอ
ท่จี ะลงโทษ เพราะกระท�ำ ผดิ วินยั อย่างร้ายแรง แตเ่ ห็นว่าผถู้ ูกกล่าวหาหยอ่ นความสามารถในอัน
ที่จะปฏิบัตหิ น้าทร่ี าชการ บกพรอ่ งในหน้าท่รี าชการ ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกบั ตำ�แหน่งหนา้ ท่ี
ราชการ หรือมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน  ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปจะเป็นการ
เสยี หายแกร่ าชการ  ถา้ ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ดว้ ยกบั ความเหน็ ของคณะกรรมการ
สอบสวนใหพ้ จิ ารณาด�ำ เนินการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗) ต่อไป แต่ถ้าเหน็ วา่ ผูถ้ กู กลา่ วหา
ไม่ไดก้ ระท�ำ ผดิ วินยั หรือกระทำ�ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ให้พจิ ารณาด�ำ เนนิ การตามอ�ำ นาจหนา้ ที่
ตอ่ ไป และถ้าเห็นว่าผู้ถกู กล่าวหากระทำ�ผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรงก็ให้ดำ�เนินการตาม (๒)
ขอ้ ๕๗ ในกรณีท่ีมีการย้าย  การโอน  หรือการเลื่อนผู้ถูกกล่าวหา  อันมีผลทำ�ให้
ผู้มีอำ�นาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเปล่ียนไป  ให้คณะกรรมการสอบสวนท่ีได้แต่งตั้ง

๑๙

ไว้แล้วน้ัน  ดำ�เนินการต่อไปจนเสร็จ  และทำ�รายงานการสอบสวนเสนอไปพร้อมกับสำ�นวนการ
สอบสวนต่อผบู้ ังคบั บัญชาเดิม ที่เป็นผู้ส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ของการดำ�เนินการเพ่ือส่งไปยังผู้บังคับบัญชาใหม่ที่เป็นผู้ซ่ึงมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗
หรอื ผ้มู อี ำ�นาจตามมาตรา ๙๔ พิจารณาส่ังหรือด�ำ เนนิ การตามข้อ ๕๕ ตอ่ ไป และถา้ ในระหวา่ ง
การสอบสวนมกี รณที ผ่ี สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งสง่ั การอยา่ งใดเพอ่ื ใหก้ ารสอบสวนนน้ั
ด�ำ เนินการต่อไปได้ ใหผ้ บู้ ังคับบัญชาเดมิ สง่ เร่ืองใหผ้ ู้บังคบั บญั ชาใหมซ่ งึ่ เป็นผู้มีอำ�นาจพจิ ารณา
ตอ่ ไป
ในกรณีทผ่ี บู้ งั คบั บญั ชาใหม่ซ่งึ มีอ�ำ นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรอื ผู้มีอำ�นาจตาม
มาตรา ๙๔ ตามวรรคหนง่ึ เหน็ สมควรให้ด�ำ เนนิ การตามขอ้ ๕๕ จะสั่งให้คณะกรรมการสอบสวน
คณะเดมิ ดำ�เนนิ การ หรอื ในกรณีทีเ่ ห็นเป็นการสมควร จะแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนข้นึ ใหม่
เพื่อด�ำ เนินการก็ได้ โดยให้นำ�ข้อ ๑๘ และข้อ ๑๙ มาใช้บังคบั
ขอ้ ๕๘ การสง่ เร่ืองให้ อ.ก.พ. จังหวดั อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง พจิ ารณา
ตามขอ้ ๕๖ (๒) ใหด้ ำ�เนนิ การดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณที ผ่ี วู้ า่ ราชการจังหวัดเปน็ ผ้สู ั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวน ให้ส่งเรอ่ื ง
ให้ อ.ก.พ. จังหวัด ซึ่งผ้ถู ูกกลา่ วหาสังกดั อยู่ เปน็ ผพู้ จิ ารณา
(๒) ในกรณีทอี่ ธบิ ดี ปลดั กระทรวงในฐานะอธบิ ดี หรือหวั หน้าสว่ นราชการระดับกรม
ท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
ซึง่ เปน็ ผู้บงั คับบญั ชาซึง่ มอี ำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ (๖) (๙) หรือ (๑๐) เปน็ ผสู้ ่งั แต่งตง้ั
คณะกรรมการสอบสวน ใหส้ ่งเรื่องให้ อ.ก.พ. กรม ซ่ึงผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่ เปน็ ผูพ้ จิ ารณา
(๓) ในกรณีที่นายกรัฐมนตรี  รัฐมนตรีเจ้าสังกัด  ปลัดกระทรวงสำ�หรับกรณีอื่น
นอกจากท่กี �ำ หนดไว้ใน (๒) หรอื หวั หน้าส่วนราชการระดบั กรมทีอ่ ยใู่ นบงั คบั บัญชาหรอื รับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรีซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจส่ัง
บรรจุตามมาตรา ๕๗ (๒) (๓) (๕) หรอื (๘) เปน็ ผู้สงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวน ให้สง่ เร่อื งให้
อ.ก.พ. กระทรวง ซงึ่ ผูถ้ กู กลา่ วหาสังกดั อยู่ เปน็ ผพู้ ิจารณา
ในกรณที ี่มกี ารยา้ ย การโอน หรอื การเลื่อนผถู้ กู กลา่ วหาอนั มผี ลให้ อ.ก.พ. จงั หวดั
อ.ก.พ.  กรม หรือ อ.ก.พ.  กระทรวง ซ่งึ ผถู้ กู กล่าวหาสงั กัดอยเู่ ปลี่ยนแปลงไป ให้ส่งเร่อื งให ้
อ.ก.พ.  จังหวดั อ.ก.พ.  กรม หรือ อ.ก.พ.  กระทรวง ซึ่งผถู้ ูกกลา่ วหาสงั กัดอยูห่ ลังจากการย้าย
การโอน หรือการเลอื่ นน้ันเปน็ ผู้พิจารณา
ข้อ ๕๙ เม่ือไดร้ ับเร่อื งตามข้อ ๕๘ แล้ว อ.ก.พ. จังหวดั อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ.
กระทรวง แลว้ แตก่ รณี อาจพจิ ารณามมี ตอิ ย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ให้มีมติว่าเป็น
ความผดิ วินยั อย่างร้ายแรงกรณใี ด ตามมาตราใด และใหล้ งโทษสถานใด เพราะเหตใุ ด โดยจะ
ต้องมีข้อเท็จจริงอนั เปน็ สาระสำ�คญั ด้วยว่ามีการกระท�ำ อยา่ งใด

๒๐

(๒) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้มีมติว่าเป็น
ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงกรณใี ด ตามมาตราใด และใหล้ งโทษสถานโทษใดและอตั ราโทษใด
เพราะเหตุใด  หรือถ้าเห็นว่าเป็นความผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ  จะมีมติงดโทษ
โดยให้ทำ�ทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้  ทั้งน้ี  จะต้องมีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ
สำ�คญั ดว้ ยว่ามกี ารกระท�ำ อย่างใด
(๓) ในกรณีท่ีเห็นว่ายังไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ีจะลงโทษกรณีกระทำ�ผิดวินัยอย่าง
รา้ ยแรง ถา้ มขี อ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ กรณีที่สมควรให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรอื (๗)
ให้มมี ตใิ หผ้ นู้ น้ั ออกจากราชการ โดยจะตอ้ งมีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำ คญั ด้วยว่ามีการกระท�ำ ใด
มีกรณีทสี่ มควรให้ออกจากราชการเพราะเหตใุ ด ตามมาตราใด และถ้าใหร้ ับราชการตอ่ ไปจะเปน็
การเสียหายแกร่ าชการอย่างใด
(๔) ในกรณีที่เห็นวา่ การกระทำ�ของผู้ถูกกลา่ วหาไม่เปน็ ความผดิ วินยั ให้มีมตใิ ห้ส่งั
ยตุ เิ รอ่ื ง หรอื ถา้ เหน็ วา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตเ่ ปน็ กรณที ไ่ี มอ่ าจลงโทษได ้ ใหม้ มี ตใิ หง้ ดโทษ
(๕) ในกรณีที่เห็นว่าข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอหรือการดำ�เนินการใดยังไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ให้มมี ติให้สอบสวนเพิ่มเติม แก้ไข หรอื ดำ�เนนิ การให้ถกู ต้องตามควรแก่กรณี
ขอ้ ๖๐ ในกรณที ป่ี รากฏวา่ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนไมถ่ กู ตอ้ งตามขอ้ ๑๘
ใหก้ ารสอบสวนทัง้ หมดเสยี ไป และให้ผ้บู งั คบั บญั ชาซึ่งมอี ำ�นาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ หรอื ผู้มี
อ�ำ นาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแตก่ รณี แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพือ่ ดำ�เนนิ การสอบสวนใหม่
ให้ถกู ตอ้ ง
ขอ้ ๖๑ ในกรณีทปี่ รากฏวา่ การด�ำ เนินการใดไม่ถกู ตอ้ งตามกฎ ก.พ. นี้ ให้เฉพาะ
การดำ�เนินการนั้นเสียไป  และถ้าการดำ�เนินการนั้นเป็นสาระสำ�คัญท่ีต้องดำ�เนินการหรือหาก
ไม่ดำ�เนนิ การจะทำ�ใหเ้ สียความเป็นธรรม ใหแ้ กไ้ ขหรอื ดำ�เนนิ การน้นั เสียใหม่ให้ถูกต้องโดยเร็ว
ขอ้ ๖๒ ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาผู้ใดตายในระหว่างการสอบสวน  ให้การดำ�เนินการ
ทางวนิ ัยแก่ผู้นัน้ เปน็ อนั ยตุ ิ แต่ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนและผสู้ ัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ด�ำ เนนิ การรวบรวมขอ้ เท็จจรงิ และพยานหลกั ฐานทเ่ี กีย่ วขอ้ งต่อไปเท่าที่สามารถจะกระท�ำ ได้ แลว้
ทำ�ความเห็นเสนอต่อกระทรวงเจ้าสังกัดเพ่ือพิจารณาดำ�เนินการตามกฎหมายว่าด้วยบำ�เหน็จ
บำ�นาญขา้ ราชการ หรอื กฎหมายวา่ ด้วยกองทนุ บ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ แลว้ แตก่ รณี
ขอ้ ๖๓ ให้นำ�บทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอำ�นาจดำ�เนินการพิจารณา
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุมของ
คณะกรรมการสอบสวน  โดยอนุโลม  เว้นแต่องค์ประชุมกรรมการสอบสวนตามข้อ  ๓๘  และ
ข้อ ๕๒

๒๑

หมวด ๕
กรณคี ว_า_ม_ผ_ดิ__ท_ีป่ _ร_า_ก_ฏ_ชดั แจ้ง
ข้อ ๖๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง และได้รับ
สารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา  หรือได้ให้ถ้อยคำ�รับสารภาพและได้มีการบันทึกถ้อยคำ�
รับสารภาพเป็นหนังสือหรือมีหนังสือรับสารภาพต่อผู้มีหน้าท่ีสืบสวนสอบสวนหรือคณะกรรมการ
สอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี ถอื เปน็ กรณีความผิดทีป่ รากฏชัดแจง้ ผู้บังคบั บัญชาซึง่ มีอ�ำ นาจสง่ั บรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ จะพจิ ารณาด�ำ เนินการทางวินยั โดยไมต่ อ้ งสอบสวนหรืองดการสอบสวนก็ได้
ข้อ ๖๕ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี
ถือเปน็ กรณีความผิดทีป่ รากฏชดั แจง้ ผู้บังคับบญั ชาซ่ึงมีอำ�นาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือ
ผ้มู อี ำ�นาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแตก่ รณี จะด�ำ เนินการทางวินยั โดยไม่ต้องสอบสวนหรืองดการ
สอบสวนก็ได้
(๑) ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน
โดยไม่กลับมาปฏบิ ัติหน้าทีร่ าชการอกี เลย และผบู้ งั คับบญั ชาซ่ึงมอี �ำ นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗
ไดด้ ำ�เนินการหรือสัง่ ให้ดำ�เนินการสบื สวนแล้วเห็นว่าไมม่ ีเหตุผลอนั สมควร หรือมีพฤติการณ์อัน
แสดงถึงความจงใจไม่ปฏบิ ัติตามระเบยี บของทางราชการ
(๒) กระทำ�ความผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษท่ีหนักกว่าโทษจำ�คุกโดย
ค�ำ พพิ ากษาถึงทีส่ ดุ ให้จำ�คุกหรือให้รับโทษท่ีหนกั กว่าจ�ำ คกุ เวน้ แตเ่ ปน็ โทษสำ�หรบั ความผิดท่ไี ด้
กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) กระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงและได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา
หรือได้ให้ถ้อยคำ�รับสารภาพและได้มีการบันทึกถ้อยคำ�รับสารภาพเป็นหนังสือหรือมีหนังสือ
รับสารภาพต่อผ้มู หี น้าทส่ี บื สวนสอบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี

หมวด ๖
การสง่ั ยตุ ิเ_ร_่ือ_ง__ล_ง_โ_ท_ษ__ห_รืองดโทษ
ข้อ ๖๖ การสง่ั ยุตเิ รอ่ื งตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง มาตรา ๙๓ วรรคสอง หรือ
มาตรา ๙๗ วรรคสอง ให้ทำ�เปน็ ค�ำ สัง่ ระบชุ อื่ และตำ�แหน่งของผถู้ ูกกลา่ วหา เร่ืองทถี่ กู กล่าวหา
และผลการพิจารณา ทัง้ นี้ ตามแบบที่สำ�นักงาน ก.พ. กำ�หนด และให้ลงลายมือช่ือและต�ำ แหนง่
ของผสู้ ง่ั และวันเดอื นปที ีอ่ อกค�ำ สงั่ ไว้ด้วย
ขอ้ ๖๗ โทษสำ�หรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ตามมาตรา  ๙๖  ท่ีผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗  มีอำ�นาจสั่งลงโทษได้
มีดังต่อไปนี้

๒๒

(๑) ภาคทณั ฑ์
(๒) ตดั เงินเดือนได้คร้ังหน่งึ ในอตั ราร้อยละ ๒ หรอื ร้อยละ ๔ ของเงินเดอื นท่ผี ้นู ัน้
ไดร้ ับในวนั ทม่ี ีคำ�สง่ั ลงโทษเป็นเวลาหน่ึงเดือน สองเดือน หรอื สามเดอื น
(๓) ลดเงินเดอื นได้ครง้ั หน่ึงในอตั ราร้อยละ ๒ หรอื ร้อยละ ๔ ของเงนิ เดอื นทผ่ี ูน้ นั้
ไดร้ บั ในวันท่มี คี ำ�สงั่ ลงโทษ
การสง่ั ลงโทษตดั เงินเดือนหรอื ลดเงินเดอื น ถ้าจำ�นวนเงนิ ทจ่ี ะต้องตัดหรอื ลดมเี ศษ
ไมถ่ ึงสิบบาทใหป้ ดั เศษทง้ิ
ข้อ ๖๘ โทษสำ�หรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ตามมาตรา ๙๗ ทผี่ บู้ ังคบั บัญชาซ่ึงมีอำ�นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ มอี �ำ นาจสง่ั ลงโทษได ้
มดี งั ตอ่ ไปนี้
(๑) ปลดออก
(๒) ไลอ่ อก
ขอ้ ๖๙ การสัง่ ลงโทษภาคทณั ฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงนิ เดอื น ปลดออก หรือไล่ออก
ให้ทำ�เป็นคำ�ส่ังระบุช่ือและตำ�แหน่งของผู้ถูกลงโทษ  แสดงข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญว่า
ผถู้ กู ลงโทษกระทำ�ผดิ วินัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื อย่างรา้ ยแรงในกรณใี ด ตามมาตราใด พร้อมท้ัง
สทิ ธิในการอุทธรณแ์ ละระยะเวลาในการอทุ ธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔ ไวใ้ นค�ำ สัง่ นนั้ ด้วย ทั้งน้ี ตาม
แบบที่สำ�นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด และให้ลงลายมอื ชือ่ และต�ำ แหน่งของผู้ส่งั และวันเดอื นปที ีอ่ อก
ค�ำ สงั่ ไว้ดว้ ย
ข้อ ๗๐ การสงั่ ลงโทษ ให้สัง่ ใหม้ ผี ลตง้ั แตว่ ันหรือระยะเวลาดังตอ่ ไปนี้
(๑) การสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ใหส้ งั่ ให้มผี ลตัง้ แต่วันท่มี ีคำ�ส่งั
(๒) การสง่ั ลงโทษตดั เงนิ เดอื นหรอื ลดเงนิ เดอื น ใหส้ ง่ั ใหม้ ผี ลตง้ั แตเ่ ดอื นทม่ี คี �ำ สง่ั
(๓) การสั่งลงโทษปลดออกหรอื ไล่ออก ใหส้ งั่ ใหม้ ีผลตามระเบยี บที่ ก.พ. กำ�หนด
ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง
ข้อ ๗๑ การสั่งงดโทษตามมาตรา ๙๖ วรรคสาม ให้ผู้บงั คับบัญชาซ่ึงมอี �ำ นาจส่ัง
บรรจุตามมาตรา ๕๗ ท�ำ เปน็ ค�ำ สัง่ และให้ระบุไวใ้ นคำ�สัง่ ด้วยวา่ ใหท้ ำ�ทณั ฑบ์ นเปน็ หนงั สอื หรอื
วา่ กล่าวตกั เตือน ทง้ั นี้ ตามแบบท่สี �ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด
ขอ้ ๗๒ การสั่งงดโทษตามมาตรา  ๑๐๐  วรรคสอง  สำ�หรับกรณีท่ีข้าราชการ
พลเรือนสามัญซ่ึงออกจากราชการไปแล้วแต่มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
อยู่กอ่ นตามมาตรา ๑๐๐ วรรคหนง่ึ และผลการสอบสวนพจิ ารณาปรากฏวา่ ผนู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั
อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ให้ผู้บังคับบญั ชาซ่ึงมีอ�ำ นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังงดโทษ ทั้งน้ี ตามแบบท่ี
ส�ำ นักงาน ก.พ. ก�ำ หนด

๒๓

ขอ้ ๗๓ เม่ือได้มีค�ำ สัง่ ยุติเรอ่ื ง ลงโทษ หรอื งดโทษแลว้ ใหด้ �ำ เนินการแจง้ คำ�สัง่ ให้
ผู้ถูกลงโทษ หรือผู้ถูกกล่าวหาทราบโดยเร็ว และให้ผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อ
และวันท่ีรับทราบไว้เป็นหลักฐาน  และให้มอบสำ�เนาคำ�สั่งให้ผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาไว้
หน่ึงฉบบั ด้วย ถา้ ผู้ถูกลงโทษหรอื ผู้กล่าวหาไมย่ อมลงลายมอื ชื่อรบั ทราบค�ำ สงั่ เม่อื ไดท้ �ำ บนั ทึก
ลงวันท่ีและสถานที่ที่แจ้งและลงลายมือช่ือผู้แจ้งพร้อมทั้งพยานรู้เห็นไว้เป็นหลักฐานแล้ว  ให้ถือ
วนั ทีแ่ จง้ นนั้ เป็นวนั รับทราบ
ในกรณีท่ีไม่อาจแจ้งให้ทราบตามวรรรคหนึ่งได้หรือมีเหตุจำ�เป็นอ่ืน  ให้ส่งสำ�เนา
ค�ำ สงั่ ทางไปรษณยี ล์ งทะเบียนตอบรบั ไปให้ผู้ถูกลงโทษหรอื ผถู้ ูกกลา่ วหา ณ ทีอ่ ยู่ของผู้ถกู ลงโทษ
หรอื ผู้ถกู กลา่ วหาซ่ึงปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณเี ชน่ นี้ ใหถ้ อื ว่าผู้ถูกลงโทษหรอื
ผถู้ ูกกลา่ วหาได้รับแจ้งเมอ่ื ครบกำ�หนดเจด็ วนั นบั แตว่ ันสง่ สำ�หรบั กรณีส่งในประเทศ หรอื เม่อื ครบ
สบิ ห้าวันนบั แตว่ ันส่งส�ำ หรับกรณีส่งไปยงั ตา่ งประเทศ

หมวด ๗
การมคี �ำ สง่ั ใหมก่ รณมี ีกา_ร_เ_พ_ิ่ม_โ_ท_ษ__ล__ด_โทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ
ขอ้ ๗๔ ในกรณที ีม่ ีการเพ่มิ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให้ผู้บงั คบั บัญชาซึง่ มี
อำ�นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ มีคำ�ส่งั ใหม่ โดยให้สง่ั ยกเลกิ ค�ำ สัง่ ลงโทษเดมิ แล้วสงั่ ใหม่ให้เปน็
ไปตามน้นั
คำ�สัง่ ใหม่ตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ป็นไปตามแบบท่สี �ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด โดยอยา่ งน้อย
ใหม้ สี าระสำ�คญั ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) อ้างถงึ คำ�ส่งั ลงโทษเดมิ กอ่ นมีการเพม่ิ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
(๒) อ้างถึงมตขิ อง อ.ก.พ. กระทรวง หรือของ ก.พ. หรือค�ำ วินิจฉัยของ ก.พ.ค. หรอื
ขององค์กรตามกฎหมายอืน่ ทใี่ หเ้ พิม่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ แล้วแตก่ รณี โดยแสดง
สาระสำ�คัญโดยสรปุ ไว้ด้วย
(๓) สัง่ ให้ยกเลิกค�ำ ส่งั ลงโทษเดิมตาม (๑) และมีคำ�สง่ั ใหม่ใหเ้ ป็นไปตาม (๒)
(๔) ระบุวิธีการดำ�เนินการเกยี่ วกับโทษที่ไดร้ บั ไปแลว้
ข้อ ๗๕ ในกรณีที่คำ�ส่ังเดิมเป็นคำ�สั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก  ถ้ามีการลดโทษ
เป็นปลดออก หรอื เพมิ่ โทษเป็นไล่ออก จะสง่ั ใหม้ ผี ลใช้บังคับตัง้ แต่วนั ใด ให้เปน็ ไปตามระเบียบที่
ก.พ. ก�ำ หนด ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง
ข้อ ๗๖ ในกรณีท่ีคำ�สั่งเดิมเป็นคำ�สั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก  ถ้ามีการลดโทษ
เพื่อจะสั่งลงโทษใหมใ่ นความผดิ วินัยอยา่ งไมร่ ้ายแรง งดโทษ หรือยกโทษ ในคำ�สัง่ ใหม่ใหส้ ง่ั ให้
ผ้นู ้นั กลับเข้ารบั ราชการ และสง่ั ลงโทษใหมใ่ นความผิดวนิ ัยอยา่ งไม่ร้ายแรง งดโทษ หรือยกโทษ
แลว้ แตก่ รณี

๒๔

การส่งั ให้กลับเขา้ รับราชการ ให้สั่งให้ผ้นู น้ั ดำ�รงต�ำ แหนง่ ตามเดิม หรือต�ำ แหนง่ อืน่
ในประเภทเดยี วกนั และระดบั เดยี วกนั หรอื ในต�ำ แหนง่ ประเภทและระดบั ที่ ก.พ. กำ�หนด ทัง้ น ี้
ผู้นั้นต้องมคี ุณสมบตั ิตรงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะส�ำ หรบั ตำ�แหน่งนัน้
ในกรณที ไ่ี มอ่ าจสง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการได ้ เพราะเหตทุ ก่ี อ่ นทจ่ี ะมคี �ำ สง่ั ใหมน่ น้ั
ผู้นน้ั พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ ตาย หรอื ออกจากราชการ
เน่ืองจากเหตุอนื่ ใหส้ ั่งงดโทษ หรือส่งั ยตุ ิเร่อื ง แลว้ แต่กรณี แลว้ ใหแ้ สดงเหตุทีไ่ มอ่ าจสงั่ ใหก้ ลับเขา้
รับราชการไวใ้ นค�ำ ส่ังนั้นด้วย
ในคำ�ส่ังใหม่ให้ระบุด้วยว่าเงินเดือนระหว่างที่ถูกไล่ออกหรือปลดออกให้เบิกจ่ายให้
ผ้นู ้นั ตามกฎหมายหรอื ระเบียบว่าดว้ ยการนัน้
ขอ้ ๗๗ ในกรณีที่คำ�ส่ังลงโทษเดิมเป็นคำ�ส่ังลงโทษในความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ถ้ามกี ารเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ในค�ำ ส่ังใหม่ใหร้ ะบุการดำ�เนินการเกี่ยวกบั โทษที่ได้
รบั ไปแล้วดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ถ้าเป็นกรณียกโทษ ใหถ้ ือว่าผนู้ ้นั ไมเ่ คยได้รบั โทษทางวินยั มากอ่ น และให้ผู้นน้ั
กลับคืนสู่สถานะเดิมก่อนมีการลงโทษ  ในกรณีท่ีได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้น้ันไป
เท่าใด ใหค้ นื เงินที่ได้ตัดหรือลดไว้ดงั กลา่ วใหผ้ ู้นน้ั
(๒) ถ้าเป็นกรณีงดโทษ  ในกรณีที่ได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้นั้นไป
เท่าใด ใหค้ นื เงนิ ที่ได้ตดั หรือลดไว้ดงั กล่าวใหผ้ ้นู น้ั
(๓) ถ้าเปน็ กรณที ีม่ ีผลให้ยงั คงตอ้ งลงโทษผ้นู น้ั อยู่ ไม่วา่ จะเปน็ การเพิ่มโทษหรอื ลด
โทษกต็ าม ใหด้ ำ�เนนิ การดงั น้ี
(ก) ถ้าเป็นการเพ่ิมโทษให้เป็นโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน  ให้คิด
คำ�นวณจำ�นวนเงินเดือนที่จะตัดหรือลดตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะที่มีคำ�สั่ง
ลงโทษเดิม และให้คนื เงินที่ได้ตดั หรอื ลดไปแลว้ น้ันให้ผูน้ ัน้
(ข) ถ้าเป็นการเพิ่มโทษจากโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนเป็นปลดออก
หรือไลอ่ อก ให้คืนเงนิ ทไ่ี ดต้ ัดหรอื ลดไปแล้วนนั้ ให้ผู้น้ัน
(ค) ถ้าเป็นการลดโทษให้เป็นโทษภาคทัณฑ์  ให้ลงโทษให้เป็นไปตามน้ัน
ในกรณีท่ีได้มกี ารตัดเงินเดอื นหรอื ลดเงินเดือนผู้น้นั ไปเทา่ ใด ใหค้ นื เงนิ ทีไ่ ด้ตดั หรอื ลดไวด้ ังกล่าว
ให้ผู้นนั้
(ง) ถ้าเปน็ การลดโทษให้เป็นโทษตัดเงนิ เดือน ใหค้ ิดคำ�นวณจำ�นวนเงินทจี่ ะตดั
ตามอตั ราโทษใหมจ่ ากเงนิ เดอื นเดิมในขณะทีม่ คี �ำ ส่ังลงโทษเดิม และใหค้ ืนเงนิ ทไ่ี ด้ลดไปแลว้ นั้น
ให้ผู้นั้น
(จ) ถ้าเป็นการเพิ่มหรือลดอัตราโทษของโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน
ให้คิดคำ�นวณจำ�นวนเงินท่ีจะตัดหรือลดตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะที่มีคำ�ส่ัง

๒๕

ลงโทษเดมิ ในกรณที จ่ี ำ�นวนเงนิ ที่จะต้องตดั หรอื ลดตามค�ำ สง่ั ลงโทษใหม่ ต่าํ กว่าจำ�นวนเงนิ ทไี่ ด้
ถกู ตัดหรอื ลดตามคำ�สั่งลงโทษเดมิ ใหค้ ืนเงินสว่ นที่ได้ตดั หรือลดไวเ้ กินนัน้ ใหผ้ ูน้ ้นั

หมวด ๘
การสง่ั พกั ราชการ_แ__ล_ะ_ใ_ห_้อ_อ__ก_จ_ากราชการไวก้ ่อน
ขอ้ ๗๘ เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
อย่างรา้ ยแรงจนถูกต้งั กรรมการสอบสวน หรือถูกฟอ้ งคดอี าญา หรือตอ้ งหาว่ากระทำ�ความผดิ
อาญา  เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ  ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
อำ�นาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ จะสั่งใหผ้ ู้นัน้ พักราชการเพอื่ รอฟงั ผลการสอบสวนหรอื พิจารณา
หรือผลแหง่ คดีได้ตอ่ เมอ่ื มีเหตุอย่างหนงึ่ อยา่ งใด ดังต่อไปน้ี
(๑) ผู้นั้นถูกต้ังกรรมการสอบสวน  และผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจส่ังบรรจุตาม
มาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นว่าถา้ ผู้นนั้ คงอยู่ในหน้าทร่ี าชการตอ่ ไปอาจเกดิ การเสยี หายแกร่ าชการ
(๒) ผู้นั้นถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทำ�ความผิดอาญาในเรื่องเกี่ยวกับ
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยทุจริต  หรือเก่ียวกับความประพฤติหรือ
พฤติการณอ์ ันไม่นา่ ไว้วางใจ โดยพนกั งานอยั การมไิ ด้รบั เป็นทนายแกต้ ่างให้ และผู้บังคบั บญั ชา
ซึ่งมีอ�ำ นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเหน็ วา่ ถา้ ผูน้ ้นั คงอยู่ในหน้าท่ีราชการอาจเกดิ การ
เสยี หายแก่ราชการ
(๓) ผู้นั้นมีพฤติการณ์ที่แสดงว่าถ้าคงอยู่ในหน้าท่ีราชการจะเป็นอุปสรรคต่อการ
สอบสวนพิจารณาหรอื จะกอ่ ให้เกดิ ความไม่สงบเรยี บร้อยขึน้
(๔) ผู้นั้นอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดีอาญาหรือต้องจำ�คุก
โดยคำ�พิพากษาและได้ถูกควบคุม ขงั หรือต้องจ�ำ คกุ เป็นเวลาตดิ ต่อกันเกนิ กว่าสิบหา้ วันแล้ว
(๕) ผู้นั้นถูกตั้งกรรมการสอบสวนและต่อมามีคำ�พิพากษาถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระทำ�
ความผิดอาญาในเรื่องที่สอบสวนนั้น  หรือผู้นั้นถูกต้ังกรรมการสอบสวนภายหลังที่มีคำ�พิพากษา
ถึงท่ีสุดว่าเป็นผู้กระทำ�ความผิดอาญาในเร่ืองท่ีสอบสวนนั้น  และผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจส่ัง
บรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นวา่ ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีปรากฏตามค�ำ พพิ ากษาถงึ ทีส่ ุดนน้ั ไดค้ วาม
ประจกั ษช์ ัดอย่แู ล้วว่าการกระท�ำ ความผิดอาญาของผนู้ ัน้ เป็นความผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรง
ขอ้ ๗๙ การสง่ั พักราชการให้สั่งพกั ตลอดวเลาท่ีสอบสวนหรือพจิ ารณา เว้นแต่ผูถ้ ูก
ส่ังพักราชการผู้ใดได้ร้องทุกข์ตามมาตรา  ๑๒๒  และผู้มีอำ�นาจพิจารณาคำ�ร้องทุกข์เห็นว่า
สมควรสง่ั ใหผ้ ้นู ้ันกลับเขา้ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการก่อนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสรจ็ สิ้น เนอ่ื งจาก
พฤติการณ์ของผู้ถูกสั่งพักราชการไม่เป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนหรือพิจารณา  และไม่ก่อให้
เกิดความไม่สงบเรียบร้อยต่อไป  หรือเน่ืองจากการดำ�เนินการทางวินัยได้ล่วงพ้นหน่ึงปีนับแต่วัน

๒๖

พกั ราชการแลว้ ยงั ไม่แลว้ เสรจ็ และผ้ถู กู สั่งพกั ราชการไม่มพี ฤติกรรมดงั กล่าว ใหผ้ ู้มอี �ำ นาจสงั่ พกั
ราชการสง่ั ให้ผนู้ ้ันกลบั เข้าปฏิบัติหน้าท่รี าชการก่อนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสรจ็ สน้ิ
ข้อ ๘๐ ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
อยา่ งร้ายแรงจนถูกต้ังกรรมการสอบสวนหลายสำ�นวน หรอื ถกู ฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาวา่ กระทำ�
ความผิดในคดีอาญาหลายคดี ถา้ จะสั่งพกั ราชการในสำ�นวนหรอื คดใี ดท่เี ขา้ ลักษณะตามข้อ ๗๘
ใหส้ งั่ พกั ราชการในสำ�นวนหรือคดอี ่ืนทุกสำ�นวน หรือทุกคดีทีเ่ ข้าลักษณะตามข้อ ๗๘ ด้วย
ในกรณที ี่ได้ส่ังพกั ราชการในสำ�นวนใดหรอื คดีใดไวแ้ ล้ว ถ้าภายหลังปรากฏว่า ผู้ถูก
สง่ั พกั นน้ั มกี รณถี กู กลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงจนถกู ตง้ั กรรมการสอบสวนในส�ำ นวนอน่ื
หรอื ถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาในคดีอาญาในคดอี ืน่ เพ่มิ ข้นึ ก็ใหส้ งั่ พักราชการในส�ำ นวนหรือ
คดอี ่ืนท่เี พ่ิมข้ึนและเข้าลกั ษณะตามขอ้ ๗๘ น้ันดว้ ย
ข้อ ๘๑ การส่งั พกั ราชการ ใหส้ ง่ั พักต้งั แตว่ นั ออกคำ�สง่ั เว้นแต่
(๑) ผู้ซึ่งจะถูกสั่งพักราชการอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดี
อาญา หรือตอ้ งจ�ำ คกุ โดยคำ�พพิ ากษา การส่งั พกั ราชการในเรอื่ งนั้นใหส้ ่งั พักย้อนหลังไปถงึ วันที่
ถกู ควบคุม ขัง หรอื ตอ้ งจ�ำ คกุ
(๒) ในกรณที ไ่ี ด้มีการส่ังพักราชการไว้แล้ว ถา้ จะต้องสงั่ ใหมเ่ พราะคำ�สั่งเดมิ ไม่ชอบ
หรือไม่ถูกต้อง  ให้ส่ังพักตั้งแต่วันให้พักราชการตามคำ�สั่งเดิม  หรือตามวันท่ีควรต้องพักราชการ
ในขณะทอ่ี อกคำ�สั่งเดมิ
ขอ้ ๘๒ คำ�สง่ั พักราชการต้องระบชุ อื่ และต�ำ แหนง่ ของผถู้ กู สง่ั พักราชการ ตลอดจน
กรณแี ละเหตุทส่ี ั่งพกั ราชการ และวันท่ีค�ำ สง่ั มีผลใชบ้ งั คับ
เมอื่ ได้มคี ำ�สัง่ ให้ผู้ใดพกั ราชการ ใหแ้ จง้ ค�ำ ส่ังให้ผนู้ ั้นทราบ และใหน้ �ำ ขอ้ ๗๓ มาใช้
บงั คบั โดยอนโุ ลม
ข้อ ๘๓ ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีเหตุท่ีอาจถูกส่ังพักราชการตาม
ขอ้ ๗๘ และผบู้ งั คับบัญชาซึ่งมอี ำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ พจิ ารณาเห็นว่าการสอบสวนหรอื
พิจารณา หรอื การดำ�เนินคดนี ้นั จะไมแ่ ล้วเสรจ้ โดยเร็ว ผู้บังคบั บญั ชาดงั กล่าวจะส่ังให้ผ้นู ้ันออก
จากราชการไวก้ อ่ นก็ได้
ในกรณีท่ีได้สั่งพักราชการไว้แล้ว  จะพิจารณาตามวรรคหน่ึงและสั่งให้ผู้ถูกสั่ง
พักราชการนั้นออกจากราชการไวก้ ่อนแทนการสัง่ พักราชการกไ็ ด้
ขอ้ ๘๔ การส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน  ให้ส่งั ให้มีผลต้งั แต่วันออกคำ�ส่งั   แต่ถ้า
เป็นกรณีท่ไี ด้ส่งั ใหพ้ ักราชการไวก้ อ่ นแล้ว ใหส้ ง่ั ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อนตง้ั แตว่ ันสงั่ พักราชการ
เปน็ ต้นไป หรอื ในกรณีที่มีเหตตุ ามข้อ ๘๑ ใหส้ ่งั ใหม้ ผี ลตงั้ แตว่ นั ท่กี �ำ หนดไวใ้ นข้อ ๘๑ นั้น
ใหน้ ำ�ขอ้ ๗๙ ข้อ ๘๐ และขอ้ ๘๒ มาใช้บงั คับแกก่ ารสงั่ ให้ออกจากราชการไวก้ อ่ น
โดยอนโุ ลม

๒๗

ข้อ ๘๕ การสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทบริหารระดับสูง
หรือประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิออกจากราชการไว้ก่อน  ให้นำ�ความกราบบังคมทูลเพื่อมี
พระบรมราชโองการใหพ้ น้ จากต�ำ แหน่งนับแต่วนั ออกจากราชการไว้ก่อน
ข้อ ๘๖ เมื่อได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีท่ีถูกกล่าว
หาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกต้ังกรรมการสอบสวน  และปรากฏผลการสอบสวนหรือ
พจิ ารณาแล้ว ใหด้ ำ�เนนิ การดังตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณีทีผ่ ูน้ ัน้ กระทำ�ผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรง ให้ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณที ี่ผนู้ ้นั กระทำ�ผิดวนิ ยั อยา่ งไม่รา้ ยแรง ใหส้ ่งั ให้ผ้นู ั้นกลับเข้าปฏิบตั หิ น้าที่
ราชการตามข้อ ๙๑ แลว้ ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๖ แตห่ ากมีกรณใี ดกรณหี นึง่ ดังตอ่ ไปน้ี ใหส้ ั่ง
งดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง โดยไมต่ อ้ งสัง่ ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เข้าปฏิบัตหิ น้าทีร่ าชการ และแสดง
กรณีกระท�ำ ผิดวินยั นนั้ ไวใ้ นคำ�ส่ังด้วย
(ก) ผนู้ น้ั ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผนู้ น้ั มกี รณที ่ีจะต้องถกู สง่ั ใหอ้ อกจากราชการ
(ค) ผนู้ ้นั ได้ออกจากราชการดว้ ยเหตอุ ืน่ ไปแล้ว โดยมิใช่เพราะเหตตุ าย
(๓) ในกรณีที่ผู้นั้นมิได้กระทำ�ผิดวินัย ให้สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตามข้อ ๙๑ และสั่งยตุ ิเร่อื ง แต่หากมกี รณีใดกรณหี น่งึ ดงั ต่อไปนี้ ให้ส่ังยุตเิ รอื่ งโดยไม่ตอ้ งส่งั ให ้
ผูน้ น้ั กลบั เข้าปฏิบตั ิหนา้ ทร่ี าชการ และแสดงเหตทุ ไี่ มส่ ่งั ใหผ้ นู้ น้ั กลับเขา้ ปฏบิ ตั ิหน้าท่รี าชการไวใ้ น
ค�ำ ส่ังนน้ั ด้วย
(ก) ผนู้ น้ั ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผนู้ ัน้ มีกรณีที่จะตอ้ งถูกสัง่ ให้ออกจากราชการ
(ค) ผูน้ ้ันได้ออกจากราชการดว้ ยเหตุอ่นื ไปแลว้ โดยมใิ ชเ่ พราะเหตุตาย
(๔) ในกรณที ผ่ี นู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื มไิ ดก้ ระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตม่ กี รณอี น่ื
ท่ผี ู้นัน้ ถกู สัง่ พกั ราชการหรอื ถกู ส่งั ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อนดว้ ย ถ้าจะด�ำ เนินการตามมาตรา ๙๖
ให้รอฟังผลการสอบสวนหรือพิจารณาหรือผลแห่งคดีกรณีอ่ืนนั้น  โดยยังไม่ต้องส่ังให้ผู้นั้นกลับ
เข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการ  แต่ถ้าเป็นการส่ังยุติเร่ือง  ให้สั่งยุติเร่ืองโดยไม่ต้องส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้า
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ และแสดงเหตทุ ไ่ี มส่ ง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการไวใ้ นค�ำ สง่ั นน้ั ดว้ ย
ขอ้ ๘๗ เมื่อได้ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณี
ที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกต้ังกรรรมการสอบสวน  และปรากฏผลการ
สอบสวนหรอื พจิ ารณาแลว้ ใหด้ �ำ เนนิ การดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณีทผ่ี ู้น้ันกระท�ำ ผิดวินยั อย่างร้ายแรง ใหด้ ำ�เนินการตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  และไม่มีกรณีท่ีจะต้องถูกส่ังให้
ออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืน  ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการตามข้อ  ๙๑  แล้วดำ�เนินการตาม

๒๘

มาตรา ๙๖ แต่หากมีกรณีใดกรณีหนง่ึ ดงั ต่อไปนี้ ใหส้ ัง่ งดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง โดยไม่
ตอ้ งสงั่ ใหผ้ ู้น้นั กลบั เขา้ รบั ราชการ และแสดงกรณีกระทำ�ผิดวนิ ัยน้นั ไว้ในค�ำ ส่ังดว้ ย
(ก) ผนู้ น้ั ตอ้ งพน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ
(ข) ผู้น้นั มกี รณที ี่จะตอ้ งถูกสัง่ ให้ออกจากราชการ
(ค) ผูน้ น้ั ได้ออกจากราชการด้วยเหตอุ น่ื ไปแลว้ โดยมใิ ช่เพราะเหตตุ าย
(๓) ในกรณีท่ีผนู้ ้ันมไิ ด้กระทำ�ผดิ วนิ ยั ให้ส่งั ใหผ้ ้นู ัน้ กลบั เข้ารบั ราชการตามขอ้ ๙๑
และสัง่ ยตุ ิเรอ่ื ง แต่หากมีกรณีใดกรณหี นึ่งดงั ตอ่ ไปนี้ ให้สงั่ ยุติเร่อื งโดยไมต่ อ้ งสง่ั ให้ผู้นน้ั กลับเข้า
รบั ราชการ และแสดงเหตุท่ีไม่สัง่ ให้ผู้นน้ั กลับเข้ารบั ราชการไวใ้ นคำ�ส่ังนั้นด้วย
(ก) ผนู้ น้ั ตอ้ งพน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ
(ข) ผูน้ ้ันมกี รณที จ่ี ะต้องถูกสัง่ ใหอ้ อกจากราชการ
(ค) ผู้นน้ั ได้ออกจากราชการดว้ ยเหตอุ น่ื ไปแล้ว โดยมใิ ชเ่ พราะเหตตุ าย
(๔) ในกรณที ผ่ี นู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื มไิ ดก้ ระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตม่ กี รณอี น่ื
ที่ผู้น้ันถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนด้วย  ถ้าจะดำ�เนินการตามมาตรา  ๙๖  ให้รอฟังผล
การสอบสวนหรอื พจิ ารณาหรอื ผลแหง่ คดกี รณอี น่ื นน้ั โดยยงั ไมต่ อ้ งสง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการ
แตถ่ า้ เป็นการส่ังยตุ ิเรอ่ื ง ให้สงั่ ยุตเิ รอื่ งโดยไม่ตอ้ งส่งั ใหผ้ ูน้ นั้ กลับเขา้ รับราชการ และแสดงเหตุที่
ไม่สั่งให้ผนู้ ้ันกลับเขา้ รับราชการไวใ้ นคำ�สง่ั นน้ั ดว้ ย
(๕) ในกรณีทผ่ี ูน้ ้ันกระทำ�ผดิ วนิ ยั อย่างไม่ร้ายแรง แต่มีกรณีท่ีผู้นนั้ ถูกสั่งพกั ราชการ
ในกรณีอื่นด้วย  ให้ส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคำ�ส่ังด้วยว่าผู้นั้นยังไม่อาจ
กลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้เน่ืองจากอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการในกรณีอ่ืน  ส่วนการ
ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๖ ให้รอฟังผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณาหรอื ผลแห่งคดีกรณอี ่ืนนัน้
(๖) ในกรณีท่ีผู้น้ันมิได้กระทำ�ผิดวินัย  แต่มีกรณีอื่นท่ีผู้น้ันถูกส่ังพักราชการในกรณี
อน่ื ดว้ ย ใหส้ ัง่ ยุติเรอ่ื ง และสั่งใหผ้ ู้น้นั กลับเขา้ รับราชการโดยใหแ้ สดงไว้ในค�ำ ส่งั ดว้ ยว่าผนู้ น้ั ยงั ไม่
อาจกลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าที่ราชการได้เน่อื งจากอยใู่ นระหวา่ งถกู ส่งั พกั ราชการในกรณอี น่ื นน้ั
ขอ้ ๘๘ เม่ือได้ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีที่ถูกฟ้องคดี
อาญา  หรือต้องหาว่ากระทำ�ความผิดอาญา  และปรากฏผลแห่งคดีถึงที่สุดแล้ว  ให้ดำ�เนินการ
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณีที่ผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุก
โดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุด  เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิดที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิด
ลหโุ ทษ ไดด้ ำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗ โดยไมต่ ้องสั่งใหผ้ นู้ ้ันกลบั เข้าปฏบิ ตั หิ น้าที่ราชการ
(๒) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดใน
ความผิดที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจำ�คุกโดยคำ�สั่งของศาล
ให้ดำ�เนินการตามมาตรา ๙๓ หรือมาตรา ๑๑๐ (๘) แล้วแต่กรณี โดยไม่ตอ้ งสัง่ ให้ผู้นน้ั กลบั เขา้
ปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ

๒๙

(๓) ในกรณที ่ีผ้นู ัน้ กระทำ�ผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษตาม (๑) หรือ (๒) แต่ศาลรอการ
กำ�หนดโทษหรอื ให้รอการลงโทษ หรือได้รบั โทษอยา่ งอน่ื นอกจาก (๑) หรอื (๒) ใหส้ ัง่ ให้ผ้นู ั้นกลบั
เข้าปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการตามขอ้ ๙๑ และด�ำ เนนิ การทางวนิ ัยตามกฎ ก.พ. นต้ี ่อไป
(๔) ในกรณีที่ในค�ำ พิพากษาถึงที่สดุ มไิ ด้วินิจฉัยว่าผนู้ น้ั กระท�ำ ผดิ อาญา หรือ มิไดม้ ี
การฟอ้ งคดอี าญาในกรณที ่ตี ้องหาวา่ กระท�ำ ผิดอาญา ใหส้ ่ังให้ผูน้ ้ันกลบั เข้าปฏบิ ัติหนา้ ท่รี าชการ
ตามขอ้ ๙๑ และถา้ การกระท�ำ ดงั กลา่ วมมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั กใ็ หด้ �ำ เนนิ การตาม
กฎ ก.พ. นต้ี ่อไป
ในกรณีทผ่ี ถู้ ูกสัง่ พกั ราชการตาม (๓)​ หรอื (๔) ได้พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่
ด้วยบำ�เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ หรือมีกรณีที่จะตอ้ งถกู สงั่ ใหอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตุอ่นื หรอื ได้
ออกจากราชการดว้ ยเหตุอน่ื ไปแล้ว หรอื มกี รณีอืน่ ท่ผี ู้นั้นถกู สง่ั พกั ราชการหรอื ให้ออกจากราชการ
ไว้ก่อน  ไม่ต้องส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ  แต่ให้แสดงเหตุท่ีไม่สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้า
ปฏบิ ัตหิ น้าทรี่ าชการไวด้ ว้ ย
ขอ้ ๘๙ เมื่อได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณี
ที่ถูกฟ้องคดีอาญา  หรือต้องหาว่ากระทำ�ความผิดอาญา  และปรากฏผลแห่งคดีถึงท่ีสุดแล้ว
ใหด้ ำ�เนินการดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณีที่ผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุก
โดยค�ำ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ เวน้ แตเ่ ปน็ โทษส�ำ หรบั ความผดิ ทไ่ี ดก้ ระท�ำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ
ให้ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗ โดยไมต่ ้องสง่ั ใหผ้ ู้นั้นกลบั เข้ารับราชการ
(๒) ในกรณีที่ผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุด
ในความผิดท่ีได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจำ�คุกโดยคำ�สั่งของศาล
ให้ด�ำ เนินการตามมาตรา ๙๓ หรือมาตรา ๑๑๐ (๘) แลว้ แตก่ รณี โดยไมต่ ้องส่งั ใหผ้ ู้น้นั กลบั เข้า
รับราชการ
(๓) ในกรณีทผี่ ู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนไดร้ ับโทษตาม (๑) หรอื (๒) แตศ่ าลรอการ
กำ�หนดโทษหรือให้รอการลงโทษ หรอื ไดร้ บั โทษอยา่ งอ่ืนนอกจาก (๑) หรอื (๒) ใหส้ ่ังให้ผ้นู ้ันกลบั
เข้ารบั ราชการตามข้อ ๙๑ และดำ�เนนิ การทางวนิ ยั ตามกฎ ก.พ. นี้ต่อไป
(๔) ในกรณีที่ในคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดมิได้วินิจฉัยว่าผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญา  หรือมิได้
มกี ารฟอ้ งคดอี าญาในกรณที ต่ี อ้ งหาวา่ กระท�ำ ผดิ อาญา ใหส้ ง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการตามขอ้ ๙๑
และถ้าการกระทำ�ดังกล่าวมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยก็ให้ดำ�เนินการตามกฎ  ก.พ.  น้ี
ตอ่ ไป
ในกรณที ผี่ ้ถู ูกสง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม (๓) หรือ (๔) มกี รณีอน่ื ที่ถกู ส่งั พัก
ราชการด้วย  ให้สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคำ�สั่งด้วยว่าผู้นั้นยังไม่อาจกลับ
เข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการในกรณีอื่น  แต่ถ้าผู้นั้นได้พ้น

๓๐

จากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ  หรือมีกรณีที่จะต้องถูกสั่งให้ออก
จากราชการด้วยเหตุอนื่ หรือไดอ้ อกจากราชการด้วยเหตอุ ่นื ไปแล้ว หรือมีกรณีอนื่ ที่ผู้น้ันถูกสัง่ ให้
ออกจากราชการไว้ก่อน ไมต่ ้องสั่งให้ผู้นั้นกลบั เขา้ รับราชการ แตใ่ ห้แสดงเหตุที่ไมส่ ง่ั ใหผ้ นู้ นั้ กลบั
เข้ารบั ราชการไวด้ ้วย
ขอ้ ๙๐ ในกรณที ่ขี า้ ราชการพลเรอื นสามัญผ้ใู ดมีกรณีท่ถี กู ดำ�เนินการทางวนิ ัย หรือ
ถกู ฟอ้ งคดอี าญา หรือต้องหาวา่ กระทำ�ความผดิ อาญาท่ไี มเ่ ข้าลกั ษณะตามขอ้ ๗๘ และมีกรณอี ืน่
ท่ีผ้นู ้นั ถูกส่งั พกั ราชการหรอื ถกู ส่ังใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ น เมอ่ื ปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณา
หรอื ผลแหง่ คดถี งึ ทส่ี ดุ ในเรอ่ื งทม่ี ไิ ดม้ คี �ำ สง่ั พกั ราชการหรอื ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ น ใหด้ �ำ เนนิ การ
ดงั นี้
(๑) ในกรณีท่ีผู้น้ันกระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  หรือผู้น้ันกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับ
โทษจำ�คุก  หรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดเว้นแต่เป็นโทษจำ�คุกสำ�หรับ
ความผิดท่ีได้กระท�ำ โดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ ให้ดำ�เนินการตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้รอการดำ�เนินการตาม
มาตรา ๙๖ ไวก้ อ่ นจนกวา่ จะปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณาหรอื ผลแหง่ คดถี งึ ทส่ี ดุ ในกรณอี น่ื นน้ั
จึงดำ�เนินการตามควรแก่กรณตี อ่ ไป
(๓) ในกรณีท่สี มควรให้ผนู้ น้ั ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) (๗) หรือ (๘)
ใหด้ ำ�เนินการใหผ้ ้นู ้นั ออกจากราชการได้
(๔) ในกรณีทีผ่ ้นู น้ั มิได้กระทำ�ผิดวินัยในเรื่องนน้ั ให้สงั่ ยตุ ิเรอ่ื ง
ขอ้ ๙๑ ในกรณีท่ีจะต้องสั่งให้ผู้ถูกสั่งพักราชการผู้ใดกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
หรือต้องส่ังให้ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนผู้ใดกลับเข้ารับราชการ  ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
อำ�นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่ังให้ผ้นู ัน้ กลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการหรือกลบั เข้ารับราชการใน
ต�ำ แหนง่ ตามเดิม หรอื ต�ำ แหนง่ อืน่ ในประเภทเดยี วกันและระดับเดยี วกนั หรอื ในตำ�แหนง่ ประเภท
และระดบั ที่ ก.พ. กำ�หนด ทงั้ นี้ ผนู้ ้นั ต้องมีคณุ สมบัตติ รงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะสำ�หรับตำ�แหน่งนนั้
ในกรณีที่สั่งให้ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนกลับเข้ารับราชการในตำ�แหน่ง
ประเภทบรหิ ารระดบั สงู หรอื ประเภทวชิ าการระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ ใหด้ �ำ เนนิ การน�ำ ความกราบบงั คมทลู
เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งตงั้
ข้อ ๙๒ คำ�ส่งั พักราชการ ค�ำ สัง่ ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน ค�ำ สั่งใหก้ ลบั เขา้ ปฏิบตั ิ
หน้าท่ีราชการ  หรือคำ�ส่ังให้กลับเข้ารับราชการ  ให้มีสาระสำ�คัญตามแบบที่สำ�นักงาน  ก.พ.
กำ�หนด

๓๑

หมวด ๙
ก_า_ร_น_บั _ร_ะ_ย_ะ_เ_ว_ล_า
ขอ้ ๙๓ การนบั ระยะเวลาตามกฎ ก.พ. นี้ ถ้ากำ�หนดเวลาเปน็ วนั สปั ดาห์ หรือเดือน
มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลาน้ันรวมเข้าด้วย  เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ซ่ึงต้องใช้
อำ�นาจตามกฎ ก.พ. นจ้ี ะไดเ้ ริ่มการในวันน้นั
ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนหรอื ผซู้ ง่ึ ตอ้ งใชอ้ �ำ นาจตามกฎ ก.พ. น ้ี ตอ้ งกระท�ำ การ
อย่างหน่ึงอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำ�หนด  ให้นับวันสิ้นสุดของระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย
แมว้ ่าวนั สุดทา้ ยเป็นวันหยดุ ราชการ
ในกรณีท่ีบุคคลอื่นนอกจากท่ีกำ�หนดไว้ในวรรคสองต้องทำ�การอย่างหน่ึงอย่างใด
ภายในระยะเวลาท่ีกำ�หนด ถ้าวันสุดท้ายเป็นวนั หยดุ ราชการ ใหถ้ อื วา่ ระยะเวลานน้ั ส้ินสุดในวนั
ท�ำ งานท่ถี ดั จากวันหยุดนนั้

หมวด ๑๐
_บ__ท_เ_บ_ด็ _เ_ต_ล_ด็__
ขอ้ ๙๔ ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจำ�เป็นเป็นพิเศษท่ีไม่อาจนำ�หลักเกณฑ์  วิธีการ
และระยะเวลาทก่ี �ำ หนดในกฎ ก.พ. นม้ี าใชบ้ งั คบั ได้ การด�ำ เนนิ การในเรอ่ื งนน้ั จะสมควรด�ำ เนนิ การ
ประการใด ให้เป็นไปตามที่ ก.พ. กำ�หนด
_บ_ท__เฉ__พ_า_ะ_ก_า_ล_
ขอ้ ๙๕ ในกรณีท่ีได้มีการส่ังให้สอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้อง
ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรือหลักเกณฑ์ที่ใช้อยู่กอ่ นวนั ที่กฎ ก.พ. น้ีใช้บังคบั และการสอบสวน
นัน้ ยังไม่แลว้ เสร็จ ใหด้ ำ�เนินการสอบสวนผู้นั้นตามกฎหมาย กฎ ระเบียบหรอื หลักเกณฑ์ที่ใช้อยู่
ในขณะนั้นต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ  ส่วนการพิจารณาและดำ�เนินการต่อไปให้ดำ�เนินการตาม
กฎ ก.พ. น้ี
ขอ้ ๙๖ ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้องตาม
กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื หลกั เกณฑท์ ใ่ี ช้อยใู่ นขณะน้นั เสร็จไปแล้วในวนั ก่อนวนั ทีก่ ฎ ก.พ. น ี้
ใชบ้ งั คบั แตย่ งั มไิ ดม้ กี ารพจิ ารณาและด�ำ เนนิ การตอ่ ไปหรอื การพจิ ารณาด�ำ เนนิ การยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็
ใหก้ ารสอบสวนนน้ั เปน็ อนั ใชไ้ ด้ สว่ นการพจิ ารณาและด�ำ เนนิ การตอ่ ไปใหด้ �ำ เนนิ การตามกฎ ก.พ. น้ี

๓๒

ข้อ ๙๗ ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนและพิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมาย  กฎ
ระเบยี บ หรือหลกั เกณฑ์ท่ีใชอ้ ยใู่ นขณะนนั้ เสรจ็ ไปแล้วก่อนวันทีก่ ฎ ก.พ. นี้ใชบ้ ังคบั แต่ยงั มิได้
ดำ�เนินการให้เป็นไปตามผลการพิจารณาดังกล่าว  ให้การสอบสวนและพิจารณาน้ันเป็นอันใช้ได้
ส่วนการด�ำ เนินการตอ่ ไปใหด้ ำ�เนินการตามกฎ ก.พ. น้ี
ในกรณีท่ีจะต้องสั่งลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดข้ันเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผู้กระทำ�ผดิ วนิ ัยอยา่ งไม่รา้ ยแรงก่อนวันท่ีกฎ ก.พ. นใี้ ชบ้ งั คบั แตย่ ังไมไ่ ดส้ ่งั ลงโทษ ใหส้ ง่ั ลงโทษ
ตามขอ้ ๖๗ (๒) หรอื (๓) แลว้ แต่กรณี
ขอ้ ๙๘ ในกรณที ไ่ี ดม้ กี ารสง่ั พกั ราชการหรอื สง่ั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นโดยถกู ตอ้ ง
ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื หลกั เกณฑท์ ใ่ี ช้อยกู่ ่อนวนั ท่กี ฎ ก.พ. นี้ใชบ้ ังคับ และการสอบสวน
หรือการพิจารณาน้ันยังไม่เสร็จ  ให้การส่ังพักราชการหรือส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนน้ันมีผล
ต่อไปตามกฎ ก.พ. นี้ จนกวา่ จะมีการส่ังการเปน็ อยา่ งอืน่ ตามกฎ ก.พ. นี้
ให้ไว ้ ณ วนั ที ่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พงศ์เทพ เทพกาญจนา
รองนายกรัฐมนตรี
ประธาน ก.พ.

______________________________________________________________________________
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎ ก.พ. ฉบับนี้ คอื โดยทพี่ ระราชบญั ญตั ริ ะเบียบ
ข้าราชการพลเรอื น พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๙๔ (๔) มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ วรรคสี่ มาตรา ๙๗
วรรคสอง มาตรา ๑๐๑ วรรคแปด และมาตรา ๑๐๕ บญั ญตั ิให้การด�ำ เนนิ การทางวนิ ัยเป็นไปตาม
ทก่ี ำ�หนดในกฎ ก.พ. จึงจ�ำ เปน็ ตอ้ งออกกฎ ก.พ. นี้

๓๓

(ส�ำ เนา)

ส่วนราชการ กองการเจา้ หนา้ ท่ี กล่มุ งานวินยั โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๓๘–๓๙

ท่ ี มท ๐๕๐๒.๕ / ว ๑๓๖๗ วันท ่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๕๗

เรือ่ ง กำ�หนดต�ำ แหนง่ ประธานกรรมการตามกฎ ก.พ. วา่ ด้วยการด�ำ เนนิ การทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖
และแบบตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำ�เนินการทางวินยั ฯ

เรียน หัวหนา้ กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมกรมที่ดิน ผตู้ รวจราชการกรม ผอู้ ำ�นวยการสำ�นัก
เจ้าพนักงานท่ีดนิ กรงุ เทพมหานคร เลขานุการกรม ผู้อ�ำ นวยการกอง ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักงาน
ผอู้ �ำ นวยการกลุม่ และผู้อำ�นวยการศูนย์

ดว้ ยส�ำ นักงาน ก.พ. ได้มหี นังสือ ท่ี นร ๑๐๑๑/ว ๒ ลงวนั ท่ี ๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗
แจ้งว่า  ก.พ.  ได้มีมติกำ�หนดตำ�แหน่งประธานกรรมการท่ีแต่งตั้งจากข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตามกฎ ก.พ. ว่าดว้ ยการดำ�เนินการทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวด ๔ การดำ�เนนิ การในกรณีมมี ลู ท่ี
ควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวนิ ัยอย่างรา้ ยแรง ขอ้ ๑๘ และหนังสือ ท่ี นร ๑๐๑๑/ว ๓ ลงวันท่ี ๒๖
กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗ แจ้งวา่ ส�ำ นักงาน ก.พ. ได้ก�ำ หนดแบบคำ�สั่งและแบบการสอบสวนทางวินัย
ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการด�ำ เนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวด ๔ การดำ�เนินการในกรณีมมี ูลท่ี
ควรกลา่ วหาว่ากระทำ�ผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง ข้อ ๑๙ ขอ้ ๒๐ ขอ้ ๓๑ ข้อ ๔๐ และข้อ ๕๓ หมวด ๖
การสง่ั ยุติเรอ่ื ง ลงโทษ หรอื งดโทษ ข้อ ๖๖ ข้อ ๖๙ ข้อ ๗๑ และขอ้ ๗๒ หมวด ๗ การมคี �ำ สงั่ ใหม่
กรณมี ีการเพม่ิ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ขอ้ ๗๔ และหมวด ๘ การสง่ั พักราชการและให้
ออกจากราชการไวก้ อ่ น ขอ้ ๙๒ เพอ่ื ให้ถอื เป็นหลกั ปฏบิ ัติ รายละเอยี ดดูไดจ้ ากเว็บไซต์กรมทด่ี ิน
www.dol.go.th หวั ข้อ “ขา่ วกองการเจา้ หน้าท่ี”

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและแจง้ ใหข้ ้าราชการในสงั กัดทราบโดยทว่ั กนั

(ลงชอ่ื ) วษิ ณุ ธันวรกั ษก์ ิจ
(นายวษิ ณ ุ ธนั วรักษ์กจิ )
ผ้อู ำ�นวยการกองการเจ้าหนา้ ท่ี

๓๔

(ส�ำ เนา)

ที่ นร ๑๐๑๑ / ว ๒ สำ�นกั งาน ก.พ.
ถนนติวานนท์ จังหวดั นนทบุรี ๑๑๐๐๐

๒๖ กุมภาพันธ ์ ๒๕๕๗

เร่ือง กำ�หนดตำ�แหน่งประธานกรรมการตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำ�เนินการทางวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖
เรียน อธบิ ดีกรมทดี่ ิน

โดยที่  กฎ  ก.พ.  ว่าด้วยการดำ�เนินการทางวินัย  พ.ศ. ๒๕๕๖  หมวด  ๔
การดำ�เนินการในกรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ข้อ  ๑๘  กำ�หนดว่า
ในขณะทีม่ กี ารแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ประธานกรรมการตอ้ งดำ�รงต�ำ แหน่งตามท่ี ก.พ.
ก�ำ หนด
ก.พ.  จึงมีมติกำ�หนดตำ�แหน่งประธานกรรมการที่แต่งต้ังจากข้าราชการพลเรือน
สามัญ ดงั ต่อไปน้ี
๑. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทบริหารระดับสูง  ตำ�แหน่ง
หัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง  หรือระดับกรมที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
ประธานกรรมการต้องเปน็ ผู้ดำ�รงตำ�แหนง่
๑.๑ ประเภทบริหารระดับสูง  ตำ�แหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับเดียวกับ
ผ้ถู ูกกลา่ วหา หรือ
๑.๒ ประเภทวชิ าการระดบั ทรงคุณวุฒใิ นสว่ นราชการอ่ืน
๒. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทบริหารระดับสูง  ตำ�แหน่งอื่น
นอกจากทรี่ ะบุไว้ใน ๑ หรือประเภทบริหารระดับต้น ประธานกรรมการตอ้ งเป็นผู้ดำ�รงต�ำ แหนง่
๒.๑ ประเภทบริหารระดับไม่ตํา่ กว่าผูถ้ กู กลา่ วหา หรือ
๒.๒ ประเภทวชิ าการระดับทรงคณุ วุฒใิ นสว่ นราชการอน่ื
๓. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทอำ�นวยการระดับสูง  ประธาน
กรรมการต้องเป็นผูด้ �ำ รงตำ�แหน่ง
๓.๑ ประเภทบรหิ ารทกุ ระดบั หรือ
๓.๒ ประเภทอ�ำ นวยการระดบั ไมต่ าํ่ กวา่ ผู้ถกู กล่าวหา หรอื
๓.๓ ประเภทวิชาการระดบั ไม่ต่าํ กวา่ ระดับเชยี่ วชาญในส่วนราชการอนื่
๔. กรณีผถู้ กู กลา่ วหาเปน็ ผู้ด�ำ รงต�ำ แหน่งประเภทอ�ำ นวยการระดบั ต้น ประธาน
กรรมการต้องเป็นผ้ดู ำ�รงต�ำ แหน่ง

๓๕

๔.๑ ประเภทบรหิ ารทุกระดับ หรอื
๔.๒ ประเภทอำ�นวยการระดบั ไมต่ ่าํ กวา่ ผู้ถกู กลา่ วหา หรอื
๔.๓ ประเภทวชิ าการระดับไมต่ ํา่ กว่าระดบั เช่ยี วชาญ หรอื
๔.๔ ประเภทวชิ าการระดบั ช�ำ นาญการพิเศษในส่วนราชการอ่ืน
๕. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ
ประธานกรรมการตอ้ งเป็นผู้ด�ำ รงต�ำ แหนง่
๕.๑ ประเภทบริหารระดับสูง หรือ
๕.๒ ประเภทวิชาการระดบั ไม่ตา่ํ กว่าผู้ถูกกล่าวหา
๖. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทวิชาการระดับต้ังแต่ระดับ
เช่ยี วชาญลงมา ประธานกรรมการต้องเปน็ ผ้ดู �ำ รงตำ�แหนง่
๖.๑ ประเภทบรหิ ารทกุ ระดับ หรอื
๖.๒ ประเภทอ�ำ นวยการระดับสูง หรือ
๖.๓ ประเภทอำ�นวยการระดับต้น  สำ�หรับกรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รง
ต�ำ แหน่งตัง้ แตร่ ะดับชำ�นาญการพิเศษลงมา หรอื
๖.๔ ประเภทวิชาการระดับไม่ต่ํากว่าผู้ถูกกล่าวหา  และไม่ตํ่ากว่าระดับ
ชำ�นาญการ หรือ
๖.๕ ประเภททั่วไประดับไม่ต่ํากว่าระดับอาวุโส  สำ�หรับกรณีผู้ถูกกล่าวหา
เป็นผูด้ ำ�รงต�ำ แหนง่ ตั้งแต่ระดบั ช�ำ นาญการลงมา
๗. กรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภททั่วไปทุกระดับ  ประธาน
กรรมการต้องเปน็ ผ้ดู ำ�รงตำ�แหนง่
๗.๑ ประเภทบริหารทุกระดับ หรอื
๗.๒ ประเภทอำ�นวยการระดับสูง หรอื
๗.๓ ประเภทอำ�นวยการระดับต้น  สำ�หรับกรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้ดำ�รง
ตำ�แหนง่ ตั้งแตร่ ะดับอาวุโสลงมา หรือ
๗.๔ ประเภทวิชาการระดับไม่ต่าํ กวา่ ระดับเชย่ี วชาญ หรอื
๗.๕ ประเภทวิชาการระดับชำ�นาญการพิเศษ  สำ�หรับกรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็น
ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ตง้ั แต่ระดับอาวโุ สลงมา หรือ
๗.๖ ประเภทวิชาการระดับชำ�นาญการ  สำ�หรับกรณีผู้ถูกกล่าวหาตำ�แหน่ง
ตง้ั แตร่ ะดับช�ำ นาญงานลงมา หรือ
๗.๗ ประเภทท่ัวไประดับไม่ต่ํากว่าผู้ถูกกล่าวหา  และไม่ตํ่ากว่าระดับ
ชำ�นาญงาน

๓๖

ในกรณีที่แต่งต้ังประธานกรรมการจากข้าราชการฝ่ายพลเรือนนอกจากท่ีกล่าว
ข้างต้น  ประธานกรรมการต้องเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับไม่ตํ่ากว่าหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่า
ผู้ถูกกลา่ วหา โดยให้นำ�หนังสือส�ำ นกั งาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๘/ว ๓๐ ลงวนั ท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๕๓
เรื่องหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการเทียบตำ�แหน่งอย่างอื่นเท่ากับการดำ�รงตำ�แหน่งข้าราชการ
พลเรือนสามญั ตามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ มาใชเ้ ท่าทไ่ี ม่ขดั หรือ
แย้งกบั กฎ ก.พ. นี้
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและถือเป็นหลักในการปฏิบัติต่อไป  ท้ังนี้ได้แจ้ง
ให้กรมและจงั หวดั ทราบแลว้

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) นนทกิ ร กาญจนะจิตรา
(นายนนทิกร กาญจนะจิตรา)
เลขาธิการ ก.พ.
สำ�นักมาตรฐานวนิ ยั
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๘
โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๕

๓๗

(สำ�เนา)

ท่ี นร ๑๐๑๑ / ว ๑ สำ�นักงาน ก.พ.
ถนนตวิ านนท ์ จังหวดั นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐

๑๓ มกราคม ๒๕๕๗

เรื่อง กฎ ก.พ. ว่าด้วยการด�ำ เนนิ การทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
เรยี น (เวยี นกระทรวง กรม จังหวัด)
สิง่ ท่สี ง่ มาด้วย กฎ ก.พ. วา่ ด้วยการด�ำ เนนิ การทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖

ด้วย ก.พ. ไดอ้ อก กฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการด�ำ เนินการทางวินัย พ.ศ.๒๕๕๖ และได้
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบับกฤษฎกี า เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๒๖ ก วนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖
แลว้ รายละเอยี ดปรากฏตามส่งิ ที่สง่ มาด้วย

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและถือปฏบิ ัติต่อไป ทง้ั น้ี ได้แจ้งใหก้ รมและจังหวัด
ทราบด้วยแลว้


ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่ือ) นนทิกร กาญจนะจติ รา
(นายนนทิกร กาญจนะจติ รา)
เลขาธกิ าร ก.พ.

ส�ำ นกั มาตรฐานวินัย
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๘
โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๕

๓๘

(ส�ำ เนา)
กฎ ก.พ.
วา่ ดว้ ยการดำ�เนนิ การทางวินัย
__พ_._ศ_._ ๒_๕_๕__๖__
อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๘ (๕) มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖
มาตรา ๙๗ มาตรา ๑๐๑ และมาตรา ๑๐๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑  อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำ�กัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซ่งึ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำ�ได้โดยอาศัยอำ�นาจตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย ก.พ. โดยอนมุ ตั คิ ณะรัฐมนตรี จึงออกกฎ ก.พ. ไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ กฎ  ก.พ.  น้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป

หมวด ๑
การด�ำ เนินการเมอื่ มีการกล่าวห_า_ห_ร_อื _ม_กี_ร_ณ__ีเ_ป_็นที่สงสยั วา่ มีการกระทำ�ผิดวินยั
ข้อ ๒ เม่ือมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผใู้ ดกระทำ�ผิดวนิ ัย ผู้บงั คบั บัญชาของผูน้ ั้นมีหน้าทต่ี ้องรายงานตามลำ�ดบั ชนั้ ใหผ้ ู้บังคับบญั ชา
ซึ่งมอี �ำ นาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเรว็ โดยทำ�เป็นหนังสอื ซง่ึ อยา่ งน้อยตอ้ งมีสาระ
ส�ำ คัญ ดงั ต่อไปนี้
(๑) ชอ่ื ผู้กล่าวหา (ถ้ามี)
(๒) ชอื่ และต�ำ แหนง่ ของผถู้ ูกกล่าวหา
(๓) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แห่งการกระทำ�ท่ีกล่าวหาหรือเป็นท่ีสงสัยว่า  กระทำ�
ผิดวินยั
(๔) พยานหลักฐานทเี่ ก่ียวข้องเท่าท่ีมี
ขอ้ ๓ การกล่าวหาที่จะดำ�เนินการตามกฎ  ก.พ.  น้ี  ถ้าเป็นการกล่าวหาเป็น
หนังสอื ให้มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ระบชุ ่อื ของผ้กู ล่าวหา และลงลายมือช่อื ผู้กล่าวหา
(๒) ระบุช่ือหรือตำ�แหน่งของผู้ถูกกล่าวหา  หรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอให้ทราบว่า
เป็นการกล่าวหาขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผใู้ ด

๓๙

(๓) ระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่งการกระทำ�ท่ีมีการกล่าวหาเพียงพอท่ีจะ
เข้าใจได้ หรอื แสดงพยานหลักฐานเพยี งพอทจ่ี ะสืบสวนสอบสวนต่อไปได้
ในกรณที ีเ่ ป็นการกลา่ วหาด้วยวาจา  ใ  ห้ผบู้ งั คับบญั ชาผ้ไู ดร้ บั ฟังการกล่าวหาจดั ให้มี
การทำ�บันทึกคำ�กล่าวหาที่มีรายละเอียดตามวรรคหนึ่ง  และให้ผู้กล่าวหาลงลายมือช่ือไว้เป็น
หลกั ฐาน
ข้อ ๔ กรณเี ปน็ ทส่ี งสยั วา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั ทจ่ี ะด�ำ เนนิ การ
ตามกฎ ก.พ. น้ี อาจมีลักษณะดงั น้ี
(๑) มีการกล่าวหาท่ไี มไ่ ดร้ ะบชุ อ่ื ผกู้ ล่าวหา ไมไ่ ด้ลงลายมือชอ่ื ผูก้ ล่าวหา แตร่ ะบุ
ช่ือหรือตำ�แหน่งของผู้ถูกกล่าวหา  หรือข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นเพียงพอท่ีจะทราบว่ากล่าวหา
ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด  และข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์นั้นเพียงพอที่จะสืบสวนสอบสวน
ต่อไปได้ หรอื
(๒) มีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นที่สงสัยว่า
ข้าราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผิดวนิ ัย โดยมีพยานหลักฐานเพียงพอทจ่ี ะสืบสวนสอบสวน
ต่อไปได้

หมวด ๒
การสบื สวน_ห__ร_อื _พ_ิจ_า_ร_ณ__า_ในเบือ้ งต้น
ขอ้ ๕ เมอ่ื ได้รับรายงานตามข้อ ๒ หรอื ความปรากฏตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาซงึ่ มีอำ�นาจ
สงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ว่ามีการกลา่ วหาหรือมีกรณีเปน็ ทีส่ งสัยว่าขา้ ราชการพลเรือนสามัญผใู้ ด
กระท�ำ ผิดวินยั ให้ดำ�เนนิ การอย่างใดอย่างหนึ่งดงั ตอ่ ไปน้โี ดยเรว็
(๑) พจิ ารณาในเบอ้ื งตน้ วา่ กรณมี มี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ ผนู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั หรอื ไม่
(๒) ด�ำ เนนิ การสบื สวนหรอื สง่ั ใหด้ �ำ เนนิ การสบื สวน และพจิ ารณาวา่ กรณมี มี ลู ทค่ี วร
กลา่ วหาวา่ ผู้นั้นกระท�ำ ผิดวนิ ยั หรือไม่ ในการน้ี ผบู้ งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
อาจสืบสวนเอง  หรือให้ข้าราชการพลเรือนสามัญหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการ
สืบสวนแล้วรายงานมาเพือ่ ประกอบการพิจารณาก็ได้
ในกรณีท่ีเห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�ผิดวินัย 
หรือเป็นกรณีท่ีมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้วและเห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการ
พลเรอื นสามัญผ้ใู ดกระทำ�ผดิ วนิ ยั ให้ดำ�เนินการตามขอ้ ๖ ตอ่ ไป
ขอ้ ๖ ในกรณีทผี่ บู้ งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอำ�นาจส่งั บรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเหน็ ว่า
กรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ �ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ให้ดำ�เนินการต่อไปตามหมวด  ๓  ถ้าพิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการ
พลเรือนสามัญผ้ใู ดกระท�ำ ผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง ใหด้ �ำ เนนิ การตอ่ ไปตามหมวด ๔ แตถ่ า้ พิจารณา
เหน็ วา่ กรณีไมม่ ีมลู ที่ควรกล่าวหาว่าขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผใู้ ดกระทำ�ผดิ วนิ ยั ใหย้ ุติเรอ่ื ง

๔๐

ข้อ ๗ กรณีท่ีถือว่าไม่มีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�
ผิดวินัยและผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗  สั่งให้ยุติเร่ืองได้  อาจเป็นกรณี
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอให้ทราบว่า
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผูใ้ ดเป็นผกู้ ระท�ำ ผดิ วินัย
(๒) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอที่จะทำ�ให้
เขา้ ใจได้ว่ามีการกระท�ำ ผดิ วนิ ยั หรือไม่เพยี งพอทจี่ ะด�ำ เนนิ การสืบสวนสอบสวนตอ่ ไปได้
(๓) พฤติการณ์แห่งการกระทำ�นน้ั ไม่เป็นความผิดทางวนิ ัย

หมวด ๓
การด�ำ เนินการในกรณมี ีมูลทค่ี _ว_ร_ก_ล_่า_ว_ห__า_ว_า่ _กระท�ำ ผิดวนิ ัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรง
ข้อ ๘ ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามขอ้ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏวา่ กรณี
มมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา
ซ่ึงมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗  ดำ�เนินการต่อไปตามหมวดน้ี  โดยไม่ต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนก็ได้ แต่ถา้ ได้แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนแล้ว ตอ้ งดำ�เนินการตามขอ้ ๑๒ ข้อ ๑๓
และข้อ ๑๔ จนแลว้ เสร็จ
ข้อ ๙ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗  ดำ�เนินการ
ทางวินัยโดยไม่ตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ตอ้ งดำ�เนินการตามหมวดนใ้ี หแ้ ลว้ เสรจ็ โดยเร็ว ทัง้ นี้
ต้องไม่เกินสี่สิบห้าวันนับแต่วันท่ีพิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่าง
ไม่ร้ายแรง  ในกรณีที่ไม่สามารถดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายในเวลาดังกล่าว  ให้ผู้บังคับบัญชา
ซึง่ มอี ำ�นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ขยายเวลาไดต้ ามความจ�ำ เป็น โดยแสดงเหตุผลความจำ�เป็น
ไว้ดว้ ย
ขอ้ ๑๐ ในการดำ�เนินการตามข้อ ๙ ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ทส่ี นบั สนนุ ข้อกลา่ วหาเปน็ หนงั สอื ให้ผูถ้ กู กล่าวหาทราบ และตอ้ งให้โอกาสผู้ถกู กลา่ วหาไดช้ ี้แจง
แกข้ ้อกลา่ วหาภายในระยะเวลาทกี่ ำ�หนด
ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาภายในเวลาท่ีกำ�หนด  ให้ถือว่าผู้ถูก
กล่าวหาไมป่ ระสงค์จะชี้แจงแกข้ อ้ กล่าวหา
ข้อ ๑๑ เม่อื ผบู้ ังคับบญั ชาซึง่ มีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไดด้ �ำ เนินการตาม
ขอ้ ๑๐​ แลว้ ใหพ้ ิจารณาส่งั หรือด�ำ เนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณีทีเ่ หน็ วา่ ผถู้ ูกกล่าวหาไม่ไดก้ ระทำ�ผิดวนิ ยั ตามขอ้ กล่าวหา ใหส้ ัง่ ยตุ เิ รือ่ ง
ตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง โดยทำ�เปน็ ค�ำ ส่ังตามข้อ ๖๖

๔๑

(๒) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้สั่งลงโทษ
ภาคทัณฑ์  ตัดเงินเดือน  หรือลดเงินเดือน  ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิดตาม
มาตรา ๙๖ และที่กำ�หนดไว้ในข้อ ๖๗ โดยทำ�เป็นคำ�สงั่ ตามขอ้ ๖๙
(๓) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยเล็กน้อย  และมีเหตุอันควรงดโทษ
จะงดโทษให้โดยใหท้ �ำ ทณั ฑ์บนเป็นหนงั สือหรอื วา่ กลา่ วตักเตอื นตามมาตรา ๙๖ กไ็ ด้ โดยท�ำ เป็น
ค�ำ สัง่ งดโทษตามข้อ ๗๑
(๔) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ให้ดำ�เนินการตาม
หมวด ๔ ต่อไป
ข้อ ๑๒ ในกรณที ผี่ ูม้ อี ำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ด�ำ เนนิ การทางวนิ ัยโดยแตง่ ตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน การแตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวน และการคัดค้านกรรมการสอบสวน
ให้น�ำ ขอ้ ๑๘ วรรคหนึ่ง วรรคสอง วรรคส่ี ขอ้ ๑๙ ขอ้ ๒๐ ขอ้ ๒๑ ข้อ ๒๒ ข้อ ๒๓ ขอ้ ๒๔ และ
ข้อ ๒๕ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม
ในกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญตำ�แหน่งต่างกัน  หรือต่างกรม  หรือต่าง
กระทรวงกันถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมกัน  การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตาม
วรรคหนง่ึ ให้เป็นไปตามมาตรา ๙๔ และทีก่ �ำ หนดในขอ้ ๑๖ และข้อ ๑๗
ข้อ ๑๓ คณะกรรมการสอบสวนตามข้อ  ๑๒  ต้องดำ�เนินการสอบสวน  รวบรวม
ขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ กฎหมาย และพยานหลักฐานท่ีเกยี่ วข้อง แจ้งขอ้ กล่าวหาและสรปุ พยานหลักฐาน
ใหผ้ ถู้ ูกกลา่ วหาทราบ รับฟังคำ�ชแี้ จงของผถู้ ูกกลา่ วหา แล้วเกบ็ รวบรวมไวใ้ นสำ�นวนการสอบสวน
และทำ�รายงานการสอบสวนพรอ้ มความเห็นเสนอผสู้ ัง่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ทง้ั น้ี ต้อง
ใหแ้ ลว้ เสร็จภายในหกสบิ วันนบั แต่วันท่ีประธานกรรมการรับทราบค�ำ สั่ง
ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจำ�เป็นไม่อาจดำ�เนินการ
ให้แล้วเสร็จภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคหนึ่ง  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้ส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนเพื่อขอขยายเวลาตามความจำ�เปน็ ในการน้ี ผ้สู งั่ แต่งต้งั คณะกรรมการ
สอบสวนจะขยายเวลาใหต้ ามทเ่ี หน็ สมควรโดยตอ้ งแสดงเหตผุ ลไวด้ ว้ ย หรอื จะสง่ั ใหค้ ณะกรรมการ
สอบสวนยุตกิ ารดำ�เนนิ การแลว้ พิจารณาส่ังหรือดำ�เนินการตามขอ้ ๑๑ ตอ่ ไปกไ็ ด้
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคำ�ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ย่ืนคำ�ชี้แจง
แก้ข้อกล่าวหาภายในเวลาท่ีคณะกรรมการสอบสวนกำ�หนด  ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์
จะช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหา  เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรดำ�เนินการเป็นอย่างอ่ืนเพ่ือ
ประโยชนแ์ ห่งความเป็นธรรม
ข้อ ๑๔ เมื่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและ
สำ�นวนการสอบสวนตามขอ้ ๑๓ แล้ว ใหพ้ ิจารณาสงั่ หรือดำ�เนนิ การตามข้อ ๑๑ หรือส่ังหรอื
ดำ�เนนิ การดังตอ่ ไปนี้

๔๒

(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพ่ิมเติม  ให้กำ�หนด
ประเด็นหรือข้อสำ�คัญท่ตี ้องการให้คณะกรรมการสอบสวนทำ�การสอบสวนเพมิ่ เติม
(๒) ในกรณีที่เห็นว่าการดำ�เนินการใดไม่ถูกต้อง  ให้ส่ังให้คณะกรรมการสอบสวน
ดำ�เนินการใหถ้ ูกต้องโดยเร็ว

หมวด ๔
การดำ�เนนิ การในกรณีมมี ูลท_ค่ี _ว_ร_ก_ล_า่_ว_ห__า_ว_า่ กระท�ำ ผิดวินยั อยา่ งรา้ ยแรง
ขอ้ ๑๕ ในกรณีท่ผี ลการสบื สวนหรือพจิ ารณาตามขอ้ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏว่ากรณี
มมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา
ซ่ึงมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗  หรือผู้มีอำ�นาจตามมาตรา  ๙๔  แล้วแต่กรณี  แต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน เพ่อื ด�ำ เนนิ การสอบสวนต่อไป
ในกรณีท่ีเป็นการดำ�เนินการต่อเนื่องจากการดำ�เนินการตามข้อ  ๑๑  (๔)
ให้ผู้บังคบั บญั ชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอ�ำ นาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแต่
กรณี แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนขน้ึ ใหมเ่ พื่อดำ�เนนิ การต่อไปตามหมวดน้ี สว่ นขอ้ เท็จจรงิ และ
พยานหลกั ฐานในสำ�นวนการสอบสวนตามขอ้ ๑๓ จะนำ�มาใชใ้ นการสอบสวนน้ีหรือไม่เพียงใด
ใหอ้ ย่ใู นดลุ พินจิ ของคณะกรรมการสอบสวน
ขอ้ ๑๖ การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญ
ต�ำ แหนง่ ตา่ งกัน หรอื ตา่ งกรม หรอื ตา่ งกระทรวงกนั ถูกกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วินยั รว่ มกนั ส�ำ หรับ
กรณีอน่ื ตามมาตรา ๙๔ (๔) ให้ด�ำ เนินการ ดังต่อไปน้ี
(๑) กรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกันถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
รว่ มกนั ถ้าผู้บังคับบญั ชาซึง่ มอี �ำ นาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ ของขา้ ราชการดงั กล่าวต่างกัน
ใหอ้ ธบิ ดหี รอื ผบู้ งั คบั บญั ชาซง่ึ มอี �ำ นาจสง่ั บรรจทุ ม่ี ตี �ำ แหนง่ เหนอื กวา่ เปน็ ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
สอบสวน แล้วแตก่ รณี
(๒) กรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญในสำ�นักงานรัฐมนตรี  หรือส่วนราชการที่ไม่มี
ฐานะเป็นกรม  แต่มีหัวหน้าส่วนราชการเป็นอธิบดีหรือตำ�แหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็น
อธิบดี  ถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมกับข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการอื่น
ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เว้นแต่เป็นกรณีที่มีผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทบริหารระดับสูงถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมด้วย
ใหน้ ายกรฐั มนตเี ปน็ ผ้สู ัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน
(๓) กรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัด
กระทรวง  แต่อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือในส่วนราชการที่มีหัวหน้า

๔๓

ส่วนราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี  ถูกกล่าว
หาว่ากระทำ�ผิดวินัยร่วมกับข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการอื่น  ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมี
อำ�นาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ร่วมกันแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน เวน้ แตเ่ ป็นกรณที ีม่ ีผดู้ ำ�รง
ตำ�แหน่งประเภทบริหารระดบั สูงถูกกลา่ วหาว่ากระทำ�ผดิ วินัยรว่ มดว้ ย ใหน้ ายกรฐั มนตรเี ป็นผ้สู ง่ั
แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวน
(๔) กรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญในราชการบริหารส่วนภูมิภาคจังหวัดเดียวกัน
แตอ่ ยูต่ า่ งกรมหรือต่างกระทรวงกนั ถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผดิ วนิ ยั ร่วมกัน ถ้าผู้ถกู กล่าวหาทุกคน
ด�ำ รงตำ�แหนง่ ท่ีผู้ว่าราชการจงั หวัดเปน็ ผบู้ งั คับบญั ชาซงึ่ มีอำ�นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ (๑๑)
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผูส้ ่งั แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ขอ้ ๑๗ ในกรณรี ่วมกันแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ใหผ้ มู้ อี ำ�นาจสง่ั แตง่ ตัง้ คณะ
กรรมการสอบสวนของแต่ละส่วนราชการทำ�ความตกลงกันเพ่ือกำ�หนดตัวบุคคลเป็นกรรมการ
สอบสวน แลว้ ให้แต่ละสว่ นราชการมคี ำ�สง่ั แตง่ ตัง้ บุคคลน้นั เป็นคณะกรรมการสอบสวน
ขอ้ ๑๘ การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ให้แต่งตัง้ จากขา้ ราชการพลเรอื นสามญั
ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอนื่ อกี อยา่ งน้อยสองคน โดยใหก้ รรมการ
คนหนง่ึ เป็นเลขานุการ ในกรณที ่มี เี หตผุ ลความจ�ำ เป็นจะแต่งตงั้ ประธานกรรมการและกรรมการ
จากขา้ ราชการฝา่ ยพลเรือนซ่ึงมิใช่ขา้ ราชการการเมอื งกไ็ ด้
ในขณะท่ีมีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน  ประธานกรรมการต้องดำ�รง
ตำ�แหนง่ ตามท่ี ก.พ. ก�ำ หนด
กรรมการสอบสวนอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ คนตอ้ งเปน็ ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ นติ กิ ร หรอื ผไู้ ดร้ บั ปรญิ ญา
ทางกฎหมาย  หรือผู้ได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรการดำ�เนินการทางวินัย  หรือผู้มี
ประสบการณ์ด้านการดำ�เนินการทางวินยั
เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการที่แต่งตั้งจากข้าราชการฝ่าย
พลเรือนซึ่งมิใช่ข้าราชการการเมืองหรือแต่งตั้งจากพนักงานราชการหรือลูกจ้างประจำ�ด้วยก็ได้
และใหน้ �ำ ขอ้ ๒๐ ขอ้ ๒๒ ข้อ ๒๓ ขอ้ ๒๔ และขอ้ ๒๕ และข้อ ๓๓ มาใชบ้ งั คับกบั ผชู้ ว่ ยเลขานุการ
โดยอนุโลม
ขอ้ ๑๙ ค�ำ สง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนใหร้ ะบชุ อ่ื และต�ำ แหนง่ ของผถู้ กู กลา่ วหา
เรอ่ื งที่กล่าวหา ชือ่ ของประธานกรรมการ และกรรมการ ทง้ั นี้ ตามแบบทส่ี ำ�นักงาน ก.พ. กำ�หนด
ในกรณที ีม่ ีการแตง่ ตงั้ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ ใหร้ ะบชุ ือ่ ผู้ชว่ ยเลขานุการไว้ในคำ�สง่ั น้นั ด้วย
ข้อ ๒๐ ในกรณีที่มีการเปล่ียนแปลงกรรมการสอบสวน  ให้ดำ�เนินการโดยทำ�เป็น
คำ�ส่งั ตามแบบท่สี ำ�นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด และใหแ้ จง้ ใหผ้ ูถ้ ูกกลา่ วหาทราบตอ่ ไป
การเปล่ียนแปลงกรรมการสอบสวนตามวรรคหน่ึง  ไม่กระทบกระเทือนถึง
การสอบสวนท่ไี ดด้ ำ�เนินการไปแลว้

๔๔

ข้อ ๒๑ เม่ือได้มีคำ�สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแล้ว  ให้ผู้สั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนดำ�เนินการดังตอ่ ไปน้ี
(๑) แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบคำ�สั่งโดยเร็ว  และให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อและ
วันที่รบั ทราบไว้เป็นหลกั ฐาน ในการนี ้ ให้แจง้ ต�ำ แหนง่ ของประธานกรรมการ กรรมการ และ
ผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี) รวมทงั้ สิทธทิ ีจ่ ะคัดค้านกรรมการสอบสวนไปพร้อมกัน และให้มอบส�ำ เนา
คำ�สั่งให้ผู้ถูกกล่าวหาไว้หนึ่งฉบับด้วย  ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมลงลายมือชื่อรับทราบคำ�สั่ง
ถ้าได้ทำ�บันทึกลงวันที่และสถานที่ที่แจ้งและลงลายมือชื่อผู้แจ้ง  พร้อมท้ังพยานรู้เห็นไว้เป็น
หลกั ฐานแล้ว ใหถ้ ือวนั ทีแ่ จ้งนนั้ เป็นวนั รับทราบ
การแจ้งตามวรรคหนง่ึ ใหแ้ จ้งใหผ้ ู้ถูกกลา่ วหาทราบโดยตรงก่อน แต่ถา้ ไม่อาจแจง้
ให้ทราบโดยตรงได้หรือมีเหตุจำ�เป็นอื่น  ให้แจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ที่อยู่ซึ่งปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณีเช่นนี้ ให้ถือว่า
ผู้ถูกกลา่ วหาไดร้ ับแจ้งเม่ือครบกำ�หนดเจ็ดวนั นบั แต่วันส่งสำ�หรบั กรณสี ่งในประเทศ หรือเมื่อครบ
สิบห้าวนั นับแตว่ นั ส่งสำ�หรบั กรณสี ง่ ไปยังต่างประเทศ
(๒) ส่งสำ�เนาคำ�สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานท่ี
เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหาให้ประธานกรรมการโดยเร็ว แล้วให้ประธานกรรมการลงลายมือชื่อ
และวนั เดอื นปที ไ่ี ดร้ บั แลว้ เกบ็ รวมไวใ้ นส�ำ นวนการสอบสวน และสง่ ส�ำ เนาค�ำ สง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
สอบสวนให้กรรมการทราบเป็นรายบุคคล
(๓) ส่งหลักฐานการรับทราบหรือถือว่าทราบคำ�สั่งของผู้ถูกกล่าวหาไปให้ประธาน
กรรมการเพอ่ื เกบ็ รวมไว้ในสำ�นวนการสอบสวน
ขอ้ ๒๒ เมอ่ื มีกรณดี ังต่อไปนี้ กรรมการสอบสวนอาจถกู คัดคา้ นได้
(๑) เปน็ ผูก้ ลา่ วหาตามข้อ ๓
(๒) เป็นคู่หมัน้ หรอื คู่สมรสของผูก้ ลา่ วหาตามข้อ ๓
(๓) เปน็ ญาติของผู้กลา่ วหาตามข้อ ๓​ คอื เปน็ บุพการีหรอื ผู้สืบสนั ดานไม่ว่าชน้ั ใดๆ
หรือเป็นพ่ีน้อง  หรือลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงสามช้ัน  หรือเป็นญาติเกี่ยวพันทางการสมรสนับได้
เพยี งสองช้นั
(๔) เป็นผู้มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหาหรือกับคู่หม้ันหรือคู่สมรสของ
ผู้ถกู กล่าวหา
(๕) เปน็ ผู้มีประโยชนไ์ ด้เสียในเรอ่ื งท่สี อบสวน
(๖) เปน็ ผู้รู้เห็นเหตกุ ารณใ์ นขณะกระทำ�ผิดตามเรื่องที่กล่าวหา
(๗) เป็นผู้ที่มีเหตุอ่ืนซ่ึงมีสภาพร้ายแรงอันอาจทำ�ให้การสอบสวนไม่เป็นกลางหรือ
เสียความเป็นธรรม

๔๕

ข้อ ๒๓ การคัดค้านกรรมการสอบสวนต้องทำ�เป็นหนังสือย่ืนต่อผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคำ�สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนหรือนบั แตว่ นั ทที่ ราบวา่ มกี รณีตามข้อ ๒๒ โดยหนังสือคดั ค้านต้องแสดงขอ้ เท็จจริงหรือ
พฤติการณท์ ่เี ป็นเหตแุ ห่งการคดั ค้านตามทกี่ ำ�หนดไว้ในข้อ ๒๒
ในกรณีที่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการคัดค้านเป็นไปตามเง่ือนไข
ที่กำ�หนดตามวรรคหนึ่ง  ให้ส่งสำ�เนาหนังสือคัดค้านไปให้ประธานกรรมการเพื่อทราบและเก็บ
รวบรวมไว้ในสำ�นวนการสอบสวน  รวมท้ังแจ้งให้ผู้ถูกคัดค้านทราบ  และต้องให้โอกาสผู้ถูก
คัดค้านได้ช้ีแจงเป็นหนังสือต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ผู้ถูก
คัดคา้ นไดล้ งลายมอื ช่ือและวนั ที่ทีไ่ ด้รับแจ้งไวเ้ ปน็ หลักฐาน ในการนี้ ผถู้ ูกคัดคา้ นตอ้ งหยดุ ปฏบิ ัติ
หน้าที่กรรมการสอบสวนตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งนั้น  แต่ถ้าเห็นว่าการคัดค้านไม่เป็นไปตามเง่ือนไข
ทีก่ ำ�หนดให้ผู้สงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวนส่งั ไม่รับค�ำ คดั คา้ นน้นั และแจง้ ใหผ้ ู้คัดค้านทราบ
ข้อ ๒๔ เม่ือไดด้ ำ�เนนิ การตามขอ้ ๒๓ แล้ว ให้ผสู้ ่งั แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
พิจารณาสั่งการอยา่ งใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปน้ี
(๑) ในกรณีที่เห็นว่าคำ�คัดค้านรับฟังได้  ให้สั่งให้ผู้ถูกคัดค้านพ้นจากหน้าที่ใน
การเป็นกรรมการสอบสวน  ในกรณีที่เห็นสมควรจะแต่งตั้งผู้อ่ืนให้เป็นกรรมการสอบสวนแทน
ผู้ถูกคัดค้านก็ได้  แต่ถ้ากรรมการสอบสวนที่เหลืออยู่มีจำ�นวนน้อยกว่าสามคนให้แต่งต้ังผู้อื่น
ใหเ้ ปน็ กรรมการสอบสวนแทนผู้ถกู คัดคา้ น และใหน้ �ำ ข้อ ๒๐ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม
(๒) ในกรณีที่เห็นว่าคำ�คัดค้านไม่อาจรับฟังได้  ให้ส่ังยกคำ�คัดค้าน  และมีหนังสือ
แจง้ ให้ผ้คู ดั คา้ น ผูถ้ กู คดั คา้ น และประธานกรรมการทราบโดยเร็ว ค�ำ สัง่ ยกค�ำ คดั คา้ นใหเ้ ป็นทีส่ ุด
ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งพจิ ารณาและสง่ั การตามวรรคหนง่ึ ใหแ้ ลว้ เสรจ็
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับคำ�คัดค้าน  ถ้าไม่ได้สั่งภายในกำ�หนดเวลาดังกล่าว  ให้ผู้ถูก
คดั คา้ นนน้ั พน้ จากการเปน็ กรรมการสอบสวนนบั แตว่ นั พน้ ก�ำ หนดเวลาดงั กลา่ ว และใหด้ �ำ เนนิ การ
ตาม (๑) ตอ่ ไป
ข้อ ๒๕ ในกรณีท่ีกรรมการสอบสวนผู้ใดเห็นว่าตนมีกรณีตามข้อ  ๒๒  ให้ผู้น้ัน
แจ้งให้ผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทราบ  และให้ผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
พจิ ารณาสงั่ การตามขอ้ ๒๔ โดยอนโุ ลมตอ่ ไป
ขอ้ ๒๖ คณะกรรมการสอบสวนมีหน้าท่ีสอบสวนและพิจารณาตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และระยะเวลาที่ก�ำ หนดในกฎ ก.พ. น้ี เพื่อแสวงหาความจริงในเรือ่ งทีก่ ลา่ วหาและดูแล
ใหบ้ ังเกิดความยุตธิ รรมตลอดกระบวนการสอบสวน ในการนี้ ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนรวบรวม
ประวตั แิ ละความประพฤตขิ องผถู้ กู กลา่ วหาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วหาเทา่ ทจ่ี �ำ เปน็ เพอ่ื ประกอบ
การพจิ ารณา และจัดทำ�บนั ทึกประจำ�วนั ทมี่ กี ารสอบสวนไว้ทกุ ครั้งด้วย

๔๖


Click to View FlipBook Version