The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการตรวจสอบที่เขา ที่ภูเขา และที่ลาดชันเฉลี่ยเกิน 35% ขึ้นไป เพื่อการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (ปี 2558)

สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ (KM ปี 2558)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

คำนำ

หนังสือ เรื่อง “แนวทางการตรวจสอบท่ีเขา ที่ภูเขา และท่ีลาดชันเฉล่ียเกิน ๓๕ เปอร์เซ็นต์ข้ึนไป เพ่ือ
การออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน” เล่มนี้ เป็นองค์ความรู้ท่ีได้จากการดาเนินโครงการการประชุมทางวิชาการ
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เร่ือง “แนวทางการตรวจสอบท่ีเขา ท่ีภูเขา และที่ลาดชันเฉลี่ยเกิน ๓๕ เปอร์เซ็นต์ข้ึนไป เพ่ือ
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน” (Knowledge Forum) ซึ่งเป็นการดาเนินการจัดการความรู้ตามแผนจัดการ
ความรูข้ องกรมทด่ี นิ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

ความรู้ท่ีได้นามารวบรวมไว้ในหนังสือเล่มน้ี เป็นความรู้ท่ีชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และ
เป็นความรู้ท่ีฝังลึกในตัวคน (Tacit Knowledge) เพราะเป็นการรวบรวมจากการถ่ายทอดจากประสบการณ์
การทางานจริงของผู้ถ่ายทอด ซ่ึงเป็นข้าราชการกรมที่ดินทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
อันนับเป็นความรู้ที่ทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อองค์กรกรมท่ีดิน ซึ่งข้าราชการกรมที่ดินรุ่นต่อๆ ไปจะได้
ศึกษาและถ่ายโอนความรู้ให้แก่กัน เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ให้กระจายไปท่ัวทั้งองค์กร ซ่ึงจะช่วยให้
คนในองคก์ รสามารถเข้าถงึ ความรู้และพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นผู้รู้รวมท้ังปฏิบัติงานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

กรมท่ีดินหวังเป็นอย่างย่ิงว่า องค์ความรู้ท่ีทรงคุณค่าในหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อข้าราชการ
กรมทีด่ นิ และผูส้ นใจ สามารถนาไปส่กู ารปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้องและขยายผลตอ่ ยอดความรู้ต่อไปได้อีก

สานกั มาตรฐานการออกหนงั สือสาคัญ
กองฝึกอบรม
กรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย
สิงหาคม ๒๕๕๘

ค่มู อื

แนวทำงกำรตรวจสอบท่เี ขำ ที่ภูเขำ และ
ทลี่ ำดชนั เฉลีย่ เกิน ๓๕ เปอร์เซ็นต์ขนึ้ ไป
เพอ่ื กำรออกหนังสือแสดงสิทธใิ นทีด่ นิ

สำนักมำตรฐำนกำรออกหนังสือสำคัญ
กองฝึกอบรม

กรมทีด่ นิ กระทรวงมหำดไทย

สารบญั

เร่อื ง หน้า

ทเี่ ขา ทภี่ ูเขา ปรมิ ณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร และพนื้ ที่ท่มี ีความลาดชัน ๑
โดยเฉล่ีย ๓๕ เปอรเ์ ซ็นต์ ข้ึนไป ๑

- ทม่ี าของท่เี ขา ทภี่ ูเขา ปริมณฑลรอบภเู ขาหรอื เขา ๔๐ เมตร ๑๓
- ความหมายของท่เี ขา ภูเขา ๑๓

- การกาหนดพนื้ ทีล่ าดชัน ๓๕ เปอร์เซน็ ต์ข้นึ ไป ๑๖

- การดาเนินการเพื่อขอตรวจสอบท่ีเขา ภูเขา ๑๗
- ผอู้ านาจหนา้ ทใ่ี นการดูแลรักษา คุ้มครองป้องกันที่เขา ที่ภเู ขา ปรมิ ณฑล
รอบภูเขาหรอื เขา ๔๐ เมตร พืน้ ทท่ี ี่มคี วามลาดชันโดยเฉล่ีย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ขน้ึ ไป ๔๒
- ท่ีเขา ทภี่ เู ขา ปรมิ ณฑลรอบภูเขาหรอื เขา ๔๐ เมตร พ้ืนท่ีทมี่ ีความลาดชัน ๔๒
โดยเฉลย่ี ๓๕ เปอรเ์ ซ็นต์ข้นึ ไป ในเขตนิคมฯ ในเขตป่าไม้
๔๒
แนวทางปฏบิ ตั ิของกรมท่ดี ิน ๔๓
- เรื่อง ท่ีดนิ ในเขตปรมิ ณฑลรอบเขา ๔๐ เมตร ๔๓
- เรอื่ ง การเดนิ สารวจออกหนังสอื รบั รองการทาประโยชน์โดยใชร้ ปู ถา่ ยทางอากาศ ๔๓
๔๔
ปงี บประมาณ ๒๕๑๙ ๔๔
- เรอ่ื ง นโยบายปา่ ไม้แห่งชาติ ๔๕
- เรอื่ ง นโยบายปา่ ไมแ้ ห่งชาติ ขอซ้อมความเขา้ ใจข้อ ๑๗ แหง่ นโยบายป่าไมแ้ ห่งชาติ ๔๗
- เรื่อง นโยบายป่าไมแ้ ห่งชาติ ทบทวนนโยบายปา่ ไม้แห่งชาตขิ ้อ ๑๗
- เรอ่ื ง นโยบายปา่ ไม้แห่งชาติ ๔๘
- เรือ่ ง การออกโฉนดท่ีดิน รายนายชนะ รักทองสขุ และนายสมชาย คุณปลม้ื ๔๙
- เรื่อง การดาเนินการเพิกถอน น.ส.๓ ก. ๔๙
- เร่ือง การออกโฉนดทีด่ นิ ตามหลักฐาน ส.ค.๑ ๕๐
- เร่อื ง หารือการออกหนงั สือแสดงสิทธิในท่ีดนิ กรณีทดี่ ินมีความลาดชัน

และอยู่ในเขตเขา
- เรื่อง การเดนิ สารวจออกโฉนดท่ีดนิ
- เร่ือง การออก น.ส.๓ ก. ตาม ส.ค.๑ ซง่ึ แจ้งจดภูเขา
- เรอ่ื ง การออกโฉนดที่ดนิ ในเขตปฏริ ปู ท่ดี ิน

เรอ่ื ง หน้า

- เร่ือง ขอทราบหลกั เกณฑ์และแนวทางปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั การออกเอกสารสทิ ธิ ๕๑
ในทีด่ นิ ท่ีมีความลาดชนั เฉล่ียเกินกว่า ๓๕ % ๕๓
๕๔
ประเดน็ ปัญหา ๕๖
๑. การนาหลกั ฐาน น.ค.๓ หรือ ก.ส.น.๕ ซ่งึ ออกภายหลังวันท่ี
๕๙
คณะรฐั มนตรีมมี ตเิ มือ่ วันที่ ๓ ธนั วาคม ๒๕๒๘ มาขอออกโฉนดที่ดนิ
๒. การนา น.ส.๓ ก. มาขอออกโฉนดทด่ี ิน โดยข้างเคียงระบุว่าจดเขา ๖๐
๖๒
การกาหนดเขตเขาและปริมณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร มแี นวทางปฏิบตั ิอยา่ งไร ๖๕
๓. ความหมายของทเ่ี ขา กับพน้ื ท่ีทมี่ ีความลาดชันโดยเฉลี่ย ๖๖
๖๖
๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ขึน้ ไป แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และพืน้ ท่ีทม่ี คี วามลาดชันโดยเฉลย่ี ๖๗
๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ขึ้นไป จะตอ้ งมีกนั เขตระยะ ๔๐ เมตรหรือไม่ ๖๙

๔. การออกโฉนดท่ีดนิ ตามหลักฐาน น.ค.๓ หรอื ก.ส.น.๕ ๖๙
หากสภาพที่ดินเป็นท่เี ขาหรือพื้นทที่ ม่ี ีความลาดชันโดยเฉล่ยี ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ขึ้นไป ๗๐
จะสามารถดาเนนิ การออกโฉนดที่ดนิ ไดห้ รอื ไม่ ๗๐

๕. กรณี ส.ค.๑ แจง้ จดท่เี ขา

การนาเสนอปญั หา และแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
๑. การนาเสนอ กลมุ่ ท่ี ๑
- แนวทางในการตรวจสอบที่เขา ทภี่ ูเขา

พ้ืนทที่ ่มี คี วามลาดชันโดยเฉล่ีย ๓๕ เปอร์เซน็ ต์ข้ึนไป
- ปัญหาที่พบในทางปฏิบตั ิ กรณีกรมพฒั นาทด่ี ินแจง้

ผลการตรวจสอบที่ดินไม่ตรงกนั
๒. การนาเสนอ กลมุ่ ที่ ๒
- กรณนี าหลกั ฐาน น.ค.๓ ซึง่ ออกมาภายหลังการกาหนด

นโยบายแหง่ ชาติมาขอออกโฉนดท่ดี ิน โดยมกี ารกนั เขตท่ีดินสว่ นท่ีเป็นพ้นื ที่ที่มีความลาดชัน
โดยเฉลีย่ ๓๕ เปอร์เซน็ ตข์ ึน้ ไปบางส่วนออก การเขยี นข้างเคยี งจะดาเนินการอย่างไร

- การกาหนดเขตปรมิ ณฑลระยะ ๔๐ เมตร จากทีภ่ ูเขาดาเนินการอยา่ งไร
- การออกโฉนดทดี่ ินบนที่ราบบนเขา ซึง่ เปน็ พื้นทท่ี ่ีมีความลาดชนั
โดยเฉลยี่ ๓๕ เปอร์เซ็นต์ขนึ้ ไป ตอ้ งมีการกนั เขตที่ดินปริมณฑลระยะ ๔๐ เมตร หรือไม่

(๒)

เร่ือง หนา้
๗๒
๓. การนาเสนอ กล่มุ ที่ ๓
- การออกโฉนดท่ีดินโดยอาศัยหลักฐาน ก.ส.น.๕ ที่ออกมา ๗๒
๗๕
ภายหลังนโยบายปา่ ไมแ้ ห่งชาติ (๓ ธันวาคม ๒๕๒๘)
๔. การนาเสนอ กลมุ่ ที่ ๔ ๗๕
- การนาหลกั ฐาน น.ค.๓ ซึ่งอยูใ่ นบริเวณพน้ื ที่ ๗๙

ท่ีมีความลาดชนั โดยเฉลยี่ ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ ข้ึนไป มาขอออกโฉนดท่ดี นิ เฉพาะราย ๗๙
๕. การนาเสนอ กลมุ่ ท่ี ๕
- ปญั หาการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินในเขตนคิ มฯ ซงึ่ มี ๘๑
๘๒
พระราชกฤษฎีกาจดั ตง้ั นคิ มฯ ครอบคลมุ พ้ืนท่รี าบ ท่ีสาธารณประโยชน์ ทีเ่ ขา และพ้นื ท่ี ๘๓
ทม่ี ีความลาดชันโดยเฉลี่ย ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ตข์ ้ึนไป โดยใช้หลกั ฐาน น.ค.๓ หรอื ก.ส.น.๕ ๘๓
๘๔
- แนวทางในการตรวจสอบและพจิ าณาท่ีเขา ทีภ่ ูเขา และ ๘๕
ปรมิ ณฑลรอบเขา ๔๐ เมตรในเบอ้ื งตน้ ๘๕
๘๗
คาพพิ ากษาฎกี า ๘๗
- คาพพิ ากษาฎีกา ท่ี ๑๕๓๖/๒๕๑๒ ๘๘
- คาพิพากษาฎีกา ท่ี ๔๑๙๕/๒๕๒๘ ๘๙
- คาพพิ ากษาฎีกา ท่ี ๕๑๔๒/๒๕๓๑ ๙๐
๙๑
ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา
- ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง สทิ ธิในที่ดินบนเขาหินควนทือ ๙๔

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาขอ้ กฎหมายของกรมทดี่ ิน ๙๕
- เร่อื ง การระเบิดหนิ เร่อื งเสรจ็ ที่ ๒๒/๒๕๓๑
- เรอ่ื ง การนาทดี่ นิ ของรฐั ข้ึนทะเบียนเปน็ ของทบวงการเมือง เรือ่ งเสรจ็ ที่ ๑๘/๒๕๔๒
- เรื่อง ขอขน้ึ ทะเบยี นท่ีดนิ เร่ืองเสรจ็ ที่ ๑๕/๒๕๔๕

ภาคผนวก
- ประมวลกฎหมายท่ดี นิ
- กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัตใิ หใ้ ช้

ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
- กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิให้ใช้

ประมวลกฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
(๓)

เรื่อง หนา้

- ระเบียบของคณะกรรมการจดั ท่ดี นิ แหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ๙๖

- หมวด ๔ การขอออกโฉนดที่ดินหรอื หนงั สือรบั รองการทาประโยชนเ์ ฉพาะราย

โดยมิไดแ้ จ้งการครอบครอง ๙๗

- ระเบียบของคณะกรรมการจดั ทด่ี นิ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ๙๘

- หมวด ๒ การออกโฉนดท่ีดินหรอื หนังสอื รบั รองการทาประโยชน์ ตามมาตรา ๕๙ ตรี

แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน ๙๙

- ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๔๙๙ เร่ือง กาหนดเขตหวงห้าม

ทีเ่ ขาหรอื ภเู ขาตามความในมาตรา ๙ (๒) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ๑๐๑

- ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๑๕ เรอื่ ง กาหนดเขตแม่น้า

ลาคลองเปน็ เขตหวงหา้ มตามมาตรา ๙ (๒) แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน ๑๐๒

- ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ เร่ือง กาหนด

บรเิ วณที่หวงห้ามตามมาตรา ๙ (๒) แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี ิน ๑๐๓

- คาสั่งท่ี ๘๙๐/๒๔๙๘ ลงวันที่ ๑๖ สงิ หาคม ๒๔๙๘ เร่อื ง มอบหมายให้

ทบวงการเมืองอนื่ มีอานาจหน้าทดี่ แู ลรกั ษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดนิ อันเปน็

สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดนิ หรือทรพั ยส์ นิ ของแผ่นดนิ ๑๐๔

- คาสั่งกระทรวงมหาดไทยท่ี ๖๓๙/๒๕๔๐ ลงวนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๔๐ เรอื่ ง มอบหมาย

ใหท้ บวงการเมืองอื่นมีอานาจหนา้ ท่ีดแู ลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันทดี่ ินอันเป็น

สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินหรือทรพั ยส์ นิ ของแผ่นดนิ ๑๐๕

- คาสั่งกระทรวงมหาดไทยท่ี ๑๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๓ เรอ่ื ง มอบหมาย

ให้ทบวงการเมืองอ่นื มีอานาจหนา้ ทด่ี แู ลรักษาและดาเนนิ การค้มุ ครองป้องกนั ทดี่ นิ อนั เป็น

สาธารณสมบตั ขิ องแผน่ ดินหรือทรัพย์สินของแผน่ ดิน ๑๐๖

- คาส่งั กระทรวงมหาดไทยท่ี ๕๐๕/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เร่ือง มอบหมาย

ใหท้ บวงการเมืองอนื่ มีอานาจหน้าที่ดแู ลรกั ษาและดาเนนิ การคุ้มครองป้องกนั ที่ดนิ อนั เป็น

สาธารณสมบัติของแผน่ ดินหรือทรัพยส์ นิ ของแผ่นดนิ ท่ีไมม่ ีกฎหมายกาหนดไว้เป็นอยา่ งอื่น ๑๐๗

- คาส่งั ท่ี ๒๕๘/๒๔๙๙ ลงวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๔๙๙ เร่อื ง แตง่ ตัง้ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี

ตามความในมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ๑๐๘

- คาสั่งกระทรวงมหาดไทยท่ี ๓๖๐/๒๕๑๕ ลงวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๑๕ เรือ่ ง แตง่ ตง้ั

พนกั งานเจ้าหนา้ ที่ตามความในมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี ิน ๑๐๙

- คาส่งั กระทรวงมหาดไทย ที่ ๓๕๐/๒๕๓๕ ลงวนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๕ เรอื่ ง แต่งต้ัง

พนกั งานเจ้าหนา้ ทีต่ ามความในมาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ ๑๑๐

(๔)

เรอ่ื ง หน้า

- คาสัง่ กระทรวงมหาดไทยที่ ๑๐๙/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๓๘ เรอื่ ง แต่งต้ัง

พนกั งานเจ้าหน้าทีต่ ามความในมาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน ๑๑๑

- หนงั สอื สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๒๐๓/๑๘๐๔๘ ลงวนั ท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๒๘

เรอื่ ง รา่ งนโยบายป่าไมแ้ หง่ ชาติ ๑๑๒

- หนังสือกรมทด่ี ิน ที่ มท ๐๗๑๒/ว ๗๕๐๘ ลงวนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๙ เรื่อง นโยบาย

ป่าไม้แห่งชาติ ๑๑๖

- หนงั สอื กรมทดี่ ิน ท่ี มท ๐๗๑๓/ว ๑๙๗๗๙ ลงวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๓๑ เรือ่ ง นโยบาย

ป่าไมแ้ ห่งชาติ ๑๑๗

- หนังสือกรมทดี่ นิ ที่ มท ๐๗๑๓/ว ๒๒๒๓๙ ลงวันที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๓๑ เรอื่ ง นโยบาย

ปา่ ไมแ้ หง่ ชาติ ๑๑๘

- บนั ทกึ สานักงาน ป.ป.ป. ลับ ด่วนมาก ท่ี นร ๑๔๐๕/๑๘๗๘ ลงวันที่ ๒๙

พฤศจิกายน ๒๕๓๗ เร่อื ง ข้อเสนอแนะเพ่ือปอ้ งกนั การทจุ ริตและประพฤติมชิ อบเก่ยี วกบั

การปฏิบัตงิ านตามโครงการพัฒนากรมทีด่ ินและเร่งรดั การออกโฉนดที่ดนิ ท่วั ประเทศ ๑๑๙

- หนังสอื สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๘/๕๒๕ ลงวนั ที่ ๑๐

มกราคม ๒๕๓๘ เรอื่ ง ข้อเสนอแนะเพื่อปอ้ งกนั การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบเกี่ยวกับ

การปฏิบตั งิ านตามโครงการพัฒนากรมทีด่ นิ และเรง่ รดั การออกโฉนดที่ดินทัว่ ประเทศ ๑๒๓

- หนังสือสานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ด่วนมาก ท่ี นร ๐๒๐๒/๕๓๐ ลงวนั ที่ ๑๓

มกราคม ๒๕๓๘ เร่ือง ขอ้ เสนอแนะเพ่ือป้องกนั การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบเกี่ยวกับ

การปฏิบตั งิ านตามโครงการพัฒนากรมทด่ี นิ และเรง่ รดั การออกโฉนดที่ดนิ ทัว่ ประเทศ ๑๒๔

- บันทึกกรมท่ีดิน ดว่ นมาก ท่ี มท ๐๖๒๕/๐๓๑๙๓ ลงวันท่ี ๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๘

เรือ่ ง ข้อเสนอแนะเพอ่ื ป้องกันการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ิงาน

ตามโครงการพฒั นากรมทดี่ นิ และเร่งรดั การออกโฉนดทด่ี นิ ท่ัวประเทศ ๑๒๕

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดว่ นมาก ท่ี มท ๐๖๒๕/๖๒๗๑ ลงวันท่ี ๑๙

เมษายน ๒๕๓๘ เร่ือง ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ

เกยี่ วกับการปฏบิ ตั งิ านตามโครงการพัฒนากรมที่ดนิ และเรง่ รัดการออกโฉนดที่ดนิ ทั่วประเทศ ๑๓๐

- หนงั สอื กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด่วนท่สี ุด ที่ กษ ๐๗๑๒.๗/๑๑๙๘๕ ลงวันที่

๒๐ เมษายน ๒๕๓๘ เรื่อง ข้อเสนอแนะเพอื่ ป้องกันการทุจรติ และประพฤติมิชอบเกี่ยวกบั

การปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนากรมที่ดนิ และเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทวั่ ประเทศ ๑๓๑

(๕)

เรื่อง หนา้

- หนังสอื สานักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๒๐๒/๔๙๓๔ ลงวนั ท่ี ๑๕

พฤษภาคม ๒๕๓๘ เร่ือง ข้อเสนอแนะเพื่อปอ้ งกนั การทุจริตและประพฤติมชิ อบเกี่ยวกบั

การปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนากรมทดี่ ินและเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทวั่ ประเทศ ๑๓๒

- หนงั สอื กรมทีด่ นิ ท่ี มท ๐๗๒๙.๔/ ว ๓๓๙๔๔ ลงวันที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๔๔

เร่ือง การระวงั ช้แี นวเขตและรับรองแนวเขตที่เขาหรือภูเขา ๑๓๔

- หนังสือกรมทด่ี ิน ท่ี ๗๕๐๙/๒๔๙๙ ลงวนั ท่ี ๒๗ กันยายน ๒๔๙๙ เรอื่ ง ที่ดนิ ในเขต

ปริมณฑลรอบเขา ๔๐ เมตร ตอบข้อหารอื จังหวัดจันทบรุ ี เวียนโดยหนงั สอื กรมที่ดิน ที่ ๗๖๑๙/๒๔๙๙

ลงวนั ที่ ๒ ตุลาคม ๒๔๙๙ ๑๓๕

- หนังสอื กรมที่ดิน ที่ มท ๐๗๒๙.๔/๓๐๖๕๔ ลงวนั ท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ เรอื่ ง

การระวังช้ีแนวเขตและรับรองแนวเขตทเ่ี ขาหรอื ภูเขา ตอบขอ้ หารือจงั หวดั ระยอง เวียนโดยหนงั สือ

กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๗๒๙.๔/ว ๓๓๙๔๔ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ ๑๓๗

- หนังสือกรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๕๑๖.๒(๔)/๓๒๓๖ ลงวนั ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เร่อื ง

การแก้ไขรูปแผนทแี่ ละเนื้อท่ีในหนังสือรบั รองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) ตอบข้อหารอื

จงั หวัดนครศรธี รรมราช ๑๓๙

- หนงั สอื กรมทด่ี นิ ท่ี มท ๐๕๑๖.๕/๕๙๙๒ ลงวันท่ี ๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕ เร่อื ง

ขอหารือเกี่ยวกับการออกเอกสารสทิ ธิในทดี่ ินในเขตปฏิรปู ทด่ี ิน ตอบข้อหารือสานกั งาน

การปฏิรูปทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม ๑๔๔

- หนังสือกรมทดี่ นิ ที่ มท ๐๕๑๖.๕/๑๔๒๙๖ ลงวันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ เรื่อง

ขอทราบหลักเกณฑ์และแนวทางปฏบิ ัติเกย่ี วกับการออกเอกสารสทิ ธใิ นทด่ี นิ ท่ีมคี วามลาดชนั

เฉล่ียเกินกวา่ ๓๕ % ตอบข้อหารอื กรมป่าไม้ ๑๔๗

บรรณานกุ รม ๑๔๙

คณะผจู้ ัดทา ๑๕๐

(๖)



ทเ่ี ขา ทีภ่ เู ขา ปริมณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร และ
พ้ืนทท่ี ่มี คี วามลาดชันโดยเฉล่ยี ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ ขึน้ ไป

ทมี่ าของที่เขา ทภ่ี ูเขา ปรมิ ณฑลรอบภเู ขาหรือเขา ๔๐ เมตร

คณะกรรมการกฤษฎีกาได้วินิจฉัย เร่ือง สิทธิในท่ีดินบนเขาหินควนทือว่า ที่เขาหรือภูเขา
น้นั โดยสภาพหาใชเ่ ปน็ สาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ ตามความเป็น
จริงเขาและภูเขาอาจมีลักษณะเป็นเขาหินก็ได้ เป็นที่ดินสาหรับเพาะปลูกก็ได้ และเป็นที่ป่าไม้ก็มี และก็ไม่
จาเป็นจะเป็นต้นน้าลาธารเสมอไป ต้องพิจารณาตามข้อเท็จจริงเป็นแห่งๆ ไป ฉะน้ัน จึงเป็นท่ีท่ีอยู่ใน
ประเภทที่รกร้างว่างเปล่าซึ่งบุคคลอาจได้สิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๓๔ หาก
ทด่ี นิ แห่งใดรฐั ไดจ้ ดั สงวนไว้หรอื เข้าดาเนนิ การจดั ทาขน้ึ โดยเฉพาะสาหรบั ประชาชนใช้ร่วมกันเพื่อประโยชน์
อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงจะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินขึ้นตามมาตรา ๑๓๐๔ ... หนังสือกระทรวงเกษตราธิการ
ท่ี ๒๐๗๔/๒๔๘๔ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๔๘๔ หรือสารตราเสนาบดีกระทรวงเกษตร ประกอบกับ
ข้อบังคับสาหรับจับจองที่ดินเพาะปลูกสวนใหญ่ ฯลฯ ร.ศ. ๑๒๙ ก็ดี ไม่ได้ห้ามจับจองท่ีดินเขาแต่อย่างใด
เป็นแต่วางหลักให้พิจารณาว่า ท่ีอย่างใดควรดาเนินการสงวนไว้ อย่างใดควรอนุญาตหรือไม่ควรอนุญาต
เท่านั้น หาได้ถือว่า ท่ีเขาเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินโดยสภาพไม่ ดังน้ัน แต่เดิมเมื่อไม่มีการหวงห้าม
ที่เขา ทภี่ เู ขา จึงเปน็ ท่ดี นิ ซงึ่ สามารถจับจองและครอบครองทาประโยชนใ์ นทด่ี นิ ได้

ตอ่ มาไดม้ ีพระราชบญั ญตั ิใหใ้ ช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ มาตรา ๕๑ กาหนดให้
ผู้ที่ได้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินอยู่ก่อนวันที่ประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือ
สาคัญแสดงกรรมสิทธิ์ท่ีดิน แจ้งการครอบครองท่ีดินต่อนายอาเภอท้องที่ภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา หากไม่ไปแจ้งการครอบครองท่ีดินภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ให้ถือว่าบุคคลน้ันเจตนาสละสิทธิ
ครอบครองที่ดิน ดังนั้น บุคคลท่ีได้ครอบครองและทาประโยชน์ในที่เขา ท่ีภูเขา ซ่ึงยังไม่มีหนังสือแสดง
กรรมสิทธ์ิในท่ีดินในขณะนั้น จึงต้องไปแจ้งการครอบครองท่ีดินต่อทางราชการ หลักฐานการแจ้งการ

๑ พระราชบญั ญัติให้ใชป้ ระมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ มาตรา ๕
“ใหผ้ ้ทู ่ีไดค้ รอบครองและทาประโยชนใ์ นท่ีดินอยู่ก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสาคัญแสดง
กรรมสิทธ์ิทด่ี ิน แจ้งการครอบครองท่ีดินต่อนายอาเภอท้องท่ีภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการท่ีรฐั มนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
ถ้าผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินซึ่งมีหน้าที่แจ้งการครอบครองท่ีดิน ไม่แจ้งภายในระยะเวลาตามที่ระบุไว้ใน
วรรคแรก ใหถ้ ือว่าบคุ คลนนั้ เจตนาสละสิทธิครอบครองที่ดิน รัฐมีอานาจจัดท่ีดนิ ดังกล่าวตามบทแห่งประมวลกฎหมายทีด่ นิ เว้นแต่ผู้ว่าราชการ
จังหวดั จะได้มคี าส่ังผอ่ นผนั ให้เปน็ การเฉพาะราย
การแจง้ การครอบครองตามความในมาตราน้ี ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดสทิ ธิขึน้ ใหม่แกผ่ ู้แจ้งแต่ประการใด”
(มาตรา ๕ วรรคสอง ยกเลกิ โดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับท่ี ๙๖ ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช ๒๕๑๕)



ครอบครองท่ีดิน (ส.ค.๑) จึงเป็นหลักฐานสาคัญที่ใช้ประกอบการพิจารณาว่า ได้มีการครอบครองและ
ทาประโยชน์ในท่ีเขา ที่ภูเขา มาก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ (ขณะนั้นประเทศไทยมีประชากร
ประมาณ ๑๘ ล้านคน มผี ้แู จง้ ส.ค. ๑ ประมาณ ๙ ล้านแปลง)

ท่ีเขา ที่ภูเขา มีการกาหนดหวงห้ามไว้ครั้งแรกตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๘

“ข้อ ๘ ที่ดินที่จะพึงออกโฉนดท่ีดินต้องเป็นที่ดินท่ีผู้มีสิทธิในที่ดินได้ครอบครองและทำ
ประโยชนแ์ ล้ว และเป็นที่ดินท่จี ะพึงออกโฉนดที่ดินได้ตำมกฎหมำย แต่ห้ำมมิให้ออกโฉนดท่ีดินสำหรับที่ดิน
ดงั ต่อไปนี้

ฯลฯ
(๒) ท่ีเขำ ท่ีภูเขำ หรือที่สงวนหวงห้ำม หรือที่ดินซึ่งทำงรำชกำรเห็นว่ำควรสงวนไว้เพ่ือ
ทรพั ยำกรธรรมชำติ”
ข้อสังเกตตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗)ฯ ข้อ ๘ (๒) จะเห็นว่า ไม่มีการ
กลา่ วถงึ ปริมณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร และไม่มีการประกาศกาหนดพน้ื ท่ใี หช้ ัดเจนแต่อย่างใด

ประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา ๙ บัญญัติว่า “ภำยใต้บังคับกฎหมำยว่ำด้วยกำรเหมืองแร่
และกำรป่ำไม้ ท่ดี ินของรฐั น้นั ถำ้ มไิ ด้มสี ิทธิครอบครอง หรือมิได้รับอนุญำตจำกพนักงำนเจ้ำหน้ำท่ีแล้ว ห้ำม
มใิ ห้บุคคลใด

(๑) เข้ำไปยึดถอื ครอบครอง รวมตลอดถึงกำรก่นสรำ้ งหรือเผำป่ำ
(๒) ทำด้วยประกำรใด ให้เป็นกำรทำลำย หรือทำให้เสื่อมสภำพที่ดิน ที่หิน ที่กรวด หรือ
ทที่ รำย ในบริเวณท่ีรัฐมนตรปี ระกำศหวงห้ำมในรำชกจิ จำนุเบกษำหรือ
(๓) ทำสิ่งหน่งึ สิ่งใดอนั เปน็ อันตรำยแก่ทรพั ยำกรในทีด่ ิน”

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดเขตหวงห้ามท่ีเขาหรือ
ภูเขา ตามความในมาตรา ๙ (๒) แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ฉบับลงวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๔๙๙ สมัย
จอมพล ป.พิบลู สงคราม ออกมาใช้บังคับเป็นการท่ัวไป ประกาศฉบับนี้มีการหวงห้ามเขตเขาปริมณฑล ๔๐
เมตร เพอื่ เปน็ การอนุรักษ์ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้

“อำศัยอำนำจตำมประมวลกฎหมำยท่ีดินมำตรำ ๙ (๒) แห่งประมวลกฎหมำยท่ีดิน
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยกำหนดบริเวณท่ีเขำหรือที่ภูเขำ และปริมณฑลรอบภูเขำหรือเขำ
๔๐ เมตรทุกแห่ง ทุกจังหวัด เป็นเขตหวงห้ำมมิให้บุคคลทำด้วยประกำรใดให้เป็นกำรทำลำยหรือทำให้
เสอ่ื มสภำพท่ีดนิ ที่หนิ ที่กรวด หรอื ทท่ี รำย เว้นแตไ่ ดร้ บั อนุญำตจำกพนกั งำนเจำ้ หนำ้ ที่”

กรมทดี่ นิ ได้มีหนงั สือตอบขอ้ หารอื จังหวดั จนั ทบรุ ี ท่ี ๗๕๐๙/๒๔๙๙ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน
๒๔๙๙ กรณีมขี อ้ สอบถามวา่ ผยู้ ่นื ขอผ่อนผนั การแจ้ง ส.ค. ๑ และผู้ที่ได้แจ้ง ส.ค. ๑ ไว้แล้วในเขตปริมณฑล



รอบเขา ๔๐ เมตร มาขอผ่อนผันหรือขอรับรองการทาประโยชน์ในท่ีดินดังกล่าวซ่ึงได้สอบสวนแล้วมีการ
ครอบครองและทาประโยชน์มาก่อนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับน้ัน จะดาเนินการให้ได้หรือไม่
ซึ่งกรมท่ีดินได้แจ้งผลการพิจารณาว่า ประกาศรัฐมนตรีเรื่องกาหนดเขตหวงห้ามท่ีเขาหรือภูเขาตามความ
ในมาตรา ๙(๒) ดังกล่าวน้ัน มีผลใช้บังคับเฉพาะที่ดินของรัฐซึ่งบุคคลใดมิได้มีสิทธิครอบครองโดยชอบ
ด้วยกฎหมายอยู่ก่อนวันท่ีประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับแล้ว ท่ีดินนั้นก็ไม่อยู่ในประกาศหวงห้ามข้างต้น
สามารถอนมุ ัติผ่อนผันใหร้ ับแจง้ ส.ค. ๑ และรบั รองการทาประโยชน์ใหไ้ ด้

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้มีการแก้ไขประกาศกระทรวงมหาดไทย และออกประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดบริเวณที่หวงห้ามตามมาตรา ๙ (๒) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ฉบับ
ลงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ โดยสาระสาคัญยังคงเดิม แต่มีการหวงห้ามบริเวณแม่น้าและลาคลอง
เพ่ิมไวใ้ นประกาศด้วย ดงั น้ี

“ข้อ ๒ ให้บริเวณดังต่อไปน้ี ทุกแห่ง ทุกจังหวัด เป็นบริเวณที่หวงห้ำม ห้ำมมิให้บุคคลใด
ทำดว้ ยประกำรใด ให้เป็นกำรทำลำยหรือทำให้เสื่อมสภำพท่ีดิน ท่ีหิน ท่ีกรวด หรือท่ีทรำย เว้นแต่จะได้รับ
อนุญำตจำกพนักงำนเจำ้ หน้ำท่ี

(๑) บริเวณที่เขำหรอื ภูเขำ และปริมณฑลรอบท่เี ขำหรอื ภเู ขำ ๔๐ เมตร
(๒) บรเิ วณแม่น้ำและลำคลอง
(๓) ที่ดินของรัฐ นอกจำก (๑) และ (๒) ซ่ึงมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครองเฉพำะบริเวณ
ที่เปน็ ท่ีหิน ท่กี รวด หรอื ทีท่ รำย”

ระเบียบว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน ซึ่งประกาศเมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๔๙๘ โดย
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐(๖) มาตรา ๒๗ และมาตรา ๓๓ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติได้กาหนดลักษณะของท่ีดินที่จะจัดให้ประชาชนไว้ใน “หมวด ๒ ข้อ ๓.(๑)
ท่ีดนิ ซึ่งมไิ ดม้ บี คุ คลใดมีสทิ ธคิ รอบครอง และมิใชท่ ีส่ ำธำรณสมบัตขิ องแผ่นดินอันรำษฎรใช้ประโยชน์ร่วมกัน
หรือมิใชท่ ่ีสงวนหวงหำ้ ม หรือมใิ ชท่ ่ีเขำ ท่ภี ูเขำ” จะเห็นได้วา่ การจดั ท่ีดินให้แก่ประชาชนนั้นได้กาหนดไม่ให้
ดาเนินการในท่เี ขา ท่ภี เู ขาไว้ แต่ไม่รวมท่ปี รมิ ณฑล ๔๐ เมตร ไวแ้ ต่อยา่ งใด

นอกเหนือจากการกาหนดที่เขา ภูเขา ไว้ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๒๘ เห็นชอบด้วยกับนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามที่
คณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ซ่ึงมีส่วนท่ีเกี่ยวพันกับที่เขา ภูเขา ที่มีการหวงห้ามตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทยไว้ในเรื่องการกาหนดพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันโดยเฉล่ีย ๓๕% ข้ึนไป ไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้โดย
ไม่อนุญาตให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ตามประมวลกฎหมายท่ี ดินในพ้ืนที่
ดังกล่าว ท้ังนี้ เน่ืองจากเห็นว่าพ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันโดยเฉลี่ย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ข้ึนไป เป็นพ้ืนที่ที่มีการชะล้าง
หนา้ ดินสูงไมเ่ หมาะสมแก่การเกษตร สมควรเป็นพน้ื ที่ป่าไม้และไม่อนุญาตให้มีการออกหนังสือแสดงสิทธิใน



ท่ีดิน โดยท่ีผ่านมาพ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันโดยเฉล่ีย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป ไม่มีการหวงห้ามตามมติ
คณะรัฐมนตรี และการหวงห้ามตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๓ ธันวาคม ๒๕๒๘ ในขณะน้ันไม่มี
กฎกระทรวงรองรับ แต่มีข้อยกเว้นกรณีเป็นผู้มีสิทธิในที่ดินโดยชอบตามประมวลกฎหมายที่ดิน คือ มีการ
แจ้ง ส.ค.๑ (วันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗ – ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๙๘) หรือมีสิทธิในท่ีดินโดยชอบก่อนมติ
คณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๓ ธันวาคม ๒๕๒๘ เช่น มีใบจอง น.ค.๓ ก.ส.น.๕ ต่อมาคณะกรรมการนโยบาย
ป่าไมแ้ ห่งชาตไิ ดม้ ีการทบทวนนโยบายดังกลา่ วและมมี ตริ วมเพม่ิ เตมิ ๓ ประการ ประกอบด้วย

“ข้อ ๑. ไม่อนุญำตให้มีกำรออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองกำรทำประโยชน์ตำม
ประมวลกฎหมำยที่ดินในพ้ืนที่ท่ีมีควำมลำดชันโดยเฉลี่ย ๓๕ % ข้ึนไป ตำมท่ีกำหนดไว้ในนโยบำยป่ำไม้
แห่งชำติซ่ึงกำหนดไว้เป็นพ้ืนที่ป่ำไม้ หำกมีควำมจำเป็นจะดำเนินกำรใดในพื้นท่ีดังกล่ำวควรให้เช่ำหรือขอ
สัมปทำนโดยขออนุมตั ิคณะรัฐมนตรีเปน็ รำยๆ เวน้ แตก่ รณีท่รี ำษฎรมสี ิทธโิ ดยชอบด้วยกฎหมำยอยกู่ ่อนแล้ว

ข้อ ๒. กรณีที่รำษฎรรำยใดมีสิทธิครอบครองท่ีดินมำก่อนประกำศใช้ประมวลกฎหมำย
ที่ดิน ถือว่ำผู้นั้นมีสิทธิครอบครองตำมกฎหมำย แม้ว่ำที่ดินน้ันจะมีควำมลำดชันเฉล่ียเกินกว่ำ ๓๕ %
อนุญำตให้ออกเอกสำรสิทธิได้ แต่กำรอนุญำตควรมีเง่ือนไขเพ่ือป้องกันผลกระทบทำงสิ่งแวดล้อมไว้ด้วย
เช่น ห้ำมทำกำรเกษตรอยำ่ งถำวร เป็นตน้

ข้อ ๓. ขอให้กรมพัฒนำท่ีดินจัดส่งแผนท่ีแสดงพื้นที่ท่ีมีควำมลำดชันเกิน ๓๕% ให้แก่
หนว่ ยรำชกำรทีเ่ กย่ี วข้อง” ๒

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้มีกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗)ฯ
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ข้อ ๑๔ กาหนดท่ีดินที่ต้องห้ามมิให้ออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดินไว้ ๕ ประเภท ซึ่งรวมถึงที่เขา ท่ีภูเขา และพ้ืนที่ที่รัฐมนตรีประกาศหวงห้ามตามมาตรา ๙ (๒) แห่ง
ประมวลกฎหมายที่ดิน แต่ไม่รวมถึงท่ีดินซึ่งผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายตาม
ประมวลกฎหมายท่ีดิน

“ข้อ ๑๔ ท่ีดินท่ีจะออกโฉนดที่ดินต้องเป็นท่ีดินท่ีผู้มีสิทธิในที่ดินได้ครอบครองและทำ
ประโยชน์แล้ว และเป็นท่ีดินที่สำมำรถออกโฉนดที่ดินได้ตำมกฎหมำยแต่ห้ำมมิให้ออกโฉนดที่ดินสำหรับ
ทีด่ นิ ดังต่อไปน้ี

ฯลฯ
(๒) ท่ีเขำ ท่ีภูเขำ และพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกำศหวงห้ำมตำมมำตรำ ๙ (๒) แห่งประมวล
กฎหมำยที่ดิน แต่ไม่รวมถึงท่ีดินซึ่งผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมำยตำมประมวล
กฎหมำยท่ดี ิน

๒ หนงั สือกรมทด่ี นิ ที่ มท ๐๗๑๓/ว ๑๙๗๗๙ ลงวนั ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๑



(๕) ท่ีดินท่ีคณะรัฐมนตรีสงวนไว้เพ่ือรักษำทรัพยำกรธรรมชำติหรือเพ่ือประโยชน์
สำธำรณะอยำ่ งอืน่

ฯลฯ

ดังน้ัน ปัจจุบันที่เขา ท่ีภูเขา ปริมณฑลรอบที่เขาหรือภูเขา ๔๐ เมตร จึงเป็นท่ีดินท่ี
ต้องห้ามมิให้ออกโฉนดทีด่ ินตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้
ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๑๔ (๒) ประกอบกับประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนด
บรเิ วณที่หวงห้ามตามมาตรา ๙ (๒) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ฉบับลงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๓ ข้อ ๒ (๑)
และการกาหนดพ้ืนท่ีความลาดชันโดยเฉลี่ย ๓๕% ข้ึนไป เป็นพื้นท่ีป่าไม้ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๓
ธันวาคม ๒๕๒๘ จงึ เป็นพ้ืนทท่ี ่ตี ้องห้ามมใิ ห้ออกโฉนดที่ดินตามข้อ ๑๔ (๕) ของกฎกระทรวงฉบับนี้ด้วยเชน่ กัน

ด้วยเหตุผลดงั กล่าวข้างต้นเมื่อปรากฏว่าที่เขา ภูเขา เป็นพ้ืนที่ที่ต้องห้ามมิให้ออกโฉนดท่ีดิน
หรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ หากผู้ครอบครองที่ดินไม่มีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ในปี
พ.ศ. ๒๕๓๖ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๖ เห็นชอบในหลักการ ข้อเสนอแนะเพ่ือ
ป้องกันการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบเกีย่ วกับการปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนาการออกโฉนดท่ีดินทั่วประเทศ
ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ป. (คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในปัจจุบัน) เสนอโดยมีข้อสังเกตว่า การดาเนินการออก
เอกสารสิทธิยังมีข้อขัดข้องในทางปฏิบัติ ส่วนราชการท่ีมีหน้าท่ีในการออกเอกสารสิทธิได้มอบหมายให้ลูกจ้าง
ปฏิบตั ิงานในการออกเอกสารสทิ ธิ ซึ่งเป็นช่องทางให้มีการทุจริตโดยง่าย รวมท้ังมีปัญหาข้อโต้แย้งเก่ียวกับการ
ออกเอกสารสิทธิในพ้ืนท่ีที่มีความลาดชันว่า พ้ืนท่ีลักษณะใดเป็นภูเขา รวมทั้งความหมายของคาว่า “ภูเขา”
จึงมอบให้คณะกรรมการ ป.ป.ป. รับข้อสังเกตดังกล่าวไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงมหาดไทยและกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ แล้วเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ ๙ พฤษภาคม
๒๕๓๘ เห็นชอบกับความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ป. ที่ได้พิจารณาร่วมกับ
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้ง
เก่ียวกับลักษณะของพ้ืนท่ีภูเขา และความหมายของคาว่าภูเขา โดยให้กาหนดคานิยามของคาว่า ที่เขา
ที่ภูเขา ดงั น้ี

ท่ีเขา หมายถึง ส่วนของพ้ืนท่ีท่ีสูงจากบริเวณรอบ ๆ (Surrounding) น้อยกว่า ๖๐๐
เมตร

ที่ภูเขา หมายถึงส่วนของพื้นที่ท่ีสูงจากบริเวณรอบๆ (Surrounding) ต้ังแต่ ๖๐๐ เมตร
ขน้ึ ไป

การกาหนดว่าทีใ่ ดเป็นทเ่ี ขา ทภ่ี ูเขา จะต้องนาหลักเกณฑ์อย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง
ดังตอ่ ไปน้ีมาประกอบการพิจารณาคือ



๑. ลกั ษณะและชื่อท่ีปรากฏในแผนท่ีแสดงภูมิประเทศของกรมแผนท่ีทหาร มาตราส่วน
๑ : ๕๐,๐๐๐ หมายถึง การพิจารณาลักษณะและชื่อท่ีปรากฏในแผนที่ของกรมแผนที่ทหาร ซึ่งได้มีการ
สารวจในพนื้ ท่จี ริงแล้วแสดงสภาพพ้นื ท่โี ดยเสน้ ชั้นความสูง รวมทง้ั ชอื่ ของภมู ปิ ระเทศทีส่ าคญั

๒. การเรียกของประชาชนในท้องถิ่น หมายถึง การนาเอาการเรียกของประชาชนใน
ทอ้ งถ่ินวา่ เป็นเขาหรือภูเขามาประกอบการพิจารณา

๓. การตรวจสอบสภาพพน้ื ที่ หมายถึง การตรวจสอบสภาพพื้นที่จริง ประกอบการพิจารณา
กับหลกั ฐานแผนท่รี ูปถ่าย เพ่อื ใหเ้ ห็นถงึ โครงสรา้ งของที่ดนิ

๔. โครงสร้างทางธรณีวิทยา หมายถึง บริเวณท่ีดินทั้งบริเวณท่ีอยู่ในโครงสร้างของภูเขา
เช่น เปลือกโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงโดยการยกตัวจากที่ราบหรือพ้ืนท่ีปกติในลักษณะโก่ง โค้ง งอ หรือ หัก
เป็นรูปประทุนคว่า ประทุนหงาย สันอีโต้ รูปโดม ลักษณะเช่นน้ีเข้าลักษณะโครงสร้างของภูเขา เหตุผลท่ี
ยึดถือโครงสร้างด้วยเพราะถ้าเป็นบริเวณแคบการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์หรือโฉนดท่ีดิน
อาจตคี วามว่าเป็นทรี่ าบ แต่เมอื่ ดโู ครงสรา้ งทั้งหมดแล้วบริเวณดงั กลา่ วเป็นภเู ขา

๕. ผลการแปลตีความรูปถ่ายทางอากาศหรือภาพจากดาวเทียม หมายถึง การตรวจสอบ
สภาพทดี่ นิ ทท่ี าใหเ้ ห็นว่าเป็นทเ่ี ขา หรือภูเขาจากรูปถา่ ยทางอากาศหรอื ภาพจากดาวเทียมตามหลักวิชาการ
แล้วแต่กรณี

ข้อเสนอแนะ
๑. ให้กรมพัฒนาที่ดินนาเอาคานิยาม ความหมาย และหลักเกณฑ์ดังกล่าวไปกาหนด
ที่เขา ทภี่ เู ขา ลงในแผนท่ภี ูมิประเทศของกรมแผนท่ที หารมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ เพิ่มเติมในรายละเอียด
การจาแนกที่ดิน (รายงานความเหมาะสมของพ้ืนดินกับพืชเศรษฐกิจเบื้องต้น) เพ่ิมเติมเป็นกลุ่มดินที่ ๖๓
เพื่อแจกจ่ายให้กับหน่วยงานต่างๆ เพื่อใช้เป็นแผนที่พื้นฐาน โดยให้กรมที่ดินร่วมพิจารณากาหนดความ
เรง่ ดว่ นของพนื้ ท่ีดาเนินการ สว่ นการตรวจสภาพพ้ืนที่จริง เห็นควรมีคณะกรรมการข้ึนพิจารณาตรวจสอบ
ประกอบขอบเขตที่ปรากฏในแผนที่ซึ่งกรมพัฒนาที่ดินกาหนดไว้ โดยมีผู้แ ทนกรมพัฒนาท่ีดิน
สานักงานปฏิรูปที่ดินเพือ่ เกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กรมปา่ ไม้ กรมท่ดี นิ และนายอาเภอทอ้ งที่ เปน็ กรรมการ
๒. ในการดาเนินการของส่วนราชการต่างๆ หากมีปัญหาว่า ที่ใดเป็นที่เขาหรือที่ภูเขา
ให้นาเอาคานยิ าม ความหมาย และหลกั เกณฑด์ งั กล่าวไปกาหนดท่เี ขา ที่ภูเขาดว้ ย
กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาและเห็นชอบด้วย โดย
กระทรวงมหาดไทยมีความเหน็ เพม่ิ เติมวา่ ท่ีเขา หรอื ท่ภี เู ขาน้นั มีความสงู และความลาดชันเกี่ยวพันกันอย่าง
แยกไม่ออก ฉะน้ัน ในการตรวจสอบพ้ืนที่จริง ทางคณะกรรมการตามข้อเสนอของคณะกรรมการ ป.ป.ป.
ควรจะได้พิจารณาค่าความลาดชันและความสูงของพ้ืนท่ีจริงประกอบด้วย นอกจากนี้เพื่อเปรียบเทียบให้
เห็นถึงความแตกต่างระหว่างท่ีราบ ที่ราบสูง (ท่ีราบต่างระดับ) และที่เขา ท่ีภูเขา ควรให้คณะทางานเพื่อ
พิจารณาหาข้อยุติตามข้อเสนอของคณะรัฐมนตรีให้ความหมายของคาจากัดความว่า ที่เขาและท่ีราบสูง
(ท่ีราบต่างระดบั ) ไว้ด้วยเพื่อความชัดเจน ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบพ้ืนที่ และในกรณี



ที่คณะกรรมการตรวจสอบพื้นท่ี หรือสว่ นราชการท่ีเก่ียวข้องมีความเห็นขัดแย้งกันจนไม่อาจพิจารณาหาข้อ
ยตุ ไิ ด้ ควรใหน้ าเสนอคณะกรรมการในส่วนกลางท่ีจะตอ้ งต้ังขน้ึ อีกชดุ หนงึ่ เป็นผู้มีอานาจชข้ี าด

ความหมายของที่เขา ท่ีภูเขา

พจนานุกรมไทย ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายของคาว่า ภูเขา
ว่า

“ ภูเขา น. พนื้ ท่ีที่มรี ะดบั สูงขึ้นจากบรเิ วณรอบๆ ตง้ั แต่ ๖๐๐ เมตรขึ้นไป”
หากพิจารณาจากภาษาท้องถิ่น คาว่า เขา ในภาษาถ่ินทางภาคใต้ เรียกว่า “ควน” ซ่ึง
พจนานุกรมไดใ้ หค้ วามหมายวา่
“ ควน (ถน่ิ -ปักษ์ใต้) น. เนนิ ,เขาดนิ ”

วิกพิ ีเดยี สารานกุ รมเสรี ไดใ้ หค้ วามหมายของภูเขา ว่า
ภูเขา (mountain) เป็นลักษณะของพ้นื โลกที่มคี วามสูงกว่าพ้ืนท่ีบริเวณโดยรอบ
ภูเขา หรือเทือกเขา หมายถึง ลักษณะภูมิประเทศ ท่ีมีความสูงต้ังแต่ ๖๐๐ เมตร ข้ึนไป
จากพื้นที่บริเวณรอบ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเนินเขา แต่ว่าเนินเขานั้น จะมีพ้ืนที่สูงจากบริเวณรอบๆ
ประมาณ ๑๕๐ เมตร แต่ไม่เกิน ๖๐๐ เมตร
โดยภเู ขาสามารถแบง่ เป็นประเภทต่างๆ ดังน้ี
ภูเขาโก่งตวั เกิดจากการบีบอัดตัวของหนิ หนดื ในแนวขนาน
ภูเขาเลื่อนตัวหรือหักตัว เกิดจากการเล่ือนของหินทาให้มีการยกตัวและการทรุดตัวเกิด
เปน็ ภเู ขา
ภเู ขาโดม เกดิ จากการท่ีหนิ หนืดดนั ตวั แต่ว่ายังไม่ทนั พ้นพนื้ ผิวของโลก กเ็ ยน็ ตัวก่อน
ภเู ขาไฟ เกิดจากการทีห่ นิ ละลาย กอ่ ตวั และทับถมกนั

การพิจารณาความสูงของภูเขา วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ได้พิจารณาความสูงของภูเขาว่า
ความสูงของภเู ขาโดยท่ัวไปจะวัดโดยความสูงที่ระดับเหนือน้าทะเล เช่น เทือกเขาหิมาลัย โดยเฉล่ียมีความ
สูงอยู่ที่ระดับ ๕ กิโลเมตร เหนือระดับน้าทะเล ยอดเขาเอเวอเรสต์บนเทือกเขาหิมาลัย และเป็นยอดเขาท่ี
สงู ทีส่ ดุ ในโลก สูงจากระดบั น้าทะเลราวๆ ๘.๘ กโิ ลเมตร (๘,๘๔๔ เมตร) สาหรับในประเทศไทย ดอยอินทนนท์
ซ่งึ เปน็ ยอดเขาที่สูงทส่ี ุดของไทย จะมคี วามสงู จากระดบั น้าทะเลที่ ๒,๕๖๕ เมตร

ธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology)๓ แบ่งการพิจารณาตามสัณฐานที่สูงจากระดับ

ปกติ ดงั น้ี

๓ มนตรี ชูวงศ,์ ๒๕๔๗ ธรณีสณั ฐานวิทยา ภาควิชาธรณวี ิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั



ก. เทอื กเขา (Mountain)
๑. เทือกเขาสูงมาก

๑.๑ ความสูงสมั พทั ธ์ มากกว่าหรือเท่ากบั ๘๐๐ เมตร
๑.๒ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๕๐๐-๘๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า
หรือเทา่ กับ ๒,๐๐๐ เมตร
๒. เทอื กเขาสูงปานกลาง
๒.๑ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๕๐๐-๘๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลน้อยกว่า
๒,๐๐๐ เมตร
๒.๒ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๓๐๐-๕๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า
หรอื เท่ากบั ๒,๐๐๐ เมตร
๓. เทือกเขาต่า
๓.๑ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๓๐๐-๕๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลน้อยกว่า
๒,๐๐๐ เมตร
๓.๒ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๒๐๐-๓๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า
หรือเท่ากับ ๒,๐๐๐ เมตร
๓.๓ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๒๐๐-๓๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลน้อยกว่า
๒,๐๐๐ เมตร
ข. ภเู ขา (Hill)
๑. ภเู ขาสูง
๑.๑ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า
หรือเท่ากับ ๒,๐๐๐ เมตร
๑.๒ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเล ระหว่าง
๒๐๐- ๕๐๐ เมตร
๑.๓ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเล น้อยกว่า
๒๐๐ เมตร
๒. ภเู ขาต่า ความสูงสัมพทั ธร์ ะหว่าง ๕๐-๑๐๐ เมตร
ค. เนนิ เขา (Hillock)
๑. เนนิ เขาสูง ความสูงสมั พทั ธ์ระหวา่ ง ๒๕-๕๐ เมตร
๒. เนนิ เขาต่า ความสงู สมั พัทธ์ระหว่าง ๕-๒๕ เมตร
ง. ทรี่ าบสงู (Plateau)
๑. ทร่ี าบสงู มาก
๑.๑ ความสงู สมั พัทธ์ มากกวา่ หรือเท่ากับ ๒๐๐ เมตร



๑.๒ ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๓๐-๒๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า
หรือเทา่ กบั ๕๐๐ เมตร

๒. ท่ีราบสูงไม่มาก ความสูงสัมพัทธ์ระหว่าง ๓๐-๒๐๐ เมตร ความสูงจากระดับน้าทะเล
นอ้ ยกว่า ๕๐๐ เมตร

๓. ท่รี าบสงู เสมอื น ความสงู สมั พัทธ์นอ้ ยกวา่ ๓๐ เมตร

ความลาดเอยี งและค่าความลาดชัน๔
ความลาดเอียงของพื้นที่ หมายถึง ลักษณะของพื้นท่ีที่มีระดับผิวหน้าไม่ราบเรียบเสมอ
กันทุกด้าน หากแต่มีการเทลาดจากขอบของพ้ืนท่ีด้านที่สูงกว่าเอียงลาดไปหาขอบอีกด้านท่ีต่ากว่า โดยมี
“คา่ ความลาดชัน” เปน็ ส่ิงบง่ บอกใหท้ ราบถึงความมากนอ้ ยของการลาดเอยี งของที่ดิน
ค่าความลาดชัน ท่ีได้นั้นจะเป็นค่าสัดส่วนของความยาวด้านระหว่างด้านตรงข้ามมุมฉาก
และดา้ นทีเ่ ป็นฐานของสามเหลย่ี มมมุ ฉาก โดยจะกาหนดให้ความยาวฐานของสามเหล่ียมมุมฉากยาวเท่ากับ
๑๐๐ เมตร ค่าความลาดชนั มหี นว่ ยวดั เปน็ “เปอร์เซ็นต์”
ลักษณะสภาพพืน้ ท่ขี องท่ีดินโดยท่ัวไปสามารถจาแนกออกเป็นกลุ่มๆ ตามค่าความลาดชัน
ของพนื้ ทไ่ี ด้ ดังนี้
พืน้ ทซี่ ง่ึ มีคา่ ความลาดชนั น้อยกว่า ๒% เรียกวา่ เป็นพื้นทร่ี าบเรียบหรือค่อนขา้ งราบเรียบ
พื้นท่ีซง่ึ มีคา่ ความลาดชันต้งั แต่ ๒-๕% เรยี กวา่ เป็นพน้ื ทล่ี ูกคล่ืนลอนลาดเล็กนอ้ ย
พื้นทซ่ี ึง่ มคี า่ ความลาดชันต้งั แต่ ๕-๑๒% เรยี กวา่ เป็นพื้นที่ลูกคล่ืนลอนลาด
พ้นื ที่ซ่ึงมีค่าความลาดชันต้ังแต่ ๑๒-๒๐% เรยี กว่า เป็นพ้ืนท่ลี กู คล่นื ลอนชนั
พ้นื ที่ซงึ่ มคี ่าความลาดชันตง้ั แต่ ๒๐-๓๕% เรียกวา่ เปน็ พืน้ ท่เี นนิ เขา
พื้นท่ีซง่ึ มคี า่ ความลาดชนั มากกว่า ๓๕% เรยี กว่าเป็นพื้นทีภ่ ูเขา
กรมแผนท่ที หาร ไมม่ ีคา่ จ่ากดั ความของคา่ วา่ ทเี่ ขา ท่ภี ูเขา ไว้โดยเฉพาะ แต่บนแผนท่ี
ภูมิประเทศใช้ลักษณะของเส้นช้ันความสูงเป็นตัวแสดง เอกสารบางฉบับได้แบ่งเขาเป็น ๒ ระดับ เขาเตี้ย
และเขาสูง ซึง่ เขาเตี้ยมีความสูง Surrounding ประมาณ ๑๕๐-๓๐๐ เมตร ความลาดชันประมาณ ๒-๑๐%
สว่ นเขาสูงมีความสูงอยู่ในช่วง ๓๐๐-๖๐๐ เมตร ความลาดชันประมาณ ๑๐-๓๐% แต่ถ้าความสูงมากกว่า
๖๐๐ เมตร และความลาดชันมากกว่า ๓๐% เรียกว่าภูเขา สาหรับที่เขาหรือเชิงเขาก็เริ่มจากจุดท่ีมี
การเปลีย่ นแปลงความลาดชัน

การพิจารณาความหมายของที่เขา ที่ภูเขา กรมที่ดินได้เคยวินิจฉัยตามหนังสือกรมที่ดิน
ท่ี มท ๐๗๑๙/๓๕๔๓๖ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๒ เรื่อง การดาเนินการเพิกถอน น.ส.๓ ก. ตอบข้อหารือ
จังหวัดเชียงราย สรุปได้ว่า กระทรวงมหาดไทยมิได้กาหนดคานิยาม และหลักเกณฑ์การพิจารณาว่า

๔ ขอ้ มลู สาหรับการจาแนกดนิ ตามคาชแี้ จงของผเู้ ชีย่ วชาญพเิ ศษ กรมพัฒนาท่ีดิน

๑๐

ที่ใดเป็นที่เขาหรือภูเขาไว้ แต่มีข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบเก่ียวกับการปฏิบัติงาน
ตามโครงการพัฒนากรมท่ดี นิ และเร่งรัดการออกโฉนดท่ีดินทั่วประเทศ ซึ่งสานักงาน ป.ป.ป. ร่วมกับผู้แทน
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณากาหนดคานิยามของทเี่ ขา
ภูเขา ไว้ ส่วนความหมายของคาว่า “ท่ีราบ” กับ “ท่ีราบสูง” แม้จะยังไม่มีการพิจารณา ก็เห็นควรให้ใช้
คานิยามและหลักเกณฑ์การพิจารณาเร่ือง “ที่เขา” และ”ท่ีภูเขา” ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ
ป.ป.ป. เป็นหลักเกณฑ์การพิจารณา สาหรับพื้นท่ีของกลุ่มดิน ๖๒ เป็นพื้นที่ท่ีมีความลาดชันเฉล่ียเกิน ๓๕
เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงถือเป็นที่ดินที่คณะรัฐมนตรีสงวนไว้เพ่ือทรัพยากรธรรมชาติ ตามข้อ ๑๗ แห่งนโยบายป่าไม้
แห่งชาติ แต่พื้นท่ีที่มีความลาดชันไม่ถึง ๓๕ เปอร์เซ็นต์ ก็อาจเป็นที่เขา ภูเขาได้ ให้จังหวัดแต่งตั้ง
คณะกรรมการขึ้นพิจารณาคณะหนึ่ง โดยให้นาคานิยามและหลักเกณฑ์การพิจารณาของคณะกรรมการ
ป.ป.ป. และแผนที่ความเหมาะสมของดนิ กบั พชื เศรษฐกิจของกรมพัฒนาทดี่ นิ มาประกอบการพิจารณา

ดังนั้น ในการพิจารณาเพ่ือกาหนดว่าที่ใดเป็นที่เขา ที่ภูเขา จะต้องนาหลักเกณฑ์อย่างใด
อย่างหน่ึงหรือหลายอย่างตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ป. ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อ
วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มาประกอบการพจิ ารณา

อย่างไรก็ตาม จากการรวบรวมขอ้ มูลตามรายละเอียดข้างต้นท้ังหมดแล้ว จะเห็นได้ว่าการ
กาหนดพื้นที่หวงห้ามประเภทที่เขา ภูเขา และปริมณฑลโดยรอบ ๔๐ เมตร ตามกฎหมายน้ันคงมีเพียง
คาบรรยายเทา่ นัน้ ไมม่ ีแผนท่ปี ระกอบให้ใชส้ าหรับการตรวจสอบพ้ืนที่เช่นเดียวกับพื้นท่ีหวงห้ามประเภทอื่น
ทีป่ ระกาศการหวงห้ามพร้อมแผนท่ีแนบท้าย และสาหรับพ้ืนที่ความลาดชันเฉล่ีย ๓๕% ข้ึนไป ซึ่งหวงห้าม
ตามมติคณะรัฐมนตรีน้ัน เพ่ือให้สามารถตรวจสอบพ้ืนที่ได้กรมที่ดินมีหนังสือ ท่ี มท ๐๗๑๓/ว ๒๒๒๓๙
ลงวนั ท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๑ เร่ือง นโยบายป่าไม้แห่งชาติ แจ้งแนวทางปฏิบัติตามท่ีได้รับแจ้งจากกรมป่าไม้
ซงึ่ ประสานงานกบั กรมพฒั นาทด่ี ินวา่

“(๑) ถำ้ ทำงเจำ้ พนกั งำนทดี่ ินจงั หวัดและอำเภอประสงคจ์ ะได้ รำยละเอียดของพ้ืนท่ีควำม
ลำดชันเฉลี่ย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป ให้ดูขอบเขตของที่ดินซ่ึงใช้หมำยเลข ๔๒ (Slope Complex) จำกแผนที่
ระดบั ภำค มำตรำส่วน ๑ : ๕๐๐,๐๐๐

(๒) ถำ้ เจ้ำพนักงำนดังกล่ำวตอ้ งกำรไดแ้ ผนท่ีดินซึ่งแสดงเส้นชั้นควำมสูงเอำไว้ด้วย จะดูได้
จำกแผนท่ีดินระดับจังหวัดขนำดมำตรำส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ หรือ มำตรำส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ซึ่งพื้นที่ที่มี
ควำมลำดชันสูงมำกกว่ำ ๓๕ เปอร์เซ็นต์ จะแสดงขอบเขตเอำไว้โดยให้ช่ือว่ำ Slope Complex หรือพ้ืนที่
ลำดชันเชิงซอ้ นเชน่ กนั ”

ดังน้ัน ในทางปฏิบัติการพิจารณาความลาดชันเฉล่ีย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ข้ึนไป จะพิจารณา
จากรายละเอยี ดขอบเขต Slope Complex ซง่ึ แสดงไว้ในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐

๑๑

กรมพฒั นาทีด่ นิ ใชก้ ารกาหนดกลุ่มชุดดินตามหลักวิชาการในการพิจารณาจัดทาขอบเขต
พน้ื ที่ทีม่ ีความลาดชนั โดยเฉลี่ย ๓๕ เปอร์เซ็นต์ ข้ึนไป ภายใต้ช่ือ Slope Complex หรือพื้นท่ีลาดชันเชิงซ้อน
หรือกลุ่มชุดดินท่ี ๖๒ โดยการรวมชุดดินท่ีมีลักษณะคุณสมบัติ และศักยภาพในการเพาะปลูก รวมถึง
การจัดการดินที่คล้ายคลึงกันมาไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เพ่ือประโยชน์ในการให้คาแนะนา การตรวจสอบ
ลกั ษณะดิน การใชท้ ่ดี นิ และการจดั การดนิ ทเ่ี หมาะสมใหแ้ กเ่ กษตรกร

กลุ่มชุดดินที่ ๖๒ ตามเอกสารทางวิชาการของสารวจดินและวางแผนการใช้ท่ีดิน๕ ได้ให้
ความหมายกลมุ่ ชุดดนิ ที่ ๖๒ ไว้ดังน้ี

ชดุ ดนิ : พ้ืนทล่ี าดชนั เชิงซ้อน (SC : slope complex)

ลกั ษณะเดน่ : พ้ืนท่ีลาดชันเชิงซ้อนท่ีมีความลาดชันมากกว่า ๓๕ เปอร์เซ็นต์
พ้ืนที่บริเวณน้ียังไม่มีการศึกษา สารวจและจาแนกดิน เน่ืองจาก
สภาพพืน้ ทม่ี คี วามลาดชันสูง ซง่ึ ถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษา
สาหรับการเกษตร

ปญั หา : มีความลาดชันสูงมาก ในพ้ืนท่ีทาการเกษตรจะเกิดการชะล้าง
พังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง ขาดแคลนน้าและบางพ้ืนที่
อาจพบช้นั หินพ้ืนหรือเศษหนิ กระจัดกระจายอยู่บริเวณหนา้ ดิน

แนวทางการจดั การ : ควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
แหล่งต้นน้าลาธาร ในกรณีท่ีจาเป็นต้องนามาใช้ประโยชน์ทาง
การเกษตร จาเป็นต้องมีการศึกษาดินก่อน เพ่ือให้ทราบถึงความ
เหมาะสมของดินสาหรับการปลูกพืช โดยมีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ในเชิงอนุรักษ์หรือวนเกษตร ในบริเวณพ้ืนที่ที่เป็นดินลึกและ
สามารถพัฒนาแหล่งน้าได้ มีระบบอนุรักษ์ดินและน้า เช่น ปลูก
พืชคลุมดิน ทาแนวรั้วหญ้าแฝกและขุดหลุมปลูกเฉพาะต้น โดยไม่มี
การทาลายไม้พื้นล่าง สาหรับในพื้นท่ีท่ีไม่มีศักยภาพทางการเกษตร
ควรรักษาไว้ให้เป็นสวนป่า สรา้ งสวนปา่ หรือใชป้ ลูกไมใ้ ชส้ อยโตเรว็

เมื่อพิจารณาจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๒๘ ประกอบนโยบายป่าไม้
แห่งชาติแล้วปรากฏว่าการตรวจสอบพ้ืนที่ความลาดชันโดยเฉล่ียให้ใช้แผนที่จากกรมพัฒนาที่ดินในกลุ่ม
ชุดดิน ๖๒ และตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ซึ่งเห็นชอบตามข้อเสนอแนะของ
คณะกรรมการ ป.ป.ป. โดยให้กรมพัฒนาท่ีดินเป็นหน่วยงานในการกาหนดท่ีเขา ที่ภูเขาลงในแผนท่ี

๕ ท่ีมา : สานักสารวจดินและวางแผนการใช้ท่ีดิน. ๒๕๔๘. มหัศจรรย์พันธ์ุดิน. กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กรงุ เทพฯ

๑๒

ภูมิประเทศของกรมแผนท่ีทหาร มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ เพ่ิมเติมในรายละเอียดการจาแนกท่ีดิน
(รายงานความเหมาะสมของพืน้ ดนิ กบั พืชเศรษฐกิจเบ้อื งตน้ ) เพ่ิมเติม เป็นกลุ่มดินท่ี ๖๓ เพ่ือแจกจ่ายให้กับ
หนว่ ยงานต่างๆ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แผนทฐ่ี าน ซงึ่ กรมพฒั นาที่ดนิ ไดม้ ีการดาเนินการไว้ ดังน้ี

การดา่ เนินการของกรมพฒั นาที่ดนิ
๑. กรมพัฒนาท่ีดินได้จัดประชุมพิจารณาเร่ืองพ้ืนที่เขา ภูเขา และพื้นที่ความลาดชัน ๓๕
เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป เมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ณ ห้องประชุมกรมพัฒนาท่ีดิน โดยได้เชิญผู้แทนจาก
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง คือ กรมที่ดิน สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณี จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย กรมแผนท่ีทหาร และกรมพัฒนาที่ดิน โดยมีนายอุปถัมภ์ โพธิสุวรรณ รองอธิบดีฝ่ายวิชาการ
กรมพัฒนาท่ีดินเป็นประธาน ได้รวบรวมความคิดเห็น สรุปเป็นแนวทาง สาหรับการทดลองดาเนินการโดย
เลือกจังหวดั สรุ าษฎร์ธานีเปน็ พ้ืนทีน่ าร่อง
๒. กรมพัฒนาท่ีดินนาเอาคานิยามความหมาย และหลักเกณฑ์การพิจารณาที่เขา ท่ีภูเขา
ตามมติคณะรัฐมนตรี พร้อมทั้งข้อสรุปจากการประชุมร่วมระหว่างหน่วยงานต่างๆ เม่ือวันที่ ๒๔ กรกฎาคม
๒๕๔๐ ไปปฏิบัตขิ ดี เขตเขา และภูเขาในแผนทภี่ ูมปิ ระเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชุด L 7017 ของกรม
แผนท่ีทหาร บริเวณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้พบข้อควรพิจารณาอีกหลายประการ จนสรุปเป็นมาตรการ
การกันเขตท่ีเขา ภูเขา และพื้นท่ีความลาดชัน ๓๕ เปอร์เซน็ ต์ ไดด้ งั น้ี
การกนั เขตท่ีเขาและภูเขา มวี ธิ ีการปฏิบัตไิ ดด้ งั นี้
ก ในสานักงาน
๑. กันเขตท่ีเขาและภูเขา ในแผนท่ีภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชุด L 7017
ของกรมแผนทท่ี หารโดยยดึ ถอื ขอ้ พจิ ารณาดงั นี้

๑.๑ ที่เขา คือ พ้ืนท่ีท่ีสูงจากบริเวณโดยรอบ (Surrounding) น้อยกว่า ๖๐๐
เมตร มลี กั ษณะ และชื่อทปี่ รากฏในแผนที่ภมู ปิ ระเทศแสดงวา่ เปน็ เขา

๑.๒ ทีภ่ ูเขา คอื พน้ื ทีท่ ี่สงู จากบรเิ วณโดยรอบ (Surrounding) ต้ังแต่ ๖๐๐ เมตร
ข้ึนไป

๒. การกันเขตที่เขาและภูเขาในแผนท่ีภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จะยังไม่นา
ข้อพิจารณาอื่นๆ ตามข้อเสนอ ของ ป.ป.ป. มาพิจารณาแต่จะนามาพิจารณาเม่ือมีการสารวจภาคสนาม
เทา่ น้ัน

๓. ตาแหนง่ ทีเ่ รมิ่ ตน้ นบั เปน็ เขตเขาและภเู ขาให้นับจากเส้นชั้นความสูงท่ีมีการเปล่ียนแปลง
ความลาดชันอย่างกะทันหันจากบริเวณโดยรอบ (Surrounding) โดยมีความห่างจากเส้นช้ันความสูง
เส้นถัดไปไม่เกิน ๒ มิลลิเมตร และมีความลาดชันต่อเนื่องของเส้นชั้นความสูงไม่น้อยกว่า ๓ เส้น ในแผนท่ี
ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐

๑๓

๔. ในกรณีที่เลือกเส้นที่เป็นเขตที่เขาและภูเขาแล้วบางครั้งเส้นความสูงนั้นจะ มี
ระยะห่างจากเส้นชั้นความสูงเส้นถัดไปมากขึ้น เน่ืองจากความลาดชันลดลงถ้าหากระยะห่างนั้นมากกว่า ๒
มิลลิเมตร ตอ่ เนอื่ งกนั ไปไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ เซนติเมตร ในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ของกรม
แผนที่ทหาร จะดาเนนิ การกนั เขตตดั ขนึ้ ไปทเี่ สน้ ชน้ั ความสูงเสน้ ถดั ขนึ้ ไป

๕. ในกรณีทไี่ ด้กนั เขตท่ีเขาและภูเขาในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ แล้ว
ถ้าหากมีพ้ืนท่ีที่มีสภาพไม่เข้าข่ายการพิจารณาว่าเป็นเขา ภูเขา มีการใช้ประโยชน์และการครอบครองภายใน
เขตท่ีได้กันไว้แล้ว ดังกล่าวและมีการเรียกร้องสิทธิ ให้อยู่ในอานาจพิจารณาของคณะกรรมการจังหวัดโดย
ต้องมีการตรวจสอบความลาดชัน ๓๕ เปอร์เซ็นต์ของพื้นท่ีด้วย ถ้าเป็นสภาพท่ีไม่อาจตัดสินได้แน่ชัดจาก
แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ก็สมควรสารวจทาแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐
เพ่ือกนั เขตพนื้ ทค่ี วามลาดชนั ๓๕ เปอร์เซ็นต์ มาประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการจงั หวดั

ข เพ่ือความถูกต้องชัดเจนสมควรมีการดาเนินการตรวจสอบในท้องที่ด้วยโดยยึดถือ
ข้อพิจารณาเพม่ิ เตมิ ตามข้อเสนอของ ป.ป.ป. และผา่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการจังหวัดด้วย

การก่าหนดพ้ืนท่ลี าดชัน ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ข้ึนไป
๑. เมื่อกันเขตพื้นที่เขา และภูเขาในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชุด
L7017 ของกรมแผนที่ทหารเสร็จแล้ว จึงจะทาการกันเขตพื้นที่ที่มีความลาดชันตั้งแต่ ๓๕ เปอร์เซ็นต์
ขึน้ ไปเฉพาะพืน้ ทน่ี อกเขตเขา และภูเขา
๒. ในกรณีที่ยังดาเนินตามข้อ ๑ ไม่แล้วเสร็จทุกจังหวัด ถ้าจังหวัดใดที่มีปัญหาก็สามารถ
ขอให้กรมพัฒนาทด่ี ินช่วยตรวจสอบเบ้อื งตน้ เฉพาะที่ได้ โดยให้ทางจังหวัดหมายตาแหน่งท่ีดินที่ถูกต้องมาใน
แผนที่ภูมปิ ระเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ของกรมแผนท่ีทหาร
๓. ในกรณที ี่อย่ใู นเขตทีก่ า้ ก่ึงในท่เี ขา ภเู ขา หรอื ท่ีมคี วามลาดชัน ๓๕ เปอร์เซ็นต์ จะต้อง
ทาการตรวจสอบและดาเนินการ โดยคณะกรรมการระดับจังหวัด ตามมติคณะกรรมการพัฒนาท่ีดิน ครั้งที่
๑/๒๕๓๗
ตั้งแต่มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ เป็นต้นมา ยังไม่มีการจัดท่า
แผนท่ีที่มีการแสดงกลุ่มชุดดิน ๖๓ ของประเทศไทย เพ่ือใช้ในการตรวจสอบที่เขา ภูเขา แต่อย่างใด
การดา่ เนนิ การเพื่อขอตรวจสอบใชก้ ารสง่ เรอื่ งให้กรมพัฒนาทีด่ นิ ดา่ เนินการในแตล่ ะพื้นที่

การด่าเนินการเพ่ือขอตรวจสอบทีเ่ ขา ภเู ขา
กรณีสานักงานที่ดินจะส่งเรื่องผ่านสถานีพัฒนาท่ีดินในพื้นท่ี เพ่ือให้กรมพัฒนาท่ีดิน
ตรวจสอบ หรือกรณีศูนย์อานวยการเดินสารวจออกโฉนดที่ดิน จะส่งเร่ืองสอบถามกรมพัฒนาที่ดินผ่าน
สานกั มาตรฐานการออกหนังสือสาคัญ

๑๔

หลกั ฐานที่ต้องสง่ ใหก้ รมพัฒนาทดี่ ิน
- กรณีเป็นงานรังวัดทาแผนที่ชั้นหน่ึง ให้ส่งสาเนาแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน

๑ : ๕๐,๐๐๐ ชุด L7017 เฉพาะบริเวณทต่ี ้องการตรวจสอบซง่ึ ไดแ้ สดงขอบเขตหรือรูปแปลงท่ีดินโดยหมาย
สแี สดงตาแหน่งดังกล่าวไว้อย่างชัดเจนพร้อมระบุหมายเลขระวางในระบบพิกัดฉาก UTM และค่าพิกัดฉาก
UTM รอบแปลงทดี่ ิน

- กรณเี ปน็ งานรงั วดั ทาแผนท่ชี ้ันสอง ให้ส่งสาเนาระวางแผนท่ีเพื่อการออกโฉนดท่ีดิน
มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ชุด L7017 เฉพาะบริเวณท่ีต้องการตรวจสอบซ่ึงได้แสดงขอบเขตหรือรูปแปลง
ท่ีดินโดยหมายสีแสดงตาแหน่งดังกล่าวไว้อย่างชัดเจน พร้อมระบุหมายเลขระวางในระบบพิกัดฉาก UTM
และจุดตัดเส้นกรดิ เพื่อให้สามารถระบตุ าแหนง่ ทดี่ ินขอบเขตที่ดนิ ทีต่ อ้ งการตรวจสอบในระบบ UTM ได้

- ให้พนกั งานเจ้าหน้าท่ลี งนามรบั รองในระวางและเอกสารทีส่ ง่ ให้ทาการตรวจสอบ

โดยมีคาแนะนาในการใช้แผนที่ชุดน้ี คอื
๑. ใชใ้ นการพิจารณาเบ้ืองตน้ เทา่ น้นั
๒. แผนที่น้ีจะใชเ้ ฉพาะในการตรวจสอบพืน้ ท่ีเพื่อการออกเอกสารสทิ ธเิ ทา่ น้นั

๑๕

ตวั อย่างระวางแผนทีภ่ มู ิประเทศ ล่าดบั ชดุ L7017 มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐
ระบุต่าแหน่งที่ดินพร้อมหมายเลขระวาง เพ่ือส่งเรอื่ งใหก้ รมพัฒนาทดี่ นิ

๑๖

การแสดงข้อมูลขอบเขตพ้ืนที่เขา ภูเขา และพ้ืนที่ความลาดชันเฉลี่ย ๓๕% ข้ึนไป ลงบน
แผนที่ภูมิประเทศ ลาดับชุด L๗๐๑๗ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ในแต่ละพ้ืนที่โดยกรมพัฒนาที่ดิน
ดาเนินการไว้นั้นเป็นการแสดงข้อมูลตามหลักวิชาการซ่ึงไม่มีอานาจตามกฎหมายในฐานะผู้ดูแลพ้ืนท่ี
แต่ประการใด

ผู้มีอ่านาจหน้าท่ีในการดูแลรักษา คุ้มครองป้องกัน ที่เขา ที่ภูเขา ปริมณฑลรอบภูเขา
หรอื เขา ๔๐ เมตร พ้นื ทีท่ ่มี คี วามลาดชันโดยเฉลีย่ ๓๕ เปอร์เซน็ ต์ขึน้ ไป

ปริมณฑลรอบท่ีเขา หรือภูเขา ๔๐ เมตร การวัดระยะ ๔๐ เมตร ของการเป็นปริมณฑล
รอบทีเ่ ขา หรอื ภเู ขา จะเรมิ่ ต้งั แตต่ รงไหนในพนื้ ดิน บริเวณใดเปน็ จดุ ส้ินสุดของเขาหรือภูเขา จะกาหนดตาม
สภาพหรืออยา่ งไร เพราะลักษณะของทีเ่ ขา และภูเขาในแต่ละท้องที่จะแตกต่างกัน หากเป็นเขาหรือภูเขาที่
เป็นเขาหินปูนทางภาคใต้ จะขึ้นเป็นเขาหรือภูเขาอย่างชัดเจน แต่ในบางพ้ืนที่ เช่น ทางภาคเหนือ จะเป็น
ลักษณะค่อยๆ สงู ขึ้นเร่ือย หากอยู่ในพนื้ ทีจ่ ะกาหนดได้ยากว่า ที่ชายเขา หรือท่ีชาวบ้านเรียกว่า ตีนเขา น้ัน
อย่ตู รงไหน

กรณีนี้จึงต้องพิจารณาอานาจหน้าที่ของผู้ดูแลรักษาตามที่กฎหมายกาหนด เนื่องจาก
ที่เขา ที่ภูเขา หรือพ้ืนที่ลาดชัน เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทที่รกร้างว่างเปล่า ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๑) ตามนัยคาพิพากษาฎีกา ที่ ๕๑๔๒/๒๕๓๑๖ ซึ่งมาตรา ๘
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน บัญญัติว่า “บรรดาท่ีดินท้ังหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็น
ทรพั ยส์ ินของแผ่นดินน้ัน ถ้าไมม่ กี ฎหมายกาหนดไว้เปน็ อยา่ งอนื่ ให้อธบิ ดมี ีอานาจดแู ลรักษาและดาเนินการ
คุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อานาจหน้าท่ีดังว่าน้ี รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็น
ผู้ใช้ก็ได้” ซ่ึงรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยไดม้ กี ารมอบหมาย ดังน้ี

คาสั่งกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๘๙๐/๒๔๙๘ ลงวนั ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๔๙๘ เรื่อง มอบหมาย
ให้ทบวงการเมืองอื่นมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณ ส ม บัติ
ของแผ่นดินหรือทรัพย์สินของแผ่นดิน มอบหมายให้จังหวัด เทศบาล และสุขาภิบาล มีอานาจหน้าที่
ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สิน
ของแผน่ ดนิ

คาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๓๙/๒๕๔๐ ลงวันท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๔๐ เรื่องมอบหมายให้
ทบวงการเมืองอื่นมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาและ ดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็น

๖ คา่ พพิ ากษาฎกี า ที่ ๕๑๔๒/๒๕๓๑ “คารอ้ งขดั ทรพั ย์บรรยายว่า ที่ดินพิพาทเป็นท่ีภูเขาอันเป็นของรัฐตามกฎหมาย
หา้ มมใิ หย้ ึด ผ้รู ้องได้ครอบครองท่ีดินพิพาทอย่างเปน็ เจา้ ของแตผ่ เู้ ดียวมใิ ชข่ องจาเลย โจทก์จึงไม่มีสิทธินายึดที่ดินพิพาท คาร้องขัดทรัพย์จึงหา
ได้ขัดกันเองหรือเคลือบคลุมไม่ ที่ดินพิพาทเป็นท่ีภูเขา ทางราชการไม่อาจออกหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิได้ จึงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ น
ประเภททด่ี ินรกร้างว่างเปลา่ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๑) สิทธิทากินในท่ีดินคือสิทธิครอบครองทาประโยชน์ใน
ที่ดิน ดังนั้น การยึดสิทธิทากินในท่ีดินก็คือการยึดสิทธิครอบครองในที่ดินน่ันเอง เม่ือท่ีดินพิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ของแผ่นดิ น จึง
ตอ้ งห้ามมใิ หย้ ดึ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๐๗ โจทก์ย่อมไมม่ ีสทิ ธินายึดทีด่ นิ พพิ าท”

๑๗

สาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สินของแผ่นดิน มอบหมายให้จังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และ

องค์การบริหารส่วนตาบล มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินทั้งหลายอันเป็น

สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินหรือทรพั ย์สนิ ของแผ่นดนิ

คาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๒/๒๕๔๓ ลงวนั ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๓ เร่ือง มอบหมายให้

ทบวงการเมืองอ่ืนมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของ

แผ่นดินหรือทรัพย์สนิ ของแผน่ ดนิ

ปัจจุบันเป็นคาสั่งกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๕๐๕/๒๕๕๒ ลงวันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

เรื่องมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดิน

อันเป็นท่ีสาธารณสมบัตขิ องแผน่ ดินหรือทรัพยส์ นิ ของแผ่นดินทไี่ มม่ กี ฎหมายกาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอืน่ ดังนี้

๑. กรุงเทพมหานคร ภายในเขตกรงุ เทพมหานคร

๒. เมอื งพัทยา ภายในเขตเมอื งพัทยา

๓. เทศบาล ภายในเขตเทศบาล

๔. องค์การบริหารส่วนตาบล ภายในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบล

ดังนั้น การระวังชี้แนวเขตท่ีดินซ่ึงเป็นที่เขาหรือภูเขา ปริมณฑลรอบท่ีเขาหรือภูเขา ๔๐
เมตร หรือพื้นทที่ ม่ี ีความลาดชนั โดยเฉลย่ี ๓๕ เปอรเ์ ซน็ ตข์ น้ึ ไป จงึ เปน็ อานาจหน้าที่ของทบวงการเมืองผู้รับ
มอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว ซ่ึงมีหน้าที่ต้องกาหนดว่า ปริมณฑลรอบที่เขา
หรือภูเขา ๔๐ เมตร อยู่ที่ตรงจุดใดในพื้นท่ี ซึ่งเรื่องนี้ กรมท่ีดินได้มีหนังสือ ท่ี มท ๐๗๒๙.๔/๓๐๖๕๔
ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ตอบข้อหารือจังหวัดระยอง เวียนให้เจ้าหน้าท่ีทุกจังหวัดทราบและ
ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๗๒๙.๔/ว ๓๓๙๔๔ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ และบริเวณใด
เป็นพ้นื ท่ีท่ีมคี วามลาดชนั โดยเฉล่ยี ๓๕ เปอร์เซ็นตข์ นึ้ ไป

ที่เขา ที่ภูเขา ปริมณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร พื้นที่ท่ีมีความลาดชันโดยเฉล่ีย
๓๕ เปอรเ์ ซน็ ต์ขน้ึ ไป ในเขตนคิ มฯ ในเขตปา่ ไม้

ที่เขา ที่ภูเขา ปริมณฑลรอบภูเขาหรือเขา ๔๐ เมตร พ้ืนที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย ๓๕
เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไป ถือเป็นที่ดินรกร้างว่างเปล่า เม่ือมีพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังนิคมสร้างตนเองหรือพระราช
กฤษฎีกาจัดตั้งนิคมสหกรณ์ หรือมีกฎกระทรวงกาหนดให้ที่ดินดังกล่าวเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ครอบคลุม
ท่ีดินดังกล่าว มีผลทาให้ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และท่ีดินซึ่งบุคคลยังไม่มีสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมาย
ท่ีดิน กลายเป็นท่ีดินที่มีการสงวนหวงห้ามตามกฎหมายโดยเฉพาะ และอยู่ในความดูแลของหน่วยงานท่ี
รบั ผดิ ชอบ รวมถึงอานาจในการระวังชแ้ี ละรับรองแนวเขตทดี่ ิน

ดังน้ัน หากปรากฏว่าข้อมูลการตรวจสอบโดยการแสดงขอบเขตท่ีเขา ภูเขา และพ้ืนที่
ความลาดชันโดยเฉลี่ย ๓๕% ขึ้นไป ซึ่งแสดงไว้บนแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ดังกล่าว

๑๘

ตามท่ีกรมพัฒนาที่ดินดาเนินการไว้มีความเห็นขัดแย้งจากหน่วยราชการท่ีเกี่ยวข้อง ก็จะต้องดาเนินการ
ต่อเนอ่ื งในรูปคณะกรรมการตรวจสอบในสภาพพ้ืนท่ีจริง โดยมีผู้แทนกรมพัฒนาท่ีดิน สานักงานการปฏิรูป
ทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรม กรมป่าไม้ กรมท่ีดนิ และนายอาเภอท้องท่ีร่วมเป็นกรรมการ ในการพิจารณาให้ได้ข้อ
ยตุ ิดว้ ย

การดาเนินการในปัจจุบัน เนื่องมาจากการดาเนินการท่ีผ่านมาแผนท่ีท่ีจะใช้สาหรับการ
ตรวจสอบที่เขา ภเู ขา และพนื้ ทค่ี วามลาดชนั โดยเฉลย่ี ๓๕% ขนึ้ ไป ในภาพรวมของท้ังประเทศยังไม่มีความ
ชัดเจน ส่งผลให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีความเห็นว่ายังเป็นช่องทางให้มีการทุจริตเพ่ือการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ในท่ีดินดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการแต่งต้ังคณะทางานจาก
หน่วยงานท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการกาหนดพ้ืนท่ีทั้งในแง่วิชาการ และหน่วยงานที่มีอานาจหน้าท่ีตาม
กฎหมายเพื่อนาวิทยาการด้านแผนที่ในปัจจุบันมากาหนดขอบเขตของที่ดินดังกล่าวในภาพรวมท้ังประเทศ
การเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถตรวจสอบได้ด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง ชัดเจน
รวมทั้งวิธีการดาเนินการกรณีมีปัญหาข้อโต้แย้ง ซึ่งขณะน้ีอยู่ระหว่างการดาเนินการเพ่ือนาเสนอให้
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตอ่ ไป

๑๙

ตัวอย่างระวางแผนท่ภี มู ิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐
ระวางหมายเลข 4826-I ล่าดับชุด L7017 อา่ เภอบ้านนาสาร แสดงเขตเขาและภเู ขา

๒๐
ตัวอยา่ งการแสดงเสน้ ชนั้ ความสูง

๒๑
ลักษณะเขา
เทือกเขา (Mountain)
เทอื กเขาสูงมาก ความสูงสมั พทั ธร์ ะหวา่ ง ๕๐๐-๘๐๐ เมตร และมีความสงู จาก
MSL >= ๒,๐๐๐ เมตร
เทอื กเขาสูงปานกลาง ความสงู สมั พทั ธ์ระหวา่ ง ๓๐๐-๕๐๐ เมตร และมีความสงู จาก
MSL > ๒,๐๐๐ เมตร
เทือกเขาต่า ความสงู สัมพทั ธ์ระหวา่ ง ๓๐๐-๕๐๐ เมตร และมีความสงู จาก
MSL >= ๒,๐๐๐ เมตร

เทือกเขา (เขาหลวง)

๒๒
ภูเขา (Hill)
ภูเขาสูง ความสูงสัมพัทธ์ ระหว่าง ๑๐๐-๒๐๐ เมตร และมีความสูงจาก MSL >= ๒,๐๐๐
เมตร
ภูเขาตา่ ความสงู สัมพทั ธ์ ระหวา่ ง ๕๐-๑๐๐ เมตร

ภูเขา (เขาป่าคา จ.สโุ ขทยั )

๒๓

เนินเขา (Hillock)
เนนิ เขาสูง ความสงู สัมพทั ธ์ ระหวา่ ง ๒๕-๕๐ เมตร
เนินเขาต่า ความสงู สมั พทั ธ์ ระหวา่ ง ๕-๒๕ เมตร

เนนิ เขา (อ่าเภอคีรีมาศ จ.สุโขทัย)

๒๔
ทรี่ าบสูง (Plateau)
ท่ีราบสงู มาก ความสงู สัมพัทธ์ ระหว่าง ๓๐-๒๐๐ เมตร และมคี วามสงู จาก MSL >= ๕๐๐ เมตร
ที่ราบสูงไมม่ าก ความสงู สมั พัทธ์ ระหวา่ ง ๓๐-๒๐๐ เมตร และมีความสงู จาก MSL < ๕๐๐ เมตร
ทีร่ าบสูงเสมือน ความสงู สัมพทั ธ์น้อยกว่า ๓๐ เมตร

ท่รี าบสงู (ภกู ระดึง จ.เลย)

๒๕

ร่อง (Valley)
พน้ื ทีท่ ม่ี ีลักษณะร่องทม่ี ีระดับต่ากว่าบริเวณรอบข้าง โดยระดับต่าของร่องให้วัดจากระดับ
ความลึกของร่อง เช่น ร่องลึก ๕-๓๐ เมตร เป็นต้น ส่วนรูปร่างของร่องกาหนดตามรูปร่างจริง เช่น ร่องรูป
ตวั ยู (U-Shape valley) และรอ่ งรปู ตวั วี (V-Shape Valley) เปน็ ตน้

๒๖
รอ่ ง (Valley) U-shape (จ.เชยี งใหม่)

๒๗
ภเู ขายอดราบ (Mesa)
เกิดจากหินตะกอนที่ชั้นหินมีการเอียงเทน้อยมาก และมีความทนทานต่อการผุพังไม่เท่ากัน
จงึ เกดิ การแตกหักพังทลายโดยรอบเป็นไหลเ่ ขาสูงชัน แตย่ อดเขายงั คงสภาพเปน็ ท่ีราบ เชน่ ภกู ระดึง ภหู ลวง

ทรี่ าบสูง (ภูกระดึง จ.เลย)

๒๘
ภเู ขายอดป้าน (Butte)
เกดิ จากภเู ขายอดราบถกู กัดเซาะ ชัน้ หนิ พังทลายเพ่มิ ข้ึนทาให้ยอดเขาเล็กลง เช่น ภหู อ

ภูเขายอดปา้ น (ภหู อ จ.เลย)

๒๙
เขาอีโต้ (Cuesta)
เกิดจากหินตะกอนท่ีช้ันหินมีการเอียงเทเล็กน้อยถึงปานกลาง ทาให้ภูเขาลาดเอียง
ด้านเดียวในแนวทิศทางเดียวกับชั้นหิน และทาให้อีกด้านหน่ึงเกิดการแตกหักพังทลายเป็นไหล่เขาสูงชัน
เชน่ เขาพริก เขายายเทยี่ ง

เขาอีโต้ (เขาพรกิ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า)

๓๐
เขาโดด (Monardnock)
คือเขาที่ต้ังโดดเดี่ยวบนพื้นราบเป็นผลมาจากการท่ีแผ่นดินถูกกัดกร่อนเป็นเวลานาน
การกดั กร่อนผพุ ังหรือการยกตัวของธรณีแปรสัณฐานจนทาใหเ้ ห็นเปน็ ลักษณะเขาโดด

เขาโดด (หินปนู อ.เมือง จ.ลพบุร)ี

๓๑

เขาโดด (Monardnock)
ที่เ กิ ด จ า ก แ ผ่ น ดิ น ถู ก กัด ก ร่ อ น เ ป็ น เ ว ล า น าน จ น เ ห ลื อ เ ป็ น เ ข า โ ด ด ใ ห้ เ ห็ น ใ น ปั จ จุ บั น
โดยเฉพาะภูเขาหินปูน หรือเกิดจากการยกตัวของธรณีสัณฐาน ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ีรอยเล่ือนเกิดแรงดึง
ออกจากกัน ทาให้เกิดลักษณะรอยต่อร่วมเกิดข้ึน ซ่ึงรอยต่อร่วมเหล่าน้ีทาให้เกิดลักษณะการยกตัวข้ึนเกิด
เป็นเขาโดด เช่น เขาหนอ่ จ.นครสวรรค์ เขาพนมพา เขาเจ็ดลกู จ.พิจิตร

๓๒
เขาโดดเกดิ จากรอยเล่อื น วัดครี วี นั จ.นครนายก

๓๓
ท่ีราบลกู เนนิ (Rolling Topography)
ลักษณะพื้นที่ราบเป็นลอนคล่ืนมีความสูงสัมพัทธ์ไม่มากและมีระบบร่องน้าจานวนมาก
ไหลมารวมกัน ท่ีราบลูกเนินบนภูเขา เกิดจากการวางตัวของช้ันหินชนิดต่างๆ และอัตราการผุพังของชนิด
หินนั้นๆ ทาให้เกิดเป็นท่ีราบบนภูเขาที่มีขนาดกว้างหรือแคบข้ึนกับชนิดของหินและอัตราการผุพังของหิน
นั้นๆ เชน่ เขาคอ้

ที่ราบลูกเนนิ บนภเู ขา (อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์)

๓๔
ที่ราบเชิงเขา
พ้ืนท่ีราบบริเวณเชิงเขามีความลาดเอียงน้อยจนถึงไหล่เขาจะมีความลาดเอียงสูง
เกดิ จากกการสะสมตวั ของตะกอนดินถล่ม อาจตอ่ เนือ่ งกับเนินตะกอนรูปพดั ก็ได้

ท่ีราบเชงิ เขา (อ.บ้านดา่ นลานหอย จ.สโุ ขทัย)

๓๕
ท่รี าบลมุ่ ริมนา้่ ระหวา่ งภูเขา (อ.แกง่ คอย จ.สระบรุ ี)

๓๖
ท่ีราบบนตะกอนนา้่ พารปู พดั (อ.หลม่ สกั จ.เพชรบูรณ์)

๓๗
ตะพกั ล่านา้่ (แม่น่า้ แควใหญ่ จ.กาญจนบุร)ี

๓๘
ทรี่ าบระหว่างเขาหนิ ปูน (จ.กระบ่)ี

๓๙
ท่ีราบในหบุ เขา (อา่ เภอนบพิตา่ จ.นครศรธี รรมราช)

๔๐
ทรี่ าบลกู เนิน ( อ.คีรรี ฐั นคิ ม จ.สุราษฎรธ์ านี)

แนวทางปฏบิ ัติของกรมท่ดี นิ


Click to View FlipBook Version