ANNUAL REPORT 2021
รำยงำนประจำปี 2564
ส ำ นั ก ง ำ น น โ ย บ ำ ย แ ล ะ แ ผ น พ ลั ง ง ำ น ( ส น พ . )
Energy Policy and Planning Office
สารจากผู้อานวยการ
นายวฒั นพงษ์ คุโรวาท
ผ้อู ำนวยกำรสำนกั งำนนโยบำยและแผนพลงั งำน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 1
ปี 2564 เปน็ ปีทีย่ ังคงมกี ำรระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ (COVID - 19) อย่ำงต่อเนื่อง ทำให้หลำยประเทศ
ยังคงปิดประเทศและจ ำกัดกำรเดินทำง รวมทั้งประเทศไทยก็ยังคงมีมำตรกำรห้ำมเดินทำงเข้ำไปในพื้นที่เสี่ยง
สำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) ได้มีกำรปรับแผนกำรทำงำนภำยใต้มำตรกำรของภำครัฐ และนโยบำย
ของกระทรวงพลังงำน เพื่อให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์โรคระบำด ทั้งในรูปแบบ Social Distancing และดำเนินกำร
Work from Home ตำมมำตรกำรศูนย์บริหำรสถำนกำรณ์แพร่ระบำดของโรคติดต่อเชื้อไวรัส โคโรนำ 2019 (ศบค.)
โดยมงุ่ เนน้ กำรทำงำนผำ่ นชอ่ งทำงสอ่ื ออนไลน์ มำกขนึ้ เพอ่ื ลดควำมเสยี่ งกำรแพรร่ ะบำดของเชอื้ ไวรสั โคโรนำ 2019 แตย่ งั คง
มุ่งเน้นคุณภำพและประสิทธิภำพของงำน ที่ยังคงเดินหนำ้ เต็มกำลังในกำรจัดทำนโยบำยพลังงำนต่ำงๆ บนพื้นฐำนของ
ควำมปกตใิ หม่ หรือ New Normal โดยมีระบบกำรจดั กำรดำ้ นเทคโนโลยีระบบสอื่ สำรสำรสนเทศ (ICT) เขำ้ มำชว่ ยสนับสนุน
งำนในหลำยๆ ด้ำน
ตลอดปีที่ผ่านมา สนพ. ไดม้ กี ารดาเนินมาตรการต่างๆ รวมถึงเสนอแนะนโยบายและแผนพลังงาน เพ่ือให้ประเทศ
สามารถรับมือสถานการณ์โรคระบาดได้ โดยยังคงมุ่งเน้นให้ประชาชนมีพลังงานใช้อย่างเพียงพอในราคาท่ีเหมาะสม
นอกจากนี้ยังได้มีการเตรียมการเพ่ือปรับนโยบายพลังงานเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต ท่ีโลกมุ่งไปสู่การใช้
พลังงานสะอาด แต่ก็ยังคงมุ่งเน้นความม่ันคงด้านพลังงาน เพื่อตอบสนองความต้องการใช้พลังงานที่เพ่ิมขึ้นตาม
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การจัดทากรอบแผนพลังงานชาติ เพื่อขับเคลื่อนแผนพลังงานทุกด้าน โดยเฉพาะ
นโยบายพลังงานสะอาด เพื่อมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) รวมถึงการปรับโครงสร้างกิจการ
พลังงานที่จะรองรับการเปล่ียนผ่านด้านพลังงาน ( Energy Transition) ตามแนวทาง 4 D1E (Digitalization/
Decarbonization/Decentralization/De-regulation และ Electrification) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานก๊าซธรรมชาติ
เพ่ือรองรับโรงไฟฟ้าตามแผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรุงคร้ังที่ 1
การส่งเสริมการแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติ ระยะท่ี 2 การบริหารจัดการการส่งออก LNG ภายใต้โครงการ LNG HUB
เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้ภายใต้วิกฤตราคาพลังงานที่เกิดข้ึน
ท่ัวโลก ประเทศไทยยังมี การกาหนดมาตรการในการบรรเทาผลกระทบที่เกิดข้ึน เช่น มาตรการบรรเทาผลกระทบจากราคา
น้ามันเช้ือเพลิงและราคาก๊าซธรรมชาติ (NGV) ที่ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการดาเนินแผนงานและโครงการเพ่ือรองรับ
การเปล่ียนแปลงด้านพลังงานท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต เช่น แผนการขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านสมาร์ทกริดของประเทศไทย
ระยะปานกลาง พ.ศ. 2565 – 2574 การพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางและแลกเปลี่ยนไฟฟ้าในภูมิภาคอาเซียน
การสารวจและปรับปรุงการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ในระยะยาวเพื่อรองรับความต้องไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนจาก Disruptive
Technology การศึกษาแนวทางการพัฒนาและผลิตและการใช้ไฮโดรเจนเพื่อส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น อีกทั้ง
ยังมีการจัดต้ัง “ศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ” (National Energy Information Center : NEIC) เพ่ือรองรับการใช้
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขับเคลื่อนแผนพลังงานของประเทศไทย ซ่ึงประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลพลังงาน
ไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว เขา้ ใจง่ายสอดรับการปฏิรปู ประเทศ Thailand 4.0 เพอ่ื สร้างฐานนวัตกรรมในอนาคต
ท้ายสุดนี้ กระผมในนามของคณะผู้บริหาร สนพ. ขอขอบคุณผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของ สนพ.
ทุกท่าน ที่เป็นกาลังสาคัญในการปฏิบัติงานจนบรรลุความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ และขอขอบคุณองค์กรภาคี
เครือข่ายท้ังในและต่างประเทศท่ีมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการดาเนินงานของ สนพ. ตลอดมา ผมหวังเป็นอย่างย่ิงว่า
การดาเนนิ งานของ สนพ. จะเป็นพลงั สาคัญในการสรา้ งสรรค์นโยบายพลังงานให้ประเทศไทยไปสู่เป้าหมายความมั่นคง ม่ังคั่ง
และยั่งยืนด้านพลังงานตอ่ ไป
สารบญั 01
สารจากผอู้ านวยการ 04
16
สว่ นท่ี 21
28
ข้อมูลภำพรวมของหนว่ ยงำน 110
สว่ นท่ี 113
กำรบรหิ ำรนโยบำยพลงั งำนของประเทศ 564
ส่วนที่
ดัชนชี วี้ ดั ควำมสมดลุ ดำ้ นพลังงำนของประเทศไทยปี 2563
และสถำนกำรณ์พลังงำน ปี 2564
สว่ นท่ี
กำรดำเนินงำนทสี่ ำคญั ปี 2564
ส่วนที่ 2
ผลกำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรในกำรประเมินสว่ นรำชกำร
ตำมมำตรกำรปรับปรงุ ประสทิ ธภิ ำพในกำรปฏิบัติรำชกำร
ประจำปี 2564 564
ส่วนท่ี
งบกำรเงนิ ปี 2564
ส่วนที่
ขอ้ มลู ภาพรวมของหนว่ ยงาน
4 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
วิสยั ทศั น์ Vision
สรา้ งสรรคน์ โยบายและสนบั สนุนการพัฒนานวัตกรรมพลงั งาน
เพื่อความมนั่ คงและยัง่ ยืนของประเทศภายในปี 2579
พันธกิจ ประกอบด้วย 6 พนั ธกิจ คือ
02 เสนอแนะยุทธศาสตร์การสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษ์พลังงาน
และพลงั งานทดแทนของประเทศ
01 เสนอแนะนโยบายและบรู ณาการ 03 เสนอแนะมาตรการแก้ไขป้องกนั
แผนบรหิ ารพลงั งานของประเทศ การขาดแคลนนา้ มนั เช้ือเพลงิ ท้ังใน
ระยะสน้ั และระยะยาว
06 พฒั นาสู่การเปน็
องค์กรเชิงยทุ ธศาสตร์
04 กากับ ติดตาม และ
ประเมินนโยบายและแผนบริหาร
พลงั งานของประเทศ
05 บริหารจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารด้านพลงั งานของประเทศ
ยทุ ธศาสตรข์ อง สนพ. มี 3 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 สรา้ งสรรคน์ โยบายพลงั งานเพ่ือความมน่ั คงและยั่งยืน
เปา้ ประสงค์
1. มนี โยบายทนี่ าไปสคู่ วามมนั่ คงทางพลงั งาน
2. มนี โยบายดา้ นพลงั งานทสี่ นับสนนุ การพฒั นาเศรษฐกิจ
3. มีนโยบายทน่ี าไปสกู่ ารใชพ้ ลงั งานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4. มีนโยบายทน่ี าไปสูก่ ารใช้พลังงานทดแทนที่เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ขบั เคลอ่ื นนโยบายพลงั งานของประเทศ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 มุ่งส่อู งค์กรสมรรถนะสูง
เป้าประสงค์
เป้าประสงค์
1. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาเนนิ งานตามนโยบาย 1. เปน็ ศนู ย์กลางขอ้ มลู พลังงานของประเทศ
2. มรี ะบบและกลไกการติดตามและประเมนิ ผลนโยบาย 2. บุคลากรมีความรแู้ ละความสามารถ
พลังงานของประเทศ 3. การปฏบิ ัติงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. ผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี มีส่วนร่วมในการกาหนดและ 4. บริหารกองทนุ พลังงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ดาเนินนโยบาย
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 5
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสานกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน
ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน
รองผู้อานวยการสานักงานนโยบายและ รองผู้อานวยการสานักงานนโยบายและ
แผนพลงั งาน แผนพลังงาน
ผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ ผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะด้านนโยบายและแผนอนุรกั ษ์
พลงั งาน พลงั งานและพลงั งานทดแทน
กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร กลุ่มตรวจสอบภายใน
สานักงานเลขานกุ ารกรม กองนโยบายปโิ ตรเลยี ม
• กลมุ่ บริหารงานทว่ั ไป • กลมุ่ นา้ มนั และก๊าซปิโตรเลียมเหลว
• กลมุ่ บริหารทรพั ยากรบคุ คล • กลุ่มก๊าซธรรมชาติ
• กลมุ่ ชว่ ยอานวยการและสื่อสารองค์กร • กลุ่มเชือ้ เพลิงชวี ภาพ
• กลุม่ การคลัง
• กลุ่มกองทุนพลงั งาน
• กลุ่มนติ กิ ร
กองนโยบายไฟฟ้า กองนโยบายอนุรกั ษพ์ ลังงานและ
• กลุ่มราคาไฟฟา้ และคณุ ภาพบริการ พลังงานทดแทน
• กลมุ่ สง่ เสรมิ กิจการไฟฟ้า
• กลมุ่ จดั หาพลงั งานไฟฟ้า • กลมุ่ พลังงานทดแทน
• กลุม่ อนรุ กั ษ์พลังงาน
• กลุ่มสง่ เสรมิ ด้านอนรุ กั ษ์พลงั งานและ
พลงั งานทดแทน
กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสอื่ สาร
• กลุ่มยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน
• กล่มุ นโยบายพลงั งาน • กล่มุ พฒั นาสารสนเทศพลงั งาน
• กลมุ่ ตดิ ตามและประเมนิ ผล • กล่มุ วิเคราะหแ์ ละประมาณการเศรษฐกิจ
ศูนย์สารสนเทศพลงั งานแหง่ ชาติ พลงั งาน
• กลุ่มพฒั นาระบบคอมพิวเตอร์
• กลุ่มงานจัดการระบบสารสนเทศ
• กลมุ่ งานกลยุทธ์ข้อมูล
• กลมุ่ งานวศิ วกรรมข้อมลู
• กลมุ่ งานบูรณาการข้อมลู
6 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ผู้บริหาร สนพ.
นายวัฒนพงษ์ คโุ รวาท
ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
นายวีรพัฒน์ เกยี รติเฟอ่ื งฟู
รองผอู้ านวยการสานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน
(ว่าง)
รองผอู้ านวยการสานกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 7
น.ส.นฤมล นวลดี
หัวหน้ากลมุ่ ตรวจสอบภายใน
น.ส.พลวิ้ แพร สุขเทยี บ
หวั หนา้ กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร
สานกั งานเลขานกุ ารกรม
น.ส.ศิรพิ รรณ เหลี่ยมเพช็ ร์ นางดวงสุดา จิรประดษิ ฐกลุ
หัวหน้ากล่มุ บริหารงานทว่ั ไป เลขานุการกรม
8 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 น.ส.นริ ดา รงคพรรณ์
หวั หน้ากลมุ่ การคลงั
สานกั งานเลขานกุ ารกรม
น.ส.ขนกวรรณ หนดู า
หวั หน้ากลุ่มบริหารทรัพยากรบคุ คล
น.ส.แพรวพรรณ วงศบ์ ญุ เพ็ง
หัวหน้ากล่มุ ชว่ ยอานวยการและส่ือสารองค์กร
นางธชั ชฎวรรณ คงเปรม
หัวหน้ากลุ่มกองทุนพลังงาน
นายอณวัชร์ ชานาญโชติ
หัวหน้ากลุ่มนติ กิ าร
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 9
กองนโยบายปิโตรเลยี ม
น.ส.ภาวณิ ี โกษา
ผอู้ านวยการกองนโยบายปิโตรเลียม
นายประเสรฐิ สนิ เสรมิ สขุ สกลุ
หัวหน้ากลุ่มนา้ มนั และกา๊ ซปิโตรเลียมเหลว
นายวชั ระ พจี
หัวหนา้ กลุม่ ก๊าซธรรมชาติ
นางกานดา เพชรไทย
หวั หนา้ กลุม่ เช้ือเพลิงชวี ภาพ
10 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
กองนโยบายไฟฟ้า
น.ส.สพุ ติ ร คากลดั
ผอู้ านวยการกองนโยบายไฟฟ้า
น.ส.รตนรรฆ์ บญุ มัติ
หัวหน้ากลมุ่ ราคาไฟฟ้าและคณุ ภาพบริการ
น.ส.จารวุ รรณ พมิ สวรรค์
หัวหนา้ กลมุ่ ส่งเสริมกจิ การไฟฟ้า
น.ส.นันธดิ า รัชตเวชกลุ
หวั หนา้ กลุ่มจดั หาพลงั งานไฟฟา้
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 11
กองนโยบายอนรุ กั ษ์พลังงานและพลงั งานทดแทน
น.ส.นุจรยี ์ เพชรรัตน์
ผูอ้ านวยการกองนโยบายอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
และพลังงานทดแทน
น.ส.ศภุ ชั ญา ชนชนะชยั
หัวหน้ากลุ่มอนรุ ักษ์พลังงาน
นายคีตภณั ฑ์ บญุ รอด
หัวหน้ากลุ่มพลังงานทดแทน
น.ส.สุกลั ยา ตรวี ทิ ยานรุ กั ษ์
หัวหนา้ กลุ่มสง่ เสรมิ ด้านอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
และพลังงานทดแทน
12 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน
นางภชั ราพร ผาสกุ วนิช น.ส.ศศธิ ร เจษฎาฐติ กิ ลุ
หวั หน้ากลมุ่ ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน ผู้อานวยการกองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน
นายอทุ ยั มว่ งศรเี มืองดี น.ส.วชริ าภรณ์ เพชรรตั น์
หัวหนา้ กลุ่มตดิ ตามและประเมินผล หวั หน้ากล่มุ นโยบายพลังงาน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 13
ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
นายฤกษ์ฤทธ์ิ เคนหาราช
ผอู้ านวยการศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร
น.ส.นฤมล อินทรกั ษ์
หัวหนา้ กลุ่มพัฒนาสารสนเทศพลงั งาน
น.ส.กรกช ภไู่ พบลู ย์
หวั หนา้ กลุม่ วเิ คราะหแ์ ละประมาณการเศรษฐกจิ
พลังงาน
น.ส.บุบผา คุณาไท
หัวหน้ากลมุ่ พฒั นาระบบคอมพิวเตอร์
14 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ศนู ย์สารสนเทศพลังงานแหง่ ชาติ
นายวีรพฒั น์ เกยี รติเฟอื่ งฟู
ผอู้ านวยการศนู ยส์ ารสนเทศพลงั งานแห่งชาติ
นางภชั ราพร ผาสกุ วนิช
หัวหนา้ กลมุ่ งานจัดการระบบสารสนเทศ
(วา่ ง)
หัวหน้ากลุม่ งานกลยุทธข์ อ้ มลู
น.ส.ธญั ญารัตน์ ปทั มพงศา
หวั หน้ากลมุ่ งานวศิ วกรรมข้อมลู
นายประเสริฐ สนิ เสรมิ สขุ สกลุ
หวั หนา้ กลมุ่ งานบรู ณาการข้อมลู
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 15
สว่ นที่
การบรหิ ารนโยบายพลังงานของประเทศ
16 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
การบริหารนโยบายพลงั งานของประเทศ
สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) มีบทบาทสาคัญในการบริหารงานด้านพลังงานของ
ประเทศในฐานะหน่วยงานของรัฐที่มีพันธกิจด้านการเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์มาตรการด้านพลังงาน ไม่ว่าจะเป็น
แผนบริหารพลังงานของประเทศการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนการป้องกันการขาดแคลนน้ามัน
เชอ้ื เพลงิ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว รวมท้ังยงั มีหนา้ ทใ่ี นการกากับ ติดตาม และประเมินนโยบายและแผนบริหารพลังงานของ
ประเทศ ซึ่ง สนพ. ได้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือมาตรการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสบผลสาเร็จ โดยผา่ นกลไกของคณะกรรมการต่างๆ ดงั นี้
กลไกการบริหารนโยบายพลังงานของประเทศ
คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ (กพช.)
รฐั มนตรวี า่ การ ประธาน : นายกรฐั มนตรี
กระทรวงพลงั งาน รองประธาน : รองนายกรฐั มนตรี
เลขานกุ ารฯ : ผอู้ านวยการ สนพ.
ปลัดกระทรวง
พลังงาน คณะกรรมการบริหารนโยบายพลงั งาน (กบง.)
ประธาน : รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพลังงาน
เลขานุการฯ : ผอู้ านวยการ สนพ.
คณะกรรมการกองทุนเพอื่ สง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน
(กทอ.)
ประธาน : รองนายกรฐั มนตรี
เลขานกุ ารฯ : ผ้อู านวยการ สนพ.
สนพ. : ปฏบิ ตั ิหน้าทีฝ่ ่ายเลขานุการ
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 17
01 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง่ ชาติ
คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ (กพช.) ตามพระราชบญั ญตั คิ ณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2550 และแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2560 มอี านาจหน้าท่ี ดังนี้
01 เสนอนโยบายและแผนการบรหิ ารและพฒั นาพลังงานของประเทศตอ่ คณะรัฐมนตรี
02 กาหนดหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขในการกาหนดราคาพลังงานใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและแผนการบริหารและพฒั นาพลังงาน
ของประเทศ
03 ติดตาม ดแู ล ประสาน สนบั สนุนและเรง่ รดั การดาเนนิ การของคณะกรรมการทง้ั หลายทมี่ ีอานาจหนา้ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั พลังงาน
สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั พลงั งาน เพื่อให้มกี ารดาเนินการใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและแผน
การบรหิ ารและพฒั นาพลงั งานของประเทศ
04 ประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลงั งานของประเทศ
05 ปฏบิ ตั หิ น้าที่อนื่ ตามทนี่ ายกรฐั มนตรีหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย
02 คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน
คณะกรรมการบรหิ ารนโยบายพลงั งาน (กบง.) ตามคาส่ังคณะกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ ที่ 3/2563
ลงวันท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2563 มีอานาจหน้าที่ ดงั นี้
01 เสนอแนะนโยบาย แผนการบริหารและพัฒนา และมาตรการทางดา้ นพลงั งาน
02 เสนอความเห็นเกยี่ วกับแผนงานและโครงการทางดา้ นพลงั งานของหนว่ ยงาน รวมทงั้ เสนอความเหน็ เก่ยี วกับการจดั ลาดับ
ความสาคญั ของแผนงานและโครงการดงั กลา่ วดว้ ย
03 เสนอแนะนโยบายและมาตรการทางด้านราคาพลังงาน และกากบั การเปลยี่ นแปลงของอัตราคา่ ไฟฟ้าตามสตู รการปรับอตั รา
คา่ ไฟฟ้าโดยอตั โนมัติ
04 พิจารณาและเสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ เกี่ยวกบั พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
และมาตรการอน่ื ๆ ที่จะออกตามกฎหมายวา่ ด้วยการสง่ เสริมการอนุรกั ษพ์ ลังงาน
05 ขอใหก้ ระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถน่ิ รฐั วสิ าหกจิ หรอื บคุ คลใด ๆ เสนอรายละเอียดทางวิซาการ การเงิน สถติ ิ
และเรอื่ งตา่ ง ๆ ทจ่ี าเป็นท่เี กยี่ วขอ้ งกับนโยบาย แผนการบรหิ ารและพฒั นาพลงั งานของประเทศได้
06 ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ หรือประธานกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาตมิ อบหมาย
07 แต่งต้งั คณะอนกุ รรมการช่วยปฏิบัตงิ านในหน้าท่ีตามความจาเป็น
03 คณะกรรมการกองทนุ เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลงั งาน
คณะกรรมการกองทนุ เพื่อส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน (กทอ.) เป็นคณะกรรมการภายใตพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารส่งเสรมิ
การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2550 มีอานาจหนา้ ที่ ดังนี้
01 เสนอแนะแนวทาง หลักเกณฑ์ เง่อื นไข และลาดับความสาคญั ของการใช้จา่ ยเงินกองทุนตามวตั ถุประสงคท์ ก่ี าหนดไว้ใน
มาตราที่ 25 ตอ่ กพช.
02 พิจารณาจดั สรรเงนิ ทุนกองทนุ เพื่อใช้ตามวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไวใ้ นมาตรา 25 ตามแนวทาง หลักเกณฑ์ เงอื่ นไข และลาดบั
ความสาคญั ท่ี กพช. กาหนดตามมาตรา 4 (4)
03 กาหนดระเบียบเกีย่ วกับหลักเกณฑ์และวิธีการขอจดั สรร ขอเงินช่วยเหลือหรือขอเงนิ อุดหนุนจากกองทนุ
04 เสนออตั ราการสง่ เงินเขา้ กองทุนสาหรับนา้ มนั เชอ้ื เพลิงต่อ กพช.
05 เสนอชนิดของน้ามันเช้ือเพลงิ ท่ีได้รับยกเวน้ ไมต่ ้องสง่ เงินเขา้ กองทนุ ต่อ กพช.
06 กาหนดอตั ราคา่ ธรรมเนยี มพิศษโดยความเห็นชอบของ กพช.
07 ยกเว้นค่าธรรมเนียมพิเศษ
08 พิจารณาอนมุ ัตคิ าขอรบั การสง่ เสริมและช่วยเหลือตามมาตรา 40 (2) ตามแนวทาง หลักเกณฑ์ เงอ่ื นไขท่ี กพช. กาหนด
ตามมาตรา 4 (8)
09 กาหนดระเบยี บเกี่ยวกับหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารขอรบั การสง่ เสรมิ และการชว่ ยเหลอื ตามมาตรา 41
10 ปฏบิ ัตกิ ารอน่ื ใดตามทก่ี าหนดไวใ้ นพระราชบญั ญัตินี้
18 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ภาพรวมการประชุมของคณะกรรมการดา้ นพลงั งาน ปี 2564
01 มาตรการด้านไฟฟ้าเพอ่ื ช่วยเหลอื ประชาชนทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) รอบที่ 2
JAN
01 การยกเลกิ นโยบายการชว่ ยเหลอื กระทรวงพลังงาน “สว่ นลดค่าซ้อื กา๊ ซหุงตม้ ให้กบั ผู้มรี ายไดน้ อ้ ยที่มีบัตรสวสั ดิการแห่งรัฐ MAR
จานวน 50 บาทตอ่ คนต่อเดือน ระยะเวลา 3 เดือน
02 แนวทางการส่งเสริมการแขง่ ขันในกิจการกา๊ ซธรรมชาติ ระยะท่ี 2
03 การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานก๊าซธรรมชาตเิ พ่อื รองรับโครงการโรงไฟฟา้ ตามแผน PDP2018 (Rev.1)
04 แนวทางการบริหารจัดการการส่งออก LNG ภายใตโ้ ครงการ LNG HUB
05 นโยบายการกาหนดโครงสร้างอตั ราคา่ ไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2564 – 2568
06 การทบทวนการกาหนดราคากา๊ ซปโิ ตรเลียมเหลว (LPG)
07 กรอบแผนพลังงานชาติ
01 แนวทางการสง่ เสรมิ การแข่งขนั ในกิจการกา๊ ซธรรมชาติ ระยะท่ี 2
02 การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานกา๊ ซธรรมชาติเพือ่ รองรบั โครงการโรงไฟฟา้ ตามแผน PDP 2018 (Rev.1)
03 หลักเกณฑก์ ารส่งออกเที่ยวเรอื LNG (Reloading) สาหรบั สัญญาระยะยาวของบรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน)
APR 04 นโยบายการกาหนดโครงสรา้ งอตั ราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2564 – 2568
05 การแต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทาแผนบูรณาการการลงทนุ และการดาเนินงานเพอื่ พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานด้านพลงั งานไฟฟ้า
01 มาตรการดา้ นไฟฟ้าเพ่อื ช่วยเหลือประชาชนท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 MAY
(COVID – 19) ในระลอก เดือนเมษายน 2564
02 ร่างกฎกระทรวงกาหนดเครอ่ื งจักร อุปกรณ์ท่มี ีประสิทธภิ าพสูงและวสั ดุเพ่อื การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน จานวน 5 ฉบบั
(5 ผลิตภณั ฑ์)
03 แนวทางการบริหารจัดการกาลงั ผลติ ไฟฟ้าสารอง (Reserve Margin) ของประเทศ
JUN
01 กรอบแผนพลังงานชาติ
02 การขยายกรอบความรว่ มมือด้านพลังงานไฟฟา้ ระหวา่ งไทยกบั 01 การทบทวนการกาหนดราคา
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ก๊าซปิโตรเลยี มเหลว (LPG)
JUL 03 โครงสรา้ งราคากา๊ ซธรรมชาตสิ าหรบั การส่งเสริมการแข่งขัน ใน 02 ปริมาณการนาเข้า LNG ปี 2564 - 2566
กจิ การก๊าซธรรมชาติ ระยะท่ี 2 เพอ่ื รองรับแนวทางการสง่ เสริมการแข่งขนั
04 มาตรการดา้ นไฟฟ้าเพ่ือชว่ ยเหลอื ประชาชนท่ีไดร้ บั ผลกระทบ ในกจิ การก๊าซธรรมชาติ ระยะท่ี 2
จากสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) เดอื นกรกฎาคม – สงิ หาคม 2564
SEP
01 การทบทวนการกาหนดราคากา๊ ซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
02 การแต่งตั้งคณะอนกุ รรมการบรหิ ารจัดการรองรบั สถานการณ์ฉกุ เฉินดา้ นพลงั งาน ภายใต้
คณะกรรมการบรหิ ารนโยบายพลงั งาน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 19
OCT
01 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากราคานา้ มนั เชอ้ื เพลิงทปี่ รับตัวสงู ข้ึน
02 การทบทวนราคากา๊ ซธรรมชาตเิ หลว (LNG Price Review) จากสัญญาซ้ือขาย LNG ระยะยาว
กับบรษิ ทั PETRONAS LNG LTD.
03 รา่ งบันทกึ ความเข้าใจการรบั ซ้อื ไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟา้ พลังน้าจากสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
(สปป. ลาว) และการขยายกรอบความรว่ มมือด้านพลังงานไฟฟ้าระหว่างไทยกับ สปป. ลาว
04 โครงการ LNG Terminal พนื้ ที่ทา่ เรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี 3 [T-3] ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
(EEC) จ.ระยอง
05 การพิจารณาทบทวนปรับปรุงแผนการเพมิ่ การผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานสะอาด ภายใต้แผนพัฒนากาลงั ผลิตไฟฟ้าของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรงุ ครง้ั ที่ 1 (PDP2018 Rev.1) ในช่วงปี พ.ศ. 2564 – 2573
06 การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาสดั ส่วนการผสมไบโอดีเซล (บ1ี 00)ในภาวะวิกฤติด้านราคานา้ มนั เช้อื เพลิง
01 แนวทาง หลกั เกณฑ์ เงอ่ื นไข และลาดับความสาคญั ของการใชจ้ ่ายเงินกองทุนเพื่อสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567
02 ร่างกฎกระทรวงกาหนดเคร่อื งจักร อุปกรณ์ทมี่ ีประสิทธภิ าพสงู และวัสดเุ พื่อการอนรุ ักษพ์ ลังงาน จานวน 5 ฉบับ
(5 ผลติ ภัณฑ)์
03 การทบทวนราคากา๊ ซธรรมชาติเหลว (LNG Price Review) จากสญั ญาซอื้ ขาย LNG ระยะยาว กับ
บริษทั PETRONAS LNG LTD.
04 โครงการ LNG Terminal พ้ืนที่ท่าเรอื อุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 [T-3] ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
(EEC) จังหวดั ระยอง
05 ร่างบันทกึ ความเข้าใจการรบั ซ้อื ไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟ้าพลงั น้าจากสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
NOV (สปป. ลาว) และการขยายกรอบความรว่ มมือด้านพลังงานไฟฟ้าระหว่างไทยกับ สปป. ลาว
06 การรบั ซ้ือไฟฟ้าจากขยะชุมชนในรปู แบบ Feed-in Tariff (FiT)
07 ทบทวนแผนรองรับวิกฤตการณ์ดา้ นน้ามนั เชอ้ื เพลงิ พ.ศ. 2563-2567
01 การรบั ซ้ือไฟฟา้ จากขยะชมุ ชนในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT)
02 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากราคานา้ มนั เชื้อเพลิงทีป่ รับตวั สงู ขึ้น
01 การทบทวนการกาหนดราคาก๊าซปโิ ตรเลียมเหลว (LPG) DEC
02 ข้อเสนอการกากบั ดแู ลคา่ การตลาดของนา้ มันแกส๊ โซฮอล 95E10 และน้ามนั ดีเซลหมนุ เร็ว บี7
03 การกาหนดหลักเกณฑร์ าคานาเขา้ LNG สาหรบั กลุ่มท่อี ยภู่ ายใต้การกากบั ดูแลของคณะกรรมการกากับ
กจิ การพลังงาน
04 สถานการณก์ ารจัดหากา๊ ซธรรมชาตจิ ากแหล่งเอราวณั และการทบทวนปริมาณการนาเข้า LNG ปี 2565
05 แผนการขับเคลอื่ นการดาเนินงานดา้ นสมารท์ กริดของประเทศไทย ระยะปานกลาง พ.ศ. 2565 – 2574
06 การขยายกรอบความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานไฟฟา้ ระหวา่ งไทยกับสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
(MOU ไทย - สปป.ลาว)
07 แนวทางการบรหิ ารจัดการก๊าซธรรมชาติ ปี 2565
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง่ ชาติ (กพช.) คณะกรรมการบรหิ ารนโยบายพลงั งาน (กบง.)
20 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ส่วนที่
ดชั นชี ีว้ ัดความสมดุลด้านพลงั งาน
ของประเทศไทยปี 2563
และสถานการณ์พลงั งาน ปี 2564
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 21
ดัชนชี ว้ี ดั ความสมดลุ ดา้ นพลงั งานของประเทศไทยปี 2563
สนพ. ได้มีการนาเครื่องมือการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย (Thailand Energy Trilemma
Index: TETI) มาใช้ในการประเมินผลการดาเนินนโยบาย แผน และมาตรการด้านพลังงานท่ีอนุมัติโดยคณะกรรมการนโยบาย
พลังงานแห่งชาติ (กพช.) และคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เพ่ือสะท้อนการขับเคลื่อนแผนบูรณาการพลังงาน
ระยะยาว (Thailand Integrated Energy Blueprint: TIEB) ประกอบด้วย แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศ
(Power Development Plan: PDP) แผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan: EEP) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ
พลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan: AEDP) แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan) และ
แผนบริหารจดั การนา้ มันเช้ือเพลงิ (Oil Plan) โดยมีเปา้ หมายของแผน 3 เป้าหมาย คือ ความม่ันคงด้านพลังงาน (Energy Security)
ความม่ังค่งั ด้านพลงั งาน (Energy Economy) และความย่ังยืนด้านพลังงาน (Sustainability) ซ่ึงในการจัดทา TETI ได้นาตัวช้ีวัดของ
หน่วยงานระดับสากล ได้แก่ สถาบัน IMD (International Institute for Management Development) สภาเศรษฐกิจโลก
(World Economic Forum) สภาพลังงานโลก (World Energy Council) มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยมี
ดัชนีชี้วัดความสาเร็จท้ังหมด 18 ตัวชี้วัด ซ่ึงในปี 2563 ประเทศไทยมีผลคะแนนการประเมินในภาพรวม 3.60 คะแนน จาก
5.00 คะแนน
3.79
ม่นั คง
3.77 3.25 เปรยี บเทียบผลการประเมนิ TETI ปี 2557 - 2563
ยง่ั ยนื มงั่ คงั่ คงั่
ผลการประเมิน TETI ปี 2563
สรปุ ผลการประเมนิ ในแตล่ ะด้าน ดงั น้ี
1. ความมั่นคงด้านพลังงาน (Energy Security) มีผลการประเมินที่ระดับคะแนน 3.79 จาก 5.00 คะแนน
ซึ่งดัชนีช้ีวัดความสาเร็จท่ีได้คะแนน 5.00 ได้แก่ ปริมาณกาลังผลิตไฟฟ้าสารอง และความหลากหลายของเช้ือเพลิงที่ใช้ในประเทศ
รองลงมา คือ จานวนครัวเรือนที่เข้าถึงการใช้ไฟฟ้า ค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่ายระบบสายส่งและสายจาหน่ายไฟฟ้า และ
ความหลากหลายของเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการผลิตไฟฟ้า ได้คะแนน 4.99 4.13 และ 3.63 ตามลาดับ แต่มีดัชนีชี้วัดความสาเร็จท่ี
ควรปรบั ปรุง ได้แก่ สดั ส่วนการนาเข้าพลังงานขน้ั ตน้ ไดค้ ะแนน 0.98 ซ่ึงควรมีการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าในชุมชนที่มีแหล่งพลังงานใน
พ้ืนที่ท่ีเพียงพอ เพื่อลดการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศ และมีการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบการจัดเก็บพลังงาน รวมทั้งมี
การพฒั นาระบบการเชื่อมโยงผา่ น Smart Microgrid เพอ่ื ใหเ้ กิดความเสถียรภาพของระบบไฟฟา้ ทีผ่ ลติ จากพลังงานทดแทนตามแผน
PDP และแผน AEDP รวมทง้ั รณรงคใ์ หท้ กุ ภาคส่วนใช้พลังงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพตามแผน EEP
22 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
จานวนครวั เรอื นทเ่ี ขา้ ถงึ การใชไ้ ฟฟา้ คา่ ความสญู เสยี พลงั งานของโครงขา่ ย ปริมาณกาลงั ผลติ ไฟฟา้ สารอง
ระบบสายสง่ และสายจาหนา่ ยไฟฟา้ สดั สว่ นการนาเขา้ พลงั งานขน้ั ตน้
3.79
ความมน่ั คงดา้ นพลงั งาน
ความหลากหลายของเชอ้ื เพลงิ ทง้ั หมด ความหลากหลายของเชอื้ เพลงิ ท่ี
ทใ่ี ชใ้ นประเทศ ใชใ้ นการผลติ ไฟฟา้
2. ความมั่งคั่งด้านพลังงาน (Energy Economy) มีผลการประเมินที่ระดับคะแนน 3.25 จาก 5.00 คะแนน
โดยมูลค่าเงินอุดหนุนเช้ือเพลิงพลังงานฟอสซิล และมูลค่าเงินอุดหนุนราคาค่าไฟฟ้าจากภาครัฐ ได้คะแนน 5.00 รองลงมา คือ
ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของครัวเรือน และมูลค่าการนาเข้าพลังงาน ได้คะแนน 4.49 และ 3.20 ตามลาดับ แต่มีดัชนีชี้วัดความสาเร็จท่ี
ควรมีการปรบั ปรุง ไดแ้ ก่ คา่ ใช้จา่ ยผลติ ภัณฑ์ปโิ ตรเลียมของครัวเรือน และราคาไฟฟ้าสาหรับกิจการขนาดใหญ่ ได้คะแนน 1.13 และ
1.00 ตามลาดับ ซ่ึงควรมีการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างและพัฒนาบุคลากรในสาขาด้าน
พลงั งานใหเ้ พ่ิมมากข้ึนตามแผน EEP และมมี าตรการในการลดตน้ ทนุ จากราคาไฟฟ้าสาหรับกจิ การขนาดใหญเ่ พ่ือเพิม่ ขดี ความสามารถ
ในแขง่ ขันได้ มีการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานและด้านคมนาคมขนส่งให้อานวย
ความสะดวกและมีต้นทุนต่า เพ่ือไม่ให้กระทบต่อค่าครองชีพของประชาชน รวมท้ังผลักดันกลไกที่จะช่วยให้ภาคธุรกิจด้านพลังงาน
เข้าสู่ตลาดการค้าคารบ์ อนเครดิตได้เพม่ิ มากขน้ึ
มลู คา่ เงนิ อดุ หนนุ เชอ้ื เพลงิ พลงั งานฟอสซลิ มลู คา่ เงนิ อดุ หนนุ ราคาคา่ ไฟฟา้ คา่ ใชจ้ า่ ยผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลยี มของ
จากภาครฐั ครวั เรอื น
3.25
ความมง่ั คงั่ ดา้ นพลงั งาน
คา่ ใชจ้ า่ ยไฟฟา้ ของครวั เรอื น ราคาไฟฟา้ สาหรบั กจิ การขนาดใหญ่ มูลคา่ การนาเขา้ พลงั งาน
3. ความยั่งยืนด้านพลังงาน (Sustainability) มีผลการประเมินท่ีระดับคะแนน 3.77 จาก 5.00 คะแนน
โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวประชากร ได้คะแนน 5.00 รองลงมา คือ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานข้ันสุดท้าย การปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้พลังงานขั้นต้น การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร ได้คะแนน 4.15 3.94 และ 3.89 ตามลาดับ
แต่มีดัชนีชี้วัดความสาเร็จท่ีควรปรับปรุง ได้แก่ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ภายในประเทศ และความยืดหยุ่นของ
ระบบพลังงานเพ่ือรองรับพลังงานหมุนเวียน ได้คะแนน 3.03 และ 2.75 ตามลาดับ ซึ่งควรมีมาตรการในการสนับสนุนการพัฒนา
ศักยภาพของพลังงานทดแทนในแต่ละพื้นท่ีให้เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศ และผลักดันการดาเนินงานตามแม่บท
การพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2579 เพื่อรองรับการเพ่ิมขึ้นของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
หมุนเวียนตามแผน PDP และแผน AEDP รวมทั้งส่งเสริมการลงทุนร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต
รถยนต์ที่ใชพ้ ลงั งานทดแทนหรอื รถยนตท์ ใ่ี ชน้ า้ มันท่มี ีระดับคารบ์ อนตา่ (Low Carbon Fuels)
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 23
ประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลงั งานขนั้ สดุ ทา้ ย การใชพ้ ลงั งานขนั้ สดุ ทา้ ยตอ่ หวั สดั สว่ นการใชพ้ ลงั งานทดแทนทผ่ี ลติ
ประชากร ไดภ้ ายในประเทศ
3.77 ความยดื หยนุ่ ของระบบพลงั งานเพอ่ื การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตอ่ การใช้ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตอ่ หวั
ความยง่ั ยนื ดา้ นพลงั งาน ประชากร
รองรบั พลงั งานหมุนเวยี น พลงั งานขน้ั ตน้
ขอ้ เสนอแนะในการสรา้ งความสมดลุ ดา้ นพลงั งานของประเทศไทย 3.80
มัน่ คง
รกั ษาระดบั ความม่ันคงและความยงั่ ยนื และปรบั เพม่ิ ความมัง่ ค่ัง
3.80 3.80
ยงั่ ยนื มงั่ คงั่
3.79
มัน่ คง
3.77 3.25
ยงั่ ยนื มง่ั คงั่
1. เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนภายในประเทศเพ่ิมสูงข้ึน โดยมีการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าในชุมชนท่ีมีแหล่งพลังงาน
ในพ้ืนท่ีที่เพียงพอ พัฒนาเทคโนโลยีและระบบการจัดเก็บพลังงานด้วยเทคโนโลยี Grid และผลักดันการดาเนินงานตาม
แม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย รวมท้ังควรมีการกาหนดสัดส่วนสูงสุดของเช้ือเพลิงชีวภาพเพ่ือลด
การแยง่ ชงิ ระหวา่ งพืชอาหารและพชื พลังงาน
2. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานและด้านคมนาคมขนส่ง
รวมทั้งมมี าตรการการช่วยเหลอื ภาคประชาชน และภาคธรุ กจิ เพ่ือลดผลกระทบต่อทงั้ เศรษฐกจิ และความเป็นอยูข่ องประชาชน
3. สนับสนุนการลงทุนร่วมกับทุกภาคส่วนเพ่ือพัฒนานวัตกรรมของเทคโนโลยีแบตเตอร่ีที่มีประสิทธิภาพในการกักเก็บ
พลงั งาน (Energy Storage) ระบบการซ้ือขายพลังงาน เทคโนโลยีกักเก็บและการใช้ประโยชน์จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon
capture and utilization) เทคโนโลยีไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิง (Hydrogen and Fuel Cell) ตลอดจนการพัฒนานวัตกรรม
การกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่หมดอายุการใช้งาน เช่น แบตเตอรี่ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นต้น เพ่ือส่งเสริมให้เกิด
ผู้ประกอบการรายใหม่ของการผลิตและการใชพ้ ลังงานท่เี ปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม รวมทั้งสร้างและพัฒนาบุคลากรในสาขาด้านพลังงาน
ใหเ้ พิม่ มากขึ้น
4. ศึกษาและติดตามการกาหนดหลักเกณฑ์และโครงสร้างการซ้ือขายคาร์บอนเครดิตระหว่างประเทศ และผลักดันกลไก
ใหภ้ าคธุรกจิ ดา้ นพลังงานหนั มาสนใจและเขา้ ร่วมในการซือ้ ขายคารบ์ อนเครดติ (Carbon Credit)
5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกให้ทุกภาคส่วนมีการเปล่ียนพฤติกรรมการใช้พลังงานและใช้พลังงาน
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
24 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
สถานการณพ์ ลงั งานประเทศไทย ปี 2564
สถานการณ์พลังงานไทยปี 2564 มีการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ข้ันสุดท้ายลดลงร้อยละ 0.4 จากการใช้น้ามันเร็จรูป ซึ่งมี
สัดส่วนสูงสุดร้อยละ 50 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายลดลง โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการใช้ท่ีลดลงมาจากการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ทาใหม้ กี ารจากดั การเดนิ ทางในชว่ งทม่ี กี ารระบาดหนัก มีมาตรการ Work From Home แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม
ในส่วนของการใช้ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนาเข้า และลิกไนต์ยังคงเพ่ิมขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจของประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น
โดยจากรายงานอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทย (GDP) ของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
GDP ปี 2564 ปรับตัวเพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 1.5 โดยมรี ายละเอียดของสถานการณ์พลงั งานของประเทศไทยในปี 2564 ดังน้ี
การใชพ้ ลงั งานเชงิ พาณชิ ยข์ น้ั สดุ ทา้ ย ของปี 2564 คดิ เปน็ 1,401 พนั บารเ์ รลเทยี บเทา่ น้ามนั ดบิ ตอ่ วนั ซงึ่ ลดลงรอ้ ยละ 0.4 เนอ่ื งจาก
การใชน้ า้ มนั สาเรจ็ รปู ซงึ่ มสี ดั สว่ นสงู สดุ รอ้ ยละ 50 ของการใชพ้ ลงั งานขน้ั สดุ ทา้ ยลดลงรอ้ ยละ 5.7 อยา่ งไรกต็ าม การใชไ้ ฟฟา้ ซงึ่ คดิ เปน็ สดั สว่ น
รองลงมารอ้ ยละ 23 เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 3.4 กา๊ ซธรรมชาตมิ กี ารใชเ้ พม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 3.7 และถา่ นหนิ นาเขา้ เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 10.5 สว่ นลกิ ไนตเ์พมิ่ ขนึ้
รอ้ ยละ 36.0
การใชพ้ ลงั งานข้ันสดุ ทา้ ย
หนว่ ย : พนั บารเ์ รลเทยี บเทา่ น้ามนั ดบิ ตอ่ วนั
702 329 212 2 156
5.7% 3.4% 10.5% 36% 3.7%
นา้ มนั สาเรจ็ รปู ไฟฟา้ ถา่ นหนิ ลกิ ไนต์ กา๊ ซธรรมชาติ
สถานการณพ์ ลงั งานแตล่ ะชนดิ
น้ามนั สาเรจ็ รปู โดยมกี ารใชน้ า้ มนั แตล่ ะชนดิ ดงั น้ี
น้ามนั เบนซนิ การใชเ้ รมิ่ กลบั เขา้ สภู่ าวะปกตใิ นไตรมาสแรกของปี 2564 อยา่ งไรกต็ าม สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 ได้กลับมาสู่ระดบั รนุ แรงในช่วงไตรมาส 2 และ 3 ภาครฐั จงึ มีมาตรการจากดั การเดินทาง และปิดสถานประกอบการ
บางประเภทในชว่ งกลางปี สง่ ผลใหค้ วามตอ้ งการใชน้ ้ามนั เบนซนิ ลดลง อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ งไตรมาส 4 การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
ไดล้ ดความรนุ แรงลง ประกอบกบั ประชาชนไดร้ บั วคั ซนี เพม่ิ ขนึ้ รวมทงั้ การคลายลอ็ คดาวน์ นโยบายการเปดิ ประเทศ และการตนุ้ เศรษฐกจิ
ไดส้ ง่ ผลใหค้ วามตอ้ งการใชน้ ้ามนั เบนซนิ กลบั มาเตบิ โตอกี ครง้ั
น้ามนั ดีเซล การใช้อยู่ทร่ี ะดับ 397 พนั บารเ์ รลต่อวนั ซ่ึงลดลงรอ้ ยละ 3.8 ทั้งน้ี การใช้น้ามันดีเซลมอี ัตราลดลงอยา่ งตอ่ เน่อื ง
ตงั้ แต่เดอื นเมษายนเป็นต้นมา เนือ่ งจากมกี ารระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหมใ่ นเดือนเมษายน 2564 กอ่ นท่ีการใช้
จะกลบั มาขยายตวั อกี ครงั้ ในชว่ งปลายปี 2564 การนาเขา้ และสง่ ออก การนาเขา้ เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 330.1 สว่ นการสง่ ออก เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 12.3
น้ามนั เตา การใชอ้ ยทู่ รี่ ะดบั 35 พนั บารเ์ รลตอ่ วนั เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 15.2 โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ การใชใ้ นภาคขนสง่ การนาเขา้ และสง่ ออก
มกี ารนาเขา้ น้ามนั เตาเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 173.9 ในขณะทกี่ ารสง่ ออกเพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 14.4
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 25
น้ามนั เครื่องบนิ ตลอดทง้ั ปีภาพรวมการใชน้ ้ามันเคร่ืองบนิ มีปรมิ าณลดลงคิดเปน็ ร้อยละ 35.3 แต่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน -
ธนั วาคม 2564 ไดป้ รบั ตวั เพิม่ ข้ึนหลงั จากมีการผ่อนคลายมาตรการการบนิ และการเดินทางเขา้ ประเทศ การมีวนั หยุดยาว และเทศกาล
ทอ่ งเทย่ี ว เชน่ โครงการภเู กต็ Sandbox
กา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว (LPG โพรเพน และบวิ เทน) การใช้ LPG อยทู่ ร่ี ะดบั 195 พนั บารเ์ รลตอ่ วนั เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 6.4 เปน็ ผลจาก
การใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี ซง่ึ มีสัดส่วนการใช้สูงสุดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 43 และมีการใช้เพิม่ ขึ้นร้อยละ 18.7 สอดคลอ้ งกับ
ภาคอตุ สาหกรรมทีม่ กี ารใชเ้ พม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 8.5 ตามการขยายตวั ของการสง่ ออก และการใช้ในภาคครวั เรอื น มสี ดั สว่ นรอ้ ยละ 34 มกี ารใช้
เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.8 ขณะทภ่ี าคขนสง่ มสี ดั สว่ นรอ้ ยละ 11 และมกี ารใชล้ ดลงรอ้ ยละ 11.2 และการใชเ้ อง ซง่ึ มสี ดั สว่ นรอ้ ยละ 1 โดยมกี ารใช้
ลดลงรอ้ ยละ 33.0
การใช้น้ามันสาเรจ็ รูป
หนว่ ย : พนั บารเ์ รลเทยี บเทา่ น้ามนั ดบิ ตอ่ วนั
183 397 35 31 195
8.7% 3.8% 15.2% 35.3% 6.4%
เบนซินและแกส๊ โซฮอล ดเี ซล นา้ มันเตา นา้ มันเครอื่ งบนิ /
นา้ มนั กา๊ ด LPG*
ไม่รวม Feed Stocks
กา๊ ซธรรมชาติ การใชอ้ ยทู่ ี่ 4,395 ลา้ นลกู บาศกฟ์ ตุ ตอ่ วนั เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.3 โดยเปน็ การเพม่ิ ขนึ้ จากการใชใ้ นโรงงานอตุ สาหกรรมรอ้ ยละ 6.4
ตามการสง่ ออกทข่ี ยายตวั ไดด้ ี ในขณะทก่ี ารใชเ้ พอื่ ผลติ ไฟฟา้ ลดลง รอ้ ยละ 0.1 การใชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลงิ ในอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมลี ดลงรอ้ ยละ 0.3
และการใชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลงิ สาหรบั รถยนต์ (NGV) ลดลงรอ้ ยละ 19.3 ซงึ่ เปน็ ผลผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
ทเี่ ปน็ ขอ้ จากดั ทาใหก้ ารใช้ NGV ในการขนสง่ ลดลง
การใช้ก๊าซธรรมชาตริ ายสาขา
หนว่ ย : ลา้ นลกู บาศกฟ์ ตุ ตอ่ วนั
770 2,603 909 112
6.4% 0.1% 0.3% 19.3%
อตุ สาหกรรม ผลติ ไฟฟา้ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี เชอ้ื เพลงิ สาหรบั รถยนต์
26 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ถา่ นหนิ /ลกิ ไนต์ การใชเ้ พม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 1.0 จากการใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมทเ่ี พมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 10.2 ในขณะทกี่ ารใชเ้ พอื่ ผลติ กระแสไฟฟา้ ลดลง
รอ้ ยละ 15.6 สว่ นการใช้ลกิ ไนตเ์ พิ่มขึน้ ร้อยละ 8.4 ท้ังน้รี อ้ ยละ 97 ของการใชล้ ิกไนต์เปน็ การใชใ้ นการผลติ ไฟฟา้ ของ กฟผ. สว่ นท่ีเหลอื
รอ้ ยละ 3 ถกู ใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรม
การใชล้ กิ ไนต/์ ถา่ นหิน การใชล้ กิ ไนต์ การใชถ้ า่ นหนิ
หนว่ ย : พนั ตนั เทยี บเทา่ น้ามนั ดบิ
3,650 15,033
18,682 8.4% 1.0%
2.4% ความตอ้ งการใช้ ความตอ้ งการใช้
ความตอ้ งการใช้ 3,528 4,461
7.6% 15.6%
ผลติ กระแสไฟฟา้ ผลติ กระแสไฟฟา้
121 10,572
35.6% 10.2%
อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรม
ไฟฟา้
ความตอ้ งการพลงั ไฟฟา้ สงู สดุ ของระบบสามการไฟฟา้ ในปี 2564 เกดิ ขน้ึ เมอื่ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2564 เวลา 14.49 น. ทป่ี รมิ าณ
31,023 เมกะวตั ต์ (MW) เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.2 เมอื่ เทยี บกบั ความตอ้ งการพลงั ไฟฟา้ สงู สดุ ในระบบของสามการไฟฟา้ ในปกี อ่ น
การใชไ้ ฟฟา้ ในปี 2564 มปี รมิ าณรวมทง้ั สนิ้ 190,469 กิกะวตั ตช์ ว่ั โมง เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 1.8 โดยการใชไ้ ฟฟา้ สว่ นใหญร่ อ้ ยละ 45
อยใู่ นสาขาอตุ สาหกรรม ซง่ึ มกี ารใชเ้ พมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 5.2 จากการปรบั ตวั ในทศิ ทางทด่ี ขี นึ้ ของภาคการสง่ ออกทมี่ คี าสงั่ ซอ้ื เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ตามภาวะเศรษฐกจิ โลกทีฟ่ น้ื ตวั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ อุตสาหกรรมเหลก็ และโลหะพ้ืนฐาน ยานยนต์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สว่ นการใชไ้ ฟฟา้ ในภาค
ครวั เรอื นเพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.7 จากปญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ทสี่ ง่ ผลใหย้ งั คงมมี าตรการWork From Home และ
การจากดั การเดนิ ทางของประชาชน ขณะทก่ี ารใชไ้ ฟฟา้ ในสาขาธรุ กจิ ลดลงรอ้ ยละ 5.5 เนอ่ื งจากการแพรร่ ะบาด มผี ลกระทบตอ่ ภาคธรุ กจิ
อยา่ งตอ่ เนอื่ งมาตง้ั แตป่ ี 2563 ประกอบกบั มกี ารยกระดบั มาตรการล็อกดาวนอ์ กี ครง้ั ในเดอื นกรกฎาคม 2564 โดยธรุ กจิ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ
อยา่ งชดั เจน คอื ธรุ กจิ โรงแรม หา้ งสรรพสนิ คา้ และภตั ตาคาร เปน็ ตน้
ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สานกั งานนโยบายและแผนพลังงาน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 27
สว่ นท่ี
ผลการดาเนนิ งานที่สาคญั ปี 2564
28 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ผลการดาเนนิ งานตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
สนพ. รับผิดชอบในการดาเนินงานตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติในประเด็นโครงสร้างพ้ืนฐาน
ระบบโลจิสติกส์และดิจิทัลของเป้าหมายแผนย่อย 2 เป้าหมาย คือ การใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตฟ้าลดลง และการปรับปรุงและ
พฒั นาระบบไฟฟ้าของประเทศให้มีประสทิ ธภิ าพดว้ ยเทคโนโลยรี ะบบโครงข่ายสมาร์ทกรดิ โดยมผี ลการดาเนนิ งาน ดังน้ี
เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน
สดั ส่วนของการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า สัดสว่ นของการใช้ก๊าซธรรมชาติ
(เฉล่ยี ร้อยละ) ในการผลติ ไฟฟ้า
คิดเป็นร้อยละ 54
ปี 2561 – 2565
มีการดาเนนิ โครงการด้านการเพ่มิ
ไม่เกินรอ้ ยละ 60 ประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยี
จานวนแผนงาน และ/หรอื โครงการท่ีกาลังพัฒนา/ ระบบโครงขา่ ยสมาร์ทกริด
โครงการนาร่อง/โครงการที่มีการใช้งานท่ีเก่ียวข้อง จานวน 9 แผนงาน/โครงการ
กับการเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบไฟฟ้าในแตล่ ะระยะ
(แผนงาน/โครงการ)
ปี 2561 – 2565
พัฒนาและสาธิตนารอ่ งการใชง้ าน
ระบบสมารท์ กริดอย่างนอ้ ย 8 แผนงาน/โครงการ
ผลการดาเนนิ งานตามแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นพลังงาน
สนพ. รับผิดชอบในดาเนินการตามแผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรูปประเทศท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ
ประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock) ภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านพลังงาน ในกิจกรรมปฏิรูปท้ังหมด 4
กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงาน กิจกรรมปฏิรูปท่ี 4 การพัฒนาปิโตรเคมีระยะที่ 4 เพ่ือการ
เปล่ียนผ่านสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนและสร้างฐานทางเศรษฐกิจใหม่ (New S - Curve) และกิจกรรมปฏิรูปท่ี 5 ปรับโครงสร้าง
กจิ การไฟฟ้าและธุรกจิ ก๊าซธรรมชาติเพือ่ เพิม่ การแขง่ ขนั โดยมีผลการดาเนินงาน ดงั น้ี
กจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 2 การพฒั นาศูนย์สารสนเทศพลงั งาน
มุ่งเน้นการพัฒนาระบบข้อมูลพลังงานของประเทศให้มีความสมบูรณ์และเกิดการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลจาก
ทุกหนว่ ยงานทม่ี กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู ทเี่ กี่ยวข้องกบั ดา้ นพลังงาน ทง้ั จากภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเกิดการพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงาน
แหง่ ชาติ ซ่ึงจะเป็นหน่วยงานหลักในการนาข้อมูลด้านพลังงานมาวิเคราะห์วิจัย เพ่ือส่ือสารให้ประชาชนเกิดความเข้าใจและสามารถ
นาไปใชป้ ระโยชน์ ทั้งดา้ นการตัดสินใจในการใช้พลังงานและการประกอบธรุ กจิ ดา้ นพลงั งาน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 29
สถานะการดาเนินการ
สนพ. ได้จัดตั้งศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ (National Energy Information Center: NEIC) เป็นหน่วยงาน
ภายใต้ สนพ. และมีหน้าทพ่ี ัฒนาเว็บไซต์ เพ่อื เผยแพร่ข้อมลู และเชอ่ื มโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงพลังงาน และ
ในระยะตอ่ ไป สนพ. จะบูรณาการเช่ือมโยงขอ้ มูลจากทุกหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องกับดา้ นพลงั งานทั้งจากภาครัฐและเอกชน เพื่อประโยชน์
ในดา้ นการวางแผน การตดั สนิ ใจ และการลงทนุ โครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นพลงั งานให้เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวมถึงเปน็ ชอ่ งทางในการ
ส่อื สาร และสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและลดความขัดแยง้ ประเด็นพลงั งานในสงั คมไทย
กิจกรรมปฏริ ปู ท่ี 4 การพฒั นาปโิ ตรเคมรี ะยะท่ี 4 เพอ่ื การเปลี่ยนผา่ นสูร่ ะบบเศรษฐกิจหมุนเวียนและ
สร้างฐานทางเศรษฐกิจใหม่ (New S-Curve)
ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพ่ิมจากทรัพยากรปิโตรเลียมในการพัฒนาเศรษฐกิจยกระดับขีดความสามารถ
การแขง่ ขันของอุตสาหกรรมของไทย และสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับประชาชน พรอ้ มกบั รองรบั การเปลี่ยนผา่ นส่รู ะบบเศรษฐกิจหมุนเวียนและ
สร้างอุตสาหกรรมเป้าหมายแห่งอนาคต (New S-Curve) ซ่ึงเป็นกลไกในการขับเคล่ือนประเทศเข้าสู่ Thailand 4.0 โดยใช้ฐาน
การผลิตที่มีอยู่เดิมต่อยอดพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพ่ิมเติมเพื่อทดแทนการนาเข้า อันนาไปสู่การผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้น
เสรมิ สร้างความมั่นคงของห่วงโซอ่ ุปทานในประเทศ และสร้างโอกาสเป็นฐานการผลติ ของภูมิภาค เพื่อสรา้ งรายได้จากการส่งออกและ
เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ ไทยอย่างยั่งยนื
สถานะการดาเนินการ
สนพ. ไดศ้ กึ ษากรอบแผนการพฒั นาอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมรี ะยะท่ี 4 ในพนื้ ทที่ ะเลชายฝั่งภาคตะวันออก และพื้นที่
ท่ีมีศักยภาพเพ่อื การพัฒนาเศรษฐกจิ ในอนาคตแล้วเสร็จจากผลการศกึ ษาได้กาหนดกลุ่มผลติ ภัณฑ์ที่เหมาะสมและก่อให้เกิดการพัฒนา
คลสั เตอรอ์ ตุ สาหกรรมที่เชอ่ื มโยงปโิ ตรเลียมและปโิ ตรเคมีกับการเกษตรเพ่ืออนาคตประเทศ แบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่
(1) ผลติ ภัณฑ์ปิโตรเคมี (Petrochemicals)
(2) ผลติ ภณั ฑ์เคมีเสรมิ (Auxiliary chemicals)
(3) ผลิตภณั ฑช์ ีวภาพ (Bio-based Products)
ท้ังนี้การดาเนินการในระยะต่อไป สานักงานปลัดกระทรวงพลังงานจะร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาแผนงาน
สง่ เสริมการลงทนุ ระยะส้นั ในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพ่อื เสนอตอ่ คณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าตติ อ่ ไป
กิจกรรมปฏิรปู ท่ี 5 ปรบั โครงสรา้ งกจิ การไฟฟ้าและธุรกจิ กา๊ ซธรรมชาตเิ พือ่ เพิม่ การแข่งขัน
มุ่งเน้นให้เกิดการปฏิรูปและขับเคลื่อนการพัฒนาด้านกิจการไฟฟ้าและธุรกิจก๊าซธรรมชาติ อาทิ การปรับปรุง
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Power Development Plan: PDP) ปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า
เพือ่ เพม่ิ การแขง่ ขนั และผลักดนั ใหเ้ กิดการใชง้ านโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่บี ูรณาการกันของระบบส่งและ ระบบจาหน่ายอย่างคุ้มค่าโปร่งใส
และเป็นธรรม โดยเรง่ การเปิดสทิ ธิการใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบสง่ และระบบจาหนา่ ยของการไฟฟ้าในเชงิ พาณิชย์ (Third Party Access)
และเร่งกาหนดอัตราค่าใช้บริการอย่างเป็นธรรม เพ่ือเพิ่มการแข่งขันในกิจการไฟฟ้า มีเป้าหมายในภาพรวมเพ่ือยกระดับ
ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของกิจการไฟฟา้ และธรุ กจิ กา๊ ซธรรมชาติ
30 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
สถานะการดาเนินการ
การปรับโครงสรา้ งกจิ การไฟฟ้าและธุรกิจก๊าซธรรมชาติเพ่ือเพ่ิมการแข่งขัน มีการดาเนินงานเป็นไปตามข้ันตอน
และกรอบระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมี
นยั สาคญั (Big Rock) โดยมีผลการดาเนินงานเพ่ือการขบั เคลือ่ นกิจกรรมท่สี าคัญ ได้แก่
(1) มีผลศึกษาสดั ส่วนโรงไฟฟ้าฐานท่ีเหมาะสมสาหรับรองรบั แนวโนม้ Prosumer ซงึ่ จะนาไปปรับใช้ในการจัดทา
PDP2022 ต่อไป
(2) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้านครหลวง (MEA) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA)
ได้ร่วมกันศึกษาแนวทางปรับปรุงระบบส่งและระบบจาหน่ายให้มีความทันสมัยรองรับเทคโนโลยีระบบไฟฟ้าในอนาคต
(Grid Modernization of Transmission and Distribution)
(3) มกี ารจดั ทาแผนปฏิบัติการโครงการนาร่องตลาดซ้ือขายไฟฟ้าเสรีในพ้ืนท่ี EEC (Energy Trading Platform:
ETP) เพ่อื เปน็ โครงการนาร่องในการส่งเสริมกิจการไฟฟ้าเพ่ือเพิม่ การแขง่ ขนั
(4) มีการดาเนินการโครงการRegional LNG Hub ในระยะแรก ภายใต้ ERC Sandbox เพ่ือทดสอบระบบ
การดาเนนิ การสง่ ออก LNG (Reloading)
(5) มีดาเนินการตามแนวทางการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติระยะที่2 ตามมติ
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมือ่ วนั ที่ 1 เมษายน 2564
กรอบแผนพลงั งานชาติ
กพช. เมอ่ื วนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2564 และ กบง. เมือ่ วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2564 ได้มมี ติเหน็ ชอบกรอบแผนพลังงานชาติ และ
มอบหมายกระทรวงพลังงานจัดทาแผนพลังงานชาติ ตามกรอบการดาเนินการ โดยให้รับข้อสังเกตของ กบง. และ กพช.
ไปประกอบการจดั ทาแผนพลังงานชาติต่อไป โดยกรอบแผนพลงั งานชาติ (National Energy Plan) มสี รปุ สาระสาคัญดังน้ี
1. ความเปน็ มา
กระทรวงพลงั งานไดศ้ ึกษานโยบายพลงั งานของต่างประเทศ พบว่าประเทศต่างๆ ทั่วโลกมีการทยอยปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์
การขับเคล่ือนนโยบายการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gases: GHG) ของประเทศในระยะยาว (Long Term
Strategy; LTS) โดยมู่งสู่แนวทางการขับเคล่ือนสู่เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่า โดยมีปัจจัยขับเคล่ือนหลักมาจากข้อตกลงปารีส
(Paris Agreement) ท่ีเกิดข้ึนจากท่ีประชุมภาคีแห่งอนุสัญญาว่าด้วยการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 21 ( COP 21)
วนั ท่ี 12 ธันวาคม 2558 โดยเปา้ หมายของขอ้ ตกลงปารสี ในการควบคมุ การเพ่มิ ขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกให้ตา่ กวา่ 2 องศาเซลเซียส
เมือ่ เทยี บกบั ยคุ กอ่ นอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1900) และม่งุ พยายามควบคุมการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบ
กับยุคก่อนอุตสาหกรรม ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก จาเป็นต้องร่วมดาเนินมาตรการในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ให้เหลือศูนย์ในปี ค.ศ. 2100 สาหรับกรณีควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียของโลกให้ต่ากว่า 2 องศาเซลเซียส และลดการ
ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เหลือศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2070 สาหรับกรณีควบคุมการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกให้ต่ากว่า
1.5 องศาเซลเซียส สาหรับประเทศไทยมีความเส่ียงสูงต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะยาว เน่ืองจากเป็นประเทศ
กาลงั พฒั นาที่พงึ่ พาการใช้พลงั งานจากเช้ือเพลิงฟอสซิลเปน็ หลักและมีการขยายตัวของพืน้ ท่เี มอื งอยา่ งรวดเรว็ และตอ่ เน่ือง โดยประเทศ
ไทยได้มีการประกาศเปา้ หมายการลดก๊าซเรอื นกระจกทรี่ อ้ ยละ 20 จากกรณปี กติ (business-as-usual: BAU) หรือรอ้ ยละ 25 ถ้าไดร้ บั
การสนบั สนุนจากต่างประเทศ ภายในปี ค.ศ. 2030 ท้ังน้ี กระทรวงพลังงานได้นาพนั ธกิจดงั กลา่ วมาใช้เปน็ กรอบในการวางแผนนโยบาย
พลังงานของประเทศ โดยต้ังเป้าให้มีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ 34.23 ภายในปี 2580 ซึ่ง
ณ ส้ินปี 2563 อยู่ท่ีร้อยละ 17.4 อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนนโยบายการลด
การปลดปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกในระยะยาว ท่ีแสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการปรับเปล่ียนประเทศให้รองรับแนวโน้มการเปล่ียนผ่าน
ระบบเศรษฐกิจสู่ neutral-carbon economy อันจะนาไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและโอกาสในการดึงดูดการลงทุน
จากตา่ งประเทศ
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 31
โดยเฉพาะในช่วงฟนื้ ฟเู ศรษฐกจิ หลงั วิกฤติการณ์ COVID-19 ท่ตี ้องเรง่ สร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจจากนักลงทุน ดังนั้น จึงมีความ
จาเป็นอย่างเร่งด่วนท่ีจะต้องกาหนดกรอบนโยบายการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่สอดคล้องกับเป้าหมายของประชาคมโลก
และนาไปสู่การปฏิบัติของภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในภาคพลังงานท่ีต้องมุ่งเน้นการเพ่ิมสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
หมุนเวียน เพ่ือเป็นกลไกหลักสาคัญในการ ขับเคลื่อนและผลักดันการแก้ไขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศให้เกิดผลสัมฤทธิ์
และสอดคลอ้ งกับทิศทางพลงั งานของโลกในอนาคต
2. เปา้ หมายและแนวนโยบายของกรอบแผนพลงั งานชาติ
2.1 เป้าหมายของกรอบแผนพลังงานชาติ ประกอบด้วย 3 เปา้ หมาย ดังน้ี
1) สนับสนุนให้ประเทศไทยมงุ่ สู่พลงั งานสะอาดและลดการปลดปลอ่ ย CO2 สุทธิเป็นศูนย์ ภายในปี ค.ศ. 2065-2070
2) สรา้ งศักยภาพการแข่งขนั และการลงทนุ ของผู้ประกอบการของไทยใหส้ ามารถปรบั ตัวเขา้ สู่การลงทนุ เศรษฐกิจคาร์บอน
ตา่ ตามทศิ ทางโลก ตลอดจนใช้ประโยชน์จากการลงทุนในนวัตกรรมสมยั ใหมเ่ พื่อสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ
3) ขบั เคลื่อนนโยบายการลดการปลดปลอ่ ย GHG ของประเทศในระยะยาว
2.2 แนวนโยบาย (Policy Direction) ของกรอบแผนพลงั งานชาติ ประกอบด้วย 4 ข้อ ดังน้ี
1) เพิม่ สดั สว่ นการผลติ ไฟฟา้ ใหม่ โดยมสี ดั ส่วน RE ไมน่ ้อยกว่า 50% ใหส้ อดคล้องกบั แนวโนม้ ตน้ ทนุ RE ทต่ี ่าลงโดยพจิ ารณา
ตน้ ทนุ ESS รว่ มดว้ ย และไมท่ าใหต้ น้ ทนุ การผลติ ไฟฟา้ ในระยะยาวสงู ขน้ึ
2) ปรบั เปลย่ี นการใชพ้ ลงั งานภาคขนสง่ เปน็ พลงั งานไฟฟา้ สเี ขยี ว ผา่ น EV ตามนโยบาย 30@30
3) รับเพ่ิมประสิทธิภาพการใชพ้ ลงั งานมากกว่ารอ้ ยละ 30
4) ปรบั โครงสรา้ งกิจการพลงั งานรองรับแนวโน้มการเปลย่ี นผา่ นพลังงาน (Energy Transition) ตามแนวทาง 4D1E
32 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
แนวทางการสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ในกจิ การกา๊ ซธรรมชาติ ระยะที่ 2
กพช. เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน 2564 และ กบง. เมอ่ื วนั ท่ี 9 มนี าคม 2564 มมี ตเิ ห็นชอบแนวทางการสง่ เสริมการแข่งขันใน
กิจการก๊าซธรรมชาติ ระยะท่ี 2 โดยมสี รปุ สาระสาคญั ดังน้ี
1. ความเป็นมา
ในปี 2516 ได้มกี ารสารวจพบก๊าซธรรมชาติโดยบริษัทยูโนแคลไทยแลนด์ จากัด (ปัจจุบันคือบริษัท เชฟรอน คอร์ปอเรช่ัน
ประเทศไทย จากัด) เป็นหลุมแรกในอ่าวไทย ซึ่งได้รับการขนานนามว่า โครงสร้างทางธรณีวิทยา “เอ” ต่อมาได้มีการตั้งช่ืออย่างเป็น
ทางการว่า “เอราวัณ” และในปี 2521 ได้มีการจัดตั้งการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)
(ปตท.)) เพอ่ื ปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นการบรหิ ารการผลิตและดาเนินการนาเข้าปิโตรเลียม (น้ามันและก๊าซธรรมชาติ) เพื่อเสริมสร้างให้ประเทศ
มีเสถียรภาพทางพลังงาน และสง่ ผลให้เกดิ ความม่ันคงทางพลังงาน ซ่ึงโดยท่ัวไปพัฒนาการของกิจการก๊าซธรรมชาติของประเทศต่างๆ
ทั่วโลก จะเริ่มจากการมีรัฐวิสาหกิจเพียงรายเดียวท่ีรับผิดชอบดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในกิจการก๊าซธรรมชาติ ก่อนที่จะส่งเสริมให้เกิด
การแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการดาเนินการที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใสในทุกระดับห่วงโซ่อุปทานก๊าซธรรมชาติ
เปน็ ธรรมต่อผู้ใชก้ า๊ ซและประชาชน และมีราคาก๊าซธรรมชาติที่สะท้อนประสิทธิภาพของตลาด ประเทศไทยก็เช่นกัน ต้ังแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ปตท. เป็นผู้ให้บริการหลักเพียงรายเดียวที่ทาหน้าท่ีให้บริการก๊าซธรรมชาติในประเทศ ตั้งแต่ต้นน้า กลางน้าและปลายน้า
โดยการจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหลง่ ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย (รวมพ้ืนที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซยี (Joint Development Area: JDA))
การจัดหาก๊าซธรรมชาติจากตา่ งประเทศ ซ่ึงประกอบด้วยกา๊ ซธรรมชาตจิ ากประเทศเมียนมา และก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) การขนส่ง
และจาหนา่ ยก๊าซธรรมชาติผา่ นระบบทอ่ ส่งก๊าซธรรมชาติ เครอื ข่ายก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (Natural Gas for Vehicles; NGV)
รวมทั้งการจาหน่ายก๊าซธรรมชาติให้รายย่อย ซึ่ง ปตท. สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ
มาโดยตลอด
ในด้านการขนส่งก๊าซธรรมชาติ ปตท. เป็นผู้ให้บริการระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas Transmission Pipeline
System) เพียงรายเดียว เนื่องจากเป็นกิจการท่ีต้องลงทุนสูง จึงทาให้กิจการดังกล่าวเข้าข่ายลักษณะของการผูกขาดโดยธรรมชาติ
(Natural Monopoly) เพราะการแข่งขันจะไม่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจเนื่องจากจะเป็นการลงทุนท่ีซ้าซ้อน และการมีผู้ให้บริการ
ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติหลักหลายรายจะทาให้ระบบดังกล่าวขาดประสิทธิภาพ รวมทั้งอาจมีปัญหาในการรักษาระดับสมดุลของ
อุปสงค์และอุปทานของก๊าซธรรมชาติ ทาให้ขาดความมั่นคงในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ และคุณภาพก๊าซธรรมชาติที่เหมาะสมกับ
ความต้องการของผู้ใช้ได้ โดยกิจการก๊าซธรรมชาติเป็นกิจการที่มีความสาคัญต่อประเทศไทยในภาพรวม เนื่องจากก๊าซธรรมชาติเป็น
ปัจจัยสาคญั ตอ่ การดารงชวี ติ และกจิ กรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ของประเทศ ตงั้ แต่การเปน็ เช้ือเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า เป็นเช้ือเพลิง
ใช้ในครวั เรอื นและการขนส่ง รวมทั้งเปน็ วัตถุดิบและเชอื้ เพลิงในภาคการผลติ ของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ภาคอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี
ทาให้ราคาก๊าซธรรมชาติมีผลต่อค่าครองชีพ ต้นทุนของธุรกิจ และความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซ่ึงจากสถานการณ์
ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติที่เพ่ิมข้ึน ในขณะท่ีปริมาณการผลิตก๊าซธรรมชาติในประเทศมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ทาให้
ประเทศไทยต้องมีการนาเข้าก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนาเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied
Natural Gas; LNG) ซ่งึ สง่ ผลให้โครงสร้างธุรกิจกา๊ ซธรรมชาติเปล่ียนแปลงไป ดังนน้ั กระทรวงพลังงานจึงได้มนี โยบายเร่ืองการส่งเสริม
การแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติท่ีจะนาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ การให้บริการ และการบริหารต้นทุน
สร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศอย่างย่ังยืนในระยะยาว รวมทั้งส่งเสริมให้มีการพัฒนาโครงสร้างกิจการก๊าซธรรมชาติที่
สอดคล้องกับความต้องการใชข้ องประเทศ มรี าคาที่เหมาะสม เปน็ ธรรมตอ่ ผูใ้ ชท้ ุกภาคสว่ น
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 33
2. แนวทางการสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ในกจิ การกา๊ ซธรรมชาติ ระยะที่ 2
2.1 รปู แบบแนวทางการสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ในกจิ การกา๊ ซธรรมชาติ ระยะที่ 2
โครงสรา้ งกจิ การกา๊ ซธรรมชาติ ระยะท่ี 2
โครงสรา้ งกจิ การก๊าซธรรมชาตใิ นระยะที่ 2 จะแบง่ ออก 2 กลุ่ม คือ 1) กลมุ่ ที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการ
กากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ตามแนวทางท่ี กบง. และ กพช. กาหนด (Regulated Market) ซ่ึงประกอบด้วย ผู้ใช้ก๊าซธรรมชาติ
จาก Old Supply และ Shipper ที่จัดหา LNG เพื่อนามาใช้กับภาคไฟฟ้าท่ีขายเข้าระบบ และ 2) กลุ่มที่จัดหา LNG เพ่ือใช้กับ
โรงไฟฟา้ ทไ่ี ม่ได้ขายไฟฟ้าเขา้ ระบบ ภาคอุตสาหกรรมและกจิ การของตนเอง (Partially Regulated Market) โดยแบ่งการดาเนินงาน
ในแต่ละสว่ นออกเป็น
2.1.1 ธุรกิจต้นน้า กาหนดให้มีการดาเนนิ งานดงั น้ี
(1) การบรหิ ารจัดการ Old Supply ประกอบดว้ ย
• ก๊าซธรรมชาติที่ผลิตจากแหล่งในประเทศท้ังหมด ซ่ึงประกอบด้วย แหล่งก๊าซธรรมชาติในพ้ืนที่
อ่าวไทยทั้งหมด (รวมถึงก๊าซธรรมชาติที่จัดหาจากพ้ืนที่พัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย : JDA) และแหล่งก๊าซธรรมชาติบนบก (ที่เช่ือมต่อ
กับโครงข่ายระบบทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาต)ิ
• กา๊ ซธรรมชาตทิ ป่ี ระเทศไทยนาเข้ามาจากประเทศเมยี นมาซงึ่ ประกอบด้วย แหล่ง ยาดานา เยตากุน
และซอติกา้
• ก๊าซธรรมชาติท่ีประเทศไทยนาเข้ามาในรูปแบบ LNG ท่ีเป็นสัญญาระยะยาวของประเทศท่ีมีอยู่
ในปจั จบุ นั (4 สญั ญา รวมปริมาณสญั ญาระยะยาว 5.2 ลา้ นตนั ต่อป)ี
(2) ในสถานการณ์ท่ี Spot LNG มีราคาต่ากว่าราคาก๊าซธรรมชาติที่จาหน่ายในประเทศให้แก่ลูกค้าเดิม
(Pool Gas) จะกาหนดให้มีการจัดหา LNG ในรูปแบบ Spot ท่ีราคาต่ามาเพิ่มเติม (LNG Spot Flexible) โดย ปตท. เป็นผู้เปิด
ให้มกี ารประมูลการจัดหา LNG Spot Flexible ภายใตก้ ากับของ กกพ. ท้ังด้านปริมาณและเงือ่ นไข
34 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
(3) ให้ Shipper ทีม่ ีความสนใจในการประกอบธรุ กิจจดั หากา๊ ซธรรมชาติ สามารถจัดหาและนาเขา้ LNG
ทั้งในรูปแบบสัญญาระยะส้ัน กลาง หรือยาว รวมถึงจัดหาในรูปแบบตลาดจร (Spot LNG) เพ่ือนามาใช้กับภาคผลิตไฟฟ้าหรือ
ภาคอตุ สาหกรรม
2.1.2 ธรุ กจิ กลางน้า
กาหนดให้ LNG Receiving Terminal และโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติสายประธาน (บนบก)
จะตอ้ งเปิดให้บุคคลที่ 3 สามารถมาใชแ้ ละเชอื่ มต่อได้ เพื่อใหเ้ อกชนทส่ี นใจจะนา LNG เข้ามาใช้เองสามารถนาเขา้ LNG มาไดโ้ ดยผ่าน
ทาง LNG Receiving Terminal และสง่ ผ่านโครงข่ายระบบทอ่ ส่งกา๊ ซธรรมชาตสิ ายประธานที่มีอย่ใู นปจั จุบนั โดยไม่ต้องลงทุนก่อสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานกา๊ ซธรรมชาตเิ พอ่ื รองรบั การนาเขา้ LNG และสง่ กา๊ ซธรรมชาตขิ องเอกชนรายน้ันๆ เอง โดยมี ปตท. ทาหน้าทใ่ี นการ
ควบคมุ คณุ ภาพกา๊ ซธรรมชาตแิ ละแยกกา๊ ซธรรมชาติ โดยจะกาหนดใหก้ า๊ ซธรรมชาตทิ ผ่ี า่ นการควบคมุ คณุ ภาพและแยกกา๊ ซธรรมชาตแิ ล้ว
เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ Old Supply
2.1.3 ธุรกิจปลายน้า
การขายกา๊ ซธรรมชาติใหแ้ ก่ผูใ้ ช้ก๊าซธรรมชาติ ให้แยกออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ 1) การขายก๊าซธรรมชาติ
จาก Old Supply ในรูปแบบ Pool Gas และ 2) การขายก๊าซธรรมชาติโดย Shipper ที่นาเขา้ LNG เพ่ือใชก้ บั โรงไฟฟา้ หรือโรงงาน
อตุ สาหกรรม ทง้ั น้ี ผใู้ ชก้ า๊ ซธรรมชาตสิ ามารถเลอื กซอ้ื กา๊ ซธรรมชาตไิ ดท้ งั้ จาก Pool Gas หรอื Shipper
2.2 การกาหนดหลกั เกณฑส์ ญั ญาซอื้ และขายกา๊ ซเกา่ /ใหม่ (Old/New Supply/Demand)
2.2.1 การกาหนดหลักเกณฑ์สญั ญาฯ จาก Supply
(1) Old Supply คือ ก๊าซธรรมชาติจากการจัดหาท่ีมีสัญญาผูกพันระยะยาวแล้ว เพื่อจาหน่าย
กา๊ ซเขา้ Pool ซง่ึ หมายรวมถงึ
• กา๊ ซธรรมชาติท่ผี ลิตได้จากอ่าวไทยในปัจจุบันและปริมาณก๊าซจากอ่าวไทยที่จะเปิดให้สิทธิสารวจและ
ผลิตปิโตรเลยี ม รวมถึง JDA
• กา๊ ซธรรมชาติทีผ่ ลติ ได้จากแหล่งบนบก
• กา๊ ซธรรมชาตทิ นี่ าเขา้ จากประเทศเมยี นมา
• ปริมาณ LNG ตามสัญญาระยะยาวท่ีมีสัญญาผูกพันแล้ว ได้แก่ สัญญากับ Qatar (2 ล้านตันต่อปี)
Shell (1 ลา้ นตันต่อปี) BP (1 ลา้ นตันตอ่ ป)ี และ Petronas (1.2 ล้านตนั ตอ่ ป)ี
• กรณี LNG Spot Flexible ตามปรมิ าณและเงอื่ นไขทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก กกพ.
(2) New Supply หมายถึง ปริมาณ LNG นาเข้าท่ีต้องจัดหาเพิ่มเติมนอกเหนือจาก Old Supply
เพอ่ื นามาใช้กับภาคผลิตไฟฟา้ หรือภาคอุตสาหกรรม
2.3 การกาหนดหลักเกณฑ์สญั ญาฯ จาก Demand
(1) Old Demand ประกอบไปด้วย ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในส่วนของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
(Gas Seperation Plant : GSP) ซ่ึงถือเป็นหน่วยท่ีสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ความต้องการก๊าซธรรมชาติ
ในโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ที่มีสัญญาผูกพันรูปแบบ Firm กับ ปตท. (Daily Contract Quantity : DCQ) และโรงไฟฟ้าท่ีมีสัญญากับ
ปตท. และเริ่มมีการใช้ก๊าซธรรมชาติตามสัญญาแล้ว ได้แก่ ผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ (IPP) โรงไฟฟ้า SPP และโรงไฟฟ้า VSPP รวมถึง
ภาคอุตสาหกรรมและก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV) ซง่ึ มีสัญญาผกู พนั แลว้ รวมถึง SPP Replacement ในส่วนที่ขายไฟฟ้า
เข้าระบบและใช้กา๊ ซธรรมชาตจิ าก Pool Gas
(2) New Demand ได้แก่ ความต้องการก๊าซธรรมชาติจากโรงไฟฟา้ และภาคอุตสาหกรรมที่จะลงนาม
สญั ญาใหม่ และทม่ี กี ารลงนามสญั ญาอยใู่ นปัจจบุ นั แตย่ งั ไม่มกี ารเรม่ิ ใชก้ ๊าซธรรมชาติ (Unmet Demand) โดยสามารถซอ้ื จาก Pool Gas
ไดใ้ นกรณที ปี่ รมิ าณใน Pool Gas ยงั มเี หลอื
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 35
2.4 การพิจารณาปรมิ าณการนาเข้า LNG กบั ความสามารถของ LNG Terminal
มีการบริหารจัดการการใช้ก๊าซในอ่าวไทยให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในส่วนของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
(GSP) โดย กกพ. ได้กาหนดหลักเกณฑ์ให้ ปตท. สามารถใช้ By pass gas ได้ในกรณีมีความจาเป็นต้องทดสอบระบบหรือควบคุม
คุณภาพก๊าซธรรมชาติให้อยู่ในเกณฑ์ที่กาหนด ท้ังน้ี ในส่วนของการพิจารณาความชัดเจนเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ก๊าซธรรมชาติใน
อ่าวไทย กาหนดให้ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยต้องนามาใช้ในโรงแยกก๊าซธรรมชาติก่อน ในกรณีปริมาณก๊าซท่ีผู้ขายจะต้องส่งมอบตาม
สัญญาใหแ้ ก่ผู้ซื้อในแตล่ ะวัน (Daily Contract Quantity; DCQ) ของก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยมีสูงกว่า Capacity หรือความต้องการ
ของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จะถือว่า Capacity หรือความต้องการของโรงแยกก๊าซธรรมชาติเป็นเกณฑ์ของการจัดหาก๊าซธรรมชาติ
ในประเทศ (Domestic Gas) แต่เมื่อใดท่ี DCQ ของก๊าซในอ่าวไทยต่ากว่า Capacity หรือความต้องการของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
ใหน้ า LNG เขา้ มาเพมิ่
3.5 การกาหนดโครงสร้างราคากา๊ ซธรรมชาตแิ ละการกาหนดราคา LNG นาเข้า
3.5.1 การกาหนดโครงสร้างราคาก๊าซธรรมชาติ
โครงสร้างราคาก๊าซธรรมชาติเพ่ือรองรับการแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติ ประกอบด้วย ราคาเนื้อ
ก๊าซธรรมชาติ ค่าบรกิ ารสถานี LNG คา่ บรกิ ารในการจัดหาและคา้ สง่ กา๊ ซธรรมชาติ อตั ราคา่ ผ่านทอ่ กา๊ ซธรรมชาติ โดยอตั ราค่าผ่านท่อ
ก๊าซธรรมชาติท่ี Shipper รายใหม่ต้องไปจองใช้บริการท่อก๊าซธรรมชาติจาก TSO ให้คานวณเฉพาะค่าผ่านท่อก๊าซธรรมชาติบนบก
เท่านั้น (ไมร่ วมค่าผา่ นท่อกา๊ ซธรรมชาติในทะเล)
3.5.2 การกาหนดราคา LNG นาเข้า
(1) ให้ยกเลิกมติ กพช. เม่ือวันที่ 28 มิถุนายน 2553 ที่เห็นชอบหลักเกณฑ์การจัดหา LNG ท่ีให้ ปตท.
ดาเนินการเพอ่ื จดั หา LNG ด้วยสัญญาระยะยาว และให้นาสัญญาซ้ือขาย LNG ระยะยาวเสนอต่อ กพช. และ ครม. เพื่อให้ความเห็น
ภายหลังจากที่การเจรจาสัญญามีข้อยุติ และหากมีความจาเป็นท่ีจะต้องนาเข้า LNG ด้วยสัญญา Spot และ/หรือสัญญาระยะสั้น
ให้ ปตท. ดาเนินการได้เอง โดยท่ีราคา LNG จะต้องไม่เกินราคาน้ามันเตา 2% (ราคาประกาศหน้าโรงกลั่นรายเดือน) ท่ีประกาศ
โดย สนพ. และในกรณีอ่นื ๆ มอบหมาย สนพ. และ สกพ. เป็นผู้พิจารณาอนุมัติการจัดหาระยะส้ัน ทง้ั นี้ เมอ่ื ปตท. ไดม้ กี ารนาเขา้ LNG
ดว้ ยสญั ญา Spot และ/หรอื สญั ญาระยะสน้ั แลว้ ให้ ปตท. นาเสนอผลการจดั หาตอ่ กพช. เพอ่ื ทราบ เปน็ ระยะๆ ตอ่ ไป
(2) การกาหนดหลกั เกณฑ์การจัดหา LNG สาหรับทุก Shipper
(2.1) การจัดหา LNG สาหรบั Regulated Market
การจัดหา LNG ดว้ ยสัญญาระยะยาวและ/หรือสัญญาระยะกลาง ในระยะเร่ิมต้นมอบหมาย
ให้ สนพ. ร่วมกับ สกพ. พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์ราคานาเข้า LNG (LNG Benchmark) และนาเสนอขอความเห็นชอบจาก กบง.
และ กพช. ก่อนที่จะประกาศเป็นหลักเกณฑ์ให้ Shipper นาไปใช้ในการจัดหาต่อไป ภายหลังจากท่ีการเจรจาสัญญามีข้อยุติ
ให้นาสัญญาซ้อื ขาย LNG เสนอตอ่ กบง. พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบก่อนการดาเนนิ การ
การจดั หา LNG ด้วยสัญญา Spot Flexible ราคา Spot LNG จะต้องไม่เกนิ ราคา Pool Gas
โดย ปตท. จะเปน็ ผดู้ าเนินการประมลู จดั หา Spot Flexible ภายใตก้ ากับ ของ กกพ. ทง้ั ด้านปรมิ าณและเงอื่ นไข
การจัดหา LNG ดว้ ยสญั ญา Spot และ/หรือสญั ญาระยะสนั้ ราคา Spot LNG จะตอ้ งไม่เกิน
ราคา JKM ปรับดว้ ยส่วนต่างคา่ ขนส่งจากประเทศผคู้ ้าต้นทางส่งมอบท่ปี ระเทศญป่ี ุ่นกับท่ีประเทศไทย (JKM adjust by freight cost)
และมเี พดานราคาไม่เกนิ ราคา LNG นาเข้าจากสัญญาระยะยาวท่ีต่าที่สุดทุกช่วงเวลา ของ ปตท. ในปัจจุบัน ทั้งน้ีมอบหมายให้ กกพ.
เป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมของ JKM adjust by freight cost เป็นระยะๆ และให้ กกพ. เป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าที่กากับปริมาณ
และชว่ งเวลาทจ่ี ะสามารถนาเข้า Spot LNG ได้ ภายใต้หลกั เกณฑร์ าคาที่ กบง. กาหนด
(2.2) การจัดหา LNG สาหรับ Partially Regulated Market ให้ Shipper สามารถจัดหาและ
นาเข้า LNG ท้ังในรูปแบบสัญญาระยะส้ัน ระยะกลาง หรือระยะยาว รวมถึงจัดหา Spot LNG ได้ ภายใต้การกากับดูแลด้านปริมาณ
และคณุ ภาพการให้บริการของ กกพ.
3.6 หลกั เกณฑ์การสง่ั การเดินเครื่องโรงไฟฟ้า เพอื่ รองรับโครงสร้างกิจการก๊าซธรรมชาติในระยะท่ี 2 ให้ กกพ. กาหนด
ตามหลักการประสิทธิภาพ (Heat Rate) เพื่อใช้สาหรับโรงไฟฟ้าในส่วนท่ีใช้ก๊าซธรรมชาติจาก New Demand ท่ีขายไฟ
เขา้ ระบบ (Regulated Market) และนาเสนอ กบง. และ กพช. พิจารณาต่อไป
3.7 TPA Regime และ TPA Code ให้ กกพ. พจิ ารณาทบทวนความเหมาะสม
3.8 การปรับคุณภาพก๊าซธรรมชาติ (Changeover Day: C-Day) ให้ ปตท. เสนอแนวทางและรายละเอียด ต่อ กกพ. และ
ให้ กกพ. ทาหนา้ ท่ีเป็นผ้กู ากับใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมต่อไป
36 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานกา๊ ซธรรมชาตขิ องประเทศไทย
การพัฒนาโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) และโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อรองรับ
การจัดหารวมท้ังการนาเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas (LNG) Receiving Facilities) เริ่มต้นหลังการค้นพบ
ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยในปี พ.ศ. 2522 และพบว่าก๊าซธรรมชาติจากแหล่งเอราวัณสามารถนามาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ได้เป็นแหล่งแรก คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2539 จึงได้ให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ต่อมาได้แปรรูปเป็น
บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) (ปตท.) เป็นผู้รับผิดชอบในการวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติจากแหล่งเอราวัณมาข้ึนฝ่ังที่บ้านหนองแฟบ
ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมือง จงั หวดั ระยอง และวางระบบทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาตเิ ลยี บถนนสายหลกั ไปยงั โรงไฟฟา้ และโรงงานอตุ สาหกรรม
ตา่ งๆ ตามแนวทอ่ ซงึ่ ปจั จบุ นั ท่อส่งก๊าซธรรมชาติท่ัวทั้งประเทศท้ังหมดมีความยาวรวมประมาณ 4,315 กิโลเมตร โดยจากแผนบรหิ าร
จดั การกา๊ ซธรรมชาติ พ.ศ. 2561-2580 (Gas Plan 2018) แนวโนม้ ความตอ้ งการใช้กา๊ ซธรรมชาตใิ นช่วงปี 2561 - 2580 เพิ่มขึน้ เฉลี่ย
รอ้ ยละ 0.7 ตอ่ ปี โดยในปี 2580 คาดการณค์ วามตอ้ งการใช้ก๊าซธรรมชาติของประเทศไทยจะอยทู่ ี่ระดบั 5,348 ลา้ นลกู บาศกฟ์ ุตตอ่ วัน
แบ่งเป็นความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า ร้อยละ 67 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 21 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ 11
และภาคขนสง่ รอ้ ยละ 1
ประมาณการความตอ้ งการใชก้ า๊ ซธรรมชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 (GAS Plan 2018)
ตามแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (PDP2018 (Rev.1)) ณ สิ้นปี
2580 เขตนครหลวงจะมีกาลังผลิตไฟฟ้าสุทธิรวมท้ังสิ้น 11,478 เมกะวัตต์ มีโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ เพิ่มข้ึนจาก PDP2015
ประมาณ 2,820 เมกะวตั ต์ ทาใหค้ วามต้องการใชก้ ๊าซธรรมชาติเพ่มิ ขึน้ จาก 650 ล้านลกู บาศก์ฟตุ ตอ่ วนั เปน็ 1,050 ลา้ นลูกบาศกฟ์ ตุ
ต่อวัน ซึ่งเกินศักยภาพของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติที่มีอยู่ 800 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ประกอบกับประมาณการ
ความต้องการใช้ LNG ของประเทศในช่วงปี 2567-2570 คาดการณว์ ่าจะอยูท่ ่ีระดบั 11-13 ลา้ นตนั ตอ่ ปี
1. โครงการระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาตบิ นบกจากบางปะกงไปโรงไฟฟา้ พระนครใต้ (BPK-SBK)
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 37
2. โครงการ LNG Terminal พื้นที่ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี 3 (T-3) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
จังหวดั ระยอง
กพช. เม่ือวันท่ี 5 พฤศจิกายน 2564 เห็นชอบให้บรรจุโครงการ LNG Terminal พ้ืนที่ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด
ระยะที่ 3 (T-3) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จังหวัดระยอง กาลังการแปรสภาพ LNG เป็นก๊าซ 10.8 ล้านตันต่อปี
(ขยายได้ถึง 16 ล้านตันต่อปี) ในแผนโครงสร้างพ้ืนฐานก๊าซธรรมชาติเพ่ือความม่ันคงของประเทศ ตามที่สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ได้ขอให้กระทรวงพลังงานบรรจุโครงการฯ ไว้ในแผนโครงสร้าง
พื้นฐานก๊าซธรรมชาติเพ่ือความม่ันคงของประเทศ เพ่ือให้เอกชนคู่สัญญาสามารถพัฒนาโครงการในส่วนท่ีเก่ียวข้องได้อย่างต่อเนื่อง
และให้โครงการเร่งด่วนใน EEC Project List สามารถดาเนินการได้ตามกาหนดและเปิดใช้บริการได้ภายในปี 2569 เป็นการสร้าง
ความเช่ือมั่นให้กับผู้ลงทุนทั้งในและต่างประเทศ และสามารถรองรับการนาเข้า LNG ให้ทันต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติของ
ประเทศซึ่งเป็นการเสริมสร้างความม่ันคงด้านพลังงาน พร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่องและย่ังยืนต่อไป
บริษัทเอกชนท่ีผ่านการคัดเลือกเป็นคู่สัญญาในการพัฒนาโครงการ ได้แก่ กลุ่มกิจการร่วมค้ากัลฟ์ และ พีทีที แทงค์
(ปจั จุบันคอื บริษัท กัลฟ์ เอม็ ทีพี แอลเอน็ จี เทอรม์ ินอล จากัด) ภายใต้ สัญญาร่วมลงทุน กับ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
โดยมีทา่ เรอื ขนถ่าย LNG 3 ท่า และมีท่อส่งก๊าซขนาด 42 น้ิว ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร เช่ือมต่อไปยัง สถานีผสมก๊าซท่อส่ง
ก๊าซธรรมชาติเสน้ ท่ี 5 (ระยะที่ 3) ของ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และรองรับการจัดส่งก๊าซผ่านท่อส่งก๊าซธรรมชาติเส้นที่ 4 และ
เส้นที่ 5 ซึง่ เชอ่ื มตอ่ ไปยังโครงขา่ ยทอ่ สง่ กา๊ ซในพืน้ ที่ Zone 3
38 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
แนวทางการบรหิ ารจดั การการสง่ ออก LNG ภายใตโ้ ครงการ LNG HUB
กพช. เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2564 และ กบง. เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีมติเห็นชอบหลักเกณฑ์การส่งออกเท่ียวเรือ
LNG (Reloading) สาหรบั สัญญาระยะยาว โดยมีสรุปสาระสาคัญ ดังนี้
1. ความเปน็ มา
การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการค้าขาย LNG ของภูมิภาค (Regional LNG Hub) ได้ถูกบรรจุให้เป็นแผนปฏิรูป
ประเทศด้านพลังงานซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพ่ือเสริมสร้าง
ความมั่นคงด้านพลังงานซ่ึงเป็นส่วนสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยจากผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา
ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการซ้ือ-ขาย LNG ในภูมิภาค (Regional LNG Hub) ซึ่งเป็นผลการศึกษาภายใต้แผนปฏิรูปประเทศ
ด้านพลังงาน ในประเด็นที่ 7 ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบในการเป็นศูนย์กลางการซื้อ-ขาย LNG
สรุปได้ ดังนี้
ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์: ควรท่ีต้องต้ังอยู่ในตาแหน่งที่เป็นศูนย์กลางความต้องการ LNG (LNG demand) และอยู่ใน
เส้นทางการค้าขาย LNG
มีผู้ซ้ือ-ผู้ขายหลายราย: เพื่อผลักดันให้เกิดสภาพคล่องในการค้าขาย (Trade Liquidity) ประเทศที่จะเป็นศูนย์กลาง
การซอื้ -ขาย LNG ของภูมภิ าคไดจ้ ะต้องมีผู้ซ้อื -ผขู้ ายหลายรายเข้ามาใช้บริการ
โครงสร้างพ้ืนฐานมีความพร้อม: โครงสร้างพื้นฐานควรมีความพร้อมเพ่ือรองรับการให้บริการต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนใน
การเป็นศูนย์กลางการซื้อ-ขาย LNG ของภูมิภาค ได้แก่ การ Reload, Storage, Trucking, Breakbulk, Small Scale, Bunkering,
Cool-Down เป็นตน้
โครงสร้างราคามีความโปร่งใสใน (Price Transparency): ควรมีราคาอ้างอิง เพ่ือให้ผู้ใช้บริการสามารถทราบข้อมูล
ราคาซ้อื -ขายและอัตราค่าบริการของแต่ละกิจกรรมทีจ่ ะเกิดข้ึนในศูนย์กลางการซ้ือ-ขาย LNG อย่างชดั เจน
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 39
ปจั จัยทส่ี นับสนนุ ในการเป็นศนู ย์กลางการซ้อื -ขาย LNG ของภูมภิ าคของประเทศไทย ประกอบดว้ ย
1. ประเทศไทยมีตลาดก๊าซธรรมชาติท่มี ีการเตบิ โต มกี ารนาเขา้ LNG ในปริมาณทส่ี ูงทีส่ ุดในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
2. ประเทศไทยมที ่ีตัง้ เป็นจุดยุทธศาสตร์สามารถเช่อื มตอ่ ไปยังประเทศอื่น ๆ ได้ในภมู ิภาค ซ่งึ ตา่ งมคี วามตอ้ งการใช้พลังงาน
เพ่ิมข้นึ ในอนาคต โดยเฉพาะประเทศใกลเ้ คียง ไดแ้ ก่ ประเทศในกลมุ่ CLMV
3. ประเทศไทยมคี วามพรอ้ มด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐานท่ีเกย่ี วข้อง โดยทา่ เทยี บเรือและสถานีรับ-จ่าย LNG (LNG Terminal) มี
Capacity ขนาดใหญ่ ประกอบกับภาครัฐได้ส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติ โดยเปิดโอกาสให้ สามารถเข้าถึงระบบ
โครงสรา้ งพ้นื ฐานของกิจการกา๊ ซธรรมชาติ
ภายใต้แผนปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน ได้กาหนดให้คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดทาโครงการทดสอบ
นวัตกรรมท่ีนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงาน (ERC Sandbox) เพ่ือสนับสนุนการทดสอบนวัตกรรมทางพลังงาน
โดยบริษทั ปตท. จากดั (มหาชน) (ปตท.) ได้นาโครงการ “การพัฒนาประเทศไทยให้เป็น Regional LNG Hub” เข้าร่วม ERC Sand-
box ซง่ึ โครงการไดร้ บั ความเห็นชอบจาก กกพ. ใหบ้ รรจุใน ERC Sandbox เมอื่ วันที่ 30 สิงหาคม 2562
2. การบรหิ ารจัดการ LNG
เมอ่ื วนั ท่ี 9 มนี าคม 2564 คณะกรรมการบรหิ ารนโยบายพลงั งาน (กบง.) ไดม้ กี ารพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ การดาเนินการส่งออก LNG
(Reloading) มีความสอดคลอ้ งกบั แผนปฏิรปู ประเทศดา้ นพลงั งานในการพัฒนาประเทศไทยเป็น Regional LNG Hub ภายใต้โครงการ
ERC Sandbox เปน็ การบริหารจัดการ LNG ภายในประเทศ โดยขาย LNG ในช่วงท่ีราคา Spot สงู กวา่ ราคาจากสัญญาระยะยาว และ
หาโอกาสจัดหา LNG เข้ามาทดแทนในชว่ งที่ราคา Spot ลดลง อีกทง้ั ภาครฐั ไดร้ ับภาษีทเ่ี ก่ียวข้องกบั การสง่ ออกเพม่ิ ขึ้น และ Terminal
ไดค้ ่าบริการ Reloading เป็นประโยชน์กับผู้ใช้ Terminal ในอนาคต กบง. จึงมีมติรับทราบการดาเนินการส่งออก LNG (Reloading)
เท่ยี วเรือแรกของ ปตท. โดยมอบหมายให้ กกพ. ดาเนินการนารายได้นาส่งภาครัฐประมาณ 580 ล้านบาทไปลดราคาค่าก๊าซธรรมชาติ
และเห็นชอบหลักเกณฑ์การส่งออกเที่ยวเรือ LNG (Reloading) สาหรับสัญญาระยะยาวของ ปตท. โดยให้นาเสนอ
ต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) พิจารณาต่อไป และต่อมาเม่ือวันที่ 1 เมษายน 2564 กพช. ได้รับทราบการ
ดาเนินการส่งออก LNG (Reloading) เที่ยวเรือแรกของ ปตท. และมอบหมายให้ กกพ. ดาเนินการนารายได้นาส่งภาครัฐประมาณ
580 ล้านบาท ไปลดราคาค่าก๊าซธรรมชาติ และเห็นชอบหลักเกณฑ์การส่งออกเท่ียวเรือ LNG (Reloading) สาหรับสัญญาระยะยาว
ของ ปตท. โดยมีรายละเอียดการดาเนนิ การ ดงั น้ี
2.1 การดาเนนิ การสง่ ออก LNG (Reloading)
ราคา Asian Spot LNG มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญตั้งแต่ช่วงปลายปี 2563 ถึงต้นปี 2564 เน่ืองจาก
สภาพอากาศที่หนาวกว่าปกติในประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และจีน โครงการผลิต LNG ในประเทศมาเลเซีย ออสเตรเลีย และไนจีเรีย
เกดิ เหตุขดั ขอ้ ง อกี ท้งั การสญั จรของเรือขนสง่ LNG ผ่านชอ่ งแคบปานามาเกดิ ปญั หาการจราจรติดขัด ทาให้ตลาดเอเชียมีปริมาณเที่ยว
เรือเสนอขายลดลง ตลาด Asian Spot จึงเกิดภาวะตึงตัวกะทันหัน อีกทั้ง ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาพรวมของประเทศ
ปรับลดลง หลังจากเกิดเหตุการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ และรัฐบาลเริ่มประกาศมาตรการควบคุม
การแพร่ระบาดต่าง ๆ ซึง่ สง่ ผลกระทบตอ่ ภาพรวมการใช้กา๊ ซฯ ประกอบกบั สภาพอากาศทห่ี นาวเย็นในฤดูหนาวส่งผลต่อความต้องการ
ใช้ไฟฟ้าลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ส่งผลให้ ปตท. มีระดับปริมาณสารอง LNG เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถส่งออก LNG ได้
จานวน 1 เที่ยวเรือ (ประมาณ 60,000 ตัน) โดยมีปริมาณสารอง LNG เพียงพอต่อความต้องการใช้ก๊าซฯ ของประเทศ ปตท.
จึงเห็นโอกาสการส่งออก LNG จากท่ามาบตาพุด เพื่อทดสอบการดาเนินการ Reloading LNG เชิงพาณิชย์ ในช่วงราคา LNG
จากสัญญาซ้ือขายระยะยาวของ ปตท. ตา่ กวา่ ราคา Asian Spot LNG
40 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
2.2 รายงานผลการสง่ ออก LNG (Reloading) เทยี่ วแรกของ ปตท.
ปตท. ได้ดาเนินการส่งออก LNG ในระหว่างวันที่ 25 - 26 มกราคม 2564 โดยไม่เกิดปัญหาอุปสรรค
ด้านเทคนคิ ซึ่งสรปุ รายละเอยี ดการดาเนนิ งานเบอื้ งตน้ ได้ ดงั นี้
ปรมิ าณ LNG ทส่ี ง่ ออก ประมาณ 62,449 ตัน หรอื 3,262,266 MMBtu
25 – 26 มกราคม 2564
กาหนดการดาเนนิ การ 32 ช่วั โมง 35 นาที
14.66 USD/MMBtu
ระยะเวลาดาเนินการรวม 8.7 USD/MMBtu
ราคาขาย LNG ทที่ ่ามาบตาพุด 580 ล้านบาท
ประมาณการตน้ ทนุ
(ประกอบดว้ ยต้นทุนเนื้อ LNG คา่ บรกิ าร Reloading
LNG Service คา่ ภาษีผ่านทา่ เทียบเรือ Corporate tax
และคา่ ใช้จา่ ยอ่ืนทเี่ กี่ยวข้อง)
รายได้นาส่งภาครัฐ
2.3 หลกั เกณฑ์การสง่ ออกเทีย่ วเรือ LNG (Reloading) สาหรับสญั ญาระยะยาวของ ปตท. ดังน้ี
2.3.1 หลักเกณฑด์ ้านปริมาณ
ให้ ปตท. สามารถดาเนินการส่งออก LNG ได้ โดยต้องไม่กระทบต่อความต้องการใช้ก๊าซฯของประเทศ
(ปรมิ าณสารอง LNG หลังจากการสบู ถา่ ยอยา่ งนอ้ ย 1 ถัง)
2.3.2 หลักเกณฑด์ า้ นราคา
กรณที ี่ ปตท. ส่งออก LNG (Reloading) ภายใตส้ ญั ญาระยะยาวท่ีได้รบั ความเหน็ ชอบจาก กพช. และ ครม.
โดย ปตท. จะต้องนาส่งรายได้ระหว่างราคาขาย LNG จริง กับราคา Pool LNG เฉล่ียรายเดือน หลังหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องให้กับ
ภาครฐั ไปลดราคาค่าก๊าซฯ ดังน้ี
รายได้นาส่งภาครัฐ = (ราคาขาย LNG จริง – ราคา Pool LNG – ค่าใช้จา่ ยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง*) × ปริมาณ LNG
* ค่าใช้จ่ายท่ีเกี่ยวข้อง คือ ค่าจ้างเรือ ค่าขนส่ง ค่า Reloading service ค่าใช้จ่ายอื่นๆท่ีเกี่ยวข้องกับการ Reloading
คา่ ดาเนินการของ ปตท. (1% ของราคาต้นทุน LNG รวมค่าใช้จา่ ยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง) และ Corporate Tax เป็นตน้
ทั้งนี้ ปตท. ต้องขาย LNG ในช่วงท่ีราคา Spot ต้องสูงกว่าราคาจากสัญญาระยะยาว และหาโอกาสจัดหา LNG
เข้ามาทดแทนในช่วงท่ีราคา Spot ลดลง โดยมอบหมายให้ กกพ. กากับดูแลการดาเนินการการส่งออก LNG (Reloading) ให้เป็นไป
ตามหลกั เกณฑฯ์ ตอ่ ไป
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 41
การทบทวนการกาหนดราคากา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว (LPG)
ในปี 2564 กระทรวงพลงั งานไดม้ กี ารทบทวนการกาหนดราคากา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว (LPG) ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณต์ ลาดโลก
ทมี่ คี วามผนั ผวน โดยมกี ารบรหิ ารจดั การราคาขายปลกี LPG ดว้ ยระบบ managed float ผา่ นกลไกกองทนุ น้ามนั เชอื้ เพลงิ เพอื่ ลดผลกระทบ
จากความผันผวนของราคาตลาดโลก โดยในปี 2564 ราคา LPG Cargo เฉลย่ี อยู่ที่ 639 เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอ่ ตนั สงู กว่าปี 2563 ที่มคี ่าเฉล่ยี
ทร่ี ะดบั 370 เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอ่ ตนั และได้มมี าตรการในการบรหิ ารจดั การราคาขายปลกี LPG ตามกรอบเปา้ หมายใหร้ าคาขายปลกี อยทู่ ่ี
318 บาทตอ่ ถงั 15 กโิ ลกรมั ซง่ึ ตา่ กวา่ ตน้ ทนุ การผลติ และจดั หาของประเทศทม่ี คี า่ เฉลยี่ อยทู่ ป่ี ระมาณ 383 บาทตอ่ ถงั 15 กโิ ลกรมั เพอื่ ชว่ ย
ภาระคา่ ครองชพี ของประชาชน โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
กบง. เมือ่ วนั ท่ี 26 มีนาคม 2564 มีมตเิ หน็ ชอบการทบทวนการกาหนดราคาก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) โดยขยายระยะเวลา
การคงราคาขายส่งหน้าโรงกลั่น LPG ซ่ึงไม่รวมภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ี 14.3758 บาทต่อกิโลกรัม ตามกรอบเป้าหมายให้ราคาขายปลีก
อยู่ที่ 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรมั เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยใหม้ ผี ลบงั คบั ใช้ตงั้ แต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564
เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชน เนื่องจากในเดือนมีนาคม ราคา LPG Cargo ปรับตัวเพ่ิมข้ึนประมาณ
121 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 431 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 552 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยปรับตัวเพ่ิมข้ึนตามราคาน้ามันดิบ
เน่ืองจากตลาดกังวลปริมาณการผลิตน้ามันดิบสหรัฐฯ ท่ีลดลง เน่ืองจากสภาพอากาศท่ีหนาวเย็นกว่าปกติในรัฐเท็กซัส และโรงกล่ัน
น้ามันราว 4 ล้านบาร์เรลต่อวัน ต้องหยุดดาเนินการ เนื่องจากระบบไฟฟ้าโรงกล่ันน้ามันไม่สามารถทางานได้เพราะท่อขนส่งก๊าซ
ธรรมชาติ ซึ่งเป็นเชื้อเพลงิ ในโรงกลัน่ หยดุ ดาเนินการ และระบบไฟฟา้ ทว่ั เมืองเท็กซสั ดบั ทาให้ประชาชนกวา่ 4 ล้านคน ได้รับผลกระทบ
นอกจากน้ีท่าเรอื ส่งออกในรฐั เทก็ ซสั ตอ้ งหยดุ ดาเนนิ การเนื่องจากสภาพอากาศไม่เหมาะสม
กบง. เม่ือวันท่ี 28 มิถุนายน 2564 มีมติเห็นชอบการทบทวนการกาหนดราคาก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ขยายระยะเวลา
มาตรการคงราคาขายสง่ หน้าโรงกล่นั LPG ซง่ึ ไมร่ วมภาษีมูลคา่ เพิ่มท่ี 14.3758 บาทต่อกิโลกรัม โดยมีกรอบเป้าหมายให้ราคาขายปลีก
อยู่ท่ี 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม ท้ังนี้ ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 เนื่องจากในช่วง
เดือนพฤษภาคม ถึง มิถุนายน 2564 ราคา LPG Cargo ปรับตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 61 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 488
เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 549 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ามันดิบตลาดโลก เน่ืองจากการฟื้นตัวของ
ความต้องการใช้น้ามันในสหรัฐฯ และยุโรป อีกท้ังยอดผู้ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 19 รายใหม่ลดลงอย่างมาก ทาให้ผู้คนเร่ิมกลับมาดาเนิน
กิจกรรมต่างๆ รวมถึงการเดนิ ทางทอ่ งเท่ียวอีกครัง้ หลงั จากถูกกดี กันเน่อื งจากการแพร่ระบาดของตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 19 ในปีที่ผ่านมา
กบง. เมือ่ วันท่ี 20 กนั ยายน 2564 มมี ติเหน็ ชอบการทบทวนการกาหนดราคากา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว (LPG) โดยขยายระยะเวลา
มาตรการคงราคาขายส่งหน้าโรงกลั่น LPG ซง่ึ ไมร่ วมภาษีมลู คา่ เพิ่มท่ี 14.3758 บาทตอ่ กิโลกรัม โดยมีกรอบเป้าหมายให้ราคาขายปลีก
อยู่ท่ี 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม ท้ังนี้ ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 1 ตุลาคม 2564 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2564 เน่ืองจากในช่วง
กรกฎาคม ถงึ กนั ยายน 2563 ราคา LPG Cargo ปรบั ตวั เพิ่มขนึ้ ประมาณ 124 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 549 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน
เป็น 673 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ามันดิบตลาดโลก เน่ืองจาก IMF (International Monetary Fund)
ได้คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจทั่วโลกจะโตข้ึน 6% ในปี 2564 แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และ
การรณรงค์ให้มกี ารฉดี วคั ซนี ไมม่ คี วามคืบหน้าเท่าท่ีควร ประกอบกับประเทศอินเดียมีการนาเข้า LPG เพ่ิมมากข้ึน จากการผ่อนคลาย
มาตรการล็อคดาวนต์ ั้งแตเ่ ดอื นมถิ นุ ายนเปน็ ต้นมา
กบง. เม่อื วันท่ี 23 ธันวาคม 2564 มมี ตเิ ห็นชอบการทบทวนการกาหนดราคาก๊าซปโิ ตรเลียมเหลว (LPG) โดยขยายระยะเวลา
มาตรการคงราคาขายส่งหน้าโรงกล่ัน LPG ซ่ึงไมร่ วมภาษมี ลู คา่ เพิม่ ที่ 14.3758 บาทต่อกิโลกรัม โดยมีกรอบเป้าหมายให้ราคาขายปลีก
อยู่ท่ี 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม ท้ังนี้ ให้มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 1 - 31 มกราคม 2565 เน่ืองจากในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง
ธันวาคม 2564 ราคา LPG Cargo ราคา LPG Cargo ปรับตัวลดลงประมาณ 164 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 847 เหรียญสหรัฐฯ
ต่อตัน เป็น 683 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยปรับตัวลดลง เน่ืองจากกลุ่มโอเปคพลัส (OPEC+) ได้ยืนยันแผนการ
ปรับเพมิ่ การผลิตน้ามันดบิ ทาใหป้ รมิ าณคงคลงั ของ Saudi Aramco อยู่ในระดบั สูงข้นึ อีกทง้ั สหรัฐอเมรกิ า และจนี มกี ารนาน้ามันดิบ
จากคลงั สารองปโิ ตรเลียมทางยทุ ธศาสตรอ์ อกมาใชจ้ ึงสง่ ผลให้ราคาบิวเทนปรบั ตัวลดลง ประกอบกับสภาพอากาศในสหรัฐอเมริกาและ
ญีป่ ุ่นในฤดหู นาวไม่หนาวเยน็ ตามท่คี าดการณ์ไว้
42 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ราคาตลาดโลก ราคาขายปลีกขนาดถงั 15 กโิ ลกรัม
ท้ังน้ี การคงราคาขายส่งหน้าโรงกลั่น LPG ใช้กลไกเงินกองทุนน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาก๊าซ LPG
โดยคณะกรรมการบริหารกองทุนน้ามันเช้ือเพลงิ (กบน.) เมอ่ื วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2564 เห็นชอบให้ใช้เงินกองทุนน้ามันเชื้อเพลิงใน
การรกั ษาเสถียรภาพราคากา๊ ซ LPG โดยใหเ้ งนิ กองทุนน้ามันเช้อื เพลงิ ในส่วนของบัญชกี า๊ ซ LPG ตดิ ลบได้ไม่เกิน 23,000 ล้านบาท ทั้งนี้
ให้โอนเงินในส่วนของบัญชีของน้ามันสาเร็จรูปไปใช้ในบัญชีกลุ่มก๊าซ LPG และให้โอนคืนบัญชีน้ามันสาเร็จรูปในภายหลัง
และมอบหมายให้สานักงานกองทุนน้ามันเช้ือเพลิง (สกนช.) จัดทารายรายรับ-รายจ่ายและฐานะกองทุนน้ามันเช้ือเพลิงของบัญชี
ก๊าซ LPG เพ่ือรายงาน กบน. ทราบทุกเดือน โดยฐานะกองทุนน้ามันเชื้อเพลิงในส่วนของบัญชีก๊าซ LPG ณ วนั ท่ี 12 ธนั วาคม 2564
อยทู่ ตี่ ดิ ลบ 21,831 ลา้ นบาท โดยสภาพคลอ่ งกองทนุ นา้ มนั ฯ ในสว่ นของบญั ชกี า๊ ซLPG เดอื นธนั วาคม 2564 มรี ายจา่ ย 1,687 ล้านบาทต่อเดือน
ฐานะกองทุนนา้ มนั บญั ชี LPG (ลา้ นบาท)
0
-10,000
-20,000
2561 2562 2563 2564
มาตรการบรรเทาผลกระทบจากราคานา้ มันเชอ้ื เพลงิ ทป่ี รบั ตวั สงู ขนึ้
สถานการณ์ราคาน้ามันดิบดูไบในปี 2564 เฉล่ียอยู่ท่ี 69.39 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพ่ิมข้ึนจากปี 2563 ท่ีเฉลี่ยอยู่ที่
42.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องด้วยความต้องการใช้พลังงานทั่วโลกเพิ่มขึ้นหลังเศรษฐกิจเร่ิมฟื้นตัวจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 และการผ่อนปรนมาตรการล๊อกดาวน์ในหลายประเทศ ในขณะท่ีปริมาณอุปทานจากกลุ่มโอเปคพลัสยังคง
ตึงตวั จากมาตรการเพ่ิมกาลังการผลิตนา้ มนั ดบิ อยา่ งค่อยเป็นค่อยไป โดยตง้ั แต่เดอื นกันยายน 2564 เปน็ ต้นมา ราคานา้ มันในตลาดโลก
เพมิ่ สงู ขึน้ จนสง่ ผลใหร้ าคาขายปลีกน้ามันดีเซลในประเทศสูงขึ้นเกิน 30 บาทต่อลิตร ซึ่งเป็นระดับราคาท่ีกระทบต่อภาระค่าครองชีพ
ของประชาชนตามแผนรองรับวิกฤตการณ์ด้านน้ามันเช้ือเพลิง และเนื่องด้วยน้ามันดีเซลเป็นต้นทุนค่าขนส่งและต้นทุนการผลิตของ
สินค้าอุปโภคบริโภคท่ีมีผลต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม ดังน้ัน กระทรวงพลังงานจึงได้ออกมาตรการช่วยเหลือและ
บรรเทาผลกระทบ โดยมกี รอบเป้าหมายใหร้ าคาขายปลีกนา้ มนั กล่มุ ดเี ซลหมุนเรว็ ไมเ่ กนิ 30 บาทตอ่ ลติ ร โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 43
กบง. เมอ่ื วันที่ 4 ตลุ าคม 2564 มมี ติเห็นชอบ มาตรการบรรเทาผลกระทบจากราคาน้ามนั เช้ือเพลิงที่ปรับตัวสูงข้ึน
โดยปรบั ลดสดั ส่วนผสมข้ันตา่ ของไบโอดีเซลในน้ามันดีเซลหมุนเร็ว บี 7 และน้ามันดีเซลหมุนเร็วธรรมดา เป็นร้อยละ 6 โดยปริมาตร
และปรับหลักเกณฑ์การคานวณราคา ณ โรงกลั่นของกลุ่มน้ามันดีเซลหมุนเร็ว พร้อมท้ังขอความร่วมมือผู้ค้าน้ามันเชื้อเพลิงปรับลด
ค่าการตลาดของนา้ มนั เช้ือเพลงิ กลมุ่ ดเี ซลหมนุ เร็วลง เปน็ เท่ากบั 1.40 บาทต่อลิตร โดยมาตรการดังกล่าวเริ่มดาเนินการระหว่างวันท่ี
11 ตลุ าคม 2564 ถงึ 31 ตลุ าคม 2564 และมกี ารประเมนิ สถานการณ์อยา่ งใกล้ชิดเพ่ือกาหนดมาตรการในระยะต่อไป
กบง. เม่ือวนั ที่ 20 ตลุ าคม 2564 มมี ติเห็นชอบมาตรการบรรเทาผลกระทบเพม่ิ เตมิ ของน้ามนั ดเี ซลหมุนเรว็ ทปี่ รบั ตวั
สงู ขน้ึ โดยกาหนดใหม้ นี ้ามนั กลมุ่ ดเี ซลหมนุ เรว็ 3 ชนดิ คอื น้ามนั ดเี ซลหมนุ เรว็ บี 7 น้ามนั ดเี ซลหมนุ เรว็ ธรรมดา และน้ามันดีเซลหมุนเร็ว
บี 20 ซง่ึ กาหนดใหส้ ่วนตา่ งราคาขายปลีกระหวา่ งน้ามันดีเซลหมนุ เร็ว บี 7 กบั น้ามนั ดเี ซลหมนุ เรว็ ธรรมดา (บี 10) อยทู่ ี่ 0.15 บาทตอ่ ลติ ร
และสว่ นตา่ งราคาขายปลกี ระหวา่ งนา้ มนั ดเี ซลหมนุ เรว็ บี 7 กับน้ามนั ดเี ซลหมนุ เรว็ บ2ี 0 อยทู่ ี่ 0.25 บาทต่อลิตร และขอความร่วมมือผู้ค้า
น้ามันเช้ือเพลงิ คงคา่ การตลาดของนา้ มนั เชือ้ เพลงิ กลุ่มดเี ซลหมนุ เร็ว ไม่เกนิ 1.40 บาทต่อลิตร และมีแนวทางดาเนินการตามมาตรการ
บรรเทาผลกระทบจากราคานา้ มนั เชื้อเพลงิ ทป่ี รบั ตวั สูงขน้ึ โดยใชเ้ งินกองทนุ น้ามันเชื้อเพลิงท่ีมีอย่ใู นการรักษาระดับราคาขายปลีกของ
น้ามันเชื้อเพลิงกลุ่มดีเซลหมุนเร็ว ไม่ให้เกิน 30 บาทต่อลิตร รวมถึงดาเนินการกู้ยืมเงินเพื่อรักษาระดับราคาขายปลีกของน้ามัน
เชื้อเพลิงกลุ่มดีเซลหมุนเร็ว ทั้งน้ีในกรณีราคาน้ามันดิบดูไบสูงเกิน 87.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือสถานภาพกองทุนน้ามัน
เชื้อเพลิงไม่เพียงพอท่ีจะรักษาเสถียรภาพราคาน้ามันเชื้อเพลิงกลุ่มดีเซลหมุนเร็ว ให้ไม่เกิน 30 บาทต่อลิตรแล้ว ให้ประสาน
กระทรวงการคลงั เพอื่ ปรบั ลดอตั ราภาษสี รรพสามติ เปน็ ลาดบั ตอ่ ไป โดยมาตรการดงั กลา่ วเรมิ่ ดาเนนิ การ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564
เป็นต้นไป
กบง. เมอื่ วันท่ี 24 พฤศจิกายน 2564 มมี ติเห็นชอบมาตรการบรรเทาผลกระทบเพ่ิมเติมของนา้ มนั ดเี ซลหมนุ เรว็ ทป่ี รบั ตวั สงู ขนึ้
โดยมแี นวทางดาเนนิ การในเดอื นธนั วาคม 2564 ถงึ 31 เดอื นมนี าคม 2565 โดยมีการปรับลดสัดส่วนผสมไบโอดีเซลในน้ามันดีเซลหมุนเร็ว
จากเดมิ มีการผสมอยู่ 3 สดั สว่ น คอื บี7 บี10 และบ2ี 0 ให้มสี ดั ส่วนผสมเดียว คือ บี7 และขอความร่วมมือให้ผู้ค้าน้ามันเช้ือเพลิงคงคา่
การตลาดของน้ามันเช้ือเพลิงกลุ่มดีเซลหมุนเร็ว ไม่เกิน 1.40 บาทต่อลิตร รวมถึงติดตามราคาขายปลีกของน้ามันเชื้อเพลิงกลุ่มดีเซล
หมุนเร็วให้ไม่เกิน 30 บาทต่อลิตร และมอบหมายให้กระทรวงพลังงานประสานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามัน
แห่งชาติ (กนป.) นาเสนอมาตรการส่งเสริมการส่งออกน้ามันปาล์มดิบแก่ คณะกรรมการฯ เพ่ือพิจารณามาตรการดังกล่าว ซึ่งเป็น
ช่วงเวลาที่ราคาน้ามันปาล์มดิบในตลาดโลกยังคงเป็นราคาท่ีสูง การส่งเสริมการส่งออกเป็นมาตรการหนึ่งที่จะรักษาราคาผลปาล์มได้
ใกลเ้ คยี งระดบั ราคาเฉลยี่ ทผ่ี า่ นมา และจะมกี ารประเมนิ สถานการณอ์ ยา่ งใกลช้ ิดและกาหนดมาตรการเพื่อบรรเทาผลกระทบค่าครองชพี
ประชาชนในระยะตอ่ ไป
44 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
การบรรเทาผลกระทบจากราคากา๊ ซ NGV ทป่ี รบั ตวั สงู ขนึ้
กพช. เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 มีมติให้กาหนดราคาขายปลีกก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV)
โดยพจิ ารณาจากสตู รโครงสร้างราคา ดงั น้ี
ราคาขายปลีกกา๊ ซ NGV = ตน้ ทุนราคาก๊าซธรรมชาติ + ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินการ
โดยท่ีต้นทุนราคาก๊าซธรรมชาติคานวณจากราคาเฉลี่ยของเนื้อก๊าซธรรมชาติจากแหล่งต่างๆ บวกด้วยค่าบริการ
สาหรับการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ และค่าผ่านท่อ สาหรับค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของต้นทุนค่าสถานี
คา่ ขนส่ง และคา่ การตลาด
จากสถานการณ์ราคาพลังงานของโลกท่ีปรับสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ต้นปี 2564 เป็นต้นมา ประกอบกับ
สถานการณ์การแพร่กระจายของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ซ่ึงส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ รวมท้ัง
รถโดยสารสาธารณะที่มีปริมาณผู้โดยสารลดลงอย่างมากทาให้รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายและเกิดภาวการณ์ขาดทุนสะสมจาก
ค่าเช้ือเพลิงท่ีเป็นต้นทุนหลักในการดาเนินธุรกิจ ดังน้ัน เพ่ือเป็นการบรรเทาผลกระทบกับกลุ่มผู้ใช้ก๊าซ NGV เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์
ทั่วไปและรถโดยสารสาธารณะ ภาครฐั จึงได้มีมาตรการช่วยเหลือ ดงั นี้
รถยนตท์ วั่ ไป
- คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เม่ือวันที่ 19 มีนาคม 2563 มีมติให้คงราคาขายปลีกก๊าซ NGV
รถทว่ั ไป ท่ี 15.31 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ตอ่ ไปอีก 5 เดอื น (วนั ที่ 16 มีนาคม ถึง 15 สิงหาคม 2563)
- กบง. เม่ือวันท่ี 11 พฤศจิกายน 2564 มีมติเห็นชอบให้คงราคาขายปลีกก๊าซ NGV ที่ 15.59 บาทต่อกิโลกรัม
เป็นเวลา 3 เดือน (วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2564 ถึงวนั ท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2565)
รถโดยสารสาธารณะ
กบง. เมอ่ื วันท่ี 25 มีนาคม 2563 มีมติเห็นชอบให้ลดราคาขายปลีกก๊าซ NGV รถโดยสารสาธารณะ ในเขต กทม./
ปริมณฑล: รถแท็กซ่ี/ตุ๊กตุ๊ก/รถตู้ร่วม ขสมก. ในต่างจังหวัด: รถโดยสาร/มินิบัส/สองแถวร่วม บขส. /รถตู้ร่วม บขส. และรถแท็กซี่
ลง 3 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิม 13.62 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 10.62 บาทต่อกิโลกรัม เป็นระยะเวลา 3 เดือน (วันท่ี 1 เมษายน
ถึง 30 มิถุนายน 2563) โดยขอความร่วมมือบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (ปตท.) ช่วยเหลือส่วนต่างราคาขายปลีกก๊าซ NGV สาหรับ
รถโดยสารสาธารณะ เพอื่ คงราคาขายปลกี ท่ี 10.62 บาทต่อกโิ ลกรมั เป็นเวลา 3 เดอื น
กบง. เม่ือวันที่ 15 มิถุนายน 2563 มีมติเห็นชอบให้คงราคาขายปลีกก๊าซ NGV สาหรับรถโดยสารสาธารณะ
(ในเขต กทม./ปริมณฑล: รถแท็กซ่ี/ตุ๊กตุ๊ก/รถตู้ ร่วม ขสมก. ในต่างจังหวัด: รถโดยสาร/มินิบัส/สองแถว ร่วม ขสมก. รถโดยสาร/รถตู้
ร่วม บขส. และรถแท็กซ่ี) ท่ี 10.62 บาทต่อกิโลกรัม ต่อไปอีกเป็นระยะเวลา 1 เดือน (วันที่ 1 - 31 กรกฎาคม 2563) โดยขอ
ความร่วมมือ ปตท. ช่วยเหลอื สว่ นตา่ งราคาขายปลกี NGV ที่ 10.62 บาทตอ่ กิโลกรมั เม่ือครบกาหนดเวลาชว่ ยเหลอื แล้ว คณะกรรมการ
ปตท. เห็นว่าเศรษฐกิจของประเทศยังฟื้นตัวได้ไม่เต็มท่ี จึงขยายระยะเวลาช่วยเหลือผู้ประกอบการรถโดยสารสาธารณะเพ่ือเป็น
การบรรเทาความเดือดร้อนต่อไปอีก 5 เดือน โดยคงราคาขายปลีกก๊าซ NGV สาหรับรถโดยสารสาธารณะ ท่ี 13.62 บาทต่อกิโลกรัม
(วันที่ 1 สงิ หาคม - 31 ธันวาคม 2563)
นอกจากน้ี ปตท. ยงั ได้ดาเนินโครงการ “เอ็นจวี ี เพอ่ื ลมหายใจเดียวกัน” เพ่ือช่วยบรรเทาผลกระทบจากโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 ให้กับผ้ปู ระกอบอาชีพขับขร่ี ถแทก็ ซีใ่ นเขตกรงุ เทพฯ และปริมณฑล โดยสามารถซ้ือก๊าซ NGV ในราคา 13.62 บาท
ต่อกิโลกรมั วงเงนิ ซื้อก๊าซ NGV ทไี่ ด้รบั ส่วนลดไมเ่ กนิ 10,000 บาทต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 เดือนครึ่ง (วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 –
15 กุมภาพนั ธ์ 2565)
ท้ังนี้ ในภาพรวมนอกจากกระทรวงพลังงานจะมีหน้าท่ีดูแลให้มีปริมาณก๊าซ NGV เพียงพอกับความต้องการใช้
เพ่ือไม่ให้เกดิ ภาวะการขาดแคลนแลว้ หากราคาขายปลีกปรับสูงข้ึนจนอาจส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ก็จะมีมาตรการช่วยเหลือโดยปรับราคา
ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในแตล่ ะช่วงเวลา
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 45
กราฟแสดงการชว่ ยเหลอื ราคาขายปลีกกา๊ ซ NGV สาหรับรถแตล่ ะประเภท
การจดั สรรผลประโยชนบ์ ญั ชี Take or Pay แหลง่ ก๊าซธรรมชาตเิ มยี นมา
บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (ปตท.) ได้ทาสัญญาซ้ือก๊าซธรรมชาติจากแหล่งยาดานาและแหล่งเยตากุน ประเทศเมียนมา
โดยมีกาหนดเร่ิมส่งก๊าซในวันที่ 1 สิงหาคม 2541 และวันที่ 1 เมษายน 2543 ตามลาดับ โดยท้ังสองสัญญามีเงื่อนไขการซ้ือขายแบบ
Take or Pay (TOP) กลา่ วคือ หากผ้ซู อื้ รับกา๊ ซไม่ครบปรมิ าณข้ันต่ารายปีตามสัญญา ผู้ซ้ือจะมีภาระผูกพันต้องจ่ายเงินค่าก๊าซให้ผู้ขาย
สาหรับปริมาณที่รับขาดไปก่อน ท้ังน้ี ผ้ซู ื้อสามารถเรียกรับกา๊ ซตามปรมิ าณที่ไดช้ าระเงนิ ไปแลว้ น้นั คนื ในภายหลังโดยไม่ตอ้ งจา่ ยเงินอีก
(Make up) โดยในช่วงปี 2541 - 2544 ปตท. มีการวางท่อส่งก๊าซฯ จากชายแดนไทย - เมียนมา มายังโรงไฟฟ้าราชบุรีของการไฟฟ้า
ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แต่เนอื่ งจากวกิ ฤติเศรษฐกจิ ปี 2540 ส่งผลให้ความต้องการใช้ไฟฟา้ และก๊าซลดน้อยลง คณะรัฐมนตรี
(ครม.) จึงมมี ติให้ กฟผ. ขยายสัญญากอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ ราชบรุ ีออกไป 180 วนั และให้ ปตท. ชะลอโครงการก่อสรา้ งท่อราชบุรี – วงั นอ้ ย
ทาให้ ปตท. ไมส่ ามารถรบั กา๊ ซจากแหลง่ ยาดานาและแหล่งเยตากุนไดค้ รบปริมาณข้ันต่ารายปตี ามสญั ญา และตอ้ งจ่ายเงนิ คา่ TOP
สรปุ ปรมิ าณและมูลคา่ TOP ของแหลง่ ยาดานาและแหล่งเยตากนุ ในชว่ งปี 2541 – 2544
ปี 2541 2542 2543 2544 รวมทัง้ หมด
หนว่ ย
ยาดานา พันลา้ นบีทยี ู ลา้ นบาท พนั ล้านบีทยี ู ลา้ นบาท พันล้านบที ยี ู ล้านบาท พันลา้ นบีทยี ู ล้านบาท พนั ลา้ นบีทียู ลา้ นบาท
เยตากนุ 20,710 1,934 101,036 11,366 90,340 13,756
รวม 26,468 3,669 -- 212,086 27,056
-- -- 31,509 4,725
31,509 4,725 57,977 8,395
20,710 1,934 101,036 11,366
116,808 17,426 270,063 35,451
กพช. เมื่อวนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2543 และคณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2543 ได้มีมติเห็นชอบแนวทางการลดขนาด
ของภาระ TOP และแนวทางการจัดสรรภาระดอกเบี้ยท่ีเกิดขึ้นจากภาระ TOP โดยให้ ปตท. เป็นแกนกลางชาระค่า TOP
โดยการกู้หรือระดมทุนไปก่อน แล้วจึงเรียกเก็บดอกเบ้ียท่ีเกิดขึ้นจาก กฟผ. และภาครัฐในภายหลัง ซ่ึงสัดส่วนของภาระดอกเบ้ีย
ที่เกิดขึ้นอยู่ในความรับผิดชอบของ ปตท. และ กฟผ. เท่ากับร้อยละ 11.4 และร้อยละ 12.8 ตามลาดับ สาหรับในส่วนของภาครัฐที่
ร้อยละ 75.8 จะให้ ปตท. จัดสรรส่งผา่ นเขา้ ไปในราคาก๊าซและคา่ ไฟฟา้ และมอบหมายให้สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
เป็นแกนกลางในการเร่งรัดและติดตามการดาเนินมาตรการลดขนาดของภาระ TOP และรายงาน กพช. เพ่ือทราบเป็นระยะ
โดยให้ สนพ. กฟผ. และ ปตท. รวมท้ังหน่วยงานที่เก่ียวข้องไปดาเนินการบริหารจดั การบญั ชี TOP ต่อไป
ปตท. มีการออกพันธบัตรเพื่อชาระค่า TOP ให้แก่ผู้ขายมูลค่า 35,451 ล้านบาท และมีภาระดอกเบี้ย TOP ทั้งสิ้น
4,403 ล้านบาท โดยเป็นความรับผิดชอบของ ปตท. 502 ล้านบาท กฟผ. 564 ล้านบาท และภาครัฐ 3,338 ล้านบาท ภาระดอกเบี้ย
ในสว่ นของภาครฐั 3,338 ล้านบาท ปตท. ได้ดาเนินการส่งผ่านไปในราคาก๊าซ (Levelized Price) ในอัตรา 0.4645 บาทต่อล้านบีทียู
ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2544 จนถึงเดือนกรกฎาคม 2551 โดย สนพ. กฟผ. และ ปตท. ได้มีการพิจารณารายงานบัญชีภาระ
TOP ตามกลไกทก่ี าหนดไวท้ ุกปี
46 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
ปตท. เร่มิ มกี ารรบั กา๊ ซ Make up ของแหล่งยาดานาและแหล่งเยตากุน ตง้ั แต่ปี 2544 และ 2545 ตามลาดับ ตอ่ มาราคากา๊ ซ
Make up ปรับสงู ข้ึนโดยตลอด ทาใหเ้ กิดกาไรจากส่วนต่างราคาที่รับ Make up และราคาท่ีจ่าย TOP ปตท. จึงนากาไรท่ีได้ไปหักลด
ดอกเบ้ียจ่ายพันธบัตร และนาไปหักลดมูลค่าต้นทุน TOP ตามแนวทางท่ีกาหนด ทาให้สามารถหักมูลค่าต้นทุนของ TOP จากทั้งสอง
แหล่งไดห้ มดในปี 2555 โดยยังมีเน้อื กา๊ ซ ให้ Make up ได้ต่อไปโดยไมม่ ีตน้ ทุน ซง่ึ สามารถรับกา๊ ซแหลง่ เยตากุนได้หมดในปี 2555 และ
แหล่งยาดานาได้หมดในปี 2561 ทาให้เกิดกาไรในบัญชี TOP นับตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมาจนถึงปี 2561 โดย ปตท. ได้มีการบันทึก
ดอกเบย้ี รบั ทบตน้ ไว้ ซง่ึ สถานะของบญั ชี TOP ณ วนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน 2564 มกี าไรสะสมประมาณ 13,594 ลา้ นบาท
เพ่อื ให้ประเทศไดร้ ับประโยชนส์ ูงสดุ กบง. เมอ่ื วันที่ 11 พฤศจิกายน 2564 และ กพช. เมื่อวันท่ี 6 มกราคม 2565 จึงได้มีมติ
เห็นชอบให้นาผลประโยชน์ของบัญชี Take or Pay ณ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2564 จานวนเงิน 13,594 ล้านบาท พร้อมดอกเบ้ีย
ที่เกิดข้ึนในระหว่างการดาเนินการคืนภาครัฐท้ังหมด ไปช่วยอุดหนุนค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft)
โดยนาส่งเงนิ และลดราคาคา่ ก๊าซธรรมชาติให้กบั กฟผ. เพ่อื ลดคา่ ไฟฟ้าให้กับประชาชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 โดยมอบหมายให้ กกพ. ทาหนา้ ทก่ี ากับดูแลการดาเนินการดงั กลา่ ว
การกาหนดหลกั เกณฑร์ าคานาเขา้ LNG สาหรบั กลมุ่ ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารกากบั ดูแลของ
คณะกรรมการกากบั กจิ การพลงั งาน
กบง. เมือ่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2564 มีมตเิ ห็นชอบหลักเกณฑร์ าคานาเข้า LNG สาหรบั กลุม่ ท่อี ยภู่ ายใต้การกากับดูแลของ
คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน โดยมสี รุปสาระสาคัญ ดังนี้
1. ความเป็นมา
คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ (กพช.) เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2564 ได้มีมติเห็นชอบแนวทางการส่งเสริมการแข่งขัน
ในกจิ การก๊าซธรรมชาติ ระยะที่ 2 โดยกาหนดใหม้ ีหลักเกณฑ์กาหนดราคา LNG Benchmark ของไทยท่ีมีความเหมาะสม โปร่งใสและ
เป็นธรรม เพื่อใช้ในการกากับราคา LNG นาเข้า โดยมอบหมายให้ สนพ. ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
(สานักงาน กกพ.) พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์ราคานาเข้า LNG (LNG Benchmark) สาหรับสัญญาระยะยาวและ/หรือสัญญาระยะ
กลาง สาหรับกลุ่มท่ีอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ กกพ. (Regulated Market) และนาเสนอขอความเห็นชอบจากกบง. และ กพช.
ก่อนทจ่ี ะประกาศเป็นหลักเกณฑ์ให้ผู้ประกอบการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ (Shipper) นาไปใช้ในการจัดหาต่อไป ภายหลังจากท่ี
การเจรจาสญั ญามขี ้อยตุ ิ ให้นาสญั ญาซื้อขาย LNG เสนอตอ่ กบง. พจิ ารณาให้ความเห็นชอบกอ่ นการดาเนินการ
2. การกาหนดหลกั เกณฑร์ าคา LNG Benchmark ของประเทศไทย
กบง. เมือ่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2564 และ กพช. เม่ือวันที่ 6 มกราคม 2565 ได้พิจารณาเรื่องการกาหนดหลักเกณฑ์ราคานาเขา้
LNG สาหรบั กลมุ่ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารกากบั ดูแลของคณะกรรมการกากบั กจิ การพลังงาน โดยมมี ตเิ หน็ ชอบหลักเกณฑ์ราคานาเขา้ LNG (LNG
Benchmark) สาหรบั กลมุ่ ทอ่ี ยู่ภายใตก้ ารกากับดแู ลของคณะกรรมการกากบั กจิ การพลงั งาน (Regulated Market) เปน็ 3 รปู แบบ ดงั นี้
1) สมการในรูปแบบเส้นตรงที่อ้างอิงราคาน้ามัน (Oil-linked Only Linear Formula) โดยอ้างอิงราคา
นา้ มนั ดบิ Brent หรอื Japan Crude Cocktail
PLNG = A x [Oil Marker] + B เปน็ Linear หรอื S-Curve
2) สมการในรูปแบบเส้นตรงท่ีอ้างอิงราคาก๊าซธรรมชาติ (Gas-linked Only Linear Formula)
โดยอา้ งองิ ราคากา๊ ซธรรมชาตขิ อง Henry Hub (HH)
PLNG = C x HH + D เปน็ Linear หรอื S-Curve
3) สมการในรปู แบบ Hybrid ซงึ่ อา้ งองิ ทงั้ ราคาน้ามนั และก๊าซธรรมชาติ และมีจุดหักมมุ (Hybrid Oil-Gas-
Linked Formula with a Kink Point)
PLNG = A x [Oil Marker] + B Oil Marker ≤ E $/barrel
PLNG = Z(A x [Oil Marker] + B) + (1-Z)(C x HH + D) Oil Marker > E $/barrel
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 47
โดย
PLNG = ราคานาเขา้ LNG มหี นว่ ยเปน็ ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ ลา้ นบที ยี ู
A = Oil Marker Slopes สาหรบั ปี 2565 ไมเ่ กนิ xxx
Oil Marker = ดชั นี JCC หรอื Brent เฉลยี่ สามเดอื นยอ้ นหลงั ในเดอื นที่ n-2, n-3 และ n-4
B = คา่ คงท่ี ไมเ่ กนิ xxx มหี นว่ ยเปน็ ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ ลา้ นบที ยี ู ขน้ึ กบั การเจรจา
HH = ดชั นี Henry Hub เฉลย่ี สามเดอื นยอ้ นหลงั ในเดอื นท่ี n-2, n-3 และ n-4
C = HH Factor สาหรบั ปี 2565 ไมเ่ กนิ xxx
D = คา่ คงที่ ไมเ่ กนิ xxx มหี นว่ ยเปน็ ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ ลา้ นบที ยี ู ขน้ึ กบั การเจรจา
E = จดุ หกั มมุ ไมเ่ กนิ xxx มหี นว่ ยเปน็ ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ บารเ์ รล ขนึ้ กบั การเจรจา
Z = รอ้ ยละการถว่ งนา้ หนกั ของสมการในรปู แบบอา้ งองิ ราคาน้ามนั ขน้ึ กบั การเจรจา
มเี งอื่ นไข ดงั นี้
(1) การทาสัญญาเป็นแบบ Sales & Purchase Agreement (SPA) ในระยะสัญญาระยะกลางและ/หรือระยะยาว
ทเี่ หมาะสม โดยหมายถงึ ระยะเวลาสญั ญาตงั้ แต่ 5 ปขี นึ้ ไป
(2) ระยะเวลาในการประกาศใช้ คือ 12 เดือน และอาจมีแก้ไข (revision) หากสถานการณ์มีการเปล่ียนแปลงจน
กระทบตอ่ การเจรจาจดั หา
(3) ผนู้ าเขา้ จะตอ้ งมกี ารเปดิ เงอื่ นไข take-or-pay ทยี่ ดื หยนุ่ เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา
(4) เนื่องจากตลาด LNG ในระยะนมี้ ีความผันผวนและมแี นวโน้มเข้าส่ภู าวะ Seller’s Market หากไม่สามารถจัดหา
LNG โดยหลักเกณฑร์ าคานาเข้าดงั กลา่ วได้ ใหน้ าเสนอหลกั เกณฑร์ าคาทด่ี ที ่สี ดุ ตอ่ กบง. พิจารณา
ท้ังน้ี ไดม้ อบหมายให้ กกพ. เป็นผู้กากับดูแลและพิจารณาในรายละเอียดของหลักเกณฑ์ราคานาเข้า LNG สาหรับกลุ่ม Regu-
lated Market ต่อไป
แนวทางการบรหิ ารจดั การกา๊ ซธรรมชาติ ปี 2565
กบง. เมื่อวันท่ี 30 ธันวาคม 2564 และ กพช. เม่ือวันที่ 6 มกราคม 2565 มีมติเห็นชอบแนวทางการบริหารจัดการ
ก๊าซธรรมชาติ ปี 2565 เพื่อให้สถานการณ์การผลิตก๊าซธรรมชาติของแหล่งเอราวัณ (G1/61) ช่วงเปลี่ยนผ่านมีความต่อเน่ือง
ไม่สง่ ผลกระทบต่อความม่ันคงด้านพลงั งานของประเทศ โดยมสี รุปสาระสาคญั ดงั น้ี
1. จัดหาก๊าซธรรมชาติเพิ่มเติมเต็มความสามารถของแหล่ง รวมถึงจัดทาสัญญาซื้อขายก๊าซเพิ่มเติมจากแหล่ง
ก๊าซธรรมชาตทิ ม่ี ศี ักยภาพ ได้แก่ แหล่งอาทติ ย์ แปลง B8/32 และแปลง G2/61 นอกจากนี้ ในปัจจุบัน ปตท. อยู่ระหว่างการเจรจากับ
ผู้ขายเพ่ือจัดทาสัญญาซ้ือขายก๊าซธรรมชาติเพิ่มเติมจากแปลง B-17&C-19 แปลง B-17-01 และแปลง A-18 ในพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-
มาเลเซยี มีรายละเอียดดังน้ี
แหล่ง ปริมาณ ระยะเวลา หมายเหตุ
(ล้านลูกบาศกฟ์ ุตตอ่ วนั )
อาทติ ย์ พฤษภาคม 2565 - ธันวาคม 2567 เสนอคณะกรรมการปิโตรเลยี ม
63 พฤษภาคม 2565 - พฤษภาคม 2568 เมอ่ื วนั ท่ี 30 พฤศจิกายน 2564
B8/32
JDA B-17&C-19 16 รมว.พน. ลงนามในการกาหนดราคาก๊าซ
และ B-17-01 เมื่อวนั ท่ี 26 ตุลาคม 2564
JDA A-18
33 กรกฎาคม 2565 - กันยายน 2572 อย่รู ะหวา่ งการเจรจาระหว่าง
ผู้ซือ้ และผขู้ ายกา๊ ซ
50 ปี 2565
48 l รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021
2. การเลื่อนแผนการปลดโรงไฟฟา้ แม่เมาะ เคร่ืองที่ 8 ออกไปจนถงึ วันที่ 31 ธนั วาคม 2565 ซึง่ คาดว่าจะสามารถผลติ ไฟฟ้า
ได้ 2,197 ลา้ นหนว่ ยตอ่ ปี สามารถลดปรมิ าณการใช้ LNG ตลอดปี 2565 ทดแทนการนาเขา้ Spot LNG ประมาณ 0.282 ลา้ นตนั ตอ่ ปี
3. รับซ้อื ไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทนสว่ นเพ่มิ จากผู้ผลติ ไฟฟ้าขนาดเลก็ (SPP) และ/หรอื ผ้ผู ลติ ไฟฟา้ ขนาดเล็กมาก (VSPP)
จากสญั ญาเดมิ กลมุ่ ชวี มวล ซง่ึ ปจั จบุ นั กลมุ่ SPP ชวี มวล มกี าลงั ผลติ เหลอื 455 เมกะวตั ต์ แบง่ เปน็ ประเภทสญั ญา Firm 20 ราย จานวน
151 เมกะวัตต์ และประเภทสัญญา Non-Firm 20 ราย จานวน 305 เมกะวัตต์ คาดว่าจะผลติ ไฟฟ้าได้ประมาณ 1,500 ล้านหนว่ ยตอ่ ปี
(PF 50%) ทดแทนการนาเข้า Spot LNG ประมาณ 0.225 ลา้ นตนั ตอ่ ปี อยา่ งไรก็ตามในการผลิตจริงอาจไมส่ ามารถดาเนนิ การไดท้ ้ังหมด
เนอ่ื งจากขน้ึ กบั ปรมิ าณเชอ้ื เพลงิ ทผ่ี นั แปรตามฤดกู าล และศกั ยภาพระบบสง่ ไฟฟา้ ทม่ี ขี อ้ จากดั ทง้ั น้ี ควรมอี ตั รารบั ซอื้ ไฟฟา้ ไมเ่ กนิ กวา่ อตั รา
รบั ซอื้ ไฟฟา้ ในสญั ญาเดมิ
4. เปล่ียนมาใช้เชื้อเพลิงน้ามันดีเซลและน้ามันเตาทดแทนก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า คาดว่าจะทดแทนการนาเข้า
Spot LNG ประมาณ 1.59 ลา้ นตนั ตอ่ ปี อยา่ งไรกต็ าม มาตรการทง้ั หมดขนึ้ อยกู่ บั Generation Mix หรอื ศกั ยภาพของระบบสง่ ทรี่ องรบั และ
ความเพยี งพอของการจดั หาเชอ้ื เพลงิ ตามฤดกู าล
5. รบั ซ้ือไฟฟ้าจากโครงการพลังน้าสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เช่น เรง่ รัดการจ่ายไฟฟ้าโครงการ
โรงไฟฟา้ น้างมึ 3 ซงึ่ มกี าหนด Unit Operation Period กลางปี 2566
ท้ังนี้ กบง. เมื่อวันท่ี 30 ธันวาคม 2564 ได้มีข้อสังเกตต่อแนวทางการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ปี 2565 ดังนี้
1. พิจารณาแนวทางการนาต้นทุนส่วนเพ่ิมในการผลิตไฟฟ้าจากเช้ือเพลิงอ่ืนที่ทดแทนก๊าซธรรมชาติในช่วงท่ี
ขาดแคลนกา๊ ซธรรมชาติ มาคานวณรวมในราคา Pool Gas เพ่อื ให้ต้นทุนการผลิตไฟฟา้ ทกุ ภาคเศรษฐกิจเปน็ ตน้ ทนุ เดียวกนั
2. ควรพิจารณาข้อมูลด้านต้นทุนราคาเช้ือแพลิงในการผลิตไฟฟ้า อาทิ ราคาก๊าซธรรมชาติ น้ามันเชื้อเพลิง และ
เชื้อเพลงิ อ่ืนๆ เพ่ือประกอบการพิจารณาบริหารจดั การเชือ้ เพลิงเพือ่ ทดแทนก๊าซธรรมชาตใิ นการผลิตไฟฟา้ ทเี่ หมาะสม
3. ใหพ้ จิ ารณาการรับซ้อื พลังงานทดแทนสว่ นเพม่ิ จากผ้ผู ลติ ไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP) และ/หรอื ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก
มาก (VSPP) โดยอาจพิจารณารับซ้อื จากสญั ญาเดมิ และสามารถรบั ซอ้ื จากเช้ือเพลงิ อืน่ นอกเหนือจากชีวมวลได้ด้วย
4. ให้พิจารณาการเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลงิ อืน่ ทดแทนกา๊ ซธรรมชาติเพิ่มเติม อาทิ การใช้เช้ือเพลิงอื่นในกลุ่มโรงกลั่น
นา้ มนั และกลุ่มอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี
นโยบายการกาหนดโครงสรา้ งอตั ราคา่ ไฟฟา้ ของประเทศไทย ปี 2564 – 2568
กพช. เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 และ กบง. เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2564 เห็นชอบนโยบายการกาหนดโครงสร้างอัตรา
ค่าไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2564 – 2568 และกรอบแนวทางการจัดทาโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2564 – 2568 โดยมี
สรปุ สาระสาคัญดังน้ี
1. ความเป็นมา
ตามทกี่ ระทรวงพลงั งาน มนี โยบายการกาหนดอตั ราคา่ ไฟฟา้ ของประเทศไทยเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการกากบั ดูแลและ
กาหนดอัตราค่าไฟฟ้าสาหรับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน ซ่ึงกระทรวงพลังงานจะมีการทบทวนและปรับปรุงทุก 5 ปี
เพ่อื ใหน้ โยบายมีความสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ที่เปล่ยี นแปลงไป ท้งั สภาพเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี รวมทั้งแผนพัฒนาพลังงาน
ด้านไฟฟ้าของประเทศ ดังนั้น ในช่วงปี 2562 – 2563 จึงได้มีการศึกษาทบทวนนโยบายภายใต้โครงการโครงการศึกษาแนวทาง
การปรับปรงุ และจัดทานโยบายการกาหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2564 – 2568 โดยทาการศึกษาและวิเคราะห์
นโยบายต่างประเทศท่มี โี ครงสรา้ งอตั ราคา่ ไฟฟา้ ใกล้เคียงกับประเทศไทยหรือมีโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าท่ีดีเป็นท่ียอมรับในระดับสากล
และทาการทบทวนนโยบายเดมิ และผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทประเทศที่มีผลต่อนโยบายการกาหนดโครงสรา้ งอตั ราค่าไฟฟ้า
โดยใชห้ ลักการ PESTEL Analysis ซึ่งพิจารณาในมุมมอง 6 ด้าน ได้แก่ (1) นโยบาย (Political) (2) เศรษฐกิจ (Economical)
(3) สงั คม (Social) (4) เทคโนโลยี (Technological) (5) ส่ิงแวดลอ้ ม (Environmental) (6) กฎหมาย (Legal) ซง่ึ สามารถนาไปสปู่ ระเดน็
ในการปรบั ปรงุ และจดั ทานโยบายการกาหนดโครงสรา้ งอตั ราคา่ ไฟฟา้ ของประเทศไทย ปี 2564 – 2568 โดยสรุปไดด้ งั นี้
รายงานประจาปี 2564 ANNUAL REPORT 2021 l 49