The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by EPPO_ตต., 2023-09-19 03:15:59

รายงานการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564

Thailand Energy Trilemma Index 2021

รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 1 ส ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) ได้มีกำรน ำเครื่องมือกำรประเมินดัชนีชี้วัด ควำมสมดุลด้ำนพลังงำนของประเทศไทย (Thailand Energy Trilemma Index: TETI) มำใช้ใน กำรประเมินผลกำรด ำเนินนโยบำย แผน และมำตรกำรด้ำนพลังงำนที่อนุมัติโดยคณะกรรมกำรนโยบำย พลังงำนแห่งชำติ (กพช.) และคณะกรรมกำรบริหำรนโยบำยพลังงำน (กบง.) เพื่อสะท้อนกำรขับเคลื่อน แผนบูรณำกำรพลังงำนระยะยำว (Thailand Integrated Energy Blueprint: TIEB) ประกอบด้วย แผนพัฒนำก ำลังกำรผลิตไฟฟ้ำของประเทศ (Power Development Plan: PDP) แผนอนุรักษ์พลังงำน (Energy Efficiency Plan: EEP) แผนพัฒนำพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก (Alternative Energy Development Plan: AEDP) แผนบริหำรจัดกำรก๊ำซธรรมชำติ (Gas Plan) และแผนบริหำร จัดกำรน้ ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan) สอดคล้องตำมเป้ำหมำยหลัก 3 ประกำร คือ ควำมมั่นคง ด้ำนพลังงำน (Energy Security) ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน (Energy Economy) และควำมยั่งยืน ด้ำนพลังงำน (Sustainability) โดยในกำรจัดท ำ TETI ได้น ำดัชนีชี้วัดของหน่วยงำนระดับสำกล มำปรับใช้ให้เหมำะสมกับบริบทของประเทศไทย เช่น สถำบัน IMD (International Institute for Management Development) สภำเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) และสภำพลังงำนโลก (World Energy Council) เป็นต้น โดยผลกำรประเมิน TETI จะเป็นข้อมูลให้ผู้บริหำรทรำบถึง ทิศทำงกำรด ำเนินนโยบำยด้ำนพลังงำนของประเทศไทย และสำมำรถน ำข้อมูลผลกำรประเมินดังกล่ำว มำใช้ปรับปรุง ทบทวน และจัดท ำนโยบำยด้ำนพลังงำน ที่จะช่วยขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์ชำติให้บรรลุ เป้ำหมำยที่ตั้งไว้ได้ บทน า กันยำยน 2565


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 2 สารบัญ 01 ค าน า 02 สารบัญ 09 14 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุล ด้านพลังงานประจ าปี 2564 (Thailand Energy Trilemma Index 2021: TETI 2021) ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุล ด้านพลังงานของหน่วยงานสากล 03 บทสรุปผู้บริหาร 05 สถานการณ์พลังงานไทย ปี 2564 10 World Competitiveness Ranking 2021 11 Energy Transition Index 2021 12 The World Energy Trilemma Index 2021 13 The Climate change Performance Index 2021 15 องค์ประกอบดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงาน 16 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงาน ประจ าปี 2564 19 บทวิเคราะห์และแนวทางการปรับปรุงความสมดุลของ ระบบพลังงาน 26 ข้อเสนอแนะ 26 ภาคผนวก 27 TETI: Interactive Dashboard 27 โปรแกรมประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานของ ประเทศไทยเบื้องต้น (TETI Calculator)


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 3 บทสรุปผู้บริหาร


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 4 ความมั่นคงด้านพลังงาน ผลการประเมินดัชนีชี้วัด Thailand Energy Trilemma Index ความมั่นคงด้านพลังงาน 3.55/5.00 ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 3.11 /5.00 ความยั่งยืนด้านพลังงาน 3.62/5.00 คะแนนรวม 3.42 2021 บทสรุป ในปี 2564 ประเทศไทยมีผลกำรประเมินดัชนีชี้วัด ควำมสมดุลด้ำนพลังงำนของประเทศไทย (Thailand Energy Trilemma Index: TETI) ในภำพรวม 3.42 คะแนน จำก 5.00 คะแนน โดยควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนมีคะแนนกำรประเมินสูง เป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็น 3.62 คะแนน รองลงมำคือ ควำมมั่นคง ด้ำนพลังงำน 3.55 คะแนน และควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน 3.11 คะแนนตำมล ำดับ เมื่อเทียบกับผลกำรประเมินปี 2563 จะพบว่ำ ประเทศไทยมีควำมสมดุลด้ำนพลังงำนลดลง ทั้งในด้ำนควำม มั่นคง-มั่งคั่ง-ยั่งยืน เนื่องมำจำกกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนำ 2019 อย่ำงต่อเนื่องและกระจำยเป็นวงกว้ำง ตลอดทั้งปี 2564 ท ำให้เกิดผลกระทบต่อกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ และกิจกรรมกำรใช้พลังงำนเพื่อกำรด ำเนินชีวิตของประชำชน ซึ่งภำครัฐได้มีมำตรกำรช่วยเหลือด้ำนพลังงำน เพื่อบรรเทำ ผลกระทบที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งกำรก ำหนดกรอบนโยบำยเพื่อ รองรับกำรเปลี่ยนผ่ำนพลังงำนไปสู่กำรใช้พลังงำนสะอำด ข้อเสนอแนะที่น ำไปสู่ควำมสมดุลของระบบพลังงำน ทั้งด้ำนควำมมั่นคง-มั่งคั่ง-ยั่งยืนให้เพิ่มมำกขึ้น ควรเน้นไปที่ กำรสร้ำงควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน สนับสนุนให้มีกำรผลิตและใช้ พลังงำนสะอำดภำยในประเทศให้เพิ่มขึ้น สร้ำงโอกำสและขยำย กำรเติบโตทำงเศรษฐกิจด้วยกำรผลักดันให้เกิดธุรกิจใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับพลังงำนสะอำด ตำมกรอบนโยบำยแผนพลังงำน ชำติ เพื่อเพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขันให้กับประเทศ เสริมสร้ำงควำมมั่นคง มั่งคั่ง และควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำน ผลการประเมินดัชนีชี้วัด Thailand Energy Trilemma Index มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน คะแนนระบบพลังงานของประเทศไทย มูลค่าเงินอุดหนุนเชื้อเพลิงพลังงานฟอสซิล มูลค่าเงินอุดหนุนราคาค่าไฟฟ้าจากภาครัฐ ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของครัวเรือน ราคาไฟฟ้าส าหรับกิจการขนาดใหญ่ มูลค่าการน าเข้าพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ ภายในประเทศ ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานเพื่อรองรับ พลังงานหมุนเวียน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้ พลังงานขั้นต้น การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวประชากร ความยั่งยืนด้านพลังงาน ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 5.00 2.91 5.00 5.00 3.85 0.46 5.00 5.00 1.27 4.56 2.00 0.97 3.97 3.87 2.92 2.63 3.92 4.54 จ านวนครัวเรือนที่เข้าถึงการใช้ไฟฟ้า ค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่ายระบบ สายส่งและ สายจ าหน่ายไฟฟ้า ปริมาณก าลังผลิตไฟฟ้าส ารอง ความหลากหลายของเชื้อเพลิงทั้งหมด ที่ใช้ในประเทศ ความหลากหลายของเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไฟฟ้า สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น 3.55 มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 3.62 3.11


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 5 สถานการณ์พลังงานไทย ปี 2564


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 6 สถานการณ์พลังงานประเทศไทย ปี 2564 น้ ามันส าเร็จรูป ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ กำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำย หน่วย : พันบำร์เรลเทียบเท่ำน้ ำมันดิบต่อวัน ถ่านหิน ลิกไนต์ 702 329 212 2 156 สถานการณ์พลังงานแต่ละชนิด 5.7% 3.4% 10.5% 36% 3.7% สถำนกำรณ์พลังงำนไทยปี 2564 มีกำรใช้พลังงำนเชิงพำณิชย์ขั้นสุดท้ำยลดลงร้อยละ 0.4 จำกกำรใช้น้ ำมันเร็จรูป ซึ่งมี สัดส่วนสูงสุดร้อยละ 50 ของกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำยลดลง โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อกำรใช้ที่ลดลงมำจำกกำรแพร่ระบำดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ท ำให้มีกำรจ ำกัดกำรเดินทำงในช่วงที่มีกำรระบำดหนัก มีมำตรกำร Work From Home แต่อย่ำงไรก็ตำม ในส่วนของกำรใช้ไฟฟ้ำ ก๊ำซธรรมชำติ ถ่ำนหินน ำเข้ำ และลิกไนต์ยังคงเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจของ ประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้ำ โดยจำกรำยงำนอัตรำกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจไทย (GDP) ของส ำนักงำน สภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) GDP ปี 2564 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 โดยมีรำยละเอียดของสถำนกำรณ์ พลังงำนของประเทศไทยในปี 2564 ดังนี้ การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย ของปี 2564 คิดเป็น 1,401 พันบำร์เรลเทียบเท่ำน้ ำมันดิบต่อวัน ซึ่งลดลงร้อยละ 0.4 เนื่องจำก กำรใช้น้ ำมันส ำเร็จรูปซึ่งมีสัดส่วนสูงสุดร้อยละ 50 ของกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำยลดลงร้อยละ 5.7 อย่ำงไรก็ตำม กำรใช้ไฟฟ้ำซึ่งคิดเป็น สัดส่วนรองลงมำร้อยละ 23 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 ก๊ำซธรรมชำติมีกำรใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 และถ่ำนหินน ำเข้ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.5 ส่วนลิกไนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.0 น้ ามันส าเร็จรูป โดยมีกำรใช้น้ ำมันแต่ละชนิด ดังนี้ น้ ามันเบนซิน กำรใช้เริ่มกลับเข้ำสู่ภำวะปกติในไตรมำสแรกของปี 2564 อย่ำงไรก็ตำม สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนำ 2019 ได้กลับมำสู่ระดับรุนแรงในช่วงไตรมำส 2 และ 3 ภำครัฐจึงมีมำตรกำรจ ำกัดกำรเดินทำง และปิดสถำนประกอบกำร บำงประเภทในช่วงกลำงปี ส่งผลให้ควำมต้องกำรใช้น้ ำมันเบนซินลดลง อย่ำงไรก็ตำม ในช่วงไตรมำส 4 กำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ได้ลดควำมรุนแรงลง ประกอบกับประชำชนได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น รวมทั้งกำรคลำยล็อคดำวน์ นโยบำยกำรเปิดประเทศ และกำรตุ้น เศรษฐกิจได้ส่งผลให้ควำมต้องกำรใช้น้ ำมันเบนซินกลับมำเติบโตอีกครั้ง น้ ามันดีเซล กำรใช้อยู่ที่ระดับ 397 พันบำร์เรลต่อวัน ซึ่งลดลงร้อยละ 3.8 ทั้งนี้ กำรใช้น้ ำมันดีเซลมีอัตรำลดลงอย่ำงต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนเมษำยนเป็นต้นมำ เนื่องจำกมีกำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ระลอกใหม่ในเดือนเมษำยน 2564 ก่อนที่กำรใช้ จะกลับมำขยำยตัวอีกครั้งในช่วงปลำยปี 2564 กำรน ำเข้ำและส่งออก กำรน ำเข้ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 330.1 ส่วนกำรส่งออก เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 น้ ามันเตา กำรใช้อยู่ที่ระดับ 35 พันบำร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.2 โดยส่วนใหญ่เป็นกำรใช้ในภำคขนส่ง กำรน ำเข้ำและส่งออก มีกำรน ำเข้ำน้ ำมันเตำเพิ่มขึ้นร้อยละ 173.9 ในขณะที่กำรส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.4


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 7 กำรใช้น้ ำมันส ำเร็จรูป หน่วย : พันบำร์เรลเทียบเท่ำน้ ำมันดิบต่อวัน เบนซินและแก๊สโซฮอล LPG* ไม่รวม Feed Stocks ในปิโตรเคมี ดีเซล 183 397 195 กำรใช้ก๊ำซธรรมชำติรำยสำขำ หน่วย : ล้ำนลูกบำศก์ฟุตต่อวัน 8.7% 3.8% น้ ามันเครื่องบิน/ น้ ามันก๊าด 31 35.3% 35 น้ ามันเตา 15.2% 6.4% น้ ามันเครื่องบิน ตลอดทั้งปีภำพรวมกำรใช้น้ ำมันเครื่องบินมีปริมำณลดลงคิดเป็นร้อยละ 35.3 แต่ในช่วงเดือนพฤศจิกำยน - ธันวำคม 2564 ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นหลังจำกมีกำรผ่อนคลำยมำตรกำรกำรบิน และกำรเดินทำงเข้ำประเทศ กำรมีวันหยุดยำว และเทศกำล ท่องเที่ยว เช่น โครงกำรภูเก็ต Sandbox ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG โพรเพน และบิวเทน) กำรใช้ LPG อยู่ที่ระดับ 195 พันบำร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4 เป็นผลจำก กำรใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสำหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งมีสัดส่วนกำรใช้สูงสุดคิดเป็นร้อยละ 43 และมีกำรใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.7 สอดคล้องกับ ภำคอุตสำหกรรมที่มีกำรใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ตำมกำรขยำยตัวของกำรส่งออก และกำรใช้ในภำคครัวเรือน มีสัดส่วนร้อยละ 34 มีกำรใช้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 ขณะที่ภำคขนส่ง มีสัดส่วนร้อยละ 11 และมีกำรใช้ลดลงร้อยละ 11.2 และกำรใช้เอง ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 1 โดยมีกำรใช้ ลดลงร้อยละ 33.0 ก๊าซธรรมชาติ กำรใช้อยู่ที่ 4,395 ล้ำนลูกบำศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 โดยเป็นกำรเพิ่มขึ้นจำกกำรใช้ในโรงงำนอุตสำหกรรม ร้อยละ 6.4 ตำมกำรส่งออกที่ขยำยตัวได้ดี ในขณะที่กำรใช้เพื่อผลิตไฟฟ้ำลดลง ร้อยละ 0.1 กำรใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสำหกรรมปิโตรเคมี ลดลงร้อยละ 0.3 และกำรใช้เป็นเชื้อเพลิงส ำหรับรถยนต์ (NGV) ลดลงร้อยละ 19.3 ซึ่งเป็นผลผลกระทบจำกกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนำ 2019 ที่เป็นข้อจ ำกัดท ำให้กำรใช้ NGV ในกำรขนส่งลดลง อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เชื้อเพลิงส าหรับรถยนต์ 909 112 ผลิตไฟฟ้า 2,603 0.1% อุตสาหกรรม 770 6.4% 0.3% 19.3%


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 8 ถ่านหิน/ลิกไนต์ กำรใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จำกกำรใช้ในภำคอุตสำหกรรมที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 ในขณะที่กำรใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำลดลง ร้อยละ 15.6 ส่วนกำรใช้ลิกไนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.4 ทั้งนี้ร้อยละ 97 ของกำรใช้ลิกไนต์เป็นกำรใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ำของ กฟผ. ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 3 ถูกใช้ในภำคอุตสำหกรรม ความต้องการใช้ กำรใช้ลิกไนต์/ถ่ำนหิน หน่วย : พันตันเทียบเท่ำน้ ำมันดิบ 18,682 การใช้ลิกไนต์ การใช้ถ่านหิน ผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตกระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม 3,650 3,528 121 15,033 4,461 10,572 ไฟฟ้า ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบสามการไฟฟ้าในปี 2564 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มีนำคม 2564 เวลำ 14.49 น. ที่ปริมำณ 31,023 เมกะวัตต์ (MW) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับควำมต้องกำรพลังไฟฟ้ำสูงสุดในระบบของสำมกำรไฟฟ้ำในปีก่อน การใช้ไฟฟ้าในปี 2564 มีปริมำณรวมทั้งสิ้น 190,469 กิกะวัตต์ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 โดยกำรใช้ไฟฟ้ำส่วนใหญ่ร้อยละ 45 อยู่ในสำขำอุตสำหกรรม ซึ่งมีกำรใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 จำกกำรปรับตัวในทิศทำงที่ดีขึ้นของภำคกำรส่งออกที่มีค ำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ตำมภำวะเศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟื้นตัว โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งอุตสำหกรรมเหล็กและโลหะพื้นฐำน ยำนยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนกำรใช้ไฟฟ้ำใน ภำคครัวเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 จำกปัญหำกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ที่ส่งผลให้ยังคงมีมำตรกำร Work From Home และกำรจ ำกัดกำรเดินทำงของประชำชน ขณะที่กำรใช้ไฟฟ้ำในสำขำธุรกิจลดลงร้อยละ 5.5 เนื่องจำกกำรแพร่ระบำด มีผลกระทบต่อภำค ธุรกิจอย่ำงต่อเนื่องมำตั้งแต่ปี 2563 ประกอบกับมีกำรยกระดับมำตรกำรล็อกดำวน์อีกครั้งในเดือนกรกฎำคม 2564 โดยธุรกิจ ที่ได้รับผลกระทบอย่ำงชัดเจน คือ ธุรกิจโรงแรม ห้ำงสรรพสินค้ำ และภัตตำคำร เป็นต้น ที่มำ: ศูนย์เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ส ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน 2.4% ความต้องการใช้ ความต้องการใช้ 8.4% 7.6% 35.6% 1.0% 15.6% 10.2%


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 9 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุล ด้านพลังงานของหน่วยงานสากล World Competitiveness Ranking 2021 Energy Transition Index 2021 The World Energy Trilemma Index 2021 The Climate change Performance Index 2021


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 10 World Competitiveness Ranking 2021 Country Overall Economic Performance Government Efficiency Business efficiency Infrastructure Switzerland 1 7 2 5 1 Sweden 2 16 9 2 2 Denmark 3 17 7 1 3 Netherlands 4 2 12 4 7 Singapore 5 1 5 9 11 Germany 15 3 23 23 10 United Kingdom 18 26 19 19 13 China 16 4 27 17 18 Malaysia 25 15 30 24 32 Thailand 28 21 20 21 43 Japan 31 12 41 48 22 Indonesia 37 35 26 25 57 India 43 37 46 32 49 Philippines 52 57 45 37 59 International Institute for Management Development (IMD) ได้จัดอันดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน (World Competitiveness Ranking) ของ 64 ประเทศทั่วโลก โดยในปี 2564 มีกำรประเมินในประเด็น 4 ด้ำน ได้แก่ ด้ำนสมรรถนะทำง เศรษฐกิจ ด้ำนประสิทธิภำพของภำครัฐ ด้ำนประสิทธิภำพของภำคธุรกิจ และด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำน ประเทศไทยได้รับผลกำรจัดอันดับ อยู่ที่ 28 จำกทั้งหมด 64 ประเทศ ซึ่งเป็นอันดับที่ดีขึ้นหนึ่งอันดับเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2563 โดยในกลุ่มประเทศอำเซียน 5 อันดับ แรกที่มีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสูงที่สุดในปีนี้ ได้แก่ สิงคโปร์ มำเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ ตำมล ำดับ ทั้งนี้ สถำบัน IMD มีข้อเสนอแนะต่อประเทศไทย คือ ในระยะสั้นควรเร่งฟื้นฟูสภำพเศรษฐกิจและสังคม เน้นกำรส่งเสริมให้เอกชนร่วมลงทุนใน กิจกำรของรัฐ กำรบริหำรควำมคิดที่แตกต่ำงและช่องว่ำงระหว่ำงแต่ละช่วงอำยุของประชำชน เน้นเรื่องกำรสื่อสำรสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจให้มำกขึ้น รวมทั้งเตรียมควำมพร้อมเพื่อเข้ำสู่ยุคดิจิทัล Unit: Ranking Ranking Ranking แหล่งที่มำ: https://www.imd.org เผยแพร่ ณ มิถุนำยน 2564


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 11 Energy Transition Index 2021 Country Overall System Performance Transition Readiness Sweden 79 84.4 72.7 Norway 77 82.7 70.8 United Kingdom 72 75.8 69.2 Germany 68 67.4 69.2 Singapore 67 67.1 66.9 Japan 64 65.6 63.4 Malaysia 64 68.5 59.5 Thailand 60 64.0 55.4 Philippines 57 66.5 47.0 Vietnam 57 61.0 54.0 China 57 55.4 58.0 Indonesia 56 67.8 44.8 India 53 58.2 47.3 Unit: Percentage สภำเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ได้จัดอันดับประเทศทั่วโลกตำมดัชนีชี้วัดระบบพลังงำนของประเทศ ต่อกำรเปลี่ยนแปลงสู่อนำคต (Energy Transition Index) ของ 115 ประเทศทั่วโลก โดยในปี 2564 มีกำรประเมินภำพรวมระบบใน 3 ประเด็น ได้แก่ 1) กำรเข้ำถึงพลังงำนและควำมมั่นคง 2) กำรเติบทำงเศรษฐกิจและกำรพัฒนำ 3) ควำมยั่งยืนด้ำนสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีกำรประเมินควำมพร้อมใน 6 ประเด็น ได้แก่ 1) ทุนมนุษย์และกำรมีส่วนร่วมของผู้บริโภค 2) โครงสร้ำงระบบพลังงำน 3) กฎระเบียบและเจตนำรมณ์ร่วมกันทำงกำรเมือง 4) สถำบันและภำครัฐ 5) เงินทุนและกำรลงทุน และ 6) โครงสร้ำงพื้นฐำนและ สภำพแวดล้อมทำงธุรกิจด้ำนนวัตกรรม ประเทศไทยได้รับกำรจัดอันดับอยู่ในอันดับที่ 55 จำกทั้งหมด 115 ประเทศ โดยในกลุ่ม ประเทศอำเซียนมีผลกำรจัดอันดับประเทศที่มีควำมสำมำรถในกำรเปลี่ยนผ่ำนพลังงำนจำกมำกไปน้อย ได้แก่ สิงคโปร์ มำเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ เวียดนำม และอินโดนีเซีย ตำมล ำดับ Overall Score Ranking แหล่งที่มำ: https://www.weforum.org/reports/fostering-effective-energy-transition-2021 เผยแพร่ ณ เมษำยน 2564


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 12 The World Energy Trilemma Index 2021 Country Overall Energy Security Energy Equity Environmental Sustainability United Kingdom 81.7 19 9 10 Germany 80.4 10 15 22 United States 79 7 8 42 Japan 75.3 45 18 30 Australia 74.6 30 12 59 Korea 70.1 35 30 63 Malaysia 72.8 32 25 52 Singapore 69.3 88 13 42 China 69.2 81 20 47 Thailand 62.7 55 58 55 Indonesia 61.1 30 76 54 Vietnam 60 49 67 76 Philippines 55.3 50 83 58 India 53.1 40 82 86 Myanmar 47.4 50 92 70 Unit: Score องค์กำรพลังงำนโลก (World Energy Council: WEC) ได้จัดอันดับตำมดัชนีชี้วัดควำมสมดุลด้ำนพลังงำนของโลก (Trilemma Index) ของจ ำนวน 127 ประเทศทั่วโลก ซึ่งดัชนีชี้วัดที่ใช้ในกำรจัดอันดับแบ่งออกเป็น 3 ด้ำน ได้แก่ ด้ำนควำมมั่นคง (Energy Security) ด้ำนควำมเสมอภำค (Energy Equity) และด้ำนควำมยั่งยืน (Environmental Sustainability) โดยประเทศไทย ได้รับกำรจัดอันดับอยู่ที่ 53 โดยประเทศในกลุ่มอำเซียนได้รับกำรจัดอันดับระบบกำรจัดงำนพลังงำนเรียงล ำดับตำมคะแนนรวมจำก มำกไปน้อย ได้แก่ มำเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ไทย อินโดนีเซีย เวียดนำม ฟิลิปปินส์ กัมพูชำ และเมียนมำร์ ตำมล ำดับ Ranking Overall Score แหล่งที่มำ: https://www.worldenergy.org/publications/entry/world-energy-trilemma-index-2021 เผยแพร่ ณ ตุลำคม 2564


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 13 The Climate Change Performance Index 2021 Country Overall GHG Emission Renewable Energy Energy Use Climate Policy United Kingdom 69.66 31.77 9.34 14.51 13.96 India 63.98 28.39 7.89 14.77 12.92 Germany 56.39 24.41 7.84 12.74 11.39 China 48.18 16.47 8.68 9.06 14.00 Thailand 53.18 22.15 7.94 12.91 10.18 Indonesia 53.59 21.39 10.29 13.89 8.02 Japan 42.49 20.19 5.32 11.95 5.03 Malaysia 27.76 11.02 1.68 11.52 3.55 Korea 29.76 8.34 6.11 4.69 10.63 United state 19.75 10.44 3.12 5.39 0.80 Unit: Score Germanwatch ได้จัดอันดับดัชนีชี้วัดกำรด ำเนินงำนด้ำนกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ (The Climate Change Performance Index: CCPI ) ของจ ำนวน 57 ประเทศทั่วโลก ซึ่งดัชนีชี้วัดที่ใช้ในกำรจัดอันดับแบ่งออกเป็น 4 ด้ำน ได้แก่ ด้ำนกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก (GHG Emission) ด้ำนพลังงำนทดแทน (Renewable Energy) ด้ำนกำรใช้พลังงำน (Energy Use) และด้ำนนโยบำยสภำพภูมิอำกำศ (Climate Policy) โดยประเทศไทยได้รับกำรจัดอันดับอยู่ที่ 26 โดยประเทศในกลุ่มอำเซียน มีผลกำรจัดอันดับดัชนีชี้วัดกำรด ำเนินงำนด้ำนกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศเรียงจำกอันดับที่ดีที่สุดไปน้อย ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และมำเลเซีย ตำมล ำดับ Overall Score Ranking แหล่งที่มำ: https://ccpi.org/download/the-climate-change-performance-index-2021 เผยแพร่ ณ ธันวำคม 2563


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 14 องค์ประกอบดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงาน ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประจ าปี 2564 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุล ด้านพลังงานประจ าปี 2564 ข้อเสนอแนะ บทวิเคราะห์และแนวทางการปรับปรุงความสมดุลของระบบพลังงาน


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 15 องค์ประกอบของดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงาน องค์ประกอบของดัชนีชี้วัดควำมสมดุลด้ำนพลังงำนด้ำนพลังงำน (Thailand Energy Trilemma Index: TETI) แบ่งออกเป็น 3 ด้ำน ควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน (Energy Security) ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน (Energy Economy) และควำมยั่งยืน ด้ำนพลังงำน (Sustainability) โดยในแต่ละด้ำนประกอบไปด้วยดัชนีชี้วัดย่อยด้ำนละ 6 ตัวชี้วัด ซึ่งมีค่ำถ่วงน้ ำหนักในแต่ละตัวชี้วัด ดังนี้ ความมั่นคงด้านพลังงาน Energy Security ความมั่งคั่งด้านพลังงาน Energy Economy ความยั่งยืนด้านพลังงาน Sustainability จ านวนครัวเรือนที่เข้าถึงการใช้ไฟฟ้า มูลค่าเงินอุดหนุนเชื้อเพลิงพลังงานฟอสซิล ประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่ายระบบสายส่ง และสายจ าหน่ายไฟฟ้า มูลค่าเงินอุดหนุนราคาค่าไฟฟ้าจากภาครัฐ การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร ปริมาณก าลังผลิตไฟฟ้าส ารอง ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของครัวเรือน สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ ภายในประเทศ ความหลากหลายของเชื้อเพลิงทั้งหมดที่ใช้ในประเทศ ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของครัวเรือน ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานเพื่อรองรับ พลังงานหมุนเวียน ความหลากหลายของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ราคาไฟฟ้าส าหรับกิจการขนาดใหญ่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้พลังงานขั้นต้น สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น มูลค่าการน าเข้าพลังงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวประชากร ความม ั่นคงด้าน พล ังงาน 35% ความย ั่งยืนด้าน พล ังงาน 30% ความม ั่งค ั่งด้าน พล ังงาน 35%


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 16 ผลการประเมินดัชนีชี้วัด ความสมดุลด้านพลังงาน ของประเทศไทย ปี 2564 ความมั่นคงด้านพลังงาน 3.55/5.00 ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 3.11 /5.00 ความยั่งยืนด้านพลังงาน 3.62/5.00 ในปี 2564 ประเทศไทยมีผลกำรประเมินดัชนีชี้วัดควำมสมดุลด้ำนพลังงำนของประเทศไทย (Thailand Energy Trilemma Index: TETI) ในภำพรวม 3.42 คะแนน จำก 5.00 คะแนน โดยควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนมีคะแนนกำรประเมินสูง เป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็น 3.62 คะแนน รองลงมำคือ ควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน 3.55 คะแนน และควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน 3.11 คะแนนตำมล ำดับ เมื่อเทียบกับผลกำรประเมินปี 2563 จะพบว่ำ ประเทศไทยมีควำมสมดุลด้ำนพลังงำนลดลง ทั้งในด้ำน ควำมมั่นคง-มั่งคั่ง-ยั่งยืน เนื่องมำจำกกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 อย่ำงต่อเนื่องและกระจำยเป็นวงกว้ำง ตลอดทั้งปี 2564 ท ำให้เกิดผลกระทบต่อกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ และกิจกรรมกำรใช้พลังงำนเพื่อกำรด ำเนินชีวิตของประชำชน ซึ่งภำครัฐได้มีมำตรกำรช่วยเหลือด้ำนพลังงำน เพื่อบรรเทำผลกระทบที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งกำรวำงนโยบำยเพื่อรองรับกำร เปลี่ยนผ่ำนพลังงำนไปสู่กำรใช้พลังงำนสะอำด มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 3.55 มั่นคง ยั่งยืน มั่งคั่ง 3.62 3.11 คะแนนรวม 3.42


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 17 ผลคะแนนกำรประเมิน TETI ในแต่ละด้ำน จำกคะแนนเต็ม 5 คะแนน ดังนี้ ความมั่งคั่งด้านพลังงาน ความยั่งยืนด้านพลังงาน คะแนนรวม มูลค่าเงินอุดหนุนเชื้อเพลิงพลังงานฟอสซิล มูลค่าเงินอุดหนุนราคาค่าไฟฟ้า จากภาครัฐ ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของ ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของครัวเรือน ราคาไฟฟ้าส าหรับกิจการขนาดใหญ่ มูลค่าการน าเข้าพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ ภายในประเทศ ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานเพื่อรองรับ พลังงานหมุนเวียน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้ พลังงานขั้นต้น การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวประชากร ความมั่นคงด้านพลังงาน จ านวนครัวเรือนที่เข้าถึงการใช้ไฟฟ้า ค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่าย ระบบสายส่งและสายจ าหน่ายไฟฟ้า ปริมาณก าลังผลิตไฟฟ้าส ารอง ความหลากหลายของเชื้อเพลิงทั้งหมด ที่ใช้ในประเทศ ความหลากหลายของเชื้อเพลิงที่ ใช้ในการผลิตไฟฟ้า สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 18 1. ความมั่นคงด้านพลังงาน (Energy Security) มีผลกำรประเมินที่ระดับคะแนน 3.55 จำก 5.00 คะแนน ซึ่งดัชนีชี้วัด ควำมส ำเร็จที่ได้คะแนน 5.00 ได้แก่ จ ำนวนครัวเรือนที่เข้ำถึงกำรใช้ไฟฟ้ำ ปริมำณก ำลังผลิตไฟฟ้ำส ำรอง และควำมหลำกหลำยของ เชื้อเพลิงที่ใช้ในประเทศ รองลงมำ คือ ควำมหลำกหลำยของเชื้อเพลิงที่ใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ำ ได้คะแนน 3.85 และค่ำควำมสูญเสีย พลังงำนของโครงข่ำยระบบสำยส่งและสำยจ ำหน่ำยไฟฟ้ำ ได้คะแนน 2.91 และมีดัชนีชี้วัดควำมส ำเร็จที่ควรปรับปรุง ได้แก่ สัดส่วน กำรน ำเข้ำพลังงำนขั้นต้น ได้คะแนน 0.46 2. ความมั่งคั่งด้านพลังงาน (Energy Economy) มีผลกำรประเมินที่ระดับคะแนน 3.11 จำก 5.00 คะแนน โดย มูลค่ำเงินอุดหนุนเชื้อเพลิงพลังงำนฟอสซิล และมูลค่ำเงินอุดหนุนรำคำค่ำไฟฟ้ำจำกภำครัฐ ได้คะแนน 5.00 รองลงมำ คือ ค่ำใช้จ่ำยไฟฟ้ำของครัวเรือน และรำคำไฟฟ้ำส ำหรับกิจกำรขนำดใหญ่ ได้คะแนน 4.56 และ 2.00 ตำมล ำดับ และมีดัชนีชี้วัด ควำมส ำเร็จที่ควรมีกำรปรับปรุง ได้แก่ ค่ำใช้จ่ำยผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของครัวเรือน และมูลค่ำกำรน ำเข้ำพลังงำน ได้คะแนน 1.27 และ 0.97 ตำมล ำดับ มูลค่าเงินอุดหนุนราคาค่า ไฟฟ้าจากภาครัฐ มูลค่าเงินอุดหนุนเชื้อเพลิงพลังงาน ฟอสซิล ราคาไฟฟ้าส าหรับกิจการ ขนาดใหญ่ มูลค่าการน าเข้าพลังงาน ความมั่งคั่งด้านพลังงาน ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของครัวเรือน 3. ความยั่งยืนด้านพลังงาน (Sustainability) มีผลกำรประเมินที่ระดับคะแนน 3.62 จำก 5.00 คะแนน โดยกำร ปล่อยก๊ำซเรือนกระจกต่อหัวประชำกร ประสิทธิภำพกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำย และกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำยต่อหัวประชำกร ได้คะแนน 4.54 3.97 และ 3.87 ถัดมำ คือ สัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนที่ผลิตได้ภำยในประเทศ และควำมยืดหนุ่นของระบบ พลังงำนเพื่อรองรับพลังงำนหมุนเวียน ได้คะแนน 2.92 และ 2.63 ตำมล ำดับ ความยั่งยืนด้านพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้น สุดท้าย การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัว ประชากร สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิต ได้ภายในประเทศ ความยืดหยุ่นของระบบพลังงาน เพื่อรองรับพลังงานหมุนเวียน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อ หัวประชากร การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้ พลังงานขั้นต้น จ านวนครัวเรือนที่เข้าถึงการใช้ไฟฟ้า ความหลากหลายของเชื้อเพลิงทั้งหมด ที่ใช้ในประเทศ ปริมาณก าลังผลิตไฟฟ้าส ารอง สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น ความหลากหลายของเชื้อเพลิงที่ ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่าย ระบบสายส่งและสายจ าหน่ายไฟฟ้า ความมั่นคงด้านพลังงาน


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 19 บทวิเคราะห์และแนวทางการปรับปรุงความสมดุลของระบบพลังงาน เมื่อพิจำรณำผลกำรประเมินดัชนีชี้วัดผลกำรประเมินดัชนีชี้วัดควำมสมดุลด้ำนพลังงำนของประเทศไทย ในภำพรวม มีคะแนน 3.42 คะแนน จำก 5.00 คะแนน ซึ่งเมื่อประเมินจำกภำพควำมสมดุลของระบบพลังงำน พบว่ำ มิติด้ำนพลังงำนที่มี ผลกระทบกับควำมสมดุลของระบบพลังงำนปี 2564 มำกที่สุด คือ ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน กำรด ำเนินงำนต่อไป จึงควรมุ่งเน้นไป ที่นโยบำย แผน มำตรกำรที่จะช่วยเพิ่มควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำนเป็นหลัก เพื่อเพิ่มควำมสมดุลของระบบพลังงำนในภำพรวม โดยมี ฉำกทัศน์ (Scenario) ของกำรปรับปรุงควำมสมดุลของระบบพลังงำน ดังนี้ ผลประเมินปี 2564 (ปีฐำน) ความมั่งคั่ง +15% ความมั่งคั่ง +5% ความมั่งคั่ง +10% การปรับปรุงความสมดุลของระบบพลังงานในภาพรวม กำรปรับปรุงควำมสมดุลของระบบพลังงำน จะพิจำรณำจำกกำรเป็นสำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำของแผนภำพควำมสมดุลของ ระบบพลังงำนเป็นหลัก โดยจำก Scenario ที่สร้ำงขึ้น จะเห็นได้ว่ำ ในกรณีที่ผลกำรด ำเนินงำนในมิติด้ำนควำมมั่นคงและ ควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนยังคงเดิม แต่ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำนมีกำรปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลกำรประเมินในปี 2564 ที่ร้อยละ 15 จะท ำให้เกิดควำมสมดุลของระบบพลังงำนมำกสุด (เข้ำใกล้ภำพสำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำมำกที่สุด) โดยมีค่ำคะแนนควำมมั่งคั่ง ด้ำนพลังงำนเพิ่มขึ้นเป็น 3.58 คะแนน จำกเดิม 3.11 คะแนน ซึ่งมีรำยละเอียดของค่ำคะแนนในแต่ละ Scenario ดังนี้ ระบบพลังงาน ปีฐาน 2564 +5% +10% +15% ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด มั่นคง 3.55 3.55 3.55 3.55 มั่งคั่ง 3.11 3.27 3.42 3.58 ยั่งยืน 3.62 3.62 3.62 3.62


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 20 แนวทำงในกำรปรับปรุงควำมสมดุลของระบบพลังงำนในแต่ละมิติ ทั้งในด้ำนควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน ควำมมั่งคั่ง ด้ำนพลังงำน และควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำน สำมำรถวิเครำะห์ได้จำกตัวชี้วัดภำยในของแต่ละมิติ เพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำรก ำหนด นโยบำย แผน มำตรกำรด้ำนพลังงำนในส่วนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยปรับปรุงกำรด ำเนินงำนด้ำนพลังงำนให้มีควำมสมดุลมำกขึ้น โดยมีแนวทำงในกำรปรับปรุงฯ เรียงล ำดับตำมคะแนนในแต่ละมิติจำกน้อยไปมำก ได้ดังนี้ การปรับปรุงความสมดุลของระบบพลังงานในแต่ละมิติ 1. การปรับปรุงความสมดุลของความมั่งคั่งด้านพลังงาน (Energy Economy) เมื่อพิจำรณำแผนภำพควำม สมดุลของภำยในด้ำนควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน ควรมีกำรปรับปรุงตัวชี้วัด ได้แก่ มูลค่ำกำรน ำเข้ำพลังงำน ค่ำใช้จ่ำยผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมของครัวเรือน และรำคำไฟฟ้ำส ำหรับกิจกำรขนำดใหญ่ ตัวอย่างค่าคะแนนตัวชี้วัดเป้าหมายที่ท าให้เกิดความสมดุลของความมั่งคั่งด้านพลังงาน หำกน ำ Scenario ของกำรปรับปรุงควำมสมดุลของระบบพลังงำนในภำพรวมเป็นค่ำตั้งต้น ด้ำนควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน ควรมี ค่ำคะแนนตัวชี้วัด 3.58 คะแนน ซึ่งค่ำคะแนนของตัวชี้วัดที่ควรได้รับกำรปรับปรุง ได้แก่ มูลค่ำกำรน ำเข้ำพลังงำน ค่ำใช้จ่ำยผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมของครัวเรือน และรำคำไฟฟ้ำส ำหรับกิจกำรขนำดใหญ่ เพื่อให้เกิดควำมสมดุลของด้ำนควำมมั่งคั่งเพิ่มขึ้น (เข้ำใกล้ภำพ หกเหลี่ยมด้ำนเท่ำมำกขึ้น) โดยใช้กำรค ำนวณหำค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยด้วยกำรหำค่ำรำกของสมกำรด้วยวิธีกำรของ NewtonRaphson โดยมีค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำย ดังนี้ ตัวชี้วัด ปีฐาน 2564 Scenario* ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด การตีความของค่าคะแนนตัวชี้วัด มูลค่าการน าเข้าพลังงาน 0.97 2.35 มูลค่าการน าเข้าพลังงาน ไม่ควรสูงเกินกว่าร้อยละ 9.3 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของ ครัวเรือน 1.27 2.30 ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของครัวเรือนไม่ควร สูงเกินกว่าร้อยละ 5.7ต่อค่าใช้จ่ายของครัวเรือน ราคาไฟฟ้าส าหรับกิจการขนาดใหญ่ 2.00 2.35 ราคาไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรมไม่ควรสูงเกินกว่าอันดับ 3 เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม ASEAN หมายเหตุ: Scenario* ที่จัดท ำขึ้นเป็นตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยที่ท ำให้เกิดควำมสมดุลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่ำคะแนนของแต่ละตัวชี้วัดที่จะช่วยสร้ำงสมดุลนั้น สำมำรถมีได้มำกกว่ำ 1 ชุดค ำตอบ


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 21 จำก Scenario ที่มีกำรปรับปรุงค่ำคะแนนตัวชี้วัดของมูลค่ำกำรน ำเข้ำพลังงำน ค่ำใช้จ่ำยผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของครัวเรือน และ รำคำไฟฟ้ำส ำหรับกิจกำรขนำดใหญ่ เพื่อให้เกิดควำมสมดุลเพิ่มขึ้นของระบบพลังงำนในภำพรวมนั้น ท ำให้เพิ่มควำมควำมสมดุลภำยใน ของด้ำนควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำนมีกำรปรับควำมสมดุลเพิ่มขึ้นตำมไปด้วย แต่ยังไม่สำมำรถท ำให้เกิดควำมสมดุลภำยในของด้ำน ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำนได้สมบูรณ์ เนื่องจำกค่ำคะแนนแต่ละตัวชี้วัดมีค่ำสูงสุด และค่ำต่ ำสุดที่แตกต่ำงกันค่อนข้ำงมำก ทั้งนี้ อำจเนื่องมำจำกกำรที่ประเทศไทยมีข้อก ำจัดในเรื่องของแหล่งพลังงำนภำยในประเทศที่มีไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรใช้ของทั้งประเทศ จึงต้องมีกำรน ำเข้ำพลังงำนเป็นหลัก จึงส่งผลให้ควำมได้เปรียบด้ำนควำมมั่งคั่งของพลังงำน อำจจะค่อนข้ำงน้อยหำกเทียบเคียงกับ ประเทศที่เป็นประเทศผู้ผลิตพลังงำนได้ แต่อย่ำงไรก็ตำม ได้ก ำหนดกรอบนโยบำยที่จะส่งเสริมให้มีกำรใช้พลังงำนหมุนเวียน ภำยในประเทศเพิ่มขึ้นมำกขึ้น เพื่อลดกำรน ำเข้ำพลังงำน และได้ด ำเนินมำตรกำรช่วยเหลือด้ำนพลังงำน ในกรณีที่รำคำพลังงำนโลก ปรับตัวสูงขึ้น เพื่อลดกระทบต่อประชำชน พร้อมทั้งบริหำรจัดกำรกำรน ำเข้ำพลังงำนให้สอดคล้องกับต้นทุนพลังงำนที่เปลี่ยนแปลงใน แต่ละช่วงเวลำ เพื่อให้รำคำพลังงำนภำยในประเทศมีควำมเหมำะสมภำยใต้ข้อจ ำกัดของสถำนกำรณ์โลกในแต่ละช่วงเวลำ ผลประเมินปี 2564 (ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 3.11 คะแนน) Scenario (ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 3.58 คะแนน) 2. การปรับปรุงความสมดุลของความมั่นคงด้านพลังงาน (Energy Security) เมื่อพิจำรณำแผนภำพ ควำมสมดุลของภำยในด้ำนควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน ควรมีกำรปรับปรุงตัวชี้วัด ได้แก่ สัดส่วนกำรน ำเข้ำพลังงำนขั้นต้น และค่ำ ควำมสูญเสียพลังงำนของโครงข่ำยระบบสำยส่งและสำยจ ำหน่ำยไฟฟ้ำ


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 22 ตัวอย่างค่าคะแนนตัวชี้วัดเป้าหมายที่ท าให้เกิดความสมดุลของความมั่นคงด้านพลังงาน ในกำรจัดท ำ Scenario เป็นตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยที่มีกำรปรับปรุงควำมสมดุลภำยในของแต่ละตัวชี้วัดของ ควำมมั่นคงให้เพิ่มมำกขึ้น (เข้ำใกล้ภำพหกเหลี่ยมด้ำนเท่ำมำกขึ้น) โดยกำรปรับค่ำคะแนนตัวชี้วัด ได้แก่ สัดส่วนกำรน ำเข้ำพลังงำน ขั้นต้น และค่ำควำมสูญเสียพลังงำนของโครงข่ำยระบบสำยส่งและสำยจ ำหน่ำยไฟฟ้ำ โดยใช้กำรค ำนวณหำค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำย ด้วยกำรหำค่ำรำกของสมกำรด้วยวิธีกำรของ Newton-Raphson โดยมีตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำย ดังนี้ ตัวชี้วัด ปีฐาน 2564 Scenario* ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด การตีความของค่าคะแนนตัวชี้วัด สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น 0.46 3.76 สัดส่วนการน าเข้าพลังงานไม่ควรเกินร้อยละ 42.40 ค่าความสูญเสียพลังงานของ โครงข่ายระบบสายส่งและสาย จ าหน่ายไฟฟ้า 2.91 4.73 ค่าเฉลี่ยของค่าความสูญเสียพลังงานของโครงข่ายระบบสาย ส่งและสายจ าหน่ายไฟฟ้าม่ควรเกิน 6.27 ผลประเมินปี 2564 (ความมั่งคั่งด้านพลังงาน 3.55 คะแนน) Scenario (ความมั่นคงด้านพลังงาน 4.48 คะแนน) จำก Scenario ที่มีกำรปรับปรุงค่ำคะแนนตัวชี้วัดของสัดส่วนกำรน ำเข้ำพลังงำนขั้นต้น และค่ำควำมสูญเสียพลังงำนของโครงข่ำย ระบบสำยส่งและสำยจ ำหน่ำยไฟฟ้ำ ท ำให้ควำมควำมสมดุลภำยในของด้ำนควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนเพิ่มขึ้น ซึ่งค่อนข้ำงเป็นควำมท้ำทำย ในกำรด ำเนินงำน เนื่องจำกเป็นกำรปรับปรุงค่ำคะแนนอย่ำงก้ำวกระโดด ซึ่งกำรมีสัดส่วนกำรน ำเข้ำพลังงำนขั้นต้นที่น้อย จะท ำให้ ประเทศสำมำรถพึ่งพำตนเองได้ แต่อย่ำงไรก็ตำม ปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกำรสัดส่วนกำรน ำเข้ำพลังงำนคือรำคำพลังงำนและ ควำมต้องกำรใช้พลังงำนภำยในประเทศ ซึ่งในกำรบริหำรจัดกำรจะต้องค ำนึงถึงสมดุลระหว่ำงควำมมั่งคั่งและควำมมั่นคงควบคู่กันไป ทั้งในช่วงเวลำที่ต้นทุนกำรผลิตพลังงำนภำยในประเทศสูงกว่ำกำรน ำเข้ำพลังงำน และช่วงเวลำที่รำคำพลังงำนต่ำงประเทศปรับตัวสูงขึ้น พร้อมทั้งปรับคุณภำพของระบบส่งและสำยจ ำหน่ำยไฟฟ้ำให้อยู่ในสภำพดีอยู่เสมอ เพื่อสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนเพิ่มเติม 3. การปรับปรุงความสมดุลของความยั่งยืนด้านพลังงาน (Sustainability) เมื่อพิจำรณำแผนภำพควำมสมดุลภำยใน ของควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำน ค่อนข้ำงจะมีควำมสมดุลมำกที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับด้ำนควำมมั่งคั่งและมั่นคง แต่หำกต้องกำร ปรับปรุงตัวชี้วัดเพื่อสร้ำงควำมสมดุลให้เพิ่มมำกขึ้น ควรมีกำรปรับปรุงตัวชี้วัด ได้แก่ สัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนที่ผลิตได้ ภำยในประเทศ และควำมยืดหยุ่นของระบบพลังงำนเพื่อรองรับพลังงำนหมุนเวียน หมายเหตุ: Scenario* ที่จัดท ำขึ้นเป็นตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยที่ท ำให้เกิดควำมสมดุลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่ำคะแนนของแต่ละตัวชี้วัดที่จะช่วยสร้ำงสมดุลนั้น สำมำรถมีได้มำกกว่ำ 1 ชุดค ำตอบ


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 23 ตัวชี้วัด ปีฐาน 2564 Scenario* ค่าคะแนนตัวชี้วัด ค่าคะแนนตัวชี้วัด การตีความของค่าคะแนนตัวชี้วัด สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ ผลิตได้ภายในประเทศ 2.92 3.70 สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ภายในประเทศ ควรมีมากกว่าร้อยละ 18.50 ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานเพื่อ รองรับพลังงานหมุนเวียน 2.63 4.05 ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานควรสูงเกินกว่า ร้อยละ 70.50 ตัวอย่างค่าคะแนนตัวชี้วัดเป้าหมายที่ท าให้เกิดความสมดุลของความยั่งยืนด้านพลังงาน ในกำรจัดท ำ Scenario เป็นตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยที่มีกำรปรับปรุงควำมสมดุลภำยในของแต่ละตัวชี้วัดของ ควำมยั่งยืนให้เพิ่มมำกขึ้น (เข้ำใกล้ภำพหกเหลี่ยมด้ำนเท่ำมำกขึ้น) โดยกำรปรับค่ำคะแนนตัวชี้วัด ได้แก่ สัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนที่ ผลิตได้ภำยในประเทศ และควำมยืดหยุ่นของระบบพลังงำนเพื่อรองรับพลังงำนหมุนเวียน โดยใช้กำรค ำนวณหำค่ำคะแนนตัวชี้วัด เป้ำหมำยด้วยกำรหำค่ำรำกของสมกำรด้วยวิธีกำรของ Newton-Raphson โดยมีตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำย ดังนี้ ผลประเมินปี 2564 (ความยั่งยืนด้านพลังงาน 3.62 คะแนน) Scenario (ความยั่งยืนด้านพลังงาน 3.99 คะแนน) หมายเหตุ: Scenario* ที่จัดท ำขึ้นเป็นตัวอย่ำงค่ำคะแนนตัวชี้วัดเป้ำหมำยที่ท ำให้เกิดควำมสมดุลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่ำคะแนนของแต่ละตัวชี้วัดที่จะช่วยสร้ำงสมดุลนั้น สำมำรถมีได้มำกกว่ำ 1 ชุดค ำตอบ


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 24 จำก Scenario ที่มีกำรปรับปรุงค่ำคะแนนตัวชี้วัดของสัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนที่ผลิตได้ภำยในประเทศ และควำมยืดหยุ่น ของระบบพลังงำนเพื่อรองรับพลังงำนหมุนเวียน ท ำให้ควำมควำมสมดุลภำยในของด้ำนควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนเพิ่มขึ้น ซึ่งแนวโน้ม พลังงำนในระยะต่อไป พลังงำนสะอำดจะมีบทบำทมำกยิ่งขึ้น กำรปรับปรุงควำมสมดุลด้ำนยั่งยืน จึงควรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนและ กำรบริหำรจัดกำรให้สำมำรถใช้พลังงำนหมุนเวียนไปใช้ได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ เช่น ระบบสำยส่ง ระบบกักเก็บพลังงำน ซึ่งจะช่วยลด ข้อจ ำกัดของกำรใช้พลังงำนหมุนเวียนในเรื่องเสถียรของพลังงำนในแต่ละช่วงเวลำ ซึ่งกำรสร้ำงควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนจะเป็นพื้นฐำน ส ำคัญในกำรด ำเนินนโยบำย แผน และมำตรกำรต่ำงๆ เพื่อเข้ำสู่กำรเปลี่ยนผ่ำนด้ำนพลังงำนไปสู่กำรใช้พลังงำนสะอำดตำมทิศทำง พลังงำนโลก โดยในกำรด ำเนินกำรในปีถัดไป ควรจะมีกำรปรับปรุงตัวชี้วัดเพื่อให้สอดคล้องกับทิศทำงแผนพลังงำนชำติที่มีแผนที่จะ ประกำศใช้ในช่วงปลำยปี 2565 การปรับปรุงความสมดุลของระบบพลังงานตามค่าพารามิเตอร์ที่มีความส าคัญ เมื่อพิจำรณำจำกสูตรกำรค ำนวณของทั้ง 18 ตัวชี้วัด ทั้งในด้ำนควำมควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน ควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน และ ควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำน พบว่ำค่ำพำรำมิเตอร์ที่ใช้ในกำรค ำนวณหลำยตัวชี้วัดมีควำมสัมพันธ์กับชนิดพลังงำนและปริมำณพลังงำนของ กำรผลิต และกำรใช้ มีผลกระทบต่อตัวชี้วัดหลำยตัวในด้ำนควำมมั่นคงและควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำน และชนิดและปริมำณพลังงำนจะเป็น ตัวตั้งต้นในกำรก ำหนดมูลค่ำของพลังงำน ซึ่งจะสัมพันธ์กับตัวชี้วัดในด้ำนควำมมั่งคั่ง ดังนั้นปัจจัยส ำคัญที่จะสร้ำงควำมสมดุลของควำม มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ควรมุ่งเน้นไปที่กำรบริหำรจัดกำรพลังงำนโดยพิจำรณำอุปสงค์พลังงำน (demand side) และอุปทำนเป็นหลัก พลังงำน (supply side) ความมั่นคงด้านพลังงาน ความหลากหลายของเชื้อเพลิงทั้งหมดที่ใช้ในประเทศ ความหลากหลายของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า สัดส่วนการน าเข้าพลังงานขั้นต้น ความยั่งยืนด้านพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนที่ผลิตได้ภายในประเทศ ความยืดหยุ่นของระบบพลังงานเพื่อรองรับ พลังงานหมุนเวียน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อการใช้พลังงานขั้นต้น การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวประชากร ชนิดและปริมาณของ การผลิตและการใช้ พลังงาน ความมั่งคั่งด้านพลังงาน Demand


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 25 ข้อเสนอแนะที่น ำไปสู่ควำมสมดุลของระบบพลังงำนทั้งด้ำนควำมมั่นคง-มั่งคั่ง-ยั่งยืนให้เพิ่มมำกขึ้นจำกปี 2564ควรเน้นไปที่กำร สร้ำงควำมมั่งคั่งด้ำนพลังงำน โดยสนับสนุนให้มีกำรผลิตและใช้พลังงำนสะอำดภำยในประเทศให้เพิ่มขึ้น โดยกำรส่งเสริมกำรผลิตพลังงำน ตำมศักยภำพของแต่ละพื้นที่ เช่น กำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำจำกแสงอำทิตย์ กำรใช้พลังงำนชีวภำพและชีวมวล เป็นต้น สร้ำงโอกำสและ ขยำยกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจด้วยกำรผลักดันให้เกิดธุรกิจใหม่ที่เกี่ยวข้องกับพลังงำนสะอำด ตำมกรอบนโยบำยแผนพลังงำนชำติ ที่มุ่งสู่ พลังงำนสะอำดและลดกำรปลดปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ภำยในปี ค.ศ. 2065-2070 โดยสร้ำงศักยภำพกำรแข่งขัน และกำรลงทุนของผู้ประกอบกำรของไทยให้สำมำรถปรับตัวเข้ำสู่กำรลงทุนเศรษฐกิจคำร์บอนต่ ำตำมทิศทำงโลก ตลอดจนใช้ประโยชน์ จำกกำรลงทุนในนวัตกรรมสมัยใหม่เพื่อสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับยำนยนต์ไฟฟ้ำ กำรพัฒนำเทคโนโลยี ไฮโดรเจน เป็นต้น ซึ่งเป็นกำรสร้ำงยั่งยืนด้ำนพลังงำนควบคู่กันไป พร้อมกันนี้จะต้องยังคงรักษำและเสริมสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนพลังงำน ซึ่งเป็นหัวใจหลักของกำรบริหำรจัดกำรพลังงำนของประเทศ โดยพิจำรณำทั้งด้ำน Demand และ Supply กำรพัฒนำเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงำน (Energy Storage System) และขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนตำมแผนแม่บทกำรพัฒนำระบบโครงข่ำยสมำร์ทกริดของ ประเทศไทย รวมทั้งกำรรณรงค์ประชำสัมพันธ์ให้เกิดกำรใช้พลังงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพในทุกภำคส่วน เพื่อสร้ำงควำมมั่นคง มั่งคั่ง และ ควำมยั่งยืนด้ำนพลังงำนอย่ำงสมดุล มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ข้อเสนอแนะในการสร้างความสมดุลด้านพลังงานของประเทศไทย


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 26 ภาคผนวก TETI: Interactive Dashboard โปรแกรมประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานของ ประเทศไทยเบื้องต้น (TETI Calculator)


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 27 TETI Calculator TETI: Interactive Dashboard แสดงผลกำรประเมินดัชนีชี้วัดควำมสมดุลด้ำน พลังงำนของประเทศไทยในรูปแบบ Interactive Dashboard โดยผู้ใช้งำนสำมำรถเลือกให้แสดงผลในปีที่สนใจได้ ตั้งแต่ปี 2013 จนถึงปัจจุบัน ใ ช้ ป ร ะ เ มิ น ดั ช นี ชี้ วั ด ค ว ำ ม ส ม ดุ ล ด้ำนพลังงำนของประเทศไทยเบื้องต้น ในรูปแบบ Web application ด้วยกำรใช้งำนที่ไม่ซับซ้อน โดยกรอกข้อมูลค่ำตัวชี้วัด และเลือกค ำสั่ง Calculate เพื่อแสดงผลกำรประเมินดัชนีชี้วัด ควำมสมดุลด้ำนพลังงำนในเบื้องต้น โปรแกรมประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุล ด้านพลังงานของประเทศไทยเบื้องต้น Link: https://datastudio.google.com/s/nHVoRtrOMH8 Link: https://teti-cal2-fwkm.glide.page


รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดความสมดุลด้านพลังงานประเทศไทย ปี 2564 Thailand Energy Trilemma Index 2021 28


กลุ่มติดตามและประเมินผล กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400


Click to View FlipBook Version