The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 1 ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by olo123olo123olo, 2021-04-30 01:24:15

แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 1 ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - ค้นหาด้วย Google

แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 1 ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1

หัวข้อเนือ้ หา
1.1 ความหมายของการทอ่ งเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ
1.2 ความเป็นมาของการทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพ
1.3 ประเภทของการท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพ
1.3.1 การท่องเท่ียวเชิงสง่ เสริมสขุ ภาพ
1.3.2 การทอ่ งเท่ียวเชงิ บาบดั รักษาสขุ ภาพ หรือ การทอ่ งเท่ียวเชิงการแพทย์
1.4 ความสมั พนั ธ์ของการท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพกบั การท่องเท่ียวรูปแบบอื่น

วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
เมื่อศกึ ษาบทท่ี 1 จบแล้ว ผ้เู รียนควรแสดงพฤตกิ รรมดงั ตอ่ ไปนี ้
1. เข้าใจความหมายของการทอ่ งเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ
2. เข้าใจการทอ่ งเที่ยวเชิงสง่ เสริมสขุ ภาพ
3. เข้าใจการทอ่ งเท่ียวเชงิ บาบดั รักษาสขุ ภาพ หรือ การทอ่ งเที่ยวเชงิ การแพทย์
4. เข้าใจความสมั พนั ธ์ของการทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพกบั การทอ่ งเท่ียวรูปแบบอ่ืน

วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน
1. วธิ ีสอน
1.1 ใช้วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 ร่วมอภิปรายเนือ้ หาและทาแบบฝึ กหดั ในชนั้ เรียน
1.3 มอบหมายแบบฝึ กหดั เป็ นการบ้าน
1.4 แบง่ กลมุ่ ผ้เู รียนเพ่ือทบทวน เนือ้ หาและฝึกทาแบบฝึ กหดั เพ่ือให้
ผ้เู รียนมีทกั ษะการทางานเป็นกลมุ่
1.5 ผ้สู อนสอนสรุปเนือ้ หาเพ่ิมเตมิ

2

2. กจิ กรรมการเรียนการสอน
2.1 แจกและแนะนาแผนบริหารการสอนประจาวชิ า
2.2 แนะนาความรู้พืน้ ฐานท่ีจาเป็นและให้ผ้เู รียนศกึ ษาและทบทวนเนือ้ หา
กอ่ นการเรียนการสอน
2.3 ผ้สู อนบรรยายเนือ้ หา
2.4 ผ้สู อนยกตวั อยา่ งแล้วให้ผ้เู รียนอภิปรายและร่วมกนั เสนอแนวคดิ และวิธี
การหาคาตอบและวธิ ีการตรวจสอบความถกู ต้องของคาตอบ
2.5 ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั สรุปเนือ้ หา
2.6 ให้ผ้เู รียนสอบถามความรู้พืน้ ฐานตา่ ง ๆ ท่ีจาเป็นและยงั ไมเ่ ข้าใจ
2.7 ผ้สู อนมอบหมายให้ผ้เู รียนทาแบบฝึกหดั ท้ายบทเป็นการบ้าน

ส่ือการเรียนการสอน
1. power-point
2. เคร่ืองคอมพิวเตอร์
3. เอกสารประกอบคาสอนวชิ าการทอ่ งเที่ยวเชิงบาบดั รักษา

การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตการตอบคาถามและการตงั้ คาถามเนือ้ หาท่ีทบทวน
2. สงั เกตความร่วมมือของหวั หน้ากลมุ่ และสมาชิกในการทางานกลมุ่
3. ความเข้าใจและความถกู ต้องในการทาแบบฝึ กหดั และแบบทดสอบ
4. วดั เจตคตจิ ากพฤตกิ รรมการเรียน ความกระตอื รือร้นในการทากิจกรรม

3

บทท่ี 1

แนวคดิ เก่ียวกับการท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ

ปัจจุบนั การท่องเที่ยวมีรูปแบบท่ีเปลี่ยนไปจากเดมิ เน่ืองจากนกั ท่องเท่ียวมีความ

ต้องการท่ีซบั ซ้อนและหลากหลายมากขนึ ้ จงึ ทาให้เกิดการทอ่ งเท่ียวทางเลือก (Alternative

Tourism) เข้ามาแทนที่การท่องเที่ยวแบบมวลชน (Mass Tourism) โดยการ

ท่องเที่ยวทางเลือกนนั้ เป็ นการท่องเท่ียวท่ีนักท่องเที่ยวสามารถ “เลือก” องค์ประกอบทุก

อยา่ งของการทอ่ งเท่ียวได้ด้วยตนเอง ไมว่ า่ จะเป็นการเลือกสถานที่ท่องเท่ียว ประเภทท่ี

พกั ประเภทยานพาหนะ ร้ านอาหาร รวมทงั้ กิจกรรมตา่ ง ๆ ในระหว่างการท่องเท่ียว ด้วย

เหตนุ ี ้จงึ เกิดการทอ่ งเที่ยวรูปแบบตา่ งๆ ขนึ ้ มากมาย เพ่ือเป็ น “ตวั เลือก” ให้กบั นกั ท่องเที่ยว

ที่มีความต้องการที่แตกตา่ งกนั

การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) ก็นับว่าเป็ นรูปแบบหน่ึงของการ

ทอ่ งเที่ยวทางเลือกที่ตอบสนองความต้องการของนกั ท่องเที่ยวในกล่มุ ที่ให้ความสาคญั กับ

การรักษา ฟื ้นฟูสุขภาพกาย และสุขภาพใจ โดยแนวคิดของการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพมี

รายละเอียด ตอ่ ไปนี ้

1.1 ความหมายของการท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพ

องค์การอนามยั โลก (World Health Organization, 2006) ได้นิยามคาวา่ “สขุ ภาพ
(Health)” หมายถึง “สภาวะท่ีสมบูรณ์ทงั้ ทางร่างกาย ทางจิตใจ และทางสงั คมของมนษุ ย์
ไม่เพียงแตป่ ราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ” บุคคลที่แสวงหาสขุ ภาพท่ีดีจงึ เป็ นคนท่ีพยายามสร้าง
สมดลุ ระหวา่ งปัจจยั ทางด้านร่างกาย จิตใจ สงั คม อารมณ์ จติ วญิ ญาณ และสิ่งแวดล้อมท่ีมี
อิทธิพลตอ่ การดารงชีวิตให้ประสานสมดลุ กนั แบบองค์รวมอย่างลงตวั (Holistic Balance)
การแพทย์ แบบองค์รวม (Holistic Medicine) เป็ นการแพทย์ท่ีมงุ่ เน้นการสร้างเสริม
และบารุงรักษาสขุ ภาพ ไม่ได้เน้นไปท่ีการรักษาความเจ็บป่ วย ซึง่ แนวคิดนีเ้ป็ นแรงผลกั ของ

4

ความต้องการใช้บริการสปา และบริการพกั แรมในรีสอร์ตท่ีให้บริการส่งเสริมสุขภาพแบบ

ครบวงจรท่ีกาลงั ได้รับความนิยมมากขนึ ้ ในปัจจบุ นั (Edlin and Gotanty, 1988 อ้างในราณี

อสิ ชิ ยั กลุ , 2557)

การท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพเป็ นการท่องเท่ียวท่ีเกิดขึน้ เพื่อตอบสนองความต้องการ

ของนกั ท่องเที่ยวที่สนใจในการส่งเสริมและรักษาสุขภาพ โดยมีนกั วิชาการหลายคนได้ให้

ความหมายของการทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพไว้ ดงั นี ้

Smith and Kelly (2006) ได้ให้ความหมายของการทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพ หมายถึง

รูปแบบการทอ่ งเท่ียวท่ีมีการดแู ลสขุ ภาพแบบองค์รวมโดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสง่ เสริม รักษา

และฟื น้ ฟรู ่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ และChenetal(2013)ได้ขยายความว่าการทอ่ งเที่ยวเชิง

สุขภาพ เป็ นการเดินทางเพื่อช่ืนชมความงามของแหล่งท่องเที่ยว และพักผ่อน

หยอ่ นใจ รวมถึงการเข้าร่วมกิจกรรมสขุ ภาพเพ่ือสร้างความสมดลุ ให้กบั ร่างกาย จิตใจ และ

จติ วิญญาณ

นอกจากนี ้Ufuk et al (2012) กล่าวว่า การทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพเป็ นการท่องเท่ียว

เฉพาะทางที่นกั ทอ่ งเท่ียวจะเดนิ ทางไปยงั แหล่งท่องเท่ียวหรือเมืองตา่ งๆ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์

เพื่อเข้าทากิจกรรมส่งเสริม ฟื ้นฟู ตลอดจนบาบัดรักษาสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ การ

ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2551) ที่อธิบายความหมายของการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ

หมายถึง การเดนิ ทางท่องเท่ียวเย่ียมชมสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามในแหล่งท่องเที่ยวทาง

ธรรมชาติ และวฒั นธรรม ซึง่ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตและพกั ผ่อนหยอ่ นใจ โดยแบง่

เวลาจากการท่องเที่ยวเพื่อทากิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพ และ/หรือบาบดั รักษาฟื น้ ฟูสขุ ภาพ

เช่น การรับคาปรึกษาแนะนาด้านสุขภาพ การออกกาลงั กายอย่างถกู วิธี การนวด

อบประคบสมนุ ไพร การฝึกปฏิบตั สิ มาธิ ตลอดจนการตรวจร่างกาย การรักษาพยาบาล และ

อื่นๆ โดยเป็ นการท่องเท่ียวท่ีมีจิตสานึกต่อการส่งเสริมและรักษาสขุ ภาพ และสิ่งแวดล้อม

รวมถึง วรรณา วงษ์วานิช (2546) ได้กล่าวว่า การท่องเที่ยว เชิงสขุ ภาพ หมายถึง

การทอ่ งเที่ยวพกั ผอ่ นไปทา่ มกลางธรรมชาติ เรียนรู้วิธีการใช้พลงั งาน จากธรรมชาติ

มาบาบดั และเสริมสร้างสขุ ภาพให้แขง็ แรง จิตใจสดชื่นแจ่มใสควบคไู่ ปกบั การทอ่ งเท่ียวเห็น

วฒั นธรรมท้องถ่ินและนาสง่ิ ที่ได้รับมาปรับปรุงคณุ ภาพชีวติ ให้ดีขนึ ้

5

สาหรับผ้เู ขียน ได้สรุปความหมายของการทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพ (Health Tourism)
หมายถึง การท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ท่ีมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือส่งเสริม ฟื ้นฟู และ
บาบดั รักษาสขุ ภาพทงั้ ร่างกายและจติ ใจ รวมทงั้ การใช้ชว่ งเวลาดงั กล่าวเย่ียมชม ความงาม
ทางธรรมชาติ และวฒั นธรรมในแหลง่ ทอ่ งเท่ียว อีกทงั้ เกิดจติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากร
การทอ่ งเที่ยวด้วย

1.2 ความเป็ นมาของการท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ

ต้นกาเนิดของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพนนั้ ไม่ได้ปรากฏหลักฐานแน่ชดั หากแต่

กิจกรรมเพื่อสุขภาพนนั้ เกิดขึน้ จากการที่ผ้คู นออกเดนิ ทางไปยงั สถานท่ีศกั ด์สิ ิทธิ์ตา่ งๆ เพ่ือ

แสวงบุญและบาบัดรักษาโรค ทัง้ นี ้ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเร่ิมได้รับความนิยมอย่าง

แพร่หลายในช่วงศตวรรษที่ 16-17 โดยในระยะแรกการทอ่ งเที่ยวประเภทนีใ้ ห้ความสาคญั

กบั ส่งิ ที่เกิดขนึ ้ ตามธรรมชาติ เชน่ นา้ แร่ บอ่ นา้ ร้อน การเดนิ ทางทอ่ งเท่ียวนนั้ มีวตั ถปุ ระสงค์

เพื่อหลบหนีอากาศหนาวเย็นในช่วง ฤดหู นาว มายังพืน้ ท่ีที่อบอุ่นกว่า และเร่ิม

พัฒนากิจกรรมเพื่อสุขภาพมากขึน้ ทาให้ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีลักษณะเพื่อ

บาบดั รักษา และฟื น้ ฟสู ขุ ภาพ (มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, 2546)

การท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพมีวิวัฒนาการมาจากสปา

ก่อนท่ีจะเกิดเป็ นการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพนัน้ ได้ มีประวัติศาสตร์ของการ

บาบดั รักษาโรค และการดแู ลสขุ ภาพของชนชาตติ า่ งๆ อนั แสดงให้เห็นถึงจดุ กาเนิดของการ

ออกเดนิ ทาง เพื่อสขุ ภาพพร้อมทงั้ การทอ่ งเที่ยว ซ่ึงการเดนิ ทางท่องเท่ียวเพื่อสขุ ภาพ

ในยุคแรกๆ จะมุ่งเน้น การบาบดั รักษาโรคด้วยสายนา้ หรือสปา (Spa) ซึ่งเป็ นการ

บาบัดด้วยนา้ เพื่อให้ได้มาซึ่งสุขภาพ ที่ดี ทัง้ นี ้ นภารัตน์ ศรีละพันธ์ (2549) ได้

อธิบายถึงวิวฒั นาการของการบาบดั รักษาด้วยนา้ ดงั นี ้

ในชว่ ง 2400 ปี ก่อนคริสตกาล วฒั นธรรมของชาวอินเดียโบราณได้สร้างระบบการ

บาบดั ร่างกายและจิตใจ ด้วยการชาระล้างในสายนา้ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ตามหลกั อนามยั

สาหรับชาวญี่ป่ ุน จีน กรีก และโรมัน ใช้การอาบนา้ อุ่นลดอาการเหน็ดเหน่ือย

เมื่อยล้า ของร่างกาย ช่วยส่งเสริมการรักษาบาดแผล รวมทงั้ บาบดั อาการซึมเศร้า ไร้

ชีวิตชีวา ส่วนชนชาติกรีกเป็ นชนกลุ่มแรกที่ค้นพบ และเช่ือม่ันศรัทธาในความสัมพันธ์

6

ระหว่างสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และจิตใจท่ี สุข สงบและมนั่ คง ดงั นนั้ พวกเขาจึงสร้าง

ศนู ย์กลางใกล้แหลง่ นา้ พรุ ้อน หรือนา้ แร่ขนึ ้ มาเป็ นที่สาหรับใช้อาบนา้ และคลายอาการปวด

ตามข้อ และกล้ามเนือ้

เม่ือประมาณ 500 ปี ก่อนคริสตกาล การอาบนา้ พัฒนาการเป็ นวิถีหน่ึงในการ

บาบัดรักษาโดยอ้างอิงได้จากการสร้ างสถานท่ี หรือบ่ออาบนา้ ที่ใหญ่โต และซับซ้อน

มากกว่าที่จะใช้เป็ นเพียงสถานท่ีชาระล้างร่างกายเพียงอย่างเดียว เชน่ The Roman Bath

ในเมืองบาธ ที่ประเทศองั กฤษ หรือ Caloglu Hamami ในกรุงอิสตนั บลู ประเทศตรุ กี เป็ น

ต้น ซงึ่ ลกั ษณะการตกแตง่ สถานท่ีอาบนา้ ของทงั้ 2 แหง่ นี ้จะเป็นโครงสร้างท่ีหรูหรา เน้นการ

ตกแตง่ แบบประดบั ประดา อยา่ งฟ่ มุ เฟื อย แตเ่ ปิ ดรับแสงธรรมชาตอิ ยา่ งเตม็ ที่

หลังคาสูง และล้อมรอบด้วยผนงั กระจก สระอาบนา้ จะถูกปูด้วยหินอ่อน และ

กระเบือ้ งโมเสค สาหรับกรรมวิธีในการใช้งาน ท่ี The Roman Bath พบว่า มีขนั้ ตอนการใช้

งาน และการอาบนา้ อย่างเป็ นระบบ แสดงให้เห็นถึงการให้ความสาคญั ในการใช้นา้ เพื่อ

บาบดั รักษาร่างกาย

สืบเน่ืองมาจากการเรืองอานาจในสมัยโรมัน ส่งผลให้จานวนสถานที่อาบนา้

สาธารณะ ในลกั ษณะ Roman Bath เพ่ิมจานวนตามไปด้วย โดยในชว่ ง 300 ปี ก่อน

คริสตกาล มีจานวนทงั้ หมดมากกวา่ 900 แหง่ ทว่ั อาณาจกั ร สปาโรมนั ท่ีมีอายเุ ก่าแก่ที่สุด

ยงั คงเหลือร่องรอยไว้ให้ศกึ ษาถงึ ประวตั คิ วามเป็นมาที่เมือง Merano ประเทศอติ าลี

การไปใช้บริการสถานอาบนา้ แบบ Roman Bath นนั้ มักจะกินเวลานานหลาย

ชว่ั โมง เนื่องจากประกอบไปด้วยการออกกาลงั กาย การพดู คยุ สงั สรรค์ ในบางสถานท่ีที่มี

ขนาดใหญ่โต อาจจะมีมมุ พกั ผ่อนอื่น ๆ เสนอบริการด้วยก็ได้ เชน่ สวน ห้องสมุดหรือห้อง

อ่านหนังสือ ภัตตาคาร บาร์ ร้ านค้า หรือแม้กระท่งั โรงหนังหรือโรงละครซ่ึงกรรมวิธีการ

อาบนา้ ท่ี ที่ The Roman Bath ถือเป็ นต้นกาเนิดของสถานบริการประเภทสปาใน

ปัจจบุ นั

ในยุคที่สิน้ สดุ อานาจของอาณาจกั รโรมนั ความนิยมในการใช้บริการสถานอาบนา้

แบบ Roman Bath เริ่มน้อยลง มาตรฐานการรักษาอนามยั ลดตา่ ลง ถึงขนาดย่าแย่ และเม่ือ

เข้าส่ยู คุ กลางของยโุ รป ความสนใจของผู้คนลดต่าลงด้วยอิทธิพลความเช่ือใหม่ท่ีป่ าเถื่อน

และรุนแรงเกี่ยวกบั การใช้ไฟในการบาบดั รักษาแทนนา้

7

ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 15 16 และ 17 ได้มีแพทย์ชาวยุโรปบางคน

สนบั สนนุ ในการนานา้ กลบั มาใช้ในวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือการบาบดั รักษาอีกครัง้ หน่ึง โดย

ในปี ค.ศ. 1697 Sir John Floyer ใช้การบาบดั รักษาด้วยความร้อน และเย็น จาก

อณุ หภูมิในการอาบนา้ และในปี ค.ศ. 1747 John Wesley ตีพิมพ์หนงั สือเกี่ยวกับธารา

บาบดั โดยมีแนวคิดว่าเป็ นแนวคิดที่ง่ายและเป็ นธรรมชาติท่ีสุดในการรักษาโรคภัยและ

อาการเจ็บป่ วยส่วนมาก นกั บวชชาวบาวาเรีย Sebastian Kniepp ได้คิดค้นทฤษฎีท่ีว่า

ความร้อนและความเย็นรักษา กระต้นุ ระบบประสาทและระบบการไหลเวียนของร่างกาย

ซง่ึ เป็นท่ียอมรับและมีชื่อเสียง และ Professor Winterwitz แหง่ กรุงเวียนนา ทมุ่ เท

ใช้ชีวิตของเขาในการศึกษาและทดลองทางวิทยาศาสตร์เพื่อจัดตงั้ มูลนิธิเกี่ยวกับธารา

บาบดั สมยั ใหมข่ นึ ้ มา

ใน ค.ศ. ที่ 16 การบาบดั ด้วยนา้ เร่ิมกลบั มาได้รับความนิยมอีกครัง้ ดึงดดู ผ้สู นใจ

เกี่ยวกับการรักษาอาการเจ็บป่ วยเป็ นจานวนมาก พัฒนาการในครัง้ นีต้ ่อเน่ืองมาจนถึง

ศตวรรษที่ 18 แตค่ วามแตกตา่ งเกิดขึน้ เม่ือชาวยโุ รปสว่ นใหญ่ไม่รู้สกึ ผิดปกตใิ นการ

ที่จะเปลือยกายอาบนา้ กบั เพศตรงข้าม

ศตวรรษที่ 19 การบาบดั ด้วยนา้ ถกู พฒั นาขึน้ มาอย่างพิถีพิถนั และประณีตบรรจง

มากขึน้ ประกอบกับผู้คนที่ให้บริการในเร่ืองนีม้ ีความรู้ความสามารถในการบาบดั รักษา

อยา่ งถกู ต้อง และมีมาตรฐานในระดบั มืออาชีพ การบาบดั รักษาอย่างผิด ๆ ไม่สามารถตบ

ตาผู้คนได้อีกต่อไป นักบาบดั เริ่มพิจารณาให้ผู้ท่ีเข้ารักษารับการเยียวยาทัง้

วิธีการอาบ แช่ รวมไปทัง้ การดื่มกินนา้ สะอาดตามธรรมชาติอีกด้วย การบาบดั ด้วยนา้

เหล่านีไ้ ด้ประสบความสาเร็จอย่างงดงาม และพฒั นารุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซ่ึงในที่สดุ ได้มี

การขยายประเภทการให้บริการออกไปถึงขนาด มีภตั ตาคาร บอ่ นคาสิโน ความ

บนั เทงิ อ่ืนๆ เชน่ การแสดงดนตรี หรือแม้กระทง่ั สนามแขง่ ม้า ความหรูหรา ตระการตา

เหลา่ นีด้ งึ ดดู ให้แม้แตพ่ ระราชวงศ์ชัน้ สงู ในยโุ รป ตดั สินใจท่ีจะจดั งานเลีย้ งรับรองระดบั ชาติ

หรือแม้แต่พิธีอภิเษกสมรสขึน้ ในสภาพแวดล้อมดงั กล่าว เพ่ือรักษาภาพพจน์ ท่ี

หรูหราของตนเอง

แต่ด้วยเหตุผลแวดล้อมต่าง ๆ ข้างต้น ทาให้วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการบาบดั

ด้วยนา้ หรือสปาในการเป็ นสถานบาบดั เพ่ือสขุ ภาพคอ่ ย ๆ เลือนหายไป แตถ่ กู แทนท่ีเข้ามา

8

ด้วยภาพลกั ษณ์ของสถานที่พกั ผอ่ นหยอ่ นใจเพ่ือความผอ่ นคลายมากขนึ ้ การบาบดั ด้วยนา้

หรือสปา ท่ียงั คงรักษาแนวคิดเดิมท่ีเป็ นศูนย์กลางแห่งสขุ ภาพท่ีดีกลายเป็ นท่ีรู้จกั ใน

นามของ “Health farm” แทน ซ่ึงแนวโน้มที่จะมีชื่อเสียงหรือเป็ นที่รู้จกั กว้างขวางก็กลบั

น้อยลงไปเชน่ กนั

จากวิวฒั นาการข้างต้น จะเห็นว่าการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ เร่ิมต้นอย่างชัดเจน

ในช่วงศตวรรษท่ี 18 และสถานบาบดั ด้วยนา้ หรือสปาได้ถูกพฒั นาให้กลายเป็ นแหล่ง

ทอ่ งเที่ยวในชว่ งศตวรรษที่ 19 เร่ือยมาจนถึงปัจจบุ นั ซ่ึงแหลง่ ท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพนีจ้ ะต้อง

สามารถรองรับความต้องการของนกั ทอ่ งเที่ยวทงั้ เร่ืองของสขุ ภาพ และความเป็ นอย่ทู ่ีดี และ

ต้องประกอบด้วยสง่ิ อานวยความสะดวกท่ีสามารถให้ความบนั เทิง และการสงั สรรค์ระหว่าง

นกั ทอ่ งเท่ียว

ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ท่ีผ่านมา ได้มีการเปล่ียนแปลงเกิดขึน้ อีกครัง้ โดยกระแส

ความนิยมในสขุ ภาพที่ดีมีแนวโน้มเพิ่มขนึ ้ เร่ือย ๆ ปัจจบุ นั การท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพเร่ิมเป็ น

ที่รู้จกั อย่างกว้างขวางอีกครัง้ และกลายเป็ นรูปแบบหนึง่ ของการท่องเที่ยวเพื่อวตั ถปุ ระสงค์

เฉพาะ ท่ีม่งุ เน้นกล่มุ นกั ท่องเที่ยวเฉพาะ (Niche Market) โดยลกั ษณะของการท่องเท่ียว

เชิงสขุ ภาพจะเป็ นการผสมผสานระหวา่ งการสง่ เสริมสขุ ภาพ และการบาบดั รักษาโรค หรือ

ที่เรียกว่า “medical wellness” (Erfurt-Cooper and Cooper, 2009) ซ่ึงมีแนวคิดหลกั

ดงั ตอ่ ไปนี ้

1) สขุ ภาพ (แพทย์ทางเลือก) : Wellness (alternative medicine) โดยมี

แนวคิดท่ีว่าสุขภาพที่ดีคือการท่ีร่างกายมีความสมดลุ ของร่างกาย จิตใจ และปัญญา (จิต

วิญญาณ) ซ่ึงแนวคิดนีก้ ล่าวถึงสขุ ภาพจากมมุ มองของการแพทย์ทางเลือก ท่ีสขุ ภาพท่ีดีมี

ความหมายมากกว่าเพียงแคก่ ารปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บดงั นนั้ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง

สขุ ภาพตามแนวคดิ นี ้จะต้องเป็นกิจกรรมท่ีมงุ่ เน้นการสง่ เสริมสขุ ภาพทงั้ ร่างกาย และจิตใจ

รวมถงึ จิตวญิ ญาณให้แขง็ แรง เพ่ือป้ องกนั ไมใ่ ห้เกิดโรคตา่ ง ๆ กิจกรรมทอ่ งเที่ยว

เชิงสขุ ภาพตามแนวคดิ นี ้เชน่ การนวด วารีบาบดั การฝึกสมาธิ เป็นต้น

2) สขุ ภาพ (การแพทย์) : Wellness (medicine) โดยมีแนวคิดเก่ียวกบั สขุ ภาพ

ที่ดีจะต้องไมม่ ีโรคภยั ไข้เจ็บ ดงั นนั้ กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพตามแนวคดิ นีจ้ ึงม่งุ เน้น

ในเรื่องของการบาบดั รักษา และฟื น้ ฟูร่างกายหลงั จากการรักษาโรคให้แข็งแรงมีสขุ ภาพดี

9

ดงั เดมิ การทอ่ งเที่ยวเชงิ สขุ ภาพตามแนวคดิ นีจ้ งึ มกั จะเกี่ยวข้องกบั ศนู ย์สขุ ภาพ

และโรงพยาบาล ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการบาบดั รักษาโรค แล้วจงึ แทรกกิจกรรม

การทอ่ งเที่ยวเข้าไประหวา่ ง การรักษาพยาบาล

สาหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทยนนั้ ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก

เน่ืองจากคนไทยรุ่นใหม่หนั มาใส่ใจดแู ลสุขภาพกายและใจกนั มากขึน้ แหล่งท่องเท่ียวเชิง

สขุ ภาพจงึ เกิดขนึ ้ หลายแหง่ หรือบางแหง่ ก็มีมานานแล้ว และได้รับการพฒั นาให้เป็ นระบบที่

ทนั สมัยยิ่งขึน้ เช่น นา้ พรุ ้อนแจ้ซ้อน อาเภอเมืองปาน จงั หวดั ลาปาง ภูโคลน อาเภอเมือง

จงั หวดั แม่ฮ่องสอน บอ่ นา้ ร้อนรักษะวาริน อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง รวมถึงศนู ย์

สขุ ภาพ และสถานพยาบาล/โรงพยาบาลอีกมากมาย เป็นต้น

1.3 ประเภทของการท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพ

ดงั ที่กล่าวมาแล้วว่าการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็ นการท่องเท่ียวเพ่ือทากิจกรรมท่ี

เกี่ยวข้องกบั การดแู ลรักษาสขุ ภาพ ทงั้ นี ้ราณี อิสิชยั กลุ (2557) ได้กล่าวถึงลกั ษณะของการ

ทอ่ งเที่ยว เชงิ สขุ ภาพวา่ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 3 ระดบั คือ

1) การท่องเท่ียวเพ่ือรักษาสุขภาพของนักท่องเที่ยวที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึน้ การ

ท่องเท่ียวในลกั ษณะนีก้ าลงั เป็ นที่นิยมอย่างสูงทว่ั โลก เน่ืองจากนกั ท่องเที่ยวส่วนใหญ่เร่ิม

ให้ ความสาคัญกับการรักษาสุขภาพของตนเองภายใต้ สภาพแวดล้ อมที่เสื่อมโทรมใน

ปัจจบุ นั โดยการออกกาลงั กายและดแู ลสขุ ภาพอยา่ งถูกวิธี เช่น การนงั่ สมาธิ การฝึ กโยคะ

การฝึ กไทเก๊ก การอาบนา้ แร่หรือสปา การนวดแผนโบราณ การรับประทานสมุนไพร การ

รับประทานอาหารเพื่อสขุ ภาพ และการพกั ผอ่ นในท่ีที่มีอากาศบริสทุ ธ์ิใกล้ชิดธรรมชาติมาก

ขนึ ้ ซงึ่ ประเทศไทยมีสถานท่ีให้บริการทอ่ งเที่ยว เพื่อรักษาสขุ ภาพหลายประเภท เชน่

การนวดแผนโบราณที่วดั โพธิ์ การนงั่ สมาธิในวดั สาคญั ทางพทุ ธศาสนา เป็นต้น

2) การท่องเท่ียวเพ่ือฟื น้ ฟูสุขภาพของนกั ท่องเที่ยว หรืออยู่ในระยะพักฟื น้ การ

ท่องเท่ียวลักษณะนีน้ ักท่องเท่ียวต้องการอากาศท่ีบริสุทธ์ิอยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีดีและเป็ น

ธรรมชาติ รับประทานอาหารเพ่ือสุขภาพ และออกกาลงั กายอย่างเบาๆ เพ่ือฟื น้ ฟูสุขภาพ

สถานท่ีท่องเท่ียวที่ให้บริการลกั ษณะนี ้เช่น ชีวาศรม สถานท่ีพกั ตากอากาศชายทะเล เป็ น

ต้น

10

3) การท่องเที่ยวเพ่ือรักษาโรคของนกั ท่องเท่ียว การท่องเท่ียวในลกั ษณะนีก้ าลงั
ได้รับความนยิ มเป็ นอยา่ งสงู เน่ืองจากคา่ รักษาพยาบาลในประเทศไทยถกู กว่าตา่ งประเทศ
และประเทศไทยมีแพทย์ท่ีมีความเชี่ยวชาญและมีฝี มือหลายด้าน เช่น การทาทันตกรรม
การเปล่ียนสะโพก การเปล่ียนข้อเขา่ การผา่ ตดั เพื่อเสริมความงาม เป็นต้น

จากลักษณะของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพข้างต้น สามารถสรุปวัตถุประสงค์ของการ
ทอ่ งเที่ยว เชิงสขุ ภาพ ดงั นี ้

1) เพ่ือสง่ เสริมสขุ ภาพร่างกาย และจิตใจให้สมบรู ณ์แข็งแรง และป้ องกนั โรคภัย
ไข้เจ็บ ที่อาจเกิดขึน้ โดยทากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างถูกวิธี เช่น การนวด การ
ประคบ การอบสมนุ ไพร การฝึกสมาธิ เป็นต้น

2) เพ่ือบาบดั รักษาและฟื ้นฟูสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง โดยการทากิจกรรมที่
เก่ียวข้องกับการรักษาสขุ ภาพและการเข้ารับบริการด้านการแพทย์ เช่น การตรวจร่างกาย
การรักษาโรค การศลั ยกรรมความงาม เป็นต้น

ทงั้ นี ้ จะเห็นว่าวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มุ่งเน้นไปที่การรักษา
สขุ ภาพ ใน 2 ประเด็น คือ การส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้ องกันความเจ็บป่ วย และเม่ือ
เจ็บป่ วยก็มีการรักษาฟื น้ ฟสู ขุ ภาพให้แขง็ แรง โดยทากิจกรรมเพ่ือสขุ ภาพในแหลง่ ทอ่ งเท่ียว

ดงั นนั้ การทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพ อาจแบง่ ประเภทได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี ้

1.3.1 การท่องเท่ียวเชิงส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Tourism /

Wellness Tourism) หมายถึง การเดนิ ทางท่องเที่ยวไปเย่ียมชมสถานที่ในแหลง่ ท่องเท่ียว

ทางธรรมชาติ และวฒั นธรรม เพ่ือเรียนรู้วิถีชีวิตและพกั ผ่อนหย่อนใจ โดยแบง่ เวลาจากการ

ทอ่ งเท่ียวสว่ นหนง่ึ มาทากิจกรมสง่ เสริมสขุ ภาพอยา่ งถกู วิธี ตามหลกั วิชาการ และมีคณุ ภาพ

มาตรฐาน กิจกรรม การท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพประเภทนี ้เช่น การนวด การอบ

การประคบสมุนไพร การเข้ารับบริการ สุวคนธบาบดั (Aroma Therapy) และวารี

บาบดั (Water Therapy) การอาบนา้ แร่หรือนา้ พุร้ อน การฝึ กกายบริหาร การฝึ กปฏิบตั ิ

สมาธิ การรับประทานอาหารและเครื่องด่ืมเพ่ือสขุ ภาพ เป็นต้น

ส่วนใหญ่การท่องเที่ยวประเภทนี ้ มักนิยมท่องเท่ียวในพืน้ ที่ชนบท หรือแหล่ง

ท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีทัศนียภาพสวยงามโดยผู้จัดการนาเท่ียวมักจัด

11

กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพบรรจุไว้ในโปรแกรมท่องเท่ียวนัน้ ด้วย และมกั เลือกที่พักแรมใน

รู ปแบบของ รี ส อร์ ทหรื อท่ีพัก ตากอากาศที่มีศูนย์สุขภาพหรือศูนย์กีฬาท่ีมี

มาตรฐานจดั ไว้ให้บริการแกน่ กั ทอ่ งเท่ียว

ดงั นัน้ ผู้ประกอบการด้านการท่องเท่ียว และผู้ให้บริการท่ีเกี่ยวข้อง จึงต้อง

ดาเนนิ การพฒั นาการบริการ การจดั โปรแกรมการทอ่ งเที่ยว และกิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพท่ี

ถกู ต้องตามหลกั วิชาการและได้มาตรฐาน อีกทงั้ การจัดการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

จะต้องสามารถ สร้ างจิตสานึกต่อการส่งเสริมสุขภาพของนกั ท่องเที่ยว รวมทัง้ การ

พฒั นาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม ในแหลง่ ทอ่ งเท่ียวด้วย

1.3.2 การท่องเท่ียวเชิงบาบัดรักษาสุขภาพ หรือ การท่องเท่ียวเชิง

การแพทย์ (Health Healing Tourism / Medical Tourism) หมายถึง การเดินทาง

ท่องเท่ียวเพ่ือพักผ่อนหย่อนใจ โดยแบ่งเวลาส่วนหนึ่งจากการท่องเท่ียวไปรับบริการ

บาบดั รักษาสขุ ภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื น้ ฟูสขุ ภาพในโรงพยาบาล

หรือสถานพยาบาลท่ีมีคณุ ภาพมาตรฐานอย่างแท้จริง กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวประเภทนี ้เชน่

การตรวจร่างกาย การรักษาโรคการทนั ตกรรม การศลั ยกรรมความงาม และการผ่าตดั แปลง

เพศเป็ นต้น

การจดั โปรแกรมการทอ่ งเท่ียวเชิงบาบดั รักษาสขุ ภาพนนั้ โดยทวั่ ไปจะบรรจกุ ิจกรรม

การเข้ารับบริการด้านการรักษาพยาบาล การบาบดั และฟื ้นฟูสุขภาพ ไว้ในโปรแกรมการ

ทอ่ งเท่ียวด้วย เชน่ การตรวจร่างกาย การผ่าตดั เป็ นต้น ทงั้ นี ้ในการทอ่ งเที่ยว ผ้จู ดั การนา

เที่ยวอาจจดั ให้มีการทอ่ งเที่ยวกอ่ น หรือหลงั การเข้ารับการรักษาพยาบาลก็ได้

ปัจจบุ นั การทอ่ งเท่ียวเชิงบาบดั รักษาสขุ ภาพหรือการทอ่ งเท่ียวเชิงการแพทย์ได้รับ

ความนิยมอย่างสงู จากนกั ท่องเที่ยว เน่ืองจากเป็ นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ม่งุ ประโยชน์ต่อ

การรักษาฟื ้นฟูสุขภาพของนักท่องเที่ยวเป็ นสาคญั โดยเฉพาะประเทศไทย ได้กลายเป็ น

จดุ หมายปลายทางสาคญั ของการทอ่ งเท่ียวประเภทนี ้เนื่องจากมีคา่ รักษาพยาบาลท่ีถกู แต่

คณุ ภาพการรักษา มีมาตรฐานเทียบเท่าระดบั สากล อีกทงั้ ประเทศไทยยังมี

แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่ีสวยงาม และวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น สามารถดึงดูดใจ

นกั ทอ่ งเที่ยวกลมุ่ นีไ้ ด้มาก

12

จากการแบง่ ประเภทของการทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพ สามารถสรุปความแตกตา่ งของ

การทอ่ งเท่ียวเชิงสง่ เสริมสขุ ภาพ และการทอ่ งเท่ียวเชงิ บาบดั รักษาสขุ ภาพ ดงั ตารางตอ่ ไปนี ้

กจิ กรรมท่องเท่ียว นักท่องเท่ียว

การท่องเท่ียว กิจกรรมท่องเที่ยวเน้นไปที่ การ นกั ทอ่ งเที่ยวทวั่ ไปท่ีมองหา
เชิงส่งเสริม บารุงรักษาและสง่ เสริมสขุ ภาพ กิจกรรมเพื่อสขุ ภาพ อนั จะนามา
สุขภาพ โดยนกั ท่องเที่ยวจะต้องได้รับ สสู่ ขุ ภาพ ท่ีสมบรู ณ์แข็งแรง

ประสบการณ์ท่ีแตกตา่ งจาก และคณุ ภาพชีวิตที่ดขี นึ ้

เดมิ

การท่องเท่ียว กิจกรรมทอ่ งเที่ยวเน้นไปท่ี นกั ทอ่ งเที่ยวท่ีมีความเจ็บป่ วย
เชิงบาบัดรักษา การรักษาโรค บาบดั และฟื น้ ฟู หรือนกั ทอ่ งเท่ียวทว่ั ไปที่ต้องการ
สุขภาพ สขุ ภาพ รวมถงึ การเข้ารับ ป้ องกนั ความเจ็บป่ วย หรือ

บริการเสริมความงามใน ต้องการเสริมความงาม โดย

รูปแบบตา่ งๆ นกั ทอ่ งเท่ียวเหลา่ นีจ้ ะมองหา

สถานพยาบาลท่ีมีคณุ ภาพ และ

ราคาท่ีค้มุ คา่

ตารางท่ี 1.1 ความแตกต่างของการท่องเท่ยี วเชิงส่งเสริมสุขภาพและการ
ท่องเท่ียว

13

เชิงบาบัดรักษาสุขภาพ

1.4 ความสัมพนั ธ์ของการท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพกับการท่องเท่ยี วรูปแบบ

อ่ืน

การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพเป็ นการเดินทางไปเย่ียมชมแหล่งท่องเที่ยวทัง้ ทาง

ธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยแบ่งเวลาส่วนหน่ึงมาทากิจกรรมเพ่ือสุขภาพ นอกจากนี ้

นกั ท่องเท่ียวยงั สามารถทากิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้ องได้อีกด้วย ดงั นัน้ การท่องเท่ียวเชิง

สขุ ภาพจงึ มีความสมั พนั ธ์หรือเช่ือมโยงกบั การทอ่ งเท่ียวประเภทอ่ืนท่ีมีรูปแบบและกิจกรรม

ที่คล้ายคลงึ กนั ดงั นี ้

1) การทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพ (Health Tourism) มีความสมั พนั ธ์กบั การทอ่ งเที่ยว

เชิงสขุ ภาพและความงาม (Health and Wellness Tourism) (Erfurt-Cooper and Cooper,

2009) และการทอ่ งเท่ียวเชิงสปาและสขุ ภาพ (Spa and Health Tourism) (Hall, 2003)

กล่าวคือ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความงาม (Health and Wellness

Tourism)เป็ นการท่องเท่ียวที่เน้นการดูแลสุขภาพ ความงามและบุคลิกภาพให้ดีขึน้ เพ่ือ

สร้างสขุ ภาพท่ีดีและสง่ เสริมความสมบรู ณ์แขง็ แรงของร่างกาย สาหรับการทอ่ งเท่ียวเชิงสปา

และสขุ ภาพ(Spa and Health Tourism)เน้นการดแู ลสขุ ภาพด้วยวิธีธรรมชาตโิ ดยใช้นา้ เป็ น

องค์ประกอบหลกั ร่วมกบั การบริการอื่นๆ เพ่ือสขุ ภาพแบบองค์รวมซ่งึ มีความคล้ายคลึงกับ

การทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพ (Health Tourism) ทงั้ รูปแบบและกิจกรรม

นอกจากนี ้Erfurt-Cooper and Cooper (2009 อ้างในราณี อิสิชยั กลุ , 2557) ยงั

รวมรูปแบบการท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพกบั การท่องเท่ียวแบบอ่ืนเป็ น Health and Wellness

Spa Tourism ที่นกั ท่องเท่ียวสามารถเข้ารับบริการด้านสขุ ภาพในแหล่งท่องเที่ยวประเภท

ร้านสปา เพื่อสุขภาพ และสปาในแหลง่ นา้ แร่หรือนา้ พุร้อน ซึ่งสามารถทากิจกรรมได้

หลากหลาย กล่าวคือ กิจกรรมในร้านสปาเพ่ือสุขภาพ ได้แก่ การเลือกและปรับแผนชีวิต

การป้ องกนั ความเจ็บป่ วย การดแู ลความงาม เป็ นต้น สว่ นกิจกรรมสปาในแหลง่ นา้ แร่

หรือนา้ พรุ ้อน ได้แก่ การอาบนา้ แร่หรือนา้ พรุ ้อนเพื่อผ่อนคลายความตงึ เครียด การฟื น้ ฟจู าก

ความเจบ็ ป่ วย การพกั ผอ่ นและนนั ทนาการ เป็นต้น

14

ภาพท่ี 1.1 การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ สปาและความงาม
(ดดั แปลงจาก Erfurt-Cooper and Cooper, 2009 อ้างในราณี อิสิชยั กลุ , 2557)

2) การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism)มีความสมั พนั ธ์กับการท่องเท่ียว

เชิงกีฬา (Sport Tourism) และการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism)หรือกึ่ง

ผจญภยั (Soft Adventure) เน่ืองจากกิจกรรมของการท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพมีความเชื่อมโยง

กบั การเล่นกีฬา และการผจญภัย เช่น การออกกาลงั กาย การดานา้ การล่องเรือ การล่อง

แก่ง การปี นผา เป็ นต้น ทงั้ นี ้ Hall (1992 อ้างในราณี อิสิชยั กุล, 2557) ได้ศึกษากรอบ

แนวคิดของความสัมพันธ์ระหว่างแรงจงู ใจในการท่องเที่ยวกับกิจกรรมการท่องเที่ยวของ

นกั ทอ่ งเท่ียวเชงิ ผจญภยั เชิงกีฬา และ เชิงสขุ ภาพ พบว่า หากพิจารณาแรงจงู ใจใน

การท่องเท่ียวด้านสุขภาพโดยเปรียบเทียบกับนกั ท่องเท่ียวที่มีอายุหลายระดบั ท่ีสนใจใน

กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวที่มีระดบั การใช้พลกาลงั ความกระฉับกระเฉงหรือกระปรีก้

ระเป่ าแตกตา่ งกนั จะพบวา่ นกั ทอ่ งเที่ยวที่มีอายนุ ้อยจะสนใจทอ่ งเท่ียวที่เน้นการใช้พลกาลงั

หรือลกั ษณะการท่องเที่ยวเชิงผจญภยั เชน่ ดานา้ ลอ่ งแก่ง หรือการท่องเที่ยวเชิงกีฬา เช่น

15

เข้าร่วมแข่งขนั กีฬา ในขณะท่ีนกั ท่องเท่ียวที่มีอายุมากจะสนใจท่องเท่ียว ในแหล่ง
ท่องเท่ียวที่มีการประกอบกิจกรรมการท่องเท่ียวที่ไม่ต้องออกแรงมาก เช่น สปา การนวด
ผอ่ นคลาย การลอ่ งเรือ การชมการแขง่ ขนั กีฬา เป็นต้น

แรงจงู ใจ กิจกรรมการท่องเท่ียว
ไม่เน้นการแข่งขนั
ใช้กาลงั / กระฉับกระเฉง
ไมใ่ ช้กาลงั การทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพ การทอ่ งเที่ยวเชิงผจญ
การทอ่ งเที่ยวเชงิ
สขุ ภาพ เชน่ ออกกาลงั กาย ภยั เชน่ ดานา้ ล่องแกง่
เชน่ สปา แชน่ า้ พรุ ้อน
การทอ่ งเที่ยวเชิงผจญ ไตเ่ ขา
ภยั เชน่ เชา่ เหมาเรือ
กิจกรรมการทอ่ งเที่ยวเพื่อ การทอ่ งเท่ียวเชงิ ผจญ
การทอ่ งเท่ียวเชงิ กีฬา
เชน่ ชมการแขง่ ขนั สขุ ภาพ/กีฬา/ผจญภยั ภยั เชน่ เดนิ ป่ า
ฟตุ บอล
เชน่ ขี่จกั รยาน พายเรือ

การทอ่ งเที่ยวเชิงกีฬา การทอ่ งเท่ียวเชงิ กีฬา

เชน่ โบว์ลิง่ เปตอง เชน่ แขง่ เรือใบ แขง่

เทนนิส

การแข่งขนั
ภาพท่ี 1.2 กรอบแนวคดิ ของความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงจูงใจในการท่องเท่ียวกับ

กจิ กรรม
การท่องเท่ยี วของนักท่องเท่ยี วเชิงผจญภยั เชงิ กีฬา และเชงิ สุขภาพ

(ดดั แปลงจาก Hall, 1992 อ้างในราณี อิสิชยั กลุ , 2557)

สรุป

การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพเป็ นการท่องเท่ียวเพื่อส่งเสริม ฟื ้นฟู และบาบดั รักษา
สุขภาพ ทัง้ ร่างกายและจิตใจ รวมทัง้ การใช้ช่วงเวลาดังกล่าวเยี่ยมชมความงามทัง้
ธรรมชาติ และวฒั นธรรมในแหลง่ ท่องเที่ยว อีกทงั้ เกิดจิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรการ
ท่องเที่ยวด้วย โดยจุดมุ่งหมายของการท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพนนั้ นอกจากจะเป็ นการ
สง่ เสริมบารุงรักษาสขุ ภาพ การบาบดั รักษาพยาบาล และการฟื น้ ฟสู ขุ ภาพแล้ว ยงั เป็ นการ
ท่องเที่ยวที่ให้นกั ทอ่ งเท่ียวได้มีโอกาสแลกเปล่ียนประสบการณ์และสร้างความสมั พนั ธ์ทาง

16

สังคม ซ่ึงก่อให้เกิดทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมในการส่งเสริมและรักษาสุขภาพให้

สมบรู ณ์ด้วยตนเองมากย่ิงขนึ ้ ทงั้ นี ้ การท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพได้มีรูปแบบและ

กิจกรรมท่ีคล้ายคลึงกับการท่องเท่ียวประเภทอ่ืน เช่น การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย การ

ท่องเท่ียวเชิงกีฬา การท่องเที่ยวเชิงสปาและความงาม เป็ นต้น จึงเป็ นโอกาสที่ดีใน

การบูรณาการรูปแบบและกิจกรรมการท่องเท่ียวเหล่านีใ้ ห้มีความหลากหลายเพ่ือให้

สอดคล้องกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ซึ่งจะสามารถตอบสนองความต้องการของ

นกั ทอ่ งเที่ยวได้อยา่ งลกึ ซงึ ้ มากขนึ ้

คาถามทบทวน

1. องคก์ ารอนามยั โลกได้นิยามคาว่า “ สขุ ภาพ (Health) ” ไว้วา่ อยา่ งไร
2. ให้บอกความหมายของการทอ่ งเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ
3. ประเภทของการทอ่ งเท่ียวเชิงสขุ ภาพแบง่ เป็นกี่ระดบั อะไรบ้าง
4. การท่องเที่ยวเชงิ สง่ เสริมสขุ ภาพและการทอ่ งเที่ยวเชิงบาบดั รักษาสขุ ภาพแตกตา่ งกนั
อยา่ งไร จงอธิบาย
5. การท่องเท่ียวเชิงสขุ ภาพมีความสมั พนั ธ์กบั การท่องเที่ยวประเภทอ่ืนที่มีรูปแบบและกิจ
กรมท่ีคล้ายคลงึ กนั หรือไม่ (ถ้ามี) อะไรบ้าง
6. สปาเพ่ือสขุ ภาพ มีกิจกรรมอยา่ งไรบ้าง
7. สปาในนา้ แร่/นา้ พรุ ้อน มีกิจกรรมอยา่ งไรบ้าง
8. กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวที่ใช้พละกาลงั มีอะไรบ้าง จงยกตวั อยา่ ง อยา่ งน้อย 2 วิธี
9. กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวที่ไมใ่ ช้พละกาลงั มีอะไรบ้าง จงยกตวั อยา่ ง อยา่ งน้อย 2 ข้อ
10. การทนั ตกรรม จดั อยใู่ นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพหรือไม่ จงอธิบาย

อ้างองิ บทท่ี 1
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2551). โครงการสารวจระดับความรับรู้การท่องเที่ยวเชิง

สุขภาพของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ฝ่ ายนโยบายวางแผน กองวางแผนการ
ท่องเท่ียว.

17

นภารัตน์ ศรีละพนั ธ์. (2549). “บทท่ี 1 ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั สปาเพ่ือสุขภาพ”. เอกสาร
ความรู้ผ้ดู าเนินการสปาเพ่ือสุขภาพ. กรุงเทพฯ: กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ
กระทรวงสาธารณสุข.

มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. (2546ก). เอกสารการสอนชุดวิชากลยุทธ์การตลาดใน
อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว หน่วยที่ 1-8. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาวิทยาการจดั การ
มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.

ราณี อิสิชัยกุล. (2557). การจัดการการท่องเที่ยวเฉพาะทาง. นนทบุรี: โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.

วรรณา วงษว์ านิช. (2546). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
Chen, K. H., Chang, F. H., & Wu, C. (2013). “Investigating the wellness tourism

factors in hot spring hotel customer service”. International Journal of
Contemporary Hospitality Management. Vol. 25, 1092–1114.
Edlin, G. and Gotanty, E. (1988). Health and Wellness. Boston: Jones Bartlet.
Erfurt-Cooper, P. and Cooper, M. (2009). Health and Wellness Tourism: Spa and
Hot Springs. Bristol: Channel View Publications.
Hall, C.M. (1992). “Adventure, Sport and Health Tourism”. In Weiler, B. & Hall,
C.M. (Eds.), Special Interest Tourism. London: Belhaven Press.
_______ . (2003). “Health and Spa Tourism” International Sport & Adventure
Tourism.New York: Hudson, Haworth Press.
Smith, M. and Kelly, C. (2006). “Wellness Tourism”. Tourism Recreation Research.
Vol. 31(1), 1-4.
Ufuk, A., Gulfer, B., Zehra, A., & Arzu, I. (2012). “The International Patient’s
Portfolio and Marketing of Turkish Health Tourism”. Procedia-Social and
Behavioral Sciences. Vol. 58, 1004-1007.

18

World Health Organization. (2006). Constitution of the World Health Organization.
Retrieved on November 19, 2014. From: www.who.int/governace/eb/
Constitution/en/index.html

World Tourism Organization. (2005). Draft White Paper: a Look into Tourism’s
Future with the World Tourism Organization.


Click to View FlipBook Version