The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ 6340308107

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thitapa Lomsungnoen, 2022-12-09 22:23:33

บันทึกการเรียนรู้ 6340308107

บันทึกการเรียนรู้ 6340308107

บันทึกการเรียนรู้

วิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

นางสาว ณัฎฐนิชา ปิงปอง

6340308107




คำนำ

บันทึกการเรียนรู้เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุ โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆ และเนื้อหาเอกสารใน
ห้องเรียน โดยรายงานเล่มนี้ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับ Timeline : เส้นทางการ
เรียนรู้ สรุปสาระสำคัญของแต่ละหัวข้อ การเรียนรู้ที่เกิดจากเนื้อหาอย่างไร
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างไร โครงการ สายใยครอบครัว

ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำบันทึกการเรียนรู้เล่มนี้จะมีข้อมูลที่
เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เป็นอย่างดี

ณัฎฐนิชา ปิงปอง
ผู้จัดทำ


สารบัญ ข

เรื่อง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข

Timeline : เส้นทางการเรียนรู้ 1
สรุปสาระสำคัญของแต่ละหัวข้อ 9
โครงการ สายใยครอบครัว 10


1

Timeline : เส้นทางการเรียนรู้

ผู้สูงอายุในไทย สถานการณ์ผู้สูงอายุและ
สถานการณ์ครอบครัว 2565
ความหมายของผู้สูงอายุ
ข้อถกเถียงเชิงทฤษฎีและ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น
ปรัชญาสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับ
ความสูงอายุ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้
สูงอายุ ในประเทศสิงคโปร์

บทที่ 3 การพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

กองทุนผู้สูงอายุ


2

สรุปสาระสำคัญของแต่ละหัวข้อ

ผู้สูงอายุในไทย

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่น
ของมนุษย์สถานการณ์ผู้สูงอายุในไทย
พ.ศ2557

ในช่วง10ปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีประชากรค่อน
ข้างคงตัวอยู่ที65ล้านคนกลุ่มประชากรทีเพิมขึ้น
อย่างรวดเร็วคือกลุ่มผู้วัยสูงอายุ

ภาวะสังคมสูงวัย
ผู้สูงอายุจำนวนมากไม่ได้เตรียมการไว้ก่อนเกษียณจึง
ไม่มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่กันเองตามลำพัง ฐานะยากจน
มีปัญหาสุขภาพรุมเร้า ปัญหานี้ภาครัฐต้องเร่งวาง
นโยบายและกำหนดมาตรการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1.สร้างหลักประกันด้านรายได้ โดยส่งเสริมด้านการออม
ขยายโอกาสของคนทำงานวัยเกษียณทั้งหน่วยงานรัฐและ
เอกชน
2.จัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะอาดให้เหมาะสม
3.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง โดยส่งเสริมการ
ออกกำลัง
กายให้กับผู้สูงอายุ
4.จัดเตรียมแผนเพื่ออบรมการช่วยตัวเองยามเกิดภัยพิบัติ


3

สถานการณ์ผู้สูงอายุและสถานการณ์ครอบครัว 2565

โลกได้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมของผู้สูงวัยเนื่องจากอัตราการเกิดที่ลดลง และผู้คนมีฮายุ
ยืนยาวขึ้น ปัจจุบันมีประชากรโลกประมาณ7,795ล้านคน และมีผู้สูงอายุ60ปีขึ้น
ไป1,050ล้านคน

ประเทศไทยมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นรวดเร็วสถานการณ์ รายงานผู้สู
อายุ2563ประเทศไทยมีประชากรรวม66.5ล้านคน มีผู้สูงอายุ12ล้านคนคาดสุถานการณ์
ความเข็มแข็งของครอบครัวปี2564บบว่า ครอบครัวไทยส่วนใหญ่เป็นครอบครัวเดี่ยว
ร้อยละ81.19ครอบครัวขยายร้อยละ16.10ครอบครัวลักษณะพิเศษร้อยละ2.59เมื่อพิ
จราณาความเข้มแข็งของครอบครัวหลายด้านบบว่า ด้านสับนันสถาบ มีความเข็มแข็งผ่าน
เกณฑ์น้อยที่สุดโดยเฉนาะการแสดงความรักการเอาใจใส่ การเมื่อสารระหว่างกันอย่างมี
คุณภาพ

การแพร่ระบาดของโลกโควิด-19พบว่า ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการ
ติดเชื้อและมีอัตราการเสียชีวิตเยอะมากกว่าคนทั่วไป10เท่าเนื่องจากสภาพ
ร่างกายอ่อนแอและมีภูมิต้านทานต่ำ จึ่งส่งผลกระทบในหลากหลายมิติทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคมการคมนาคม การศึกษาสุขภาพชีวิตความเป็นอยู่รวมถึง
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลในครอบครัวแต่ยุคทันสมัยที่เปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิด
เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็วเปีน.ศ2565
กระทรวงการนัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ขอเชิญชนให้ทุกภาคส่วน
ร่วมรณรงศ์และสร้างความตระหนัก ถึงคุณค่าความสำคัญของผู้สูงอายุ เสริม
สร้างสัมพันธถาพระหว่างผู้สูงอายกับสมาชิกกลืมวัยอื่นๆเนื้อเสริม
ความเข้มแข็งของสถาบันทางครอบครัวโดยม่นนันนำเทคโนโลยีมาเชื่อมโยงความ
สัมพันธ์


4

ความหมายของผู้สูงอายุ ข้อถกเถียงเชิงทฤษฎีและ
ปรัชญาสังคมศาสตร์

ความหมายของผู้สูงอายุให้มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดที่ชัดเจนในลักษณะเชิง
เส้น ซึ่งเริ่มต้นคือวัยสุงสุดก็คือ(อายุ 60 ปีขึ้นไปไม่มีประโยชน์ต่อระบบ
เศรษฐกิจ)

ภววิทยา
ญาณวิทยา
วิธีวิทยา

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ

ความเป็นมา นิยาม ความหมายของคำว่า ผู้สูงอายุ

องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยามว่า ปรัชญาการพัฒนาผู้สูงอายุ
"ผู้สูงอายุ" คือประชากรทั้ง เพศชายและเพศหญิง ซึ่งมีอายุ
มากกว่า 60 ปีขึ้นไป (60+) โดยเป็นการนิยามนับตั้งแต่อายุเกิด การสร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ
สำหรับประเทศไทย "ผู้สูงอายุ" ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ เป็นกระบวนการที่สร้างความมั่นคง
พ.ศ. 2546 หมายความว่าบุคคลซึ่งมีอายุ เกินกว่าหกสิบปีบริ ให้แก่สังคม โดยการมีส่วนร่วมจาก
บูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ได้แก่
1) ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเอง 2)
มุมมองต่อผู้สูงอายุของสังคมไทย ครอบครัวดูแล 3) ชุมชนช่วยกัน
เกื้อกูล 4) สังคม รัฐสนับสนุนโดย
1) สถาบันการเมืองการปกครอง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
2) สถาบันทางการแพทย์ ควรมีการบูรณาการให้เหมาะสมกับ
3) สถาบันการศึกษาที่ผลิตและ เผยแพร่ผลองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุ สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
4) สถาบันการสื่อสาร มวลชน
5) มุมมองในด้านการพัฒนาสังคมหรือการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ


5

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับความสูงอายุ

การศึกษาภาวะผู้สูงอายุซึ่งเป็นกระบวนการของชีวิตที่ยืนยาวอันเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์ที่ซับซ้อนของปัจเจกบุคคลกับสิ่งแวดล้อม ที่มีหลายด้าน เช่น ลักษณะ
ทางาชีววิทยา (สนใจการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและสรีรวิทยาของผู้สูง
อายุ) จิตวิทยา (สนใจทางด้านอารมณ์ของผู้สูงอายุ) และสังคมวิทยา (สนใจ
บทบาท หน้าที่ และการปรับตัวของผู้สูงอายในสังคม) มีทฤษฎีที่อธิบายภาวะ
และการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ที่น่าสนใจ
มีดังต่อไปนี้

1. ทฤษฎีทางด้านชีววิทยา 2. ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาสังคม

ทฤษฎีพันธุ์ศาสตร์ ทฤษฎีการถดถอย
ทฤษฎีเนื้อเยื้อ
ทฤษฎีทำลายตน ทฤษฎีการทำกิจกรรม
ทฤษฎีความผิดพลาดเอง
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ

ทฤษฎีความต่อเนื่อง

ทฤษฎีของอิริกสัน 3. ทฤษฎีทางด้านบุคลิกภาพ
ทฤษฎีของเพค
บุคลิกของบุคคลที่มีวุฒิ

ภาวะ

บุคลิกลักษณะที่มีความ

แข็งแกร่งดังก่อนหิน

บุคลิกลักษณะของความ

เป็นมนุษย์หุ้มเกราะ

บุคลิกที่เต็มไปด้วยความ

โกรธ

บุคลิกภาพที่เกลียดตัวเอง


6

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในประเทศสิงคโปร์

ปี ค.ศ.2020 ประเทศสิงคโปร์มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 5.7 ล้านคน มีจำนวน
ประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไปร้อยละ 16.8 ของจำนวนประชากรทั้งหมด
ซึ่งหมายความว่าประเทศสิงคโปร์กำลังเข้าสู่ Aged Society มีวิธีจัดการหรือให้
บริการแก่ประชากรผู้สูงอายุเหล่านี้ในด้านของรัฐสวัสดิการผู้สูงอายุ จะมีการตั้ง
ระบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพกลางเพื่อให้ออมเงินไว้ใช้หลังเกษียณ สิงคโปร์ให้
ความสำคัญกับการพึ่งพาตนเอง

โดยกองทุนนี้มีชื่อว่า Central Provident Fund (CPF) เป็นกองทุนที่อยู่ใน
ภาคบังคับใช้ สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1955 โดย the British colonial
administration นายจ้างจะหักจากเงินเดือนเข้าสมทบกับกองทุน นายจ้างจ่าย
ร้อยละ 20 ส่วนลูกจ้างจ่ายร้อยละ 10 แต่ปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนระบบเป็นประกัน
สังคมแทน โดยจะมีการบริการรูปแบบอื่นให้กับสมาชิกในกองทุน เช่น การรักษา
พยาบาลสมาชิกของกองทุนประกันสังคมสามารถนำเงินสะสมในกองทุนมาจ่ายค่า
รักษาพยาลได้หรือนำมาลดหย่อนได้ ในกรณีเป็นโรคร้ายแรงหรือโรคที่ต้องใช้เวลา
รักษาในระยะยาว


7

บทที่ 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ความสำคัญของคุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิตที่ดีนับเป็นสิ่งสำคัญและ เป็นจุดหมายปลายทางของบุคคล ชุมชนและ
ประเทศชาติโดยส่วนรวม คุณภาพของประชากรจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญและชี้ให้เห็น
ว่าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใดจะ เจริญก้าวหน้ากว่าอีกประเทศ
ดังเช่น ประเทศญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาพบ้านเมืองได้รับผล ของ
สงคราม แต่ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของประชากรญี่ปุ่น

องค์กรอนามัยโลกได้นำเครื่องมือชี้วัดการระดับคุณภาพชีวิตตาม

แนวคิดของ Power, Bullinger and WHOQOL Group

(2002)ไปด้วยข้อคำถาม 2 ชนิดคือภาวะวิสัยและอัตลักษณ์จะ

ประกอบไปด้วยองค์ประกอบคุณภาพชีวิต 4 ด้านคือด้านร่างกาย

จิตใจด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม การพัฒนา

มนุษย์ ผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต้องประกอบด้วย ปัจจัยสำคัญ 4 ด้าน คือ

1.การมีความผาสุกทางด้านจิตใจ โดยประเมินได้จากผลกระทบระดับ

ความสุขที่ได้รับและความสำเร็จที่ได้บรรลุตามความต้องการหรือเป้า

หมายที่ตั้งไว้

2.ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมความสามารถ ในการทำหน้าที่

ของบุคคล ซึ่งรวมถึงการทำหน้าที่ของร่างกาย การมีสุขภาพที่ดี การรับ

รู้ที่ถูกต้องและ การพฤติกรรมทางสังคมที่ถูกต้อง

3.สิ่งแวดล้อมของบุคคล 1)สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 2)บุคคลที่มีความ

สำคัญต่อผู้สูงอายุ เช่น สมาชิกในครอบครัวเพื่อน 3)บุคคลอื่นทั่วไปที่มี

ปฏิสัมพันธ์กับผู้สูงอายุ 4) สถานภาพทางสังคม 5) สถานภาพสังคมและ

วัฒนธรรมภายในชุมชนที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่

4.การรับรู้คุณภาพชีวิต การที่บุคคลมีการประเมินตนเองเกี่ยวกับความ

ผาสุกทางด้านจิตใจ ความสามารถในการทำหน้าที่ ตลอดจนสิ่งแวดล้อม

ที่มีอิทธิพลบุคคล


8

กองทุนผู้สูงอายุ

ความหมาย
เป็นกองทุนเงินสะสมการจัดสรรงบประมาณจาก
หน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุ

ความสำคัญ
เป็นกองทุนที่คอยช่วยเหลือคุ้มครองส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดี
โดย ทั่วกันและอีกทั้งยังส่งเสริมด้านการ กู้ยืมทุนประกอบอาชีพ

กู้ยืมประกอบอาชีพ
รายบุคคล 30,000 บาท

รายกลุ่มไม่น้อยกว่า 5 คน 100,000 บาท
การกู้ยืมทั้ง 2 อย่างจะต้องชำระเป็นงวดในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปีโดยไม่มีดอกเบี้ย

สวัสดิการมีที่อยู่อาศัยที่มั่นคงมีทุนสร้างอาชีพในวัยผู้สูง
อายุกินอิ่มนอนหลับกองทุนช่วยเหลือ


9

สรุปสาระสำคัญของแต่ละหัวข้อ

ทำให้เห็นว่าสถานการณ์ผู้สูงอายุในไทยนั้นมีภาวะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่าง
อย่างสมบูรณ์และยิ่งในช่วงที่ผ่านมาได้มีโรคโควินระบาดยิ่งทำให้ผู้สูงอายุและ
รอบครอบครัวได้มีการติดต่อสื่อสารกันที่ยุ่งยากมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง
สุขภาพหรือว่าสายสัมพันธ์ในครอบครัวก็มีความที่ต้องเว้นระยะห่าง ในเรื่องที่
เป็นปรัชญาทางสังคมก็จะเห็นได้ว่าก็จะมีญาณวิทยาที่ว่าสามารถอธิบายในเรื่อง
ของผู้สูงอายุแล้วก็จะเห็นได้ว่าในบทที่ 1 มันจะเป็นความรู้เบื้องต้นไม่ว่าจะเป็น
ในนิยามหรือในมุมมองหรือปรัชญาที่ใช้ในการพัฒนาสูงอยู่ว่ามีในเรื่องใดบ้าง
สถาบันใดบ้างที่คอยดูแลผู้สูงอายุและสนับสนุนส่งเสริมในบทที่ 2 ก็จะเป็นเกี่ยว
กับทฤษฎี จะเป็นทฤษฎีในทางด้านชีววิทยาจิตวิทยาหรือว่าบุคลิกภาพของผู้สูง
อายุนั่นเองและก็จะมีในเรื่องในแต่ละประเทศซึ่งในประเทศที่เราได้รับผิดชอบก็คือ
จะเป็นสิงคโปร์ซึ่งสิงคโปร์นั้นเป็นประเทศที่มีความเตรียมพร้อมในเรื่องระบบ
กองทุนสำรองเพื่อให้คนที่เกษียณอายุแล้วมีเงินใช้ในตอนแก่บทที่ 3 ก็จะทำให้
เห็นว่าเรามีความสำคัญยังไงในการที่เราจะพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นไม่ว่านาย
จะเป็นในองค์การอนามัยโลกที่ได้อธิบายขั้นตอนไว้ว่ามีในด้านใดบ้างไม่ว่าจะเป็น
ทางด้านจิตใจพฤติกรรมหรือว่าสิ่งแวดล้อมและกองทุนผู้สูงอายุซึ่งกองทุนนี้จะ
ทำให้เห็นว่าเราสามารถนำกองทุนในที่นี้มาช่วยเหลือเราแบบในการที่แบบว่าถึง
เราจะแก่หรือว่าหมดอายุในการทำงานเราก็ยังสามารถประกอบอาชีพโดยการ
สามารถกู้ยืมเงินได้แล้วเราก็สามารถใช้ได้โดยที่ไม่มีดอกเบี้ย


10

โครงการ สายใยครอบครัว

ยายจะเป็นคนที่เวลาป่วยแล้วชอบไม่ไปหาหมอแกเป็นคนที่ดื้อ
มากเราก็จะชอบพูดว่าไปหาหมอเถอะเป็นห่วงแกก็ยังจะดื้อด้าน
ว่าไม่ไปไม่ไปพยายามให้คนนู้นคนนี้ช่วยพูดแกก็ไม่ยอมชอบฝืน
ทำนู่นทำนี่บอกว่าเดี๋ยวจะทำเองแกก็ไม่ทำแกก็ไม่เอาแกก็จะ
ทำให้ได้และสุดท้ายก็เจ็บตัวแล้วก็มาบ่นว่าโอ๊ยเจ็บอย่างนู้น
อย่างนี้เราก็เลยคุยอยากทำก็ทำไปแต่ว่าเนี่ยอย่าทำเยอะเดี๋ยว
ช่วยเดี๋ยวช่วยทำเองเนี่ยยายทำแค่นี้ก็พอเดี๋ยวที่เหลือจะทำเอง
เนี่ยแล้วเราก็พูดคุยเรื่องนู้นเรื่องนี้ไปเรื่อยๆแกก็ดีใจที่เราไปพูด
คุยด้วยแกก็ดีใจที่หลานมาคุยด้วยก็บอกแกว่าเนี่ยงานน่ะอย่าไป
ทำหนักหลายบอกอะไรก็ให้ฟังเด้อที่บอกเนี่ยเป็นห่วงไม่อยากให้
ไปหาหมอไม่อยากให้ไปหาหมอบ่อยๆ ยิ่งหักโหมทำงานมากมัน
จะยิ่งเหนื่อยกว่าเก่า ซึ่งหลังจากที่เราได้พูดคุยหรือเห็นใน
สถานการณ์ที่แกก็เป็นตามประสาวัยแกก็ทำให้เห็นว่ารู้สึกว่ายิ่ง
ยิ่งอายุมากขึ้นยิ่งมีความดื้อด้านมากกว่าเด็กน้อยบอกอะไรไม่
ฟังยิ่งห้ามยิ่งทำยิ่งกว่าบอกไม่ได้ห้ามก็ไม่ฟังก็ได้แต่ค่อยๆบอก
ค่อยๆห้ามเอาก็คือแบบบางทีก็อาจจะปล่อยให้แกทำไปเออ
ตามใจแกไปก่อน


Click to View FlipBook Version