1
บันทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรยี นบา้ นทา่ เยย่ี มวทิ ยายล อำเภอเมืองยาง จงั หวดั นครราชสมี า
ท่ี พิเศษ/๒๕๖๔ วนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
เรื่อง รายงานผลการอบรมออนไลน์หลักสูตรการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติและการรับมือกับ
ความเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นท่าเยย่ี มวิทยายล
สิ่งทส่ี ่งมาด้วย รายงานผลการอบรมออนไลน์หลักสูตรการลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ัตแิ ละการรบั มอื กับ
ความเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ จำนวน ๑ เล่ม
ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ร่วมกับ มูลนิธิศุภนิมิตแห่ง
ประเทศไทย ได้ประชาสัมพันธ์การสมัครเข้าร่วมการอบรมออนไลน์หลักสูตรการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติและ
การรับมือกับความเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเพื่อสร้างความรู้ให้แก่ ครู
อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้รู้ถึงความเสี่ยงภัยของตนโดยเฉพาะในพ้ืนที่ และสามารถวางมาตรการ
วิธีการท่ีเหมาะสม ตลอดจนสามารถดูแลผลกระทบเมื่อเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติ โดยข้าพเจ้าได้สมัครเข้าร่วม
การอบรมออนไลน์ ผ่านชอ่ งทาง https:// https://www.thaisafeschools.com/index.php น้ัน
บัดนี้ การเข้ารับการอบรมออนไลน์ได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการอบรม
ออนไลน์ มาเพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาผู้เรียนและพัฒนางานของหน่วยงานต่อไป ทั้งนี้ ข้าพเจ้าได้แนบเอกสาร
และรายละเอยี ดมาพรอ้ มหนังสอื ฉบบั นี้
จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ
ลงช่ือ
( นางสาวรตั น์ติกูล วงคำจนั ทร์ )
ตำแหน่ง ครู อันดับ คศ.๒
ความคดิ เห็นของผ้บู ริหาร
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................... .......................................
ลงชอ่ื
( นายกติ ตศิ กั ดิ์ ประชมุ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่าเย่ยี มวทิ ยายล
2
แบบรายงานผลการอบรม หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
สายงานการสอน สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
*******************************************************************************************
1. หลักสูตร
ชือ่ หลักสตู รภาษาไทย การลดความเสี่ยงจากภยั พบิ ตั ิและการรับมอื กบั ความเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ สำหรับบุคลากรในสถานศกึ ษา
รหัสหลักสตู ร : 62037
เรยี นรู้รวมเป็นเวลาจำนวน 20 ชว่ั โมง เรียนรู้จาก https://thaisafeschools.com
2. ความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ ทกั ษะ หรืออนื่ ๆ ทไี่ ด้รับในการอบรมนำมาเพื่อพฒั นางานของ
หน่วยงาน ดงั นี้
❖ เป้าหมายของความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรยี น
๑) เพอ่ื คุม้ ครองนักเรียนและบุคลากรดา้ นการศกึ ษาจากการเสียชีวติ การบาดเจบ็ และอนั ตรายใน
โรงเรียน
2) เพอ่ื ให้โรงเรยี นวางแผนจัดการศึกษาต่อเน่ืองแม้ในระหวา่ งที่เกิดภยั พบิ ัติ
3) เพอื่ ปกป้องการลงทุนในภาคการศึกษา
4) เพื่อสร้างความเขม้ แข็งในการลดความเสย่ี งและการฟน้ื ตัวของภาคการศึกษา
❖ สามเสาหลกั ของความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี น ดงั น้ี
ความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน ซึ่งอยู่ภายใต้นโยบายและการปฏิบัติด้านการศึกษา มีความ
สอดคลอ้ งกบั การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิในระดับประเทศ, ภมู ิภาค, จังหวดั และระดบั พ้ืนทร่ี วมท้ังในโรงเรียน
กรอบแนวคดิ ความปลอดภยั รอบดา้ นในโรงเรียน ประกอบด้วยสามเสาหลกั (Three Pillars) ได้แก่
1) อาคารสถานทีแ่ ละสิ่งอำนวยความสะดวกในโรงเรียน ทปี่ ลอดภัย (Safer Learning Facilities)
2) การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ตั ใิ นสถานศึกษา (School Disaster Management)
3) การศึกษาด้านการลดความเสี่ยงและการรู้รับปรับตัวจากภัยพิบัติ (Risk Reduction and
Resilience Education)
รากฐานของการวางแผนสำหรับความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี นคือการจดั ทำการประเมินความ
เสี่ยงแบบภัยหลายชนิดการวางแผนน้ีควรเป็นส่วนหน่ึงของระบบข้อมูลการจัดการการศึกษาในระดับประเทศ
ระดับภูมิภาคและในระดับพ้ืนที่ ข้อมูลเร่ืองความเส่ียงจากภัยพิบัติเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบายของ
ภาคการศึกษาและการจัดการในภาพรวม ซึ่งจะให้ข้อมูลเชิงประจักษ์และหลักฐานท่ีสำคัญสำหรับการวางแผน
และการดำเนนิ งาน
❖ เปา้ ประสงค์
กรอบความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน มีเป้าหมายเพื่อลดความเส่ียงของภัยทุกชนิดท่ีอาจจะ
เกิดขนึ้ ในภาคการศึกษา โดยในช่วงทศวรรษท่ผี า่ นมานกั รณรงค์เพื่อสทิ ธิเด็กมารวมตัวกนั เพอ่ื
3
1) ปรับปรุงให้เด็กสามารถเข้าถึงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่บูรณาการไม่แบ่งแยกและมีคุณภาพได้
อย่างเท่าเทียมและปลอดภยั
2) ตดิ ตามและประเมินความก้าวหน้าของการดำเนนิ งานที่ลดความเสีย่ งจากภยั พิบัติและความขดั แย้ง
3) เพ่ิมข้อมูลและเพ่ิมการเขา้ ถึงข้อมูลหลกั ฐานเกี่ยวกับภัย (เช่น ข้อมูลเก่ียวกับระบบการเตอื นภัย
หลายชนิดขอ้ มูลเกีย่ วกับความเสย่ี งจากภยั พิบตั )ิ
4) ส่งเสริมการลดความเส่ียงและความสามารถในการฟ้ืนตัวในภาคการศึกษา ซ่ึงรวมถึงการให้
ความสำคัญกับข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ (เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน และกรอบการดำเนินงาน
เซนไดเพ่ือลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ัติ พ.ศ.2558–2573)
5) เสรมิ สร้างความเข้มแข็งของการประสานงานและเครอื ขา่ ยเพอื่ ความสามารถในการฟ้นื ตัวในทุก
ระดบั ต้งั แต่ระดบั ท้องถน่ิ ระดับประเทศระดบั ภมู ภิ าค และระดับสากล
6) สร้างความเข้มแข็งให้การบริหารจัดการด้านการศึกษาและการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเพ่ือ
ปอ้ งกนั และลดความลอ่ แหลมต่อภยั ความเปราะบางต่อภัยและความเสย่ี งทกุ ชนิด และเพอ่ื เพิ่มขดี ความสามารถ
ของการเตรียมพรอ้ มเพอ่ื ตอบโต้และฟ้ืนฟูและสรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับความสามารถในการฟื้นฟูและปรับตัวลาย
ชนิดข้อมลู เกย่ี วกับความเสย่ี งจากภัยพบิ ัติ
รายละเอียดเนือ้ หาหลักสูตร ประกอบดว้ ย
2.1 บทท่ี 1 ความเสย่ี งภยั ธรรมชาตแิ ละการประเมนิ ความเสยี่ ง
2.1.1 การสรา้ งความตระหนักในการลดความเส่ยี งภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
2.1.2 บทบาทหน้าทขี่ องภาคการศกึ ษาในการจดั การภยั
2.1.3 แนวคดิ สำคญั
1) การลดความเสยี่ งภยั พบิ ตั ิ (ภยั ภัยพิบัติ ความเสย่ี ง ความเปราะบาง ความสามารถในการรับมอื )
2) การจัดการภยั พบิ ตั ิ
2.2.4 กรอบการทำงานสถานศึกษาปลอดภยั รอบดา้ น
2.2.5 การประเมินความเสีย่ ง (วธิ ปี ระเมนิ ความเส่ยี ง และเคร่ืองมือตา่ งๆ และวธิ ใี ช้เครอ่ื งมือ)
2.2 บทท่ี 2 อาคารสถานทป่ี ลอดภยั
2.2.1 การประเมนิ ความปลอดภยั ของอาคารสถานที่
- การเลอื กที่ต้งั สถานศึกษาใหป้ ลอดภัย
- ความเส่ียงตอ่ ภยั พิบัติของอาคารเรยี น อาคารประกอบ วสั ดุ ครภุ ณั ฑท์ ่ีอยู่ในอาคาร
- ความเสยี่ งของสภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคารและระบบสาธารณูปโภค
2.2.2 การจัดสภาพแวดล้อมใหป้ ลอดภยั
- การจดั สภาพแวดล้อมโดยคำนึงถงึ การลดความเสีย่ งภัยพิบัติ
- การจัดเสน้ ทางปลอดภยั และจุดรวมพลเพื่อการหนีภัยภายในโรงเรียน
- การจดั สิ่งอำนวยความสะดวกเพอ่ื คนพิการ
- ตวั อยา่ งการปรับปรุงอาคารสถานท่ี
2.2.3 แบบประเมนิ เร่ืองอาคารสถานที่ (ศึกษาแบบประเมิน)
- สถานที่ตง้ั
4
- สภาพอาคารเรยี น อาคารประกอบ (structural and non-structural) วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์
(ตอ้ ง link กฎหมายควบคมุ อาคาร)
- สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร (environment)
- ระบบสาธารณปู โภค infrastructure น้ำ ไฟ ระบบระบายน้ำ ถนน ระบบส่ือสาร เสาไฟฟา้
- การประเมนิ การเข้าถงึ หรือการจัดส่ิงอำนวยความสะดวกคนพิการ
2.3 บทที่ 3 การจัดการภัยพิบัตใิ นสถานศึกษา
2.3.1 กลไกในการจัดการภัยพบิ ัตใิ นสถานศกึ ษา
1) แนวทางการประเมินความเปราะบางและศักยภาพ
2) แนวทางการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารสถานศกึ ษา
3) หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
2.3.2 การดำเนินการตามแผน
1) มาตรการลดความเส่ยี งภยั พบิ ัติในสถานศกึ ษา
2) แผนการแจง้ เตือนภัยและอพยพ
- องค์ประกอบของแผน
- ระบบเตือนภัยท่ีมีเด็กเปน็ ศูนย์กลาง
- วิธกี ารปฏิบตั กิ ารอพยพ
- การจัดกระเปา๋ ฉกุ เฉนิ ประจำหอ้ งเรียน
2.3.3 การซอ้ มแผนเตอื นภัยและอพยพ (วิดโี อจาก save the children)
1) กระบวนการซ้อมแผนอพยพ
2) การประเมนิ ผลการซ้อม
3) การใชส้ ถานศึกษาเปน็ ศูนย์พักพงิ ช่วั คราวสำหรบั ผู้ประสบภัย
4) การจัดการเรยี นการสอนใหต้ ่อเนื่องในสถานการณ์ภยั พิบัติ
5) การคมุ้ ครองเด็กในสถานการณ์ภยั พิบตั ิ
6) การปฐมพยาบาล
7) การประเมนิ ผลตามแผนบริหารจัดการภยั พบิ ัติ
8) มาตรฐานการปฏบิ ตั เิ มื่อเกดิ ภัย
2.4 บทที่ 4 การจัดการเรยี นการสอน
2.4.1 หลักการจดั การเรยี นร้เู รอื่ งการลดความเสย่ี งภัยพิบัติ
2.4.2 การจัดการเรียนการสอนเร่ืองจัดการภยั พิบัติในหลกั สตู รแกนกลางฯ
1) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3
2) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6
3) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3
4) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6
5) แหลง่ ข้อมูลและเน้อื หาเกี่ยวกับภยั พิบัติธรรมชาติ
6) การประเมินและวัดผลการจดั การเรียนการสอน
5
2.4.3 การจดั กิจกรรมเสริมสูตรและพัฒนาผูเ้ รียน
1) ทักษะชวี ิต life skill good practice
2) แนวทางจดั กิจกรรมเสริมหลักสตู ร
3) ตัวอยา่ งกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร
2.4.4 บทบาทอาสาสมคั รในสถานการณภ์ ัยพิบตั ิ
2.4.5 แนวทางการพัฒนาสอื่ การเรยี นการสอนและสอื่ รณรงค์
3. การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ และอืน่ ๆ แก่ผู้ที่เก่ยี วขอ้ ง คอื
3.1) ถ่ายทอดความรู้ต่อเพื่อนครู และบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและนักเรียนให้มีความเข้าใจ
ตระหนกั รูถ้ งึ ผลกระทบของภยั ธรรมขาติ และมีแนวทางในการปอ้ งกันและรักษาความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
3.2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน และหน่วยงานภายนอกให้มีส่วนร่วมใน
การดูแล จดั การภยั พิบตั ใิ นสถานศกึ ษา
3.3) ร่วมประชุมวางแผนเพ่ือจัดทำแนวทางการวางแผนบริหารจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษาโดยเน้น
การมสี ว่ นร่วมระหว่างนักเรยี น ครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน และเครือข่าย
3.4) ร่วมออกแบบหลักสูตรสถานศึกษารองรับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ และนำหลักสูตรไปใช้
จัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่นักเรียนให้พ้นจากอันตรายจากอัคคีภัย/วาตภัย/
อุทกภัย/ธรณีพิบัติภัย
3.5) ร่วมจดั บรรยากาศส่งิ แวดล้อมในสถานศกึ ษาใหส้ ะอาด รม่ ร่นื สวยงาม เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้
4. ปญั หา / อปุ สรรค ในการเขา้ รว่ มประชมุ / อบรม /สัมมนา
ไมป่ รากฏปญั หาและอุปสรรคขณะปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
5. เอกสารประกอบการอบรม (ภาคผนวก)
5.1 รายละเอยี ดโครงการหลักสตู รความปลอดภยั รอบด้านในโรงเรยี น
5.2 การรบั รองหลกั สูตร ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด
5.3 ขน้ั ตอนการใชง้ านหลักสูตรออนไลน์
5.4 รายละเอียดหลกั สูตรออนไลน์
6
ภาคผนวก
7
รายละเอียด
โครงการหลักสตู รความปลอดภยั รอบด้านในโรงเรยี น
“โครงการหลกั สูตรความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรียน”
กรอบแนวคิดระดับโลกเพอื่ สนบั สนนุ The Global Alliance for Disaster Risk Reduction and
Resilience in the Education Sector and The Worldwide Initiative for Safe Schools
เป้าหมายของความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน
• เพอ่ื คุ้มครองนกั เรยี นและบุคลากรดา้ นการศึกษาจากการเสยี ชวี ติ การบาดเจ็บ และอันตรายใน
โรงเรยี น
• เพ่ือให้โรงเรียนวางแผนจัดการศึกษาต่อเนื่องแม้ในระหว่างทเี่ กดิ ภัยพิบัติ
• เพื่อปกป้องการลงทุนในภาคการศึกษา
• เพื่อสร้างความเขม้ แขง็ ในการลดความเส่ยี งและการฟื้นตัวของภาคการศึกษา
สามเสาหลักของความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรียน
ความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน ซึ่งอยู่ภายใต้นโยบายและการปฏิบัติด้านการศึกษา มีความ
สอดคลอ้ งกับการบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิในระดับประเทศ, ภูมิภาค, จงั หวดั และระดับพืน้ ทรี่ วมทง้ั ในโรงเรยี น
กรอบแนวคิดความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน ประกอบดว้ ยสามเสาหลัก (Three Pillars) ได้แก่
1) อาคารสถานที่และสง่ิ อำนวยความสะดวกในโรงเรียน ท่ปี ลอดภัย (Safer Learning Facilities)
2) การบริหารจดั การภัยพบิ ัติในสถานศกึ ษา (School Disaster Management)
3) การศึกษาด้านการลดความเสี่ยงและการร้รู บั ปรับตัวจากภัยพิบัติ (Risk Reduction and
Resilience Education)
รากฐานของการวางแผนสำหรับความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี นคือการจัดทำการประเมินความเสี่ยง
แบบภัยหลายชนิดการวางแผนนี้ควรเป็นส่วนหน่ึงของระบบข้อมูลการจัดการการศึกษาในระดับประเทศ ระดับ
ภูมิภาคและในระดับพ้ืนที่ ข้อมูลเรื่องความเส่ียงจากภัยพิบัติเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบายของภาค
การศึกษาและการจัดการในภาพรวม ซ่ึงจะให้ข้อมูลเชิงประจักษ์และหลักฐานท่ีสำคัญสำหรับการวางแผนและ
การดำเนนิ งาน
เปา้ ประสงค์
กรอบความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน มีเป้าหมายเพ่ือลดความเส่ียงของภัยทุกชนิดที่อาจจะเกิดขึ้น
ในภาคการศึกษา โดยในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมา นักรณรงค์เพอ่ื สิทธิเดก็ มารวมตัวกนั เพื่อ
• ปรับปรุงให้เด็กสามารถเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานที่บูรณาการไม่แบ่งแยกและมีคุณภาพได้อย่างเท่า
เทยี มและปลอดภัย
• ติดตามและประเมินความกา้ วหน้าของการดำเนนิ งานทล่ี ดความเสี่ยงจากภัยพบิ ตั ิและความขดั แย้ง
8
• เพิ่มข้อมูลและเพ่ิมการเข้าถึงข้อมูลหลักฐานเก่ียวกับภัย (เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระบบการเตือนภัยหลาย
ชนดิ ข้อมลู เก่ยี วกบั ความเส่ียงจากภัยพบิ ตั )ิ
• ส่งเสริมการลดความเส่ียงและความสามารถในการฟ้ืนตัวในภาคการศึกษา ซึ่งรวมถึง การให้
ความสำคัญ กับข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ (เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และกรอบการดำเนินงาน
เซนไดเพ่ือลดความเส่ยี งจากภยั พบิ ตั พิ .ศ. 2558 – 2573)
• เสริมสร้างความเข้มแข็งของการประสานงานและเครือขา่ ยเพื่อความสามารถในการฟ้ืนตัวในทุกระดับ
ตงั้ แตร่ ะดับทอ้ งถนิ่ ระดับประเทศระดบั ภมู ิภาค และระดบั สากล
• สร้างความเข้มแข็งให้การบริหารจัดการด้านการศึกษาและการมีส่วนร่วมของท้องถ่ินเพื่อป้องกันและ
ลดความล่อแหลมต่อภัย ความเปราะบางต่อภัยและความเส่ียงทุกชนิด และเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถของการ
เตรียมพร้อมเพื่อตอบโต้และฟ้ืนฟูและสร้างความเข้มแข็งให้กับความสามารถในการฟื้นฟูและปรับตัว ลายชนิด
ข้อมูลเกี่ยวกบั ความเสีย่ งจากภัยพบิ ตั )ิ
9
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เรอ่ื ง รายชื่อหลักสูตรพัฒนาข้าราชการครแู ละ
บุคลากรทางการศกึ ษา สายงานสอน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กำหนด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ คร้งั ที่ ๑/๒๕๖๒
( สำเนา )
10
( สำเนา )
11
( สำเนา )
12
( สำเนา )
วธิ ีลงช่อื เข้าใชง้ าน
- ไปยงั เว็บไซต์ https://www.thaisafeschools.com จะปรากฏหนา้ เวบ็ ข้นึ มาดงั ภาพ
- เลือกลงทะเบยี นสำหรับครู /บคุ ลากรทางการศึกษา
13
( สำเนา )
- ทำการกดทปี่ ุ่มยอมรบั และคลกิ ทเ่ี ริม่ ลงทะเบยี น
- กรอกขอ้ มลู ส่วนตวั และข้อมูลโรงเรียนใหค้ รบถว้ น จึงเร่มิ การอบรมได้
14
( สำเนา )
- เม่ือทำการกรอกขอ้ มูลครบแลว้ จะปรากฏหน้าดงั กล่าว เพื่อทำการเขา้ สรู่ ะบบ
- จากนั้นจะขึน้ หนา้ หลักสตู ร ซึง่ ประกอบไปด้วย 4 บทเรยี นด้วยกัน
15
( สำเนา )
- จะปรากฏหนา้ บทเรยี น ให้เริ่มทกี่ ารทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน ซึง่ ต้องทำการเรียนจบให้ครบท้ัง 4 บท
องค์ประกอบของ e-learning ประกอบไปด้วย 4 ส่วน
• Pretest ทดสอบก่อนเรยี น : ใหผ้ เู้ รียนเริ่มตน้ จากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน
• เน้ือหา : ผู้เรียนเริ่มศกึ ษาในแต่ละบท แต่ละหัวข้อ โดยเน้ือหาในแต่ละหัวข้อน้ัน จะแตกต่างกันออกไป
เช่น บทความ , วีดีโอ , รูปภาพ , ลิงค์เช่ือมโยงแหล่งความรู้เพิ่มเติม หรือ ลิงค์ดาวน์โหลดเอกสาร เม่ือ
ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ เข้าใจเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่มอัพเดทสถานะ “ศึกษาและทำ
ความเข้าใจเรยี บรอ้ ย”
• Posttest ทดสอบหลังเรยี น : สุดท้ายของแต่ละบท ผูเ้ รียนต้องทำแบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือประเมินผล
ความเขา้ ใจ หากคะแนนทดสอบผา่ น จงึ จะสามารถเข้าสบู่ ทเรยี นถัดไปได้
• เอกสารอ่านเพม่ิ เติม : เป็นลิงค์ดาวน์โหลดเอกสาร หรือ แหล่งความรสู้ ำคัญเพ่มิ เติม ให้ผู้เรยี นท่ีสนใจ
ไดศ้ ึกษาเพ่อื ความเข้าใจมากขึ้น
16
( สำเนา )
17
รายละเอียดหลกั สูตรการอบรม
18
19
วุฒิบัตรการเข้ารบั การอบรมออนไลน์หลักสตู รการลดความเส่ยี งจากภัยพบิ ตั ิและ
การรบั มือกับความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
รหัสหลกั สูตร 62037
ข้าพเจา้ ขอรบั รองวา่ ขอ้ มลู ข้างต้นเปน็ ความจรงิ ทกุ ประการ
ลงชอ่ื
( นางสาวรัตนต์ กิ ลู วงคำจนั ทร)์
ผูเ้ ข้ารบั การอบรม
ขา้ พเจ้าขอรบั รองวา่ ขอ้ มลู ทีร่ ายงานขา้ งตน้ เป็นความจรงิ ทกุ ประการ
ลงชอ่ื
( นายกติ ติศักด์ิ ประชุม )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทา่ เย่ยี มวิทยายล
20