43
บทที่ 3
อาหารและโภชนาการ
สาระสาํ คัญ
มคี วามรคู วามเขาใจถึงปญหา สาเหตแุ ละการปองกันโรคขาดสารอาหาร ตลอดจนสามารถบอก
หลักการปฏิบัติตนตามหลักสุขาภิบาลดานอาหารไดอยางถูกตองเหมาะสมและสามารถจัดโปรแกรม
อาหารทีเ่ หมาะสมได
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั
1. เขา ใจปญ หา สาเหตุและบอกวิธกี ารปอ งกนั โรคขาดสารอาหารได
2. อธิบายหลักการสขุ าภิบาลอาหารและนําไปปฏบิ ตั ิเปนกิจนิสัย
3. สามารถจดั โปรแกรมอาหารท่เี หมาะสมสาํ หรับบคุ คลกลมุ ตา ง ๆ เชน ผสู ูงอายุ ผปู ว ยไดอยาง
เหมาะสม
ขอบขายเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 โรคขาดสารอาหาร
เรอื่ งท่ี 2 การสขุ าภบิ าลอาหาร
เรื่องท่ี 3 การจดั โปรแกรมอาหารใหเ หมาะสมกับบุคคลในครอบครัว
44
เรือ่ งท่ี 1 โรคขาดสารอาหาร
ประเทศไทยแมจ ะไดชอื่ วา เปน ดนิ แดนที่อุดมสมบูรณ มีอาหารมากมายหลากหลายชนดิ นอกจาก
จะสามารถผลติ อาหารพอเลยี้ งประชากรในประเทศไทยแลว ยงั มากพอท่จี ะสงไปจาํ หนา ยตางประเทศได
ปละมาก ๆ อกี ดวย แตก ระนัน้ ก็ตาม ยงั มรี ายงานวา ประชากรบางสวนของประเทศเปนโรคขาดสารอาหาร
อกี จํานวนไมน อ ย โดยเฉพาะทารกและเด็กกอ นวัยเรียน เดก็ เหลานี้อยใู นสภาพรางกายไมเ จรญิ เตบิ โตเตม็ ที่
มีความตา นทานตอโรคตดิ เชอื้ ตํ่า นอกจากน้ีนสิ ยั โดยสวนตวั ของคนไทยเปนสาเหตหุ นึ่งที่ทาํ ให
โรคขาดสารอาหาร ท้ังนเี้ พราะคนไทยเลือกกินอาหารตามรสปาก รบี รอ นกนิ เพือ่ ใหอ มิ่ ทอง หรอื กนิ ตามที่
หามาได โดยไมค ํานงึ ถงึ วามสี ารอาหารที่ใหค ณุ คาโภชนาการตอ รา งกายครบถวนหรือไมพ ฤตกิ รรมเหลา น้ี
อาจทําใหเกิดโรคขาดสารอาการไดโดยไมรูสึกตัว การเรียนรูเก่ียวกับสาเหตุและการปองกันโรคขาด
สารอาหารจะชวยใหเดก็ และเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตเปน ผูใหญท ี่สมบูรณตอ ไป
ทัง้ น้ี เม่อื กนิ อาหารเขาสูรางกายแลว และอาหารจะถูกยอยสลายโดยอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกาย
ใหเ ปนสารอาหารเพอ่ื นําไปทําหนาทต่ี า ง ๆ ดังนี้
1. ใหพลังงานและความรอนเพ่ือใชในการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ภายใน เชน การหายใจ
การยืดหดของกลามเน้อื การยอ ยอาหาร เปน ตน
2. สรางความเจรญิ เติบโตสําหรับเดก็ และชวยซอมแซมสวนทส่ี กึ หรอหรือชํารดุ ทรดุ โทรมในผใู หญ
3. ชว ยปองกนั และสรา งภูมติ า นทานโรค ทาํ ใหมสี ขุ ภาพแข็งแรงสมบูรณ
4. ชวยควบคุมปฏกิ ริ ิยาตา ง ๆ ภายในรา งกาย
ดังนน้ั ถารางกายของคนเราไดร บั สารอาหารไมค รบถวนหรือปริมาณไมเพียงพอกบั ความตองการ
ของรางกาย จะทําใหเ กดิ ความผดิ ปกตแิ ละเกดิ โรคขาดสารอาหารได
โรคขาดสารอาหารทสี่ ําคัญและพบบอยในประเทศไทย มีดังน้ี
1. โรคขาดโปรตีนและแคลอรี
โรคขาดโปรตีนและแคลอรีเปนโรคที่เกิดจากรางกายไดรับสารอาหารประเภทโปรตีน
คารโ บไฮเดรตและไขมันท่ีมีคณุ ภาพดไี มเ พียงพอ เปนโรคทพ่ี บบอยในเดก็ ทม่ี ีอายุต่ํากวา 6 ป โดยเฉพาะ
ทารกและเด็กกอนวัยเรียน อันเนื่องจากการเล้ียงดูไมเอาใจใส เรงการกินอาหารหรือไมมีความรูทาง
โภชนาการดีพอ ลักษณะอาการของโรคมี 2 รูปแบบ คือ ควาซิออรกอร (Kwashiorkor) และมาราสมัส
(Marasmus)
1.1 ควาซิออรก อร (Kwashiorkor) เปนลกั ษณะอาการท่ีเกิดจากการขาดสารอาหารประเภท
โปรตีนอยางมาก มักเกิดกับทารกทเี่ ลีย้ งดว ยนมขนหวาน นมผงผสมและใหอ าหารเสริมประเภทขาวหรือ
แปง เปน สว นใหญ ทําใหรางกายขาดโปรตนี สําหรบั การเจรญิ เติบโตและระบบตา งๆ บกพรอง ทารกจะมี
อาการซีดบวมทห่ี นา ขา และลําตัว เสน ผลบางเปราะและรวงหลุดงา ย ผิวหนังแหงหยาบ มีอาการซึมเศรา
มีความตา นทานโรคต่ํา ตดิ เชื้องา ยและสติปญญาเส่ือม
45
1.2 มาราสมสั (Marasmus) เปน ลักษณะอาการท่ีเกดิ จากการขาดสารอาหารประเภท โปรตีน
คารโบไฮเดรต และไขมันผูท่ีเปนโรคน้ีจะมีอาการคลายกับเปนควาซิออรกอรแตไมมีอาการบวมที่ทอง
หนาและขา นอกจากนีร้ างกายจะผอมแหง ศีรษะโต พุงโร ผวิ หนงั เหย่ี วยน เหมือนคนแกล อกออกเปน
ช้ันไดแ ละทองเสียบอ ย
อยา งไรกต็ าม อาจมีผปู ว ยท่ีมีลักษณะทัง้ ควาซอิ อรกอรแ ละมาราสมัสในคนเดยี วกนั ได
การปอ งกันและรักษาโรคขาดโปรตีนและแคลอรี
จากการสาํ รวจพบวา ทารกและเดก็ กอนวัยเรยี นในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เปนโรคขาดโปรตีน
และแคลอรีมากที่สุด นอกจากนจ้ี ากรายงานสถานภาพโภชนาการในประเทศไทยของกองโภชนาการ
กรมอนามยั ยังพบอกี วาในหญงิ มคี รรภและหญิงใหนมบุตรโดยเฉพาะในชนบทมีภาวะโภชนาการไมดี
ต้ังแตกอนต้ังครรภ มีอาการต้ังครรภต้ังแตอายุยังนอยและขณะตั้งครรภงดกินอาหารประเภทโปรตีน
เพราะเช่อื วาเปน ของแสลง ทาํ ใหไ ดร บั พลังงานเพยี งรอยละ 80 และโปรตนี รอยละ 62 – 69 ของปริมาณที่
ควรไดรบั
การขาดสารอาหารประเภทโปรตีนเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะ
อยา งยง่ิ ในกลมุ ตง้ั แตว ยั ทารกจนถึงวัยรนุ ดวยเหตนุ ี้เพือ่ แกป ญหาดังกลา วจงึ ไดมีการสง เสรมิ ใหเ ลี้ยงทารก
ดวยนมมารดามากข้นึ และสง เสรมิ ใหเด็กดืม่ นมวัว นํา้ นมถั่วเหลืองเพิ่มข้ึน เพราะนํ้านมเปนสารอาหารท่ี
สมบูรณท ีส่ ดุ เนื่องจากประกอบดวยสารอาหารตา ง ๆ ครบทัง้ 5 ประเภท
นอกจากนี้ ในปจ จบุ นั ยงั มีหนว ยงานหลายแหงไดศึกษาคนควาหาวิธีการผลิตอาหารท่ีใหคุณคา
โปรตีน แตมีราคาไมแพงนัก ใหคนท่ีมีรายไดนอยไดกินกันมากขึ้น สถาบันคนควาพัฒนาผลิตภัณฑ
อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดคนควาทดลองผลิตอาหารโปรตีนจากพืชเพ่ือทดแทนโปรตีนจาก
สัตว เชน ใชผลติ ภัณฑจากถ่ัวเหลืองที่เรียกวาโปรตีนเกษตร ท่ีผลิตในรูปของเน้ือเทียมและโปรตีนจาก
สาหรายสีเขยี ว เปนตน
46
2. โรคขาดวติ ามนิ
นอกจากรางกายจะตองการสารอาหารประเภทโปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมันแลว ยัง
ตองการสารอาหารประเภทวิตามินและแรธ าตุอกี ดว ย เพ่ือชวยทําใหรางกายสมบูรณข้ึน คือ ชวยควบคุม
ใหอ วยั วะตา ง ๆ ทําหนา ที่ไดต ามปกติถึงแมรางกายจะตองการสารอาหารประเภทน้ีในปริมาณนอยมาก
แตถา ขาดไปจะทําใหการทํางานของรางกายไมสมบูรณและเกิดโรคตาง ๆ ได โรคขาดวิตามินที่พบใน
ประเทศไทยสวนมากเปนโรคทเ่ี กดิ จากการขาดวติ ามนิ เอ วิตามนิ บีหนง่ึ วิตามนิ บีสอง และวิตามินซี ซึ่งมี
รายละเอยี ดดังน้ี
โรคขาดวติ ามนิ เอ เกิดจากการรบั ประทานอาหารท่มี ไี ขมันตํา่ และมวี ิตามินเอนอยคนที่ขาด
วติ ามินเอ ถา เปนเด็กการเจริญเติบโตหยุดชะงัก สขุ ภาพออ นแอ ผิวหนงั หยาบแหงมีตุมสาก ๆ เหมือนหนงั
คางคก เน่ืองจากการอักเสบบรเิ วณกน แขน ขา ขอศอก เขาและหนาอก นอกจากน้ีจะมีอาการอักเสบใน
ชอ งจมูก หู ปาก ตอ มน้าํ ลาย เยอ่ื บตุ าและกระจก ตาขาวและตาดาํ จะแหง ตาขาวจะเปนแผลเปน ที่เรียกวา
เกล็ดกระด่ี ตาดําขนุ หนาและออ นเหลว ถา เปนรุนแรงจะมีผลทําใหตาบอดได ถาไมถึงกับตาบอดอาจจะ
มองไมเ ห็นในทส่ี ลวั หรอื ปรบั ตาในความมดื ไมได เรยี กวา ตาฟางหรอื ตาบอดกลางคนื
การปอ งกนั และรักษาโรคขาดวิตามินเอ ทาํ ไดโ ดยการกนิ อาหารที่มไี ขมนั พอควรและอาหาร
จําพวกผลไมผ กั ใบเขยี ว ผกั ใบเหลอื ง เชน มะละกอ มะมว งสกุ ผักบงุ คะนา ตาํ ลึง มันเทศ ไข นม สําหรับ
ทารกควรไดกนิ อาหารเสรมิ ทผี่ สมกบั ตับหรอื ไขแดงบด
โรคขาดวิตามินบีหน่ึง เกิดจากการรับประทานอาหารท่ีมีวิตามินบีต่ําและกินอาหารที่ไป
ขดั ขวางการดูดซึมวติ ามินบหี น่งึ คนทข่ี าดวติ ามนิ บหี น่งึ เปน โรคเหน็บชา ซ่ึงจะมีอาหารชาทั้งมือและเทา
กลามเนือ้ แขนและขาไมมกี าํ ลัง ผปู ว ยบางรายอาจมอี าการบวมรวมดวย ถาเปน มากจะมีอาการใจสั่น หัวใจ
โตและเตน เร็ว หอบ เหนอ่ื ยและอาจตายไดถ าไมไ ดร ับการรกั ษาทนั ทวงที
47
การปองกันและรักษาโรคขาดวิตามินบีหน่ึง ทําไดโดยการกินอาหารที่มีวิตามินบีหน่ึงให
เพียงพอและเปนประจํา เชน ขาวซอมมือ ตับ ถั่วเมล็ดแหง และเน้ือสัตว ควรหลีกเล่ียงอาหารท่ีทําลาย
วิตามนิ บีหนงึ่ เชน ปลาราดบิ หอยดบิ หมาก เมย่ี ง ใบชา เปนตน
โรคขาดวิตามินบีสอง เกิดจากการกินอาหารที่มีวิตามินบีสองไมเพียงพอ คนที่ขาด
วติ ามนิ บสี อง มกั จะเปน แผลหรือรอยแตกท่ีมุมปากท้ังสองขางหรือซอกจมูกมีเกล็ดใสเล็ก ๆ ล้ินมีสีแดง
กวา ปกตแิ ละเจ็บ หรือมแี ผลทผ่ี นังภายในปาก รูสึกคันและปวดแสบปวดรอนท่ีตา อาการเหลาน้ีเรียกวา
โรคปากนกกระจอก คนทีเ่ ปน โรคน้จี ะมอี าการ ออ นเพลีย เบ่อื อาหารและอารมณหงดุ หงิด
การปองกันและรักษาโรคขาดวิตามินบีสอง ทําไดโดยการกินอาหารท่ีมีวิตามินบีสองให
เพียงพอและเปน ประจํา เชน นมสด นมปรุงแตง นมถั่วเหลือง นํ้าเตาหู ถ่ัวเมล็ดแหง ขาวซอมมือ ผัก ผลไม
เปน ตน
โรคขาดวิตามินซี เกิดจากการกินอาหารท่ีมีวิตามินซีไมเพียงพอ คนท่ีขาดวิตามินซี
มกั จะเจ็บปวยบอ ย เนอ่ื งจากมคี วามตา นทานโรคตาํ่ เหงอื กบวมแดง เลือดออกงาย ถาเปนมากฟนจะโยก
รวน และมีเลอื ดออกตามไรฟนงา ย อาหารเหลา น้ีเรยี กวาเปน โรคลักปด ลกั เปด
การปอ งกนั และรักษาโรคขาดวติ ามินซี ทาํ ไดโ ดยการกินอาหารที่มวี ิตามนิ ซีใหเพียงพอและ
เปน ประจาํ เชน สม มะนาว มะขามปอม มะเขือเทศ ฝรั่ง ผกั ชี เปน ตน
จากทก่ี ลาวมาจะเหน็ ไดวา โรคขาดวิตามิน สวนมากมักจะเกี่ยวกับการขาดวิตามินประเภท
ละลายไดใ นน้ํา เชน วิตามินบี สาํ หรบั วติ ามนิ ที่ละลายในไขมัน เชน วติ ามนิ อแี ละวติ ามนิ เค มักจะไมคอย
เปนปญ หาโภชนาการ ทั้งนเ้ี พราะวิตามินเหลานี้บางชนิดรางกายของเราสามารถสังเคราะหขึ้นมาเองได
เชน วิตามินดี ผูท่ีออกกําลังกายกลางแจงและไดรับแสงอาทิตยเพียงพอ รังสีอัลตราไวโอเลตจาก
แสงอาทิตยสามารถเปล่ยี นสารทเี่ ปนไขมันชนิดหนงึ่ ใตผิวหนงั ใหเ ปนวติ ามินดไี ด สว นวติ ามินเค รางกาย
48
สามารถสงั เคราะหไ ดจ ากแบคทีเรียในลาํ ไสใ หญ ยกเวน วติ ามนิ เอ (A) ท่ีมีมากในผัก ผลไมสีเหลือง แดง
เขียว ที่มักสูญเสียงา ย เมือ่ ถูกความรอน
3. โรคขาดแรธ าตุ
แรธาตุนอกจากจะเปนสารอาหารท่ีชวยในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ
ในรางกายใหทาํ หนาที่ปกตแิ ลว ยงั เปน สว นประกอบทีส่ ําคัญของรางกายอีกดวย เชน เปนสวนประกอบ
ของกระดูกและฟน เลอื ด กลา มเนื้อ เปน ตน ดังที่กลาวแลว ดังน้ัน ถารางกายขาดแรธาตุอาจจะทําใหการ
ทาํ หนาทข่ี องอวัยวะผิดปกติ และทาํ ใหเกดิ โรคตา ง ๆ ไดด งั น้ี
โรคขาดธาตุแคลเซยี มและฟอสฟอรัส เกิดจากการกนิ อาหารทีม่ แี คลเซยี มและฟอสฟอรัสไม
เพียงพอ คนท่ีขาดแคลเซียมและฟอสฟอรสั จะเปนโรคกระดูกออน มักเปนกับเด็ก หญิงมีครรภและหญิง
ใหน มบตุ ร ทาํ ใหข อตอกระดกู บวม ขาโคงโกง กลามเนือ้ หยอน กระดกู ซ่ีโครงดา นหนารอยตอนูน ทําให
หนา อกเปน สนั ท่ีเรียกวา อกไก ในวยั เดก็ จะทาํ ใหการเจรญิ เติบโตชา โรคกระดูดออนนอกจากจะเกิดจาก
การขาดแรธ าตุท้ังสองแลว ยงั เกดิ จากการไดรบั แสงแดดไมเพยี งพออีกดว ย
การปองกันและรักษาโรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส ทําไดโดยการกินอาหารที่มี
แคลเซียมและฟอสฟอรสั ใหม ากและเปนประจํา เชน นมสด ปลาท่ีกินไดท้ังกระดูก ผักสีเขียว น้ํามันตับปลา
เปน ตน
โรคขาดธาตเุ หล็ก เกดิ จากการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กไมเพียงพอหรือเกิดจากความผิดปกติ
ในระบบการยอยและการดูดซึม คนที่ขาดธาตุเหล็กจะเปนโรคโลหิตจาง เนื่องจากรางกายสราง
เฮโมโกลบินไดน อยกวา ปกติ ทําใหร างกายออ นเพลยี เบอ่ื อาหาร มคี วามตานทานโรคต่าํ เปลือกตาขาวซีด
ล้ินอักเสบ เลบ็ บางเปราะและสมรรถภาพในการทํางานเส่อื ม
49
การปอ งกนั และรักษาโรคขาดธาตเุ หล็ก ทาํ ไดโดยการกินอาหารท่ีมีธาตุเหล็กและโปรตีนสูง
เปน ประจํา เชน ตับ เครอื่ งในสตั ว เน้อื สตั ว ผกั สเี ขียว เปนตน
โรคขาดธาตุไอโอดีน เกดิ จากการกินอาหารที่มีไอโอดนี ต่ําหรืออาหารท่ีมสี ารขดั ขวางการใช
ไอโอดนี ในรางกาย คนทข่ี าดธาตุไอโอดีนจะเปนโรคคอหอยพอกและตอ มไทรอยดบวมโต ถาเปนต้ังแต
เด็กจะมีผลตอการพัฒนาทางรางกายและจิตใจ รางกายเจริญเติบโตชา เตี้ย แคระแกร็น สติปญญาเส่ือม
อาจเปน ใบหรอื หหู นวกดวย คนไทยภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนโรคนี้กันมาก บางที
เรยี กโรคน้วี า โรคเออ
การปองกันและรกั ษาโรคขาดธาตุไอโอดนี ทําไดโดยการกนิ อาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย
ปู ปลา เปน ตน ถา ไมส ามารถหาอาหารทะเลไดค วรบริโภคเกลืออนามัย ซง่ึ เปนเกลือสมทุ รผสมไอโอดนี ที่
ใชในการประกอบอาหารแทนได นอกจากนี้ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน
พชื ตระกูลกะหลํ่าปลี ซึง่ กอนกินควรตม เสยี กอน ไมค วรกนิ ดิบ ๆ
สรปุ การขาดสารอาหารประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลาย ๆ ประเภท นอกจากจะมผี ลทําให
รางกายไมสมบูรณแ ข็งแรงและเปน โรคตาง ๆ ไดแลว ยังทําใหเปนอุปสรรคตอการดํารงชีวิต อีกทั้งยังมี
ผลกระทบตอ สุขภาพของประชากรโดยตรง ซ่ึงจะมผี ลตอ การพัฒนาประเทศในทีส่ ดุ ดงั นนั้ จึงจาํ เปน อยา ง
ย่ิงทที่ ุกคนควรเลือกกินอาหารอยางครบถวนตามหลักโภชนาการ ซึ่งไมจําเปนตองเปนอาหารที่มีราคา
แพงเสมอไป แตค วรกินอาหารใหไ ดสารอาหารครบถวนในปริมาณท่ีพอเพียงกับรา งกายตองการในแตละ
วัน นัน่ คอื หากกินใหด แี ลวจะสงผลถงึ สุขภาพความสมบรู ณแ ขง็ แรงของรางกาย ซ่ึงก็คอื อยูด ีดว ย
อยางไรกต็ าม โรคทเ่ี กี่ยวกับสารอาหารไมใ ชม เี ฉพาะโรคทเ่ี กดิ จากการขาดสารอาหารเทา นั้น
การท่ีรางกายไดรับสารอาหารบางประเภทมากเกินไปทําใหเกิดโรคไดเชนเดียวกัน โรคที่เกิดจากการ
ไดร ับสารอาหารมากเกินความตองการของรางกายมหี ลายโรคทีพ่ บเหน็ บอ ยในปจ จุบนั คือโรคอว น
โรคอวน เปนโรคท่เี กิดจากการกินอาหารมากเกนิ ความตองการของรางกาย ทําใหม ีการสะสมของ
ไขมันภายในรา งกายเกนิ ความจําเปน คนท่ีเปนโรคอวนอาจมีอาการอื่น ๆ ตามมา เชน วิตกกังวล ความ
ตานทานโรคตํา่ เปนสาเหตใุ หเกดิ โรคหวั ใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เปน ตน
50
ปจจุบันสภาวะสงั คมไทยเปลย่ี นแปลงไป โดยเฉพาะในเมืองใหญทุกคนตองทํางานแขงกับเวลา
ประกอบกับการท่คี านิยมการบรโิ ภคอาหารแบบตะวันตก เชน พิซซา แซนดวิส มนั ฝรง่ั ทอด ไกทอด เปนตน
จึงทําใหไดรับไขมันจากสัตวท่ีเปนกรดไขมันอ่ิมตัวและคลอเรสเตอรอลสูง จึงควรเลือกกินอาหารที่มี
ไขมันใหพ อเหมาะเพอ่ื ปองกนั โรคอวน โรคไขมันและคลอเรสเตอรอลในเลือดสูง ซึ่งจะมีผลใหเปนโรค
อื่น ๆ ตอไป นอกจากนี้การออกกําลังกายสม่ําเสมอเปนอีกวิธีหน่ึงที่ชวยปองกันและรักษาโรคอวนได
ถาอวนมาก ๆ ควรปรกึ ษาแพทย อยาใชย า สบู ครมี หรอื เคร่ืองมือลดไขมันตลอดจนการกินยาลดความอวน
ตามคาํ โฆษณา เพราะอาจทําใหเกิดอนั ตรายตอ รา งกายได
เรื่องท่ี 2 การสุขาภบิ าลอาหาร
การสุขาภิบาลอาหาร (Food Sanitation) หมายถึง การดําเนินการดวยวิธีการตางๆ ท่ีจัดการ
เกี่ยวกับอาหารทง้ั ในเรอ่ื งของการปรับปรุง การบาํ รงุ รักษาและการแกไขเพือ่ อาหารท่ีบริโภคเขาไปแลวมี
ผลดีตอ สุขภาพอนามัยโดยใหอาหารมีความสะอาด ปลอดภัยและมคี วามนาบรโิ ภค
อาหาร หมายความวา ของกนิ หรือเครือ่ งคํ้าจนุ ชีวติ ไดแก
1. วัตถทุ กุ ชนิดท่ีคนกนิ ด่มื อม หรอื นําเขา สรู างกายไมวาดวยวิธีใด ๆ หรือในรูปลักษณะใด ๆ
แตไมร วมถึงยา วัตถอุ อกฤทธิ์ตอ จิตและประสาท หรือยาเสพตดิ ใหโทษ
2. วัตถุท่มี ุงหมายสําหรบั ใชหรอื ใชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร
สี และเครอ่ื งปรงุ แตงกล่ิน - รส
2.1. ความสาํ คัญของการสขุ าภิบาลอาหาร
อาหารเปนปจ จยั สําคัญของมนุษย ทุกคนตอ งบรโิ ภคอาหารเพื่อการเจรญิ เตบิ โตและการดาํ รงชวี ติ
อยไู ด แตก ารบริโภคอาหารน้นั ถา คาํ นงึ ถึงคุณคาทางโภชนาการ ความอรอย ความนาบริโภคและการกิน
ใหอิม่ ถือไดว าเปนการไมเพียงพอและสงิ่ สาํ คญั ทีต่ อ งพิจารณาในการบรโิ ภคอาหารนอกเหนือจากที่กลาว
แลว คอื ความสะอาดของอาหารและความปลอดภยั ตอสขุ ภาพของผูบริโภค ท้ังนี้เพราะวาอาหารที่เราใช
บริโภคนั้น แมวาจะมีรสอรอยแตถาเปนอาหารสกปรกยอมจะมีอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค
กอใหเ กดิ อาการปวดทอ ง อจุ จาระรวง อาเจียน เวยี นศีรษะ หนามดื ตาลาย เปน โรคพยาธทิ ําใหผอม ซบู ซีด
หรือแมแตเกดิ การเจบ็ ปวยในลกั ษณะเปนโรคเรอ้ื รัง โรคทีเ่ กิดน้เี รยี กวา “โรคที่เกิดจากอาหารเปนสื่อนํา”
ลกั ษณะความรนุ แรงของการเปนโรคน้ี ขึ้นอยกู บั ชนิดและปรมิ าณของเช้ือโรค หนอนพยาธิ หรือสารพิษ
บรโิ ภคเขาไป ควรแกป ญ หาดว ยการใหค นเราบรโิ ภคอาหารที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค หนอนพยาธิและ
สารพิษ นัน่ คอื จะตอ งมีการจดั การและควบคมุ อาหารใหสะอาด เรียกวา การสขุ าภบิ าล
51
2.2. ปจ จัยทเี่ ปนสาเหตุสําคญั ทาํ ใหอาหารสกปรกและการเส่ือมคุณภาพของอาหาร
ปจ จัยที่เปนสาเหตุสําคญั ทําใหอ าหารสกปรก
อาหารสกปรกไดเนื่องจากมีส่ิงสกปรกปะปนลงสูอาหาร ส่ิงสกปรกที่สําคัญและมีพิษภัยตอ
ผบู รโิ ภค คือ เช้ือโรค หนอนพยาธแิ ละสารพิษ สงิ่ เหลา นส้ี ามารถลงสอู าหารไดโ ดยมสี ื่อนาํ ทําใหป ะปนลง
ไปในอาหาร ในกระบวนการผลิต การขนสง การเตรยี ม การปรุง การเก็บ การจําหนาย การเสิรฟอาหาร เปน
ตน ซ่ึงลักษณะการทาํ ใหอ าหารสกปรกเกดิ ข้นึ ได ดังนี้
1. สง่ิ สกปรก เชน เชอ้ื โรค หนอนพยาธแิ ละสารพษิ
2. ส่อื นํา เชน แมลง สตั ว บุคคล (ผสู มั ผสั อาหาร) ภาชนะและอุปกรณส มั ผสั อาหาร สงิ่ แวดลอม
น้ํา ดนิ ปยุ อากาศ ฝุนละออง ฯลฯ
3. กระบวนการที่เก่ียวของกับอาหาร เชน การผลิต การขนสง การเตรียม การปรุง การเก็บ
การจําหนาย การเสิรฟ ฯลฯ
4. ผบู รโิ ภค
2.3. ปญหาพืน้ ฐานการสขุ าภิบาลอาหาร
อาหารและน้ําดม่ื เปน ส่งิ จาํ เปน สาํ หรบั ชีวิตมนุษยแ ละเปนท่ที ราบกันดีแลววาปจจุบันโรคติดเชื้อ
ของระบบทางเดินอาหารเปนสาเหตุของการปวยและตายที่สําคัญของประชาชนในประเทศไทย เชน
อหิวาตกโรค บิด ไทฟอยดและโรคทองรวงชนิดตาง ๆ ซึ่งนับวาเปนโรคท่ีสําคัญบ่ันทอนชีวิตและ
เศรษฐกิจของประชาชน วิธีที่ดีท่ีสุดท่ีจะแกปญหานี้ก็คือ การปองกันโรค โดยทําการควบคุมการ
สุขาภิบาลอาหารและส่ิงแวดลอม เพ่ือปองกันการแพรโรคท่ีเกิดจากการติดเชื้อ ดังน้ัน จึงควรควบคุม
ปรับปรุงวิธีการลางจานชามภาชนะใสอาหาร ตลอดจนนํ้าดื่มน้ําใช การกําจัดอุจจาระ สิ่งโสโครกและ
ส่ิงปฏิกูลอ่ืน ๆ ใหถูกตองสุขลักษณะในปจจุบัน อัตราการเพิ่มของประชากรไทยคอนขางจะสูงและ
รวดเร็ว โดยเฉพาะในเขตชุมชนใหญ ๆ เชน เขตสุขาภิบาล เขตเทศบาล กําลังวิวัฒนาการกาวหนาขึ้น
เปนลําดับ ประชาชนสวนใหญตองออกไปประกอบอาชีพและรับประทานอาหารนอกบาน
ซ่งึ ถารา นจําหนายอาหารเหลาน้ันไมปรบั ปรงุ ควบคุม หรือเอาใจใสอ ยางเขม งวดในเรอื่ งความสะอาดแลว
อาจกอใหเกดิ การเจบ็ ปวยและการตายของประชากรท่ีมีสาเหตมุ าจากโรคตดิ เช้ือของระบบทางเดินอาหาร
เพ่ิมมากข้ึนตามไปดวย
2.4. โรคทีเ่ กดิ จากการบรโิ ภคอาหารทไ่ี มถกู หลกั โภชนาการและสขุ าภิบาลอาหาร
เพื่อผลประโยชนและความปลอดภัยในการเลือกใชผลิตภัณฑตาง ๆ ในปจจุบัน ผูบริโภค
ทั้งหลาย ควรจะไดศ ึกษาและทําความเขา ใจลกั ษณะธรรมชาตขิ องผลติ ภัณฑท สี่ ําคัญ ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง
ในเร่ืองของ “อาหาร” เพือ่ เปน แนวทางในการเลือกปฏิบตั ิดังนี้
1. อาหารไมบรสิ ทุ ธ์ิ ตามพระราชบญั ญตั อิ าหาร พุทธศักราช 2522 ไดใ หความหมายของอาหาร
ทไี่ มบ รสิ ทุ ธ์ิ ไวด งั น้ี
52
1) อาหารทีม่ ีส่ิงทนี่ า รังเกยี จหรอื สงิ่ ทีน่ าจะเปนอันตรายแกส ุขภาพเจือปนอยูดว ย
2) อาหารทีม่ ีวตั ถเุ จือปนเปนเหตุใหคุณภาพของอาหารนั้นเส่ือมถอย เวนแตการเจือปนน้ัน
จําเปน ตอกรรมวธิ กี ารผลติ และไดรับอนุญาตจากเจาพนกั งานเจาหนา ที่แลว
3) อาหารที่ไดผสมหรือปรุงแตงดวยวิธีใด ๆ โดยประสงคจะปกปดซอนเรนความชํารุด
บกพรองหรือคุณภาพทีไ่ มดขี องอาหารนัน้
4) อาหารที่ไดผ ลติ บรรจหุ รอื เกบ็ รกั ษาไวโ ดยไมถกู สุขลกั ษณะ
5) อาหารที่ผลติ จากสตั วท เี่ ปน โรคอันอาจตดิ ตอถึงคนได
6) อาหารที่มีภาชนะบรรจปุ ระกอบดวยวัตถุที่นา จะเปน อันตรายตอ สุขภาพ
2. อาหารปลอมปน พระราชบญั ญัตอิ าหารไดก าํ หนดลกั ษณะอาหารปลอมปน ไวดงั นี้
1) อาหารทีไ่ มมีคุณภาพหรือมาตรฐานตามท่ีกําหนดไว
2) อาหารท่ีไดสับเปลี่ยนวัตถุอ่ืนแทนบางสวนหรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณคาออกเสียท้ังหมด
หรอื บางสวน แลว จาํ หนา ยเปน อาหารแทหรือยังใชชอ่ื อาหารนน้ั อยู
3) อาหารทผี่ ลิตขึ้นเทียมอาหารอยา งหนึง่ อยางใดแลว จาํ หนายเปนอาหารแท
4) อาหารที่มีฉลากเพ่ือลวงหรือพยายามลวงผูซื้อใหเขาใจผิดในเรื่องปริมาณ คุณภาพหรือ
ลกั ษณะพิเศษอยางอนื่ ๆ หรือในสถานทีป่ ระเทศที่ผลติ
ปจจุบนั ประเทศไทยมีการผลติ อาหารสําเรจ็ รปู กนั มากขนึ้ รวมทั้งมีผูผลติ จาํ นวนไมนอยท่ีทําการ
ผลิตอาหารไมบริสุทธ์ิและอาหารปลอมปนเพื่อหลอกลวงประชาชนผูบริโภค โดยใชสารเคมีเจือปนใน
อาหารเพราะตองการกาํ ไรและผลประโยชนจ ากผบู ริโภคใหมากขึ้น ถึงแมวากระทรวงสาธารณสุขจะได
ทาํ การควบคุมอาหาร โดยสาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาไดจ ัดใหส ารวตั รอาหารและยาออกตรวจ
สถานที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอาหาร พรอมทั้งดําเนินการเก็บอาหารที่ผลิตออกจําหนายในทองตลาด
สงไปวิเคราะหคุณภาพเพื่อใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั อิ าหารแลว กต็ าม แตยงั มีอาหารที่ไมบรสิ ุทธิ์และ
อาหารปลอมปนซง่ึ ใสสารเคมีในอาหารขายอยูในทองตลาดมากมาย ดังตวั อยา งตอไปน้ี
1. อาหารผสมสี อาหารผสมสีท่ีประชาชนบริโภคกันอยางแพรหลาย เชน หมูแดง แหนม
กุนเชยี ง ไสกรอก ลกู ช้นิ ปลา กงุ แหง ขา วเกรยี บกงุ และซอสสแี ดง กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวง
สาธารณสุขไดเ คยตรวจพบสีท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพถึงรอยละ 90 ซ่ึงสีท่ีใชกันมากน้ันเปนสีท่ีมีตะก่ัว
และทองแดงผสมอยู
2. พริกไทยปน ใชแปงผสมลงไปในพริกไทยที่ปนแลว เพื่อใหไดปริมาณมากขึ้น การซื้อ
พรกิ ไทย จงึ ควรซอื้ พรกิ ไทยเมด็ แลว นาํ มาปนเองจึงจะไดข องแท
3. เนอ้ื สตั วใ สดนิ ประสิว ทําใหมสี แี ดงนารับประทานและทาํ ใหเ น้อื เปอย นยิ มใสใ นปลาเจา หมู
เบคอน เนื้อววั ถาหากรบั ประทานเขา ไปมาก ๆ จะทําใหเปนอันตรายได เนื่องจากพบวา ดินประสิวท่ีใส
ลงไปในอาหารเปน ตวั การอันหนง่ึ ที่ทําใหเ กดิ โรคมะเร็ง
53
4. ซอสมะเขอื เทศ ใชมันเทศตมผสมสีแดง ถาตองการซอสมะเขือเทศควรซื้อมะเขือเทศสด ๆ
มาเค่ียวทําเองจงึ จะไดข องแทแ ละมคี ุณคา ทางอาหารที่ตอ งการ
5. นํา้ สม สายชูปลอม ใชกรดอะซตี ดิ หรือกรดนํ้าสมแลว เติมนํ้าลงไปหรือใชหวั นํา้ สม เติมนาํ้
6. นาํ้ ปลา ใชห นงั หมหู รอื กระดูกหมู กระดูกววั และกระดูกควายนํามาตม แทนปลาโดยใสเกลือ
แตง สี กลิ่น รสของนํา้ ปลา แลวนาํ ออกจําหนา ยเปน นาํ้ ปลา
7. กาแฟและชา ใชเ มลด็ มะขามควั่ ผสมกบั ขา วโพดหรอื ขาวสารคั่วเปน กาแฟสําเร็จรูป สําหรับ
ชาใชใ บชาปนดว ยกากชา แลวใสส ลี งไปกลายเปน ชาผสมสี
8. ลูกช้ินเนื้อวัว ใชสารบอแรกซหรือที่เรียกกันวา นํ้าประสานทอง ผสมลงไปเพื่อใหลูกช้ิน
กรบุ กรอบ กรมวิทยาศาสตรการแพทยไดเคยเกบ็ ตวั อยางลกู ชน้ิ เนื้อววั จากรานจาํ หนายลูกชิน้ กรอบ 8 ราน
พบวา 7 ตวั อยาง ไดผ สมสารบอแรกซ ทําใหอ าหารไมบ ริสทุ ธิแ์ ละไมปลอดภยั แกผ บู รโิ ภค
9. นํ้ามันปรุงอาหาร สวนมากสกัดมาจากเมล็ดยางพาราแลวนําไปผสมกับนํ้ามันถั่ว น้ํามัน
มะพราว น้ํามันดังกลา วจึงเปน อาหารที่ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชบริโภค เพราะมีวัตถุท่ีอาจเปนอันตราย
แกสุขภาพเจอื ปนอยู
10. อาหารใสวัตถุกันเสีย มีอาหารหลายอยาง เชน นํ้าพริก น้ําซอส ขนมเม็ดขนุน ทองหยอด
ฝอยทอง รวมท้ังอาหารสาํ เรจ็ รปู บรรจุกลอ งไดใสวัตถกุ นั เสีย คอื กรดซาลซิ ลี ิก แอซิด (Salicylic Acid) ซงึ่
เปนอันตรายแกสขุ ภาพ วตั ถกุ ันเสียทีก่ ระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหผูผลติ อาหารทมี่ ีความจําเปนตองใช
ไดแ ก โซเดยี มเบนโซเอต (Sodium Benzoate) โดยใชผสมคิดเปน รอยละไมเ กิน 0.1 ของนาํ้ หนกั อาหาร
11. อาหารใสส ารกาํ จดั ศัตรพู ชื มีอาหารบางอยา งท่มี ผี ูนยิ มใสส ารกําจัดศตั รูพืชบางประเภท
เชน ดีดีทผี สมกับน้ําเกลอื แชปลา ใชท ําลายหนอนท่เี กิดขึน้ ในปลาเค็ม เพื่อเก็บรักษาปลาเคม็ ใหอยูไดนาน
ซ่งึ สารกําจัดศตั รูพืชเหลานี้ยอ มเปน อันตรายตอสุขภาพของผบู รโิ ภค
3. อันตรายจากอาหารไมบรสิ ุทธแิ์ ละอาหารปลอมปน
อาหารปลอมปนที่กลา วมาน้ี แมบางอยา งอาจไมม ีอันตรายแตจ ัดวา เปนการหลอกลวง บางอยางมี
อนั ตรายนอย บางอยางมอี นั ตรายมาก ทัง้ นยี้ อ มขน้ึ อยูกับสมบัติและปริมาณของส่ิงที่เจือปนหรือผสมเขา
ไปรวมทงั้ ปรมิ าณท่ีรางกายไดรับดวย ดวยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขจึงไดดําเนินการควบคุมเก่ียวกับ
เรื่องอาหาร และไดประกาศช้ีแจงใหประชาชนทราบถึงอันตรายเปนระยะ ๆ เก่ียวกับเรื่องอาหารไม
บรสิ ทุ ธิ์และอาหารปลอมปน ซ่ึงพอสรปุ ได ดงั นี้
1) อันตรายจากการใชสารบอแรกซผสมในอาหาร อาหารบางประเภท เชน ลกู ชนิ้ เนอื้ ววั
หมูยอ มักมีสว นผสมของสารบอแรกซอยู ถาบริโภคเปนประจําจะไดรับสารบอแรกซเขาไปมากซึ่งอาจ
เปน อนั ตรายตอรา งกายหรอื ถึงแกช ีวิตได
2) อันตรายจากการใชโซเดียมไซคลาเมต (Sodium Syclamate) หรือ ขัณฑสกรผสมใน
อาหาร โซเดียมไซคลาเมตท่ีใชผสมในอาหารหรือเคร่ืองดื่มเพ่ือใหความหวานแทนนํ้าตาลอาจทําให
ผูบรโิ ภคเปน โรคมะเรง็ ได
54
3) อันตรายจากพษิ ตกคา งของสารกําจัดศัตรูพืช สวนมากมักพบในผัก ผลไม และเน้ือสัตว
เน่ืองจากสารฆาแมลงที่ตกคางอยูในผัก ผลไมและเนื้อสัตวที่คนเราบริโภคเขาไปครั้งละนอย ๆ จะไม
แสดงอาการทนั ที แตถ ามขี นาดมากพอหรอื รับประทานตดิ ตอกันนาน ๆ จะมอี นั ตรายเพมิ่ มากขึ้น บางราย
อาจถึงกับเปนอมั พาต หรอื เปนอันตรายถงึ แกช วี ติ ได
4) อนั ตรายจากการใชโซเดยี มคารบอเนตผสมในอาหาร โซเดยี มคารบอเนตหรือโซดาซักผา
เมอ่ื นาํ ไปใชเปน สวนผสมเพ่ือทาํ ใหเ นอ้ื สดนมุ กอนที่จะนําไปปรุงเปนอาหารรับประทาน อาจกอใหเกิด
อนั ตรายได เพราะโซเดยี มคารบอเนตมฤี ทธ์กิ ัดเยอ่ื ออนของระบบทางเดนิ อาหารทําใหคล่ืนไส
อุจจาระรว ง อาเจียนและอาจรนุ แรงถึงแกช ีวิตไดถารบั ประทานตัง้ แต 30 กรมั ขึ้นไป
สรปุ
การสุขาภิบาลอาหารเปนการดําเนินการดวยวิธีการตาง ๆ ที่จัดการเกี่ยวกับอาหารในดานการ
ปรับปรุง การบํารุงรักษา และแกไขเพ่ือใหอาหารที่บริโภคเขาสูรางกายแลวมีผลดีตอสุขภาพ ท้ังน้ี
เน่ืองจากอาหารมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต โดยใชในการสรางพลังงาน ชวยใหรางกายเกิดความ
กระปก ระเปรา และชวยใหร า งกายมคี วามแขง็ แรงตานทานโรคภยั ตา งๆ สามารถดาํ เนนิ ชวี ติ ไดอยางปกติสขุ
อาหารแมจะมปี ระโยชนตอรางกายเปนอยางมาก แตถา อาหารนั้นสกปรก ปนเปอ นดวยเช้ือโรคหรือ
สารพิษก็ใหโทษตอรางกายได เชน โรคท่ีเกิดจากจุลินทรียปนเปอนในอาหาร โรคท่ีเกิดจากอาหารมี
หนอนพยาธิ และโรคท่เี กิดจากอาหารท่ีมีสารพิษหรือสารเคมี จะมสี ว นชวยลดการเกดิ โรคจากอาหารเปน
สื่อนาํ ได
เร่ืองที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกบั บคุ คลในครอบครวั
1. อาหารสาํ หรบั คนปกติ สารอาหารประเภทตางๆ มคี วามจําเปน ตอรา งกาย โปรตีน คารโบไฮเดรต
และไขมนั เปน สารอาหารทีใ่ หพ ลงั งาน และรางกายมคี วามตอ งการเปนปริมาณมาก สวนวิตามินและแรธาตุ
บางชนดิ ไมใ หพลังงานแตจาํ เปน สําหรบั การทํางานของระบบตา งๆ ในรางกายชว ยปองกนั โรคภัยไขเ จบ็
ทาํ ใหดาํ รงชีวิตอยไู ดอ ยา งมคี วามสขุ มนษุ ยแตละเพศแตละวัย แตละสภาพตองการพลังงานและสารอาหาร
ประเภทตา ง ๆ ในปรมิ าณไมเทา กนั ดงั น้นั ในการเลือกกนิ อาหาร จึงจะควรเลือกใหพอเหมาะกับเพศ วัยและ
สภาพของแตละบุคคลดวยเพอื่ รา งกายจะไดเ ติบโตอยางสมบูรณ
อยางไรก็ตาม อาหารที่คนเรารับประทานกันเปนประจํามีมากมายหลายชนิด แตละชนิด
ประกอบดวยสารอาหารตางประเภทในปริมาณมากนอยตางกัน โดยปกติในแตละวันรางกายของคนเรา
ตอ งการสารอาหารแตล ะประเภทในปรมิ าณตา งกนั ดงั ทแ่ี สดงในตาราง
55
ตารางแสดงปรมิ าณพลังงานและสารอาหารบางอยา งทคี่ นไทยวัยตา งๆ ตอ งการในหนง่ึ วนั
ประเภท อายุ (ป) นาํ้ หนัก (kg) พลงั งาน (kcal) โปรตีน (g) แรธาตุ (mg) วติ ามนิ (mg)
เดก็ แคลเซียม เหลก็ A B1 B2 C
เดก็ ชาย
เดก็ หญิง 7 – 9 20 1,900 24 50 4 1.4 0.8 1.0 20
ชาย 10 – 12 25 2,300 32 60 8 1.9 0.9 1.3 30
13 – 15 36 2,800 40 70 11 2.4 1.1 1.5 30
หญิง 16 – 19 50 3,300 45 60 11 2.5 1.3 1.8 30
หญงิ มคี รรภ 13 – 15 38 2,355 38 60 16 2.4 0.9 1.3 30
หญิงใหนมบุตร 16 – 19 46 2,200 37 50 16 2.5 1.9 1.2 30
20 – 29 54 2,550 54 50 6 2.5 1.0 1.4 30
30 – 39 2,450 54 50 6 2.5 1.0 1.4 30
40 – 49 2,350 54 50 6 2.5 0.9 1.3 30
50 – 59 2,200 54 50 6 2.5 0.9 1.3 30
60 – 69 2,000 54 50 6 2.5 0.8 1.1 30
70+ 1,750 54 50 6 2.5 0.7 1.0 30
20 – 29 1,800 47 40 16 2.5 0.7 1.0 30
30 – 39 1,700 47 40 16 2.5 0.7 0.9 30
40 – 49 1,650 47 40 16 2.5 0.7 0.9 30
50 – 59 1,550 47 40 6 2.5 0.9 0.8 30
60 – 69 1,450 47 40 6 2.5 0.6 0.8 30
70+ 1,250 47 40 6 2.5 0.5 0.7 30
+200 +20 100 26 2.5 0.8 1.1 505
+1,000 +40 120 26 4.0 1.1 1.5 0
อาหารที่เรารับประทานแตละวันน้ัน แตละประเภทใหปริมาณของสารอาหารและใหพลังงาน
แตกตางกัน ฉะน้ันในการเลือกรับประทานอาหารในแตละมื้อแตละวัน ควรเลือกรับประทานอาหาร
สลับกันไป เพ่ือใหรางกายไดรับสารอาหารเพียงพอและถูกสัดสวน ถารางกายไมไดรับสารอาหารตาม
ตอ งการ ทาํ ใหข าดสารอาหารบางอยางได
56
ตารางแสดงสว นประกอบของอาหารและคาพลังงานในอาหารบางชนิดตอมวล 100 กรัม
คา โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต เสน ใย แรธาตุ (mg) วติ ามิน (mg)
พลงั งาน (g) (g) (g) (g) A B1 B2 C
อาหาร (kcal) แคล ฟอส เหล็ก (IU) (mg) (gm) (mg)
เซียม ฟอรัส
ประเภทแปง 88 1.0 0 20.3 - 7 7 0.6 - ** ** 0
กว ยเตี๋ยว (สุก) 155 2.5 0.4 34.2 0.1 5 36 0.6 0 0.02 0.01 0
ขาวเจา (สกุ ) 355 7.0 0.3 81.1 0 12 46 1.3 0 0.06 0.03 0
ขาวเหนยี วขาว
ประเภทเมล็ดและ 316 14.4 26.3 11.4 1.3 45 178 1.5 25 0.56 0.12 5
ผลติ ภัณฑ
ถว่ั ลสิ ง (ตม) 130 11.0 5.7 10.8 1.6 73 179 2.7 30 0.21 0.09 0
ถว่ั เหลือง (สกุ )
มะพรา ว (น้ํากะท)ิ 259 4.6 28.2 1.7 0 11 132 1.4 0 0.05 0.02 1
ประเภทผัก
ตําลึง 28 4.1 0.4 4.2 1.0 126 30 4.6 18.0 0.17 0.13 48
ผกั คะนา 35 3.0 0.4 6.8 1.0 230 56 2.0 7 0.10 0.13 93
มะละกอดบิ 26 1.0 0.1 6.2 0.9 38 20 0.3 5 0.02 0.03 40
ผกั บุง ไทย (ตน แดง) 30 3.2 0.9 2.2 1.3 30 45 1.2 25 0.08 0.09 -
ประเภทผลไม
กลว ยนํา้ วา (สกุ ) 100 1.2 0.3 26.1 0.6 12 32 0.8 - 0.03 0.04 14
แตงโม 21 0.3 0.2 4.9 0.2 8 10 0.2 375 0.03 0.03 6
ฝร่งั 51 0.9 0.1 11.6 6.0 13 25 0.5 233 0.06 0.13 160
มะมว ง (สกุ ) 62 0.06 0.3 15.9 0.5 10 15 0.3 89 0.06 0.05 36
สม เขียวหวาน 44 0.6 0.2 9.9 0.2 31 18 0.8 3,133 0.04 0.05 18
ประเภทเน้ือสัตว 4,000
เนอื้ ไก 302 18.0 25.0 0 0 14 200 1.5 809 0.08 0.16 -
เนื้อหมู (ไมมีมัน) 376 14.1 35.0 0 0 8 151 2.1 - 0.69 0.16 -
ปลาทู 93 21.5 0.6 0.6 0 42 207 1.5 - 0.14 0.18 0
ไขไ ก 163 12.9 11.5 0.8 0 61 222 3.2 1,950 0.10 0.40 0
นมถั่วเหลอื ง(ไมหวาน) 37 2.8 1.5 3.6 0.1 18 96 1.2 50 0.05 0.02 0
นมววั 62 3.4 3.2 4.9 0 118 99 0.1 141 0.04 0.16 1
2. อาหารสําหรับเด็กวัยกอ นเรยี น
เด็กกอ นวยั เรียนควรไดร ับอาหารใหครบทกุ กลมุ คือ ขาว ผกั ผลไม เน้ือสัตวและนม ซ่งึ ในแต
ละกลุมควรฝกใหเด็กกินไดหลายชนิด ไมควรเลือกเฉพาะอยาง การประกอบอาหารควรคํานึงถึงความ
สะอาดและตองเปนอาหารท่ียอยงาย ถาอาหารแข็งหรือเหนียวจนเคี้ยวยาก ควรจะสับหรือตมใหเปอย
57
และทสี่ าํ คัญควรใหเด็กกนิ นา้ํ สวนท่เี หลือจากการตม เน้อื หรอื ผกั ดวย เพราะจะไดรับวิตามนิ และแรธาตทุ ีม่ ี
อยู ซ่งึ ถา เปน เด็กเลก็ อาจใชเปนผกั ตมและน้าํ ผลไมก อน เม่ือเด็กโตข้ึนจึงใหเปนผักและผลไมสดปริมาณ
อาหารทเี่ ด็กกอนวยั เรยี นควรไดรบั ในวนั หน่ึงก็คือ ขา ว หรอื ธญั พชื อ่ืน ๆ 4 – 5 ทัพพี ไข 1 ฟอง,
ผกั ใบเขียวและผักอน่ื ๆ 2 – 3 ทัพพี หรอื อาจเปน 1/2 – 1 ทพั พีในแตละมื้อ, ผลไม 2 – 3 ชิ้น เชน กลวย 1
ผล มะละกอสกุ 1 เสี้ยว, เนอ้ื สัตว 5 – 6 ชอนแกง ควรจะกินไข 1 ฟอง และกินเนื้อสัตวอ่ืน ๆ 3 – 4 ชอน
แกง และควรด่ืมนมเปน ประจาํ วัน หลกั ใหญ ๆ กค็ ือควรจะจัดอาหารใหม กี ารหมนุ เวียนกันหลายชนดิ ดงั ที่
กลาวมาแลว และเสริมดวยตับสัปดาหละหนึ่งคร้ัง เตรียมอาหารใหปริมาณพอเหมาะ รสไมจัดและเคี้ยว
งาย หลกี เล่ียงของขบเค้ียว ขนมหวานจัด ลูกอม น้ําอัดลม และอาหารไขมันสูงมาก ๆ ใหเด็กไดกินรวม
โตะ กับผใู หญ ระหวา งกนิ ไมควรดเุ ด็กหรือบังคบั ใหเ ดก็ กนิ อาหาร เพราะจะทําใหมีปญหาตอไป หากเด็ก
เพ่ิงไปเลนมาไมค วรใหก นิ ทนั ที ควรใหพกั อยา งนอ ย 15 นาทกี อนจงึ จะคอ ยกนิ อาหาร
3. อาหารสําหรบั ผสู งู อายุ
การจัดอาหารใหผูสูงอายุ ควรคํานึงถึงผูสูงอายุเปนรายบุคคล เพราะผูสูงอายุแตละบุคคล
อาจจะชอบอาหารไมเ หมือนกัน บางครง้ั ไมจําเปนวา ทกุ มือ้ จะตองไดรบั สารอาหารครบทุกประเภทอยูใน
ม้ือเดยี ว
1) ในการจดั อาหารนอี้ าจจะตองแบงอาหารใหเปนอาหารม้ือยอย 4 – 5 มื้อ เพื่อลดปญหาการ
แนน ทอ ง
2) อาหารท่ีจัดควรจะเปนอาหารออน ยอยงาย รสไมจัด ถาเปนผักควรจะห่ันเปนชิ้นเล็ก ๆ
นงึ่ หรือวาตมใหน ่มิ
3) พยายามหลีกเลี่ยงอาหารท่ีทาํ ใหเกิดแกส หรือทองอืด เชน ถ่วั บางประเภท เปน ตน
4) อาหารควรเปน อาหารทมี่ คี ณุ ภาพ เชน คารโบไฮเดรตในรูปเชงิ ชอน คอื ไมไ ดผานขบวนการ
ขัดสีและโปรตนี จากปลา เปนตน
5) เนนใหใ ชว ิธกี ารน่ึงมากกวาทอด เพือ่ ลดปรมิ าณไขมันท่ีรา งกายจะไดร บั เกนิ เขา ไป
6) อาหารเสรมิ ทแ่ี นะนาํ ควรเสริมผกั และผลไมใหมากขึ้น เชน ตําลึง ผักบุง คะนา มะเขือเทศ
สมเขยี วหวาน กลวยสกุ มะละกอสกุ เปน ตน จะชวยเพม่ิ ใหผ สู งู อายไุ ดร ับกากใย ชว ยใหระบบขับถา ยดี
7) พยายามกระตุนใหผ สู งู อายุไดท ํากจิ กรรม การไดออกกําลังกาย จะทําใหความอยากอาหาร
เพิม่ ข้นึ
8) การดแู ลทางดา นจิตใจ การใหความเอาใจใสกับผูสูงอายุสม่ําเสมอ ไมปลอยใหทานรูสึกวา
ถกู ทอดทิ้ง หรอื ทา นรสู กึ วาทานหมดความสาํ คัญกับครอบครวั
9) การจดั อาหารใหมสี สี นั นากิน โดยพยายามใชส ีที่เปนธรรมชาติ ปรุงแตงใหอาหารมีหนาตา
นารบั ประทาน อาหารท่ีจดั ใหควรจะอนุ หรือรอนพอสมควร เพ่ือเพ่ิมความอยากอาหารใหมาก
10) ไมค วรใหผ สู ูงอายุรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด จะเกิดอาการปวดมวนทอง หรือทานแลว
เกิดความรูสกึ ไมสบายตัว อาจจะทําใหเกดิ ผลเสียตอทางเดนิ อาหารได
58
สรุปวัยสูงอายุ เร่ืองอาหารเปนเร่ืองที่สําคัญ เราถือวาอาหารเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหผูสูงอายุมี
สขุ ภาพดี เพราะฉะนั้นลกู หลานหรือผดู แู ล หรือแมแตตัวผูสูงอายุเอง ควรเขาใจในการเลือกรับประทาน
อาหารทม่ี ีประโยชนต อ รา งกาย การบริโภคอาหารที่ดเี พือ่ สงเสรมิ สขุ ภาพ เราควรจะตองเตรยี มตวั ตง้ั แตวยั
หนุมสาว เพ่ือเปน ผูส ูงอายุท่ีมีสุขภาพดตี อไป
4. อาหารสาํ หรับผูปว ย
อาหารสําหรับผูปวย คนเราเม่ือเจ็บปวยยอมจะตองดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะ
เรอ่ื งอาหารเปน พิเศษ ผปู วยมลี กั ษณะการเจบ็ ปวยท่แี ตกตา งกัน ยอมตองการบริโภคอาหารที่แตกตางกัน
ดังน้ี
อาหารธรรมดา สําหรับผูปวยธรรมดาที่ไมไดเปนโรครายแรงท่ีตองรับประทานอาหาร
เฉพาะจะเปนอาหารทมี่ ลี กั ษณะและสวนประกอบเชนเดียวกับอาหารปกติ เปนอาหารหลัก 5 หมู ใหได
สารอาหารเพยี งพอกบั ความตอ งการของรา งกาย
อาหารออ น เปน อาหารสาํ หรับผปู ว ยทไี่ มส ามารถเค้ียวไดตามปกติ ผูปวยภายหลังการ
พักฟน หรือผูปวยที่เปนโรคเก่ียวกับทางเดินอาหารอยางเฉียบพลัน เชน ทองรวง บิด เปนตน อาหาร
ประเภทนีจ้ ะเปน อาหารทมี่ เี นื้อนิ่ม มีรสออน ยอยงาย ไมมีกากแข็งหยาบ ไมมันจัด เชน นม ครีม ไขทุก
ชนิดท่ไี มใ ชวิธที อด ปลาน่งึ หรอื ยาง เนอ้ื บด ไกต มหรอื ตนุ ซปุ ใส แกงจดื ผกั ทมี่ ีกากนอ ยและไมม ีกลนิ่ ฉุน
ตม สุกบดละเอียด น้ําผลไมค ้ัน กลว ยสุก เปน ตน
อาหารเหลว เปนอาหารสําหรับผูปวยท่ีพักฟนหลังผาตัดและผูปวยที่เปนโรคเก่ียวกับ
กระเพาะอาหารและลําไส เปน อาหารท่ยี อยงาย ไมม กี าก มี 2 ชนิด คอื
(1) อาหารเหลว เชน นํ้าชาใสมะนาวและนํ้าตาล กาแฟใสน ํ้าตาล ซุปใสท่ีไมม ีไขมนั
นํ้าขาวใส สารละลายน้ําตาลหรือกลูโคส เปนตน ซึ่งจะใหกินทีละนอยทุก 1 – 2 ชั่วโมง เม่ือผูปวยกิน
ไดมากขึ้นจึงคอ ยเพิม่ ปรมิ าณ
(2) อาหารเหลวขน เปน ของเหลวหรือละลายเปนของเหลว เชน น้ําขาวขน ขาวบดหรือเปยก
ซุป นมทกุ ชนดิ เครอ่ื งดืม่ ผสมนม นาํ้ ผลไม นํา้ ตมผกั ไอศกรมี ตับบดผสมซปุ เปนตน
อาหารพิเศษเฉพาะโรค เปนอาหารท่ีจัดขึ้นตามคําส่ังแพทย สําหรับโรคบางชนิดท่ีตอง
ระมัดระวงั หรอื ควบคมุ อาหารเปนพเิ ศษ เชน อาหารจาํ กัดโปรตนี สําหรับผปู ว ยโรคตบั บางอยา งและ
โรคไตเรือ้ รัง อาหารกากนอยสําหรับผูปวยอุจจาระรวงรุนแรง อาหารกากมากสําหรับผูท่ีลําไสใหญไม
ทาํ งาน อาหารแคลอรีต่าํ สาํ หรับผูป วยโรคเบาหวาน อาหารโปรตนี สงู สาํ หรบั ผูปว ยที่ขาดโปรตนี หรอื หลัง
ผา ตดั อาหารจาํ พวกโซเดยี มสําหรับผูปว ยโรคหวั ใจ
การจดั การอาหารสาํ หรบั ผูป ว ยโรคเบาหวาน
1. ทานอาหารใหตรงเวลาและทานครบทกุ มือ้ ในปรมิ าณใกลเ คยี งกนั ไมทานจุกจกิ
2. อาหารที่ควรงด ไดแ ก ขนมหวาน ขนมเช่ือม นํา้ หวาน นาํ้ อดั ลม นมหวาน เหลา เบียร ผลไม
ท่มี ีรสหวานจัด ผลไมกระปอง ผลไมเชอื่ ม ผลไมแ ชอ ิม่ เปน ตน
59
3. อาหารทีค่ วรควบคุมปริมาณ ไดแก อาหารพวกแปง เชน ขาว ขนมปง ขนมจีบ สวนผักท่ีมี
นาํ้ ตาลและแปง เชน ฟก ทองหรอื พวกผลไมท มี่ รี สหวาน เชน ทุเรียน ลาํ ไย เปน ตน
4. อาหารที่ควรรบั ประทาน ไดแ ก โปรตีน เชน ไก, ปู, ปลา, กุง, เน้ือ, หมู และโปรตีนจากพืช
เชน ถว่ั , เตา หู นอกจากน้ี ควรรับประทานอาหารท่ีมีกากใยมาก ๆ เชน ขาวซอมมือ, ถั่วฝกยาว, ถ่ัวแขก
ตลอดจนผกั ทกุ ชนดิ ในคนไขเ บาหวานท่อี ว นมาก ๆ ควรงดอาหารทอด ลดไขมันจากสัตวแ ละพชื
บางชนิด เชน กะท,ิ น้าํ มนั มะพราว, นาํ้ มนั ปาลม
การจัดการอาหารสาํ หรบั ผูปวยไตวายเร้อื รัง
1. ควรไดร บั อาหารประเภทโปรตีนตาํ่ 40 กรัมโปรตนี ตอวัน รว มกบั เสริมกรดอะมโิ น
จาํ เปน 9 ชนดิ หรอื อาหารโปรตนี สงู 60 – 75 กรัมโปรตนี ตอ วนั
2. พยายามใชไขขาวและปลาเปน แหลง อาหารโปรตีน
3. หลกี เลยี่ งเครื่องในสตั ว
4. หลกี เลี่ยงไขมนั สตั ว และกะทิ
5. งดอาหารเคม็ จํากัดน้ํา
6. งดผลไม ยกเวน เชา วันฟอกเลอื ด
7. งดอาหารท่ีมีฟอสเฟตสูง เชน เมลด็ พืช นมสด เนย ไขแ ดง
การจัดอาหารสาํ หรับผูปวยโรคมะเรง็
เน่ืองจากมะเร็งเปนเน้ืองอกรายที่เกิดในเน้ือเยื่อหรือเซลลของอวัยวะตาง ๆ อาการท่ีเกิดขึ้น
โดยท่วั ๆ ไปคอื จะเบือ่ อาหารและนา้ํ หนักตวั ลด แตถ า เกิดขน้ึ ในหลอดอาหาร กระเพาะ หรือลําไส ก็จะมี
ปญหาในการกินไดมากกวามะเรง็ ในอวยั วะอื่น ๆ เมื่อไดรับการวินิจฉัยแลว ผูปวยควรรับการรักษาจาก
แพทยท ่ชี ํานาญดา นมะเร็งและควรปรับจิตใจใหยอมรับวาตองการเวลาในการรักษา ซ่ึงอาจใชเวลานาน
และตอเนือ่ ง การกินอาหารท่ีถกู ตองจะชว ยเสริมการรักษามะเรง็ และทาํ ใหภาวะโภชนาการท่ีดี ถาระบบ
ทางเดนิ อาหารเปน ปกติ ควรเนน การกนิ ขา วซอ มมอื เปนประจํา ควบคกู ับการกนิ ปลา และพชื ผักผลไมเปน
ประจํา โดยเฉพาะอยางย่ิงมะเขือเทศ ผักสีเขียว มะละกอสุก ฝรั่ง เปนตน เพิ่มการกินอาหารที่มาจากถ่ัว
โดยเฉพาะถ่ัวเหลอื ง เชน ถ่วั งอกหัวโต เตา หูข าวและนมถัว่ เหลือง เปนตน ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีไขมัน
อาหารผดั ทอด การปรุงอาหารควรเนน การตม ตนุ หรอื นงึ่ ในกรณีท่ีผูปว ยมะเร็งไมสามารถกินอาหารได
อยา งปกติ อาจจะตองใชอาหารทางการแพทยหรืออาหารท่ีตองใหทางสายยาง ในกรณีเชนนี้ผูปวยหรือ
ญาติควรปรึกษาแพทยหรือนักกําหนดอาหาร เพื่อทําความเขาใจ ศึกษาเอกสารเพื่อใหเขาใจย่ิงข้ึน
จะไดนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดอยา งเหมาะสมตอ ไป ผปู วยมะเรง็ ควรจะตดิ ตามและประเมินผลการรักษา ชง่ั นํา้ หนกั
ตวั เปน ระยะ ถา นา้ํ หนกั ตัวหรอื เปลีย่ นแปลงไมม ากนักแสดงวาไดพ ลังงานเพยี งพอ
5. อาหารสําหรบั ผทู อ่ี อกกําลงั กาย
คนท่อี อกกําลงั กายโดยปกติตอ งใชพ ลงั งานจากรา งกายมาก จึงตองการอาหารท่ีใหพลังงาน
มากกวาปกติ ดงั นนั้ ผทู ีอ่ อกกาํ ลงั กายจึงควรรับประทานอาหารใหเ หมาะสม ดงั นี้
60
1. อาหารกอนออกกาํ ลงั กาย กอ นออกกําลังกายคนเราไมควรรับประทานอาหารเพราะจะทําให
เกิดอาการจกุ เสียด แนนและไมสามารถออกกําลังกายไดต ามแผนที่วางไว กอนการออกกําลังกายควรให
อาหารยอ ยหมดไปกอน ดงั นนั้ อาหารม้อื หลกั ทร่ี บั ประทานควรรบั ประทานกอนการออกกําลังกาย 3 – 4
ชัว่ โมง อาหารวา งควรรบั ประทานกอนออกกาํ ลังกาย 1 – 2 ชั่วโมง อาหารทร่ี บั ประทานควรเปนอาหารท่ี
มีไขมันตํ่า และมีโปรตีนไมมากนัก มีคารโบไฮเดรตคอนขางสูง นอกจากนั้น ควรหลีกเลี่ยงการ
รบั ประทานอาหารทที่ ําใหเ กิดแกส ในกระเพาะอาหาร เชน ของหมักดอง อาหารรสจัด เปนตน
2. อาหารระหวางการออกกําลังกาย ปกติในระหวางการออกกําลังกาย รางกายจะขับเหง่ือ
เพื่อระบายความรอนและของเสียออกจากรางกาย ผูท่ีออกกําลังกายควรด่ืมนํ้าหรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีเกลือแร
เพือ่ ทดแทนนา้ํ และเกลือแรท่ีสูญเสยี ไปในระหวา งออกกําลังกาย และไมรับประทานอาหาร เพราะจะทํา
ใหเ กดิ อาการจดุ เสยี ด แนน และอาหารไมยอ ย ซึ่งเปนอุปสรรคในการออกกาํ ลงั กาย
3. อาหารหลังการออกกําลังกาย การออกกําลังกายจะทําใหคนเราสูญเสียพลังงานไป
ตามระยะเวลาและวิธีการออกกําลังกาย หลังการออกกําลังกายจึงควรรับประทานอาหารท่ีใหพลังงาน
เพ่ือชดเชยพลังงานท่ีสูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภทตองการสารอาหารเพ่ือชดเชยพลังงาน
ที่สูญเสียไปและสรางเสริมพลังงานท่ีจะใชในการออกกําลังกายในครั้งตอไปดวย จึงตองรับประทาน
อาหารท่มี ีสารอาหารเหมาะสมในปรมิ าณทเี่ พยี งพอ
4. นํ้า นอกจากอาหารหลัก 5 หมู ท่ีควรรับประทานอาหารใหเหมาะสมท้ังกอน ระหวางและ
หลงั การออกกาํ ลงั กายที่เหมาะสมแลว นํ้าเปนสิ่งที่สําคัญอยางมาก เพราะนํ้าจะชวยใหระบบการขับถาย
ของรางกายเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและการออกกําลังกายนั้นจะตองมีการสูญเสียนํ้าในปริมาณมาก
จึงจําเปนตอ งด่ืมน้ําใหเพียงพอ เพ่ือใหสามารถชดเชยกับน้ําท่ีสูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภท
ตอ งดมื่ นํ้าในระหวา งออกกาํ ลังกายดว ย
สรปุ
การทคี่ นเราจะมสี ุขภาพรา งกายสมบูรณ แขง็ แรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บนัน้ ข้ึนอยกู บั องคป ระกอบ
สําคัญ ไดแก การเลือกบริโภคอาหารท่ีมีคุณภาพ สด สะอาดปราศจากสารปนเปอนและควรรับประทาน
อาหารใหหลากหลาย แตครบท้ัง 5 หมู ตามหลักโภชนาการ นอกจากนี้ บุคคลยังมีความแตกตางท้ังดานวัย
และสภาพรางกาย ดังนั้น จึงจําเปนตองเลือกบริโภคอาหารใหเหมาะสมและมีสัดสวนพอเหมาะกับความ
ตอ งการของรา งกาย เพ่อื ใหไ ดสารอาหารครบถวน นําไปใชอ ยางเพยี งพอไมม ากหรือนอยเกินไป ซึ่งจะทําให
ดาํ รงชีวิตอยา งมสี ขุ ภาพดีและมคี วามสุข
61
กจิ กรรม
1. แบงผเู รยี นออกเปน กลุม ๆ ละ 5 คน ทํา my mapping ตามความเขาใจ พรอมท้ังรายงานใหเพื่อนฟง/ดูตาม
หวั ขอตอไปนี้
กลมุ ท่ี 1 สารอาหารทําหนา ท่อี ะไรบาง
กลมุ ท่ี 2โรคจากโปรตนี และแคลอรีมีอาการอยา งไร
กลุมท่ี 3 โรคขาดธาตุไอโอดนี มีอาการอยางไร
กลมุ ท่ี 4 โรคขาดวติ ามนิ ซี มีผลอยา งไรกับรางกาย
2. ใหน กั ศกึ ษาเขยี นเมนอู าหารสําหรบั บุคคล ดงั นี้ แลว รายงานหนาชน้ั เรยี น
เมนูอาหารสาํ หรับเด็กกอ นวยั เรียนทั้ง 3 ม้ือ เปนเวลา 3 วนั
เมนอู าหารสาํ หรับผูชรา ทั้ง 3 มื้อ เปนเวลา 3 วัน
เขียนเมนูอาหารสาํ หรับผูปวยโรคเบาหวานทัง้ 3 มื้อ เปนเวลา 3 วัน
62
บทที่ 4
การเสรมิ สรา งสขุ ภาพ
สาระสาํ คัญ
มีความรูใ นเร่ืองการวางแผนพฒั นาและเสริมสรางสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจนรวม
กจิ กรรมเสริมสรางสุขภาพของชุมชนอยางสม่ําเสมอ และสามารถบอกถึงหลักการและรูปแบบของวิธีการ
ออกกาํ ลงั กายของตนเอง ผูอืน่ และชมุ ชนไดอยา งถกู ตอ งเหมาะสม
ผลการเรียนรูที่คาดหวงั
1. เรียนรูวธิ กี ารวางแผนพฒั นาเสรมิ สรางสุขภาพตนเองและครอบครวั
2. อธิบายหลกั การจดั โปรแกรมการออกกาํ ลังกายสาํ หรับตนเอง และผูอื่นไดถูกตองเหมาะสมกับ
บุคคลและวัยตางๆ
ขอบขา ยเนื้อหา
เร่อื งท่ี 1 การรวมกลมุ เพื่อเสริมสรา งสขุ ภาพในชมุ ชน
เรื่องท่ี 2 การออกกําลังกายเพอื่ สุขภาพ
63
เรื่องท่ี 1 การรวมกลุมเพื่อเสริมสรางสุขภาพในชุมชน
1.1 ความหมายของสขุ ภาพ
มนุษยเกิดมายอมปรารถนาท่ีจะมีชีวิตอยูอยางมีความสุข ความสุขของมนุษยยอมข้ึนอยูกับ
องคป ระกอบตาง ๆ หลายประการ ที่สําคัญคือสภาพความสมบูรณของรางกายและจิตใจ หรือการมีสุขภาพ
กายและสขุ ภาพจิตท่ดี ีน่นั เอง เม่อื มนุษยม รี างกายและจิตใจสมบูรณ จะทําใหมีความสามารถในการปรับตัว
มีความเช่อื มั่นในตนเอง ไรความกงั วล ไมม คี วามเครียด และไมมีความขัดแยงภายใน สามารถใชชีวิตอยูใน
สังคมรวมกับผูอ่ืนได สามารถกระทําตนเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม และมีสมรรถภาพในการทํางาน ดังนั้น
ความหมายของคําวา สุขภาพ (Health) ขององคการอนามัยโลก คือ ภาวะแหงความสมบูรณของรางกาย
จิตใจ และสามารถอยูใ นสงั คมไดอยา งเปน สขุ มิใชเพยี งความปราศจากโรคและความพกิ ารเทา นัน้
1.2 ความสาํ คัญของสุขภาพ
สุขภาพมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษยเปนอยางย่ิง เพราะความสุขหรือความทุกขของ
มนษุ ยข น้ึ อยกู บั สุขภาพเปน สาํ คญั ความสาํ คญั ของสขุ ภาพสรุปไดเปน 3 ระดับ ดังน้ี
1) ความสาํ คัญตอ ตนเอง บคุ คลจะมีความสขุ หรอื ความทุกขย อมข้ึนอยูก ับสขุ ภาพเปนสําคัญ หากมี
สุขภาพกายดี คือมรี า งกายสมบูรณแขง็ แรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียนและมีสุขภาพจิตท่ีดี คือไมคิดอิจฉาริษยา
หรืออาฆาตมาดรายตอผูอ่ืน ผูนั้นยอมมีแตความสุขในทางตรงกันขาม หากสุขภาพกายไมดี คือรางกายไม
แขง็ แรง เจ็บไขไดปวยเปนประจําและมีสุขภาพจิตไมดี คือจิตใจฟุงซานไมมีท่ีสิ้นสุด มีความริษยาอาฆาต
มาดรา ยผอู ่นื ผนู ัน้ จะมีแตความทกุ ข สขุ ภาพกายและจติ จะเสอื่ มโทรม หาความสุขในชีวิตไมได
2) ความสําคญั ตอครอบครวั สุขภาพมสี วนสาํ คญั ในการสรางความสําเร็จหรือความลมเหลวใหแก
ครอบครัว เพราะครอบครัวยอมประกอบดวยสมาชิกท่ีเปนพ้ืนฐานสําคัญคือ พอ แม ลูก การที่พอแมลูกมี
สุขภาพกายและจติ ท่ีดยี อ มทําใหครอบครัวมีความสุข ในทางกลับกันหากสมาชิกในครอบครัวมีปญหาทาง
สุขภาพกายหรอื สขุ ภาพจิต ความลมเหลวในชวี ิตครอบครวั ยอมจะเกดิ ขึน้ ได
3) ความสาํ คัญตอสังคมในสงั คมหน่งึ ๆประกอบดว ยสมาชิกจาํ นวนมาก แตล ะคนมีความแตกตางกัน
ทัง้ ทางดานรางกายและจติ ใจ ซง่ึ จะทาํ ใหเ กิดปญหาตา ง ๆ ตามมาอยา งมากมายทั้งปญ หาทเี่ กดิ จากสุขภาพทาง
กายและสขุ ภาพทางจิต อาจเกิดอาการเจ็บไขไดปวย เชน โรคที่เกิดจากความอวนจนเกินไป โรคที่เกิดจาก
ความเครยี ดเพราะสภาพปญ หาทางสังคม เปนตน
1.3 ลักษณะของผทู ่ีมีสขุ ภาพและจติ ทีด่ ี
ผูท ี่มีสขุ ภาพทด่ี จี ะตอ งมีท้ังสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตดี จึงจะสามารถดํารงชวี ิตอยใู นสังคมไดอยาง
มคี วามสุข
คนที่มีสุขภาพกายดี หมายถึง คนที่มีรางกาย ท้ังอวัยวะตาง ๆ และระบบการทํางานอยูในสภาพที่
สมบรู ณ แขง็ แรง และสามารถทํางานไดอยางมปี ระสิทธภิ าพเปนปกติ
64
คนที่มสี ขุ ภาพดีจะมีลักษณะ ดงั น้ี
1. มีรา งกายท่สี มบรู ณ แขง็ แรง สามารถทรงตัวไดอยางม่ันคงและเคลอื่ นไหวไดอ ยางคลองแคลว
2. สามารถทํากจิ กรรมตาง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพไมเ หน่อื ยเร็ว
3. อวยั วะและระบบทกุ สวนของรางกายสมบูรณ แข็งแรงและทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเปน
ปกติ
4. อัตราการเจรญิ เตบิ โตของสว นตาง ๆ ในรา งกายเปนไปตามวยั อยางเหมาะสม
5. ปราศจากโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ และไมมีโรคประจําตัว
6. สามารถพักผอนไดอยางเตม็ ทแ่ี ละมหี นาตาสดชน่ื แจมใส
คนทม่ี สี ขุ ภาพจิตดี หมายถงึ คนท่สี ามารถปรับตัวเขา กบั สิง่ แวดลอมได สามารถควบคุมอารมณ
ทําจติ ใจใหเ บิกบานแจม ใสและสามารถอยใู นสังคมไดอยา งมีความสขุ
คนทีม่ สี ุขภาพจิตดีจะมีลักษณะ ดงั น้ี
1. สามารถปรับตัวเขากับสังคมและส่ิงแวดลอมได ไมวาจะอยูในสภาพแวดลอมใด เชน ที่บาน
ทีโ่ รงเรยี น ทท่ี าํ งาน เปนตน
2. มคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง มีความคิดที่เปนอิสระกลาตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผล ยอมรับ
ฟง ความคิดเหน็ ของคนอืน่ ไมด้อื ร้ันและพรอ มท่ีจะเผชิญกบั ผลทีจ่ ะตามมา
3. สามารถเผชิญกับความเปนจริง โดยแสดงออกไดอยางเหมาะสม ไมวาจะประสบความสําเร็จ
หรอื ลม เหลว
4. สามารถควบคุมอารมณไดดี ไมแ สดงความโกรธ เกลียดหรือรกั เสยี ใจ ผดิ หวัง จนมากเกินไป
5. รูจักรักผูอ่ืนที่อยูใกลชิดหรือผูที่รูจัก ไมใชรักแตตัวเอง มีความปรารถนาและยินดีที่ผูอ่ืนมี
ความสขุ และประสบความสาํ เรจ็
6. มคี วามสุขในการทาํ งานดว ยความตัง้ ใจ ไมย อ ทอและไมเ ปลี่ยนงานบอ ย ๆ
7. มีความกระตือรือรน มคี วามหวังในชีวติ สามารถทนรอคอยในสิง่ ทม่ี ุงหวงั ได
8. มองโลกในแงดี ไมหวาดระแวงและพอใจในสภาพของตนเองท่ีเปน อยู
9. มอี ารมณขนั หาความสขุ ไดจากทุกเร่อื ง ไมเครียดจนเกินไป สามารถพักผอนสมองและอารมณ
ไดเ หมาะสมกบั เวลาและโอกาส
10. รูจ ักผอ นคลายโดยการพกั ผอนในเวลา สถานทีแ่ ละโอกาสทเี่ หมาะสม
1.4 หลักการดูแลรกั ษาสขุ ภาพและสขุ ภาพจติ
การทีบ่ ุคคลจะมสี ุขภาพทางกายและสขุ ภาพทางจิตดี และเปนทรัพยากรทีม่ คี าของสังคมนั้น จะตอง
มคี วามรแู ละสามารถปฏิบัติตามหลกั สุขภาพอนามัยไดอยางถกู ตอง
65
หลกั การดแู ลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีดงั นี้
1. มพี ฤตกิ รรมการบริโภคท่ดี ี โดยการรบั ประทานอาหารท่ีสะอาด ถกู หลกั อนามัย มีประโยชนตอ
รางกายและใหส ารอาหารครบถว น โดยควรรับประทานผลไมแ ละผกั สดทุกวัน ดื่มนา้ํ ท่สี ะอาดใหเพียงพอใน
แตละวนั ซ่งึ ควรดม่ื นาํ้ อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว ไมค วรด่ืมนํา้ ชา กาแฟ หรอื เสพสารเสพติดประเภทตา ง ๆ
2. รูจักออกกําลังกายใหเ หมาะสม การออกกาํ ลงั กายจะชว ยใหอวยั วะและระบบตาง ๆ ของรางกาย
ทาํ งานไดอ ยา งเต็มประสทิ ธภิ าพ และชวยเสรมิ สรางความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย จึงควรออกกําลัง
กายทุกวัน อยางนอยวันละ 30 นาที การเลือกประเภทของการออกกําลังกายตองคํานึงถึงสภาพรางกาย
วัย สถานทแี่ ละความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของแตละบุคคลดว ย
3. รูจักรักษาความสะอาดของรางกายใหเหมาะสม แตละบุคคลจะมีภารกิจในการทํากิจกรรม
เพ่ือการดาํ รงชีวิตแตกตา งกันและระบบขับถา ยจะขับถายของเสยี ออกจากรา งกายตามอวัยวะตางๆ หากไมทํา
ความสะอาดจะทาํ ใหเกดิ ของเสยี ตางๆ หมักหมมอยแู ละเปนบอเกดิ ของโรคภัยไขเจบ็ ตางๆ ได ดังน้ัน ทุกคน
จึงควรทําความสะอาดรางกาย โดยอาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง แปรงฟนอยางนอยวันละ 2 คร้ัง สระผม
อยา งนอ ยสัปดาหละ 2 คร้ัง ตัดเล็บมอื เลบ็ เทา ใหสนั้ เสมอ สวมใสเ สอื้ ผา ท่สี ะอาด
4. ขับถายใหเหมาะสมและเปนเวลา ทุกคนควรถายอุจจาระใหเปนเวลา วันละ 1 ครั้ง อยากล้ัน
อุจจาระหรือปส สาวะ เพราะจะทาํ ใหข องเสียหมักหมมและเปนอันตรายตอระบบขับถายได เชน อาจจะเปน
โรครดิ สีดวงทวาร โรคทองผูก หรือโรคทางเดนิ ปสสาวะอักเสบ/เบาขดั ได เปนตน
5. พกั ผอนใหเ พียงพอ การพกั ผอ นจะชว ยใหรูสึกผอนคลาย อวัยวะและระบบตางๆ ในรางกายมี
เวลาพักเพื่อจะเร่ิมทําหนาที่ในวันตอไปอยางสดช่ืน นอกจากรางกายจะไดพักผอนแลวยังทําใหสมองได
พักผอ นอกี ดวย
6. ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม ในชีวิตประจําวันแตละบุคคลตองพบปะกับผูคนมากหนา
หลายตา ท้ังทีบ่ าน ทท่ี ํางาน ท่ีโรงเรียนและสถานท่ีราชการตางๆ การท่ีจะดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปน
ปกติสุข บุคคลยอมตองเขาใจและยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล สามารถลดความขัดแยงตาง ๆ ได
ใหค วามเห็นอกเหน็ ใจและเออ้ื อาทรตอ ผูอ ่นื
7. ใชบริการสุขภาพตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม หากเกิดเจ็บปวย บุคคลตองรูจักใชบริการทาง
การแพทยท่เี หมาะสม เพื่อไมใ หค วามเจบ็ ปวยลกุ ลามมากย่ิงขึ้น นอกจากการใชบริการทางสุขภาพเพ่ือรักษา
โรคแลว ยงั สามารถใชบริการทางสขุ ภาพเพอื่ ปอ งกันโรคไดโ ดยการตรวจรา งกายเปนระยะๆ อยางสมํ่าเสมอ
ตามความเหมาะสมกับสภาพรา งกายและวยั
กจิ กรรม
ใหนักศึกษาสํารวจตัวเองดูวาเปนคนท่ีมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีหรือไม มีสวนใดที่จะตอง
ปรับปรงุ แกไ ข และควรทาํ อยางไร โดยใหเขียนตอบ แลว ออกมาอภิปรายใหเพ่อื นไดรับฟง เพือ่ รว มกนั แกไข
ปรับปรงุ แนะนํา
66
1.5 การรวมกลุมเพอ่ื เสริมสรา งสขุ ภาพในชมุ ชน
การดแู ลรกั ษาและเสรมิ สรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตของแตละบุคคลเปนส่ิงสําคัญที่ควรปฏิบัติให
เปนกิจนิสัย โดยปฏิบัติใหครอบคลุมทุกองคประกอบที่สําคัญ ไดแก การเลือกบริโภคอาหารใหถูกหลัก
โภชนาการ การพักผอนใหเพียงพอและออกกําลังกายสม่ําเสมอ เปนตน ทั้งนี้หากปฏิบัติไดอยางครบถวน
ถูกตอง เหมาะสมกับสภาพความพรอมของรางกายและสอดคลองกับวิถีชีวิตยอมกอใหเกิดความสมดุล
สามารถดําเนินชวี ติ ไดอ ยางมคี วามสขุ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ
อยา งไรก็ตาม การดแู ลรักษาสขุ ภาพของตนเองเพียงอยางเดียวคงไมเ พียงพอ หากบคุ คลในครอบครัว
มีปญหาสุขภาพยอมสงผลกระทบตอการดําเนนิ ชีวิตของทุกคน เชน เกิดภาวะในการดูแลภาระคาใชจายใน
การรักษา ฟนฟูสุขภาพ เปนตน ท้ังน้ีจึงควรสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัว และเพื่อนสมาชิกในชุมชนมี
ความรูความเขาใจเก่ยี วกับการดูแลรักษาสุขภาพอยางถูกวิธี ตลอดจนเชิญชวน รวมกลุมกันปฏิบัติกิจกรรม
สงเสริมสขุ ภาพตา งๆ ข้ึนในชุมชน อันจะเปนการเสริมสรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตและความสัมพันธอันดี
ตอ กนั ซง่ึ กจิ กรรมท่ีจะกอ ใหเ กิดการรวมกลมุ เพ่ือเสริมสรา งสขุ ภาพในชุมชน ไดแก
1. การรวมกลมุ เพือ่ เรียนรูร วมกันเกย่ี วกับแนวปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของกลุมบุคคลวัยตาง ๆ
เชน สตรีมคี รรภ มารดาหลังคลอดเดก็ ทารก วัยรุน ผูส งู อายุ หรือผปู วย เปนตน
2. การรวมกลุมเพื่อออกกําลังและเลนกีฬา ซึ่งปจจุบันชุมชนทองถ่ินตาง ๆ ใหความสนใจ
สนับสนุนสงเสริมกันมาก เชน การรวมกลมุ เตนแอโรบกิ การแขง ขันกีฬาระหวางชุมชน เปน ตน
3. การรวมกลมุ เพ่อื รวมกิจกรรมการพักผอ นและนนั ทนาการ เชน การทอ งเที่ยว การรองเพลง
เลน ดนตรี การบําเพ็ญประโยชน การปลกู ตนไมใ นสถานที่สาธารณะ ฯลฯ ทั้งนี้มุงเนนการปฏิบัติที่ไมหนัก
เกินไป แตส รางความเพลดิ เพลนิ และความสมั พันธอนั ดีในกลมุ สมาชกิ เปนหลกั
4. การรวมกลุมเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา เชน การทําบุญไหวพระ การปฏิบัติศาสนกิจ
การฝกสมาธิ ฯลฯ เปนตน
ท้ังนี้ การรวมกลุมเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ดังกลาวควรครอบคลุมหลักการดูแลสุขภาพกายดาน
อาหารและโภชนาการ การออกกําลังกาย การพักผอน นันทนาการ และการเสริมสรางสุขภาพจิต โดยการ
รวมกลุมสมาชิกในครอบครัว เพ่ือนและคนในชุมชนจะกอใหเกิดความสนุกสนาน กระตือรือรน ไมเบ่ือ
หนาย และเกิดความรูเพ่ิมข้ึน เนื่องจากมีการแลกเปล่ียนประสบการณตอกัน อันจะสงผลใหเกิดพลังความ
เขมแขง็ ทั้งในระดบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน และประเทศ
67
เรือ่ งที่ 2 การออกกาํ ลังกายเพือ่ สขุ ภาพ
การออกกําลงั กายเปน องคประกอบสาํ คญั ท่ีชว ยใหผูเรียนไดพัฒนาดานรางกาย จิตใจ อารมณ และ
สังคม กิจกรรมการออกกําลังกายสามารถทําไดหลายลักษณะดวยกนั ตามวตั ถุประสงค ไดแ ก การ
ออกกาํ ลังกายเพ่ือการนันทนาการ การออกกําลังกายเพอ่ื เสรมิ สรางสมรรถภาพทางดา นรางกาย การ
ออกกําลังกาย เพื่อการแขงขันกีฬา และการออกกําลงั กายเพ่อื การบาํ บดั เปน ตน
หลกั การออกกาํ ลงั กาย ไมวาจะออกกําลังกายเพือ่ จดุ ประสงคใ ดก็ตาม ควรยึดขั้นตอนในการปฏิบัติ
ดงั นี้
ขน้ั ท่ี 1 การเตรยี มความพรอ มของรางกายกอนการออกกําลังกาย แบงลักษณะการเตรียมออกเปน
2 สว น ไดแ ก
1. การเตรยี มสภาพรางกายใหพ รอมกอนออกกําลังกาย มีดงั นี้
- มสี ุขภาพสมบรู ณ รา งกายแขง็ แรงและมกี ารพักผอ นอยา งเพียงพอ
- ไมเ ปนโรคทเี่ ปนอปุ สรรคตอการออกกําลังกาย
- มีการเตรียมพรอมเร่อื งสถานที่และอปุ กรณ
- ไมรับประทานอาหารจนอิม่
- แตง กายพรอมและเหมาะกบั ชนดิ และประเภทของกิจกรรมออกกาํ ลงั กาย
- รจู กั การใชและเลนเครอ่ื งออกกาํ ลังกายอยา งถูกตอง
2. การเตรยี มความพรอมกอนออกกาํ ลงั กาย หมายถึง การอบอุนรางกาย ซึ่งมีแนวทางใน
การปฏิบตั ิดงั น้ี
- บริหารทกุ สวนของรางกายใหพรอมทจี่ ะออกกาํ ลงั กาย
- ใชเ วลาในการบรหิ ารรา งกายประมาณ 5 – 10 นาที และควรบริหารอวัยวะสวนท่ี
จะใชในการออกกาํ ลังกายใหม ากกวา ปกติ
- เรม่ิ บริหารรางกายจากเบา ๆ แลวจึงหนกั ขึ้น
- ควรใหความสําคัญกับการบรหิ ารขอ ตอ ในสว นตาง ๆ เปนพิเศษ
- ควรมกี ารบริหารรา งกายแบบยดื เหยยี ดกลา มเนือ้ และขอตอ (stretching)
- มีความพรอ มทางดานจติ ใจ คอื มคี วามสขุ มีความเต็มใจท่ีจะไดอ อกกําลงั กาย
ผลของการอบอุน รา งกาย จะสง ผลตอ รา งกายดังนี้
- ทําใหสภาพรางกายโดยทวั่ ไปพรอมจะออกกาํ ลงั กาย
- ทําใหระบบตาง ๆ ของรางกายพรอมที่จะทําหนาท่ี โดยเฉพาะการประสานงาน
ระหวา งประสาทกับกลา มเนือ้
- ชว ยปรับระดบั อุณหภมู ขิ องรางกายใหเหมาะสมกับการออกกําลังกาย
- ชวยลดและปอ งกันการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย
68
- ทําใหรางกายสามารถออกกําลังกายไดเต็มประสิทธิภาพหรือเต็มความสามารถ
ไมวา จะดว ยทักษะหรือสมรรถภาพและทางกลไก
ขน้ั ตอนท่ี 2 การออกกําลงั กาย โดยท่ัวไปจะใชระยะเวลาประมาณ 20 นาทขี น้ึ ไป ขีดจํากัดสูงสุดจะ
ใชเ วลาเทาใดนัน้ ขึน้ อยกู ับปจจัยอืน่ คอื รางกายและจิตใจของผนู น้ั กลา วคอื รา งกายไมมีอาการเมื่อยลาหรือ
สงผลตอการบาดเจ็บ สวนสภาพจิตใจมีความพรอมและมีความสนุกเพลิดเพลิน ถือเปนองคประกอบ
สําคัญของการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ โดยท่ัวไปแลวการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพควรจะใชเวลา
ประมาณ 20 – 60 นาทีตอ วนั ข้ึนอยกู ับกิจกรรมท่ีใชใ นการออกกําลังกาย เชน การเดิน การว่ิง การเลนกีฬา
การบริหารรา งกาย การเตนแอโรบกิ เปน ตน
หลกั การในการพจิ ารณาออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ มีดังน้ี
ความถี่ของการออกกาํ ลังกาย หมายถึง จาํ นวนวันในการออกกําลังกาย โดยท่ัวไปแลวควร
ออกกาํ ลังกายทุกวันหรอื ยา งนอยวนั เวน วนั
ความหนักของการออกกาํ ลังกาย หมายถึงความพอเหมาะของการออกกําลังกายของแตละ
บุคคล โดยท่ัวไปมักจะใชอตั ราการเตน ของชีพจรเปนตัวกําหนด
ความนานในการฝกแตล ะครัง้ หมายถึง ระยะเวลาในการออกกําลังกายแตละครั้งประมาณ
20 – 60 นาที
รปู แบบการออกกําลังกาย หมายถึง วิธีการออกกําลังกายแบบตาง ๆ ท่ีนํามาใชออกกําลัง
กาย เชน กฬี า กจิ กรรมการออกกําลงั กาย เปน ตน
ขน้ั ตอนที่ 3 การปรับรางกายเขาสูสภาพปกติหลังการออกกําลังกาย เปนข้ันตอนที่มีความจําเปน
อยางย่งิ เพราะขณะท่รี า งกายทาํ งานอยางหนกั แลวหยดุ การออกกาํ ลงั กายทันทีทันใด อาจจะทําใหเกิดผลเสีย
ตอรางกายได เชน เกิดการเจ็บปวดกลามเนื้อ เกิดอาการเปนไขเน่ืองจากรางกายปรับสภาพไมทัน เปนตน
ฉะนน้ั จึงจําเปนตอ งมหี ลกั ปฏิบตั หิ ลงั การออกกําลังกาย ดงั นี้
อยาหยดุ การออกกาํ ลังกายทันทีทันใด ควรอบอุนรางกายเบา ๆ จนถึงนอยสุดแลวจึงหยุด
เวลาทใี่ ชใ นการอบอนุ รางกายหลงั การออกกาํ ลังกาย (cool down) ประมาณ 10 – 20 นาที
ไมควรดม่ื นา้ํ จาํ นวนมากหรือรับประทานอาหารทนั ที
ควรพักใหรางกายมีเวลาปรับสภาพสปู กตพิ อสมควรกอนอาบน้ํา
หลงั จากการออกกาํ ลงั กายแลว ควรเปลยี่ นชุดเครือ่ งแตงกายใหม เพราะชุดท่ีใชในการ
ออกกาํ ลังกายจะเปย กชมุ และทําใหรา งกายปรับสภาพไดไมด ี อาจจะทําใหเปน ไขไ ด
ควรใชทาบริหารรางกายแบบยืดเหยียดกลามเนื้อ (stretching) จะชวยใหกลามเนื้อไดผอน
คลาย ชว ยลดอาการตกคา งของของเสยี หลงั การออกกําลังกาย และที่สําคัญคือชวยลดอาการบาดเจ็บจากการ
ออกกําลังกาย
69
ผลการออกกําลงั กายสงผลตอระบบตา ง ๆ ของรางกาย
1. ผลการออกกาํ ลงั กายตอ ระบบกลามเน้อื ไดแ ก
- กลา มเน้อื มขี นาดใหญข น้ึ (เสน ใยกลา มเนอ้ื หนาขึ้น) ทําใหก ลามเนื้อแข็งแรงขึ้น
- กลามเน้ือมีประสิทธิภาพการทํางานดีขึ้น หรือสามารถทํางานใหมากหรือหนักเพิ่มขึ้น
มคี วามทนทานมากขนึ้ หรอื ทํางานไดน านขึ้น
- ระบบการทาํ งานของกลา มเนือ้ จะปรบั ตามลกั ษณะของการใชในการออกกาํ ลังกาย
- กลามเนือ้ สามารถทนความเจ็บปวดไดด ีขน้ึ
2. ผลการออกกาํ ลงั กายตอ ระบบกระดกู และขอตอ ไดแ ก
- กระดกู จะมคี วามหนาและเพ่ิมขนาดมากขึ้นโดยเฉพาะวยั เดก็
- กระดกู มีความเหนียวและแขง็ เพม่ิ ความหนาแนนของมวลกระดูก
3. ผลการฝกตอระบบหายใจ ไดแ ก
- ทาํ ใหประสทิ ธิภาพการหายใจดีขึ้น
- ขนาดของทรวงอกเพิ่มขึน้
- ปอดมขี นาดใหญและมีความจเุ พม่ิ ขึ้น
- อัตราการหายใจลดลงเนื่องจากการหายใจแตละครั้งมีประสิทธิภาพในการสูบฉีดโลหิตตอ
ครงั้ มากขน้ึ (อตั ราการหายใจของคนปกติ 16 – 18 คร้งั ตอนาท)ี
4. ผลการออกกําลังกายตอระบบไหลเวียน ไดแ ก
- การสูบฉีดของระบบไหลเวยี นดขี ึ้น ทําใหอัตราการเตนของหัวใจลดลง
- ขนาดของหัวใจใหญข ้ึน กลา มเนอ้ื หวั ใจแขง็ แรงขนึ้
- หลอดเลอื ดมีความเหนยี ว ยดื หยุน ดีข้ึน
5. ผลการออกกาํ ลังกายตอระบบอ่ืน ๆ
ระบบประสาทอตั โนมัติ ทาํ งานไดส มดลุ กัน (Sympathetic and Parasympathetic) ทําใหการ
ปรับตวั ของอวยั วะใหเ หมาะกบั การออกกาํ ลงั กายไดเร็วกวา การฟน ตวั เร็วกวา
ตอมหมวกไตเจรญิ ขนึ้ มีฮอรโ มนสะสมมากขึ้น
ตับ เพิม่ ปรมิ าณและนาํ้ หนกั ไกลโคเจนและสารท่ีจาํ เปน ตอการออกกําลังกายไปสะสม
มากขน้ึ
6. ชวยปองกันโรคอวน การออกกําลังกายที่ถูกตองและเหมาะสม จะชวยใหรางกายมีการใช
พลังงานท่ไี ดรับจากสารอาหารตา ง ๆ โดยไมมีการสะสมไวเกินความจําเปน แตถาขาดการออกกําลังกายจะ
ทาํ ใหส ารอาหารที่มีอยูในรางกายถูกสะสมและถูกเปลี่ยนเปนไขมันแทรกซึมอยูตามเน้ือเย่ือทั่วรางกาย ซ่ึง
เปนสาเหตหุ นง่ึ ของการเกิดโรคอวน
70
7. ผลตอจติ ใจ อารมณ สตปิ ญญาและสังคม
ดา นจิตใจ การออกกาํ ลงั กายอยางสม่ําเสมอ นอกจากจะทาํ ใหร า งกายแข็งแรงสมบูรณแลว จิตใจ
กร็ า เริงแจม ใส เบกิ บาน ซึ่งจะเกิดขน้ึ ควบคูกัน เนื่องจากเมื่อรางกายปราศจากโรคภยั ไขเ จ็บ ถา ได
ออกกําลังกายรว มกันหลาย ๆ คน เชน การเลนกีฬาเปนทีมจะทําใหเกิดการเอื้อเฟอ มีเหตุผล อดกลั้น สุขุม
รอบคอบและมคี วามยุตธิ รรม รูแ พรชู นะ และใหอภยั กัน
ดานอารมณ มีอารมณเยือกเย็น ไมหุนหันพลันแลน ชวยคลายความเครียดจากการประกอบ
อาชพี ในชวี ิตประจาํ วนั จงึ สามารถทํางานหรอื ออกกาํ ลงั กายไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ
ดานสตปิ ญ ญา การออกกาํ ลงั กายอยางสมํา่ เสมอ ทําใหมีความคิดอา นปลอดโปรง มีไหวพริบ
มีความคิดสรางสรรค คนหาวิธีท่ีจะเอาชนะคูตอสูในวิถีทางของเกมการแขงขัน ซึ่งบางครั้งสามารถ
นาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันไดเปน อยางดี
ดา นสงั คม สามารถปรบั ตวั เขา กับผรู วมงานและผอู น่ื ไดด ี เพราะการเลน กีฬาหรือการ
ออกกาํ ลงั กายรวมกนั เปน หมมู ากๆ จะทาํ ใหเ กดิ ความเขา ใจ และเรียนรพู ฤตกิ รรม มบี ุคลิกภาพที่ดี มีความ
เปนผนู ํา มมี นุษยสัมพนั ธท ี่ดี และสามารถอยูร วมกนั ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสขุ
การออกกําลังกายมิใชจะใหประโยชนแตเพียงดานเดียวเทานั้น บางครั้งอาจเกิดโทษได
ถาการออกกําลงั กายหรอื การฝก ฝนทางรา งกายไมเ หมาะสมและไมถกู ตอง ซึง่ เปนสาเหตุแหงการเกิดการ
บาดเจ็บ ดังน้ัน จึงมักพบวา จํานวนของการบาดเจ็บท่ีเกิดขึ้นจากการออกกําลังกาย หรือเลนกีฬานั้นมี
อัตราคอนขางสูง ถึงแมวาจะเปนนักกีฬาท่ีเคยเขามารวมแขงขันในระดับชาติแลวก็ตาม ความรู
ความเขา ใจ ในเร่อื งของการออกกาํ ลงั กายหากมไี มเ พยี งพอแลวยอ มกอ ใหเกดิ การบาดเจ็บในขณะ
ออกกาํ ลงั กายหรือเลน กฬี าได
ขอ แนะนําในการออกกาํ ลงั กาย
1. ควรเรมิ่ ออกกําลังกายอยา งเบาๆ กอน แลวจงึ คอ ยๆ เพ่ิมความหนักของการออกกําลังกายในวัน
ตอๆ ไปใหม ากข้นึ ตามลําดับ โดยเฉพาะอยา งย่งิ สาํ หรับผทู ไ่ี มเคยออกกําลงั กายมากอ น
2. ผูทเี่ พง่ิ ฟน จากไขหรือมโี รคประจาํ ตัว ตองปรกึ ษาแพทยกอนการออกกําลังกาย
3. ผทู ีป่ ระสงคจ ะออกกาํ ลังกายหนกั ๆ โดยเฉพาะผทู ่ีอายุตาํ่ กวา 40 ป จะตองปรึกษาแพทยก อน
4. ในระหวา งการออกกําลงั กาย ถารูสึกผิดปกติ เชน หนามืด หอบมาก และชพี จรเตน เร็ว ตองหยุด
การออกกาํ ลังกายทันที และถา ตองการจะออกกําลังกายใหม ควรไดรับคาํ แนะนาํ จากแพทยเสยี กอน
5. การออกกําลังกายแตละครงั้ ควรเลือกกิจกรรมใหเหมาะสมกับตนเอง
6. การออกกําลงั กายท่จี ะใหไดรบั ประโยชนอ ยางแทจ รงิ ควรตอ งออกแรง โดยใหสวนตาง ๆ ของ
รางกายทุกสวนทํางานมากกวาปกตหิ รอื เพื่อใหรสู ึกเหน่ือย เชน หายใจถ่ีข้นึ ชพี จรเตน เร็วข้ึน เปน ตน
7. ผทู มี่ ีภารกิจประจําวันท่ีไมสามารถแบงเวลาเพื่อการออกกําลังกายได ควรเลือกกิจกรรมที่งาย
และกระทาํ ไดในบรเิ วณบา น ใชเวลาสน้ั ๆ เชน เดนิ เร็ว ๆ กายบรหิ าร วิง่ เหยาะ ๆ กระโดดเชอื ก เปน ตน
71
8. เครือ่ งมอื ท่ีชวยในการออกกําลังกาย เชน เครอ่ื งเขยา ส่นั ดึง ดนั เพื่อใหร า งกายไมต อ ง
ออกแรงกระแทกน้ันมีประโยชนนอยมาก เพราะวาการออกกําลังกายจะมีประโยชนหรือไมเพียงใดนั้น
ขน้ึ อยูกับวา รางกายไดออกกําลังกายแรงมากนอยเพยี งใด
9. การออกกําลังกายควรกระทําใหสมํ่าเสมอทุกวัน อยางนอยวันละ 20-30 นาที เพราะรางกาย
ตองการอาหารเปนประจาํ ทกุ วันฉันใด รา งกายตอ งการออกกาํ ลงั กายเปน ประจาํ ทกุ วันฉนั นัน้
10. เพ่อื ใหการออกกําลังกายมีความสนุกสนาน หรือมีแรงจูงใจมากย่ิงขึ้นควรทําสถิติเก่ียวกับการ
ออกกําลงั กายเปนประจําควบคูไ ปดว ย เชน จบั ชีพจร นบั อัตราการหายใจ เปน ตน
11. การออกกําลังกายควรกระทาํ ใหส ม่ําเสมอทกุ วนั เปนเพียงปจจัยอยางหนึ่งในการปรับปรุงและ
รักษาสขุ ภาพเทา นั้น ถา จะใหไ ดผลดตี อ งมกี ารรับประทานอาหารทด่ี ี และมกี ารพกั ผอนอยางเพียงพอดวย
12. พึงระวังเสมอวา ไมมีวิธีการฝกหรือออกกําลังกายวิธีลัดเพ่ือจะใหไดมาซ่ึงสุขภาพและ
สมรรถภาพทางกาย แตก ารฝกหรือการออกกาํ ลงั กายตองอาศยั เวลาคอยเปน คอยไป
เม่ือใดที่ไมค วรออกกําลงั กาย
การออกกําลังกายจะทําใหสุขภาพแข็งแรงขึ้นท้ังรางกายและจิตใจ ผูที่ออกกําลังกายเปนประจํา
สมํา่ เสมอจะซาบซึ้งในความจรงิ ขอ น้ีเปนอยา งดี บางคนบอกวา การออกกําลังกายเหมือนยาเสพติดชนิดหน่ึง
เพราะถา ประพฤติปฏบิ ัติจนเปนกจิ วัตรหรอื เปนนิสยั แลวหากไมไดออกกาํ ลงั กายสักวัน จะรูสึกไมคอย
สดชน่ื เทาท่คี วร ซึ่งเปนความจรงิ (เพราะรางกายไมไ ดหล่ังสารสุขเอนเดอรฟ น ออกมา)
ขอ ควรระมัดระวงั หรืองดออกกาํ ลงั กายช่ัวคราว ในกรณีตอไปนี้ คอื
1. เจ็บปวยไมสบาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนไขหรือมีอาการอักเสบท่ีสวนใดสวนหนึ่งของ
รา งกาย
2. หลงั จากฟนไขใหม ๆ รางกายยังออนเพลียอยู หากออกกําลังกายในชวงนี้ จะทําใหรางกายย่ิง
ออ นเพลยี และหายชา
3. หลังจากการกินอาหารอิ่มใหม ๆ เพราะจะทําใหเลือดในระบบไหลเวียนถูกแบงไปใชในการ
ยอยอาหาร เพราะฉะนั้นเลือดท่ีจะไปเล้ียงกลามเนื้อสวนท่ีออกกําลังกายจะลดลงทําใหกลามเนื้อหยอน
สมรรถภาพ และเปนตะครวิ ไดง าย
4. ชว งเวลาที่อากาศรอ นจัดและอบอาวมาก เพราะรางกายจะสูญเสียเหงื่อและน้ํามากกวาปกติทํา
ใหรางกายออนเพลีย เหนื่อยงาย หรือเปนลมหมดสติได (ยกเวนนักกีฬามืออาชีพท่ีมีความจําเปนตองออก
กาํ ลงั กาย)
อาการทีบ่ งบอกวาควรหยดุ ออกกาํ ลงั กาย
ในบางกรณีที่รางกายอาจออนแอลงไปชว่ั คราว เชน ภายหลังอาการทองเสีย อดนอน การออกกําลัง
กายทเี่ คยทาํ อยปู กติอาจกลายเปน กจิ กรรมทห่ี นักเกินไปได เพราะฉะน้ันถาหากมีอาการดังตอไปนี้ แมเพียง
อาการนิดเดียวหรอื หลายอาการ ควรจะหยดุ ออกกําลังกายทันที นน่ั คือ
72
1. รูสกึ เหน่ือยผดิ ปกติ
2. มอี าการใจเตน แรงและเร็วผิดปกติ
3. อาการหายใจขดั หรือหายใจไมท ว่ั ทอง
4. อาการเวียนศีรษะ/ปวดศรี ษะ
5. อาการคลื่นไส
6. อาการหนา มืด
7. ชีพจรเตน เรว็ กวา 140 ครั้งตอ นาที (ในผูส งู อาย)ุ หรอื 160 ครงั้ ตอ นาที (สําหรบั หนมุ สาว)
จาํ ไวว า หากมีอาการอยางใดอยา งหนง่ึ เกิดขึ้น ตองหยุดออกกําลังกายทันที แลวนั่งพักหรือนอนพัก
จนหายเหน่อื ย และไมควรออกกําลังกายตอไปอีกจนกวาจะไดไปพบแพทย หรือจนกวารางกายจะมีสภาพ
แข็งแรงตามปกติ
รูปแบบการออกกาํ ลังกายเพื่อสุขภาพ
1. การเดิน เปนการออกกําลังกายที่งายและสะดวกที่สุด แตใหประโยชนและสรางเสริม
สมรรถภาพทางกายไมแพการออกกําลังกายและการเลนกีฬาชนิดอ่ืน ๆ การเดินสามารถทําไดทุกเวลาและ
สถานที่ วิธีการเดนิ ท่คี วรรแู ละปฏบิ ัติตามมดี ังนี้
1.1. ควรเริม่ จากทา ยนื กอ น ปลอ ยตวั ตามสบาย และหายใจปกติ
1.2. ขณะเดินใหเ งยหนา และมองตรงไปใหไกลทีส่ ดุ เพราะหากเดินกมหนาจะทําใหปวดคอ
และปวดหลงั ได
1.3. เดนิ ใหเ ตม็ เทา โดยเหยยี บใหเต็มฝา เทา แลว ยกเทา ขน้ึ ใหหัวแมเทายกขน้ึ จากพื้นเปนสวน
สดุ ทาย
1.4. ในการเดินควรเร่ิมตนจากเดนิ ชา ๆกอนประมาณ 5 นาที แลวจึงคอย ๆ เพิ่มความเร็วจนหัวใจ
เตนถึงอัตราสูงสุดของมาตรฐาน คือ 200 ครั้ง/นาที สําหรับผูที่เริ่มออกกําลังกายอาจเร่ิมเดินคร้ังละ
10 นาที หรือจนกวา จะรูสกึ หอบเหนื่อยเล็กนอย เวนไป 1 – 2 วัน แลวคอย ๆ เพิ่มเวลาเดินแตละคร้ังจน
สามารถเดินติดตอ กันไดอ ยางนอ ย 30 นาที โดยเดนิ สัปดาหละ 3 – 5 ครงั้
1.5. ขณะเดินมือทั้ง 2 ขาง ควรปลอยตามสบายและเหวี่ยงแขนไปท้ังแขนเพื่อเพ่ิมแรงสง
ถาหากเดนิ แลว หวั ใจยังเตนไมเรว็ พอ ใหเพิ่มความเร็วในการเดินหรือแกวงแขนขาใหแรงขึ้น ซึ่งจะชวย
เพิ่มอัตราการเตน ของหัวใจใหเ รว็ ขน้ึ ได
1.6. รองเทาใชใสเดินควรเปนรองเทาท่ีมีพ้ืนกันกระแทกท่ีสนเทาและหัวแมเทา สามารถ
รองรบั น้ําหนกั ไดเปนอยางดีเพือ่ ปองกันการบาดเจบ็ ท่เี ทา
2. การวิ่ง การวิ่งเปนการออกกําลังกายท่ีคนนิยมกันมากซึ่งงายและสะดวกพอ ๆ กับการเดิน
แตก ารวง่ิ มีใหเ ลือกหลายแบบ การท่จี ะเลอื กวิ่งแบบใดน้นั ขึ้นอยูกับความสะดวกและความชอบสวนตัวของ
แตละบุคคล เชน การวิ่งเหยาะ ๆ การวงิ่ เร็ว การวิ่งมาราธอน การว่ิงอยูกับท่ี หรือการวิ่งบนสายพานตาม
73
สถานท่อี อกกาํ ลังกายทว่ั ไป การวิง่ ตอ ครงั้ ควรมรี ะยะทาง 2 – 5 กโิ ลเมตร และสัปดาหหนึ่งไมเกิน 5 คร้ัง
ซง่ึ มเี ทคนิคงา ย ๆ ดงั นี้
2.1. การว่งิ อยกู ับที่ ตอ งยกเทาแตล ะขางใหสงู ประมาณ 8 นิ้ว ซ่ึงมีขอจํากัดที่มีการเคล่ือนไหว
ของขอตาง ๆ นอย ไมม กี ารยดื หรือหดของกลา มเน้อื อยางเต็มท่ี ซ่งึ ถอื เปน ขอดอยกวาการวงิ่ แบบอนื่ ๆ
2.2. การวง่ิ บนสายพาน เปนการวงิ่ ทปี่ ลอดภยั กวาการว่งิ กลางแจง ไมตองเผชญิ กับสภาพที่มี
ฝนตก แดดรอ น หรอื มฝี ุน ละอองตางๆ และถา ใชสายพานชนิดใชไฟฟา จะมรี ะบบตาง ๆ บนจอภาพ ทําให
ทราบวา การว่งิ ของเรานน้ั มีความเร็วอยูในระดับใด ว่ิงไดระยะทางเทาไร และมีอัตราการเตนของชีพจร
เทา ใด เพ่ือใชเ ปนขอมลู เบือ้ งตนในการปรบั โปรแกรมออกกําลังกายในคร้ังตอ ไป การวิง่ บนสายพาน
มีขอเสียคือ ตองเสียคา ใชจ า ยเพราะเครื่องมรี าคาแพง และการใชบ รกิ ารในสถานออกกําลังกายของเอกชน
จะตองเสยี คาบริการ ซ่ึงมรี าคาแพงเชนกนั ดงั นั้นควรใชบริการของภาครัฐที่ใหบริการดานน้ีโดยตรงคือ
สถานท่ีออกกาํ ลังกายทจี่ ัดบรกิ ารโดยเทศบาล องคก ารบริหารสวนจังหวัด สํานักงานพัฒนาการกีฬาและ
นันทนาการจังหวัด การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด และการกีฬาแหงประเทศไทย ซ่ึงประชาชนทุกคน
สามารถเขา ไปใชบรกิ ารได
2.3. การว่งิ กลางแจง เปน การวง่ิ ทที่ ําใหเราไดอากาศบริสุทธ์ิ ถาว่ิงในสวนสาธารณะหรือวิ่ง
ออกไปนอกเมืองจะไดชมทิวทัศน ทําใหไมเบื่อและไมตองเสียคาใชจาย ที่สําคัญตองระมัดระวังเร่ือง
ความปลอดภยั ในกรณที ี่ออกวิง่ เพียงคนเดยี ว
3. การขี่จักรยาน การข่ีจักรยานไปตามสถานที่ตาง ๆ เปนการออกกําลังกายท่ีใหประโยชน
ดานการทรงตัว ความคลอ งแคลว วอ งไว และเปนการฝกความอดทนดวย การขี่จกั รยานในสวนสาธารณะ
หรือในท่ีไมมีมลพิษน้ัน นอกจากจะเกิดประโยชนตอรางกายแลวยังเปนการสงเสริมสุขภาพจากความ
เพลดิ เพลนิ ในการชมทิวทศั นร อบดา นและอากาศทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ ซง่ึ แตกตางจากการขี่จักรยานแบบต้ังอยูกับที่
ในบานหรอื สถานทอ่ี อกกําลงั กาย ในการข่จี กั รยานมเี ทคนคิ งาย ๆ ทคี่ วรปฏิบตั ิดังนี้
3.1. ปรบั ท่ีน่ังของจกั รยานใหเ หมาะสม เพราะในการปน ตองมีการโยกตัวรวมดวย
3.2. ในการปน จกั รยานใหป น ดวยปลายเทาตรงบรเิ วณโคนนวิ้
3.3. ถา เปน จกั รยานแบบตัง้ อยูกับท่ี ในชวงแรกของการฝกควรตั้งความฝดใหนอยเพ่ืออบอุน
รางกายประมาณ 3 – 4 นาที แลวจึงคอย ๆ ปรับเพิ่มความฝดของลอมากข้ึนจนหัวใจเตนเร็วถึงอัตราที่
กาํ หนดไวในเปาหมาย แลวจึงคอย ๆ ลดความฝดลงจนเขาสูระยะผอนคลาย เม่ือชีพจรเตนชาลงจนเปน
ปกติจงึ หยุดปน จกั รยานได
4. การเตน แอโรบิก เปนการออกกําลังกายที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก และเปนการออกกําลัง
กายท่ไี ดเคลอ่ื นไหวทกุ สว นของรางกาย ประโยชนจากการเตนแอโรบิก คือ การสรางความแข็งแกรงและ
ความอดทนของกลา มเนอื้ โดยเฉพาะกลามเนอื้ หัวใจเทคนคิ ในการเตนแอโรบิกมีดงั นี้
4.1. ตอ งเคลอ่ื นไหวรา งกายตลอดเวลา เพื่อใหก ารเตนของหวั ใจอยูในระดับท่ีตอ งการ
4.2. ใชเ วลาในการเตน แอโรบิก คร้งั ละ 20 – 30 นาที สปั ดาหล ะ 3 คร้ัง
74
4.3. สถานทีท่ ใ่ี ชใ นการเตนแอโรบิก ควรมีอากาศถายเทไดสะดวก และถาพ้ืนท่ีใชเตนเปน
พ้ืนแข็งผูเตนจะตองใสรองเทาสําหรับเตนแอโรบิกโดยเฉพาะ ซึ่งพ้ืนรองเทาจะชวยรองรับแรง
กระแทกได
4.4. ควรหลกี เล่ียงทา กระโดด เพราะการกระโดดทําใหเ ทา กระแทกกบั พืน้
กจิ กรรมการออกกาํ ลงั กายดงั กลาว เราสามารถเลอื กกจิ กรรมไดตามความเหมาะสมของเวลาและ
สถานที่ ดังนั้นจึงควรหาเวลาวางในแตละวันทํากิจกรรมออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเพื่อสรางเสริม
สมรรถภาพทางกายใหเ ปนผมู สี ุขภาพดที ั้งรา งกายและจิตใจ
นอกจากน้ยี ังมีกจิ กรรมการออกกําลังกายรปู แบบอน่ื ๆ ท่ผี ูเ รียนสามารถเลือกปฏบิ ัติไดตามความ
สนใจและความพรอ มดา นรางกาย เวลา สถานท่ี อปุ กรณ ไดแ ก การวา ยนํ้า กิจกรรมเขาจงั หวะ ลีลาศ รําวง
การรําไมพลอง โยคะ ไทเกก ฯลฯ รวมถึงกีฬาเพื่อสุขภาพอื่น ๆ เชน ฟุตบอล วอลเลยบอล บาสเกตบอล
เปนตน ท้ังนก้ี ิจกรรมการออกกําลังกายและกีฬาท่ีกลาวแลว สามารถเลนเปนกลุมเพ่ือเสริมสรางสุขภาพ
และความสัมพันธในชมุ ชนได
การออกกาํ ลงั กายสําหรับผูป ว ย
ผูที่มีโรคภัยไขเจ็บ เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และผูปวยท่ีมีโรค
ประจาํ ตวั ทกุ โรคที่ยังสามารถเคล่ือนไหวรางกายไดตามปกติ หากไดมีการเคลื่อนไหวรางกายหรือออก
กาํ ลงั กายท่ถี ูกตอ งตามสภาพและอาการของโรคจะชวยใหโรคทเ่ี ปน อยหู ายเร็วขึ้น อยางไรก็ตามการออก
กําลังกายมีทั้งคุณและโทษ หากไมรูจักวิธีท่ีถูกตองอาจเกิดอันตรายไดโดยเฉพาะผูที่มีโรคประจําตัว
จะตอ งคํานงึ ถึงสขุ ภาพความพรอ มของรา งกาย โดยควรปรกึ ษาแพทยเพื่อตรวจรางกายอยางละเอียดและ
ใหค ําแนะนําการออกกําลังกายท่ีเหมาะสม ท้ังน้ี ดร.จรวยพร ธรณินทร ผูเช่ียวชาญดานพลศึกษาไดให
คําแนะนําไวดงั น้ี
หลกั ในการออกกําลงั กายสําหรบั ผปู ว ย
ผปู วยทุกโรคที่ยงั สามารถเคล่ือนไหวไดตามปกติ ควรปฏบิ ตั ติ นดงั ตอไปนี้
1. ควรคอยทําคอยไปเร่ิมตั้งแตนอยไปหามากแลวคอยเพ่ิมปริมาณข้ึนและเพ่ิมความยากข้ึน
ตามลําดับ
2. ควรออกกําลังกายโดยสม่ําเสมอ อยา งนอยสปั ดาหละ 3 วนั วนั ละ 10 – 15 นาที เปน อยางนอ ย
3. ตองใหท ุกสวนของรางกายไดเ คลือ่ นไหว โดยเฉพาะกลามเนื้อบริเวณสําคัญ เชน ทอง แขน
ขา หลงั ลําตวั กลามเนอื้ หวั ใจ และหลอดเลือด ตองทาํ งานหนกั
4. ผูทมี่ คี วามดันเลือดสูง ปรอทวดั ดานบนเกนิ 150 มลิ ลเิ มตรปรอท ดา นลางเกนิ 100 มิลลิเมตร
ปรอท ตอ งใหแ พทยต รวจ และใหค วามดนั ดา นบนลดลงต่าํ กวา 130 มลิ ลิเมตรปรอท และความดันลางต่ํา
กวา 90 มิลลเิ มตรปรอท เสียกอนจงึ ออกกําลังกาย จะโดยวธิ รี บั ประทานยาลดความดันก็ได
75
5. สําหรับผูที่เปนโรคเบาหวาน ท่ีมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงเกิน 200 มิลลิกรัมปรอท ตองให
ระดับนาํ้ ตาลในเลือดลดลงตาํ่ กวา 160 มลิ ลกิ รัมปรอทเสยี กอ น จึงคอ ยออกกาํ ลังกาย โดยวธิ รี บั ประทานยา
ที่หมอส่ังกินเปนประจํา หรือลดอาหารพวกแปง และน้ําตาลลงมาก ๆ แลวกินผักและผลไมท่ีไมหวาน
จดั แทน
6. ผูที่ปวยเปนโรคหัวใจทุกชนิด ควรปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย หรือว่ิงแขงขันประเภท
ตางๆ
7. ผสู งู อายตุ ง้ั แต 60 ปขึน้ ไป และผูมีนํ้าหนักเกนิ มาก ๆ ควรปรึกษาแพทยก อนจะเร่ิมตน
ออกกาํ ลังกาย
8. ผปู วยทุกคนหรอื คนปกตทิ ่ีมีอายุตัง้ แต 30 ปข น้ึ ไป ควรไดร ับการตรวจสขุ ภาพและจติ ใจกอ น
ลงมืออกกําลังกาย เมอ่ื แพทยอนุญาตใหออกกําลงั กาย จึงคอยๆ เร่มิ ไปออกกําลังกายทลี ะนอย ๆ
สาํ หรับผปู ว ยทกุ โรค การออกกาํ ลังกายควรเริ่มตนจากการเดินเปนวิธีท่ีปลอดภัยเปนโอกาสให
รา งกายไดทดลองโดยเร่มิ เดนิ ประมาณ 2 สัปดาหก อ น เพอื่ ใหรา งกายปรบั ตวั ในการที่ตองทํางานหนักข้ึน
ควรสงั เกตตัวเองวาถาออกกําลังกายถูกตองแลวรางกายจะกระปรี้กระเปรา นอนหลับสนิท จิตใจราเริง
มีเรยี่ วแรงมากขึ้น
หลังจากเดินชาใน 2 สัปดาหแรกจึงคอยเดินเร็วใหกาวเทายาว ๆ ขึ้นในสัปดาหท่ี 3 – 4 ถาไม
เจ็บปวยไมม ากนกั พอข้ึนสัปดาหท่ี 5 อาจจะเริ่มว่ิงเบา ๆ สลับกับการเดินก็ได ถามีอาการผิดปกติเตือน
เชน วิงเวียน หัวใจเตนแรงมาก หรือเตนถี่สลับเบา ๆ หายใจขัด รูสึกเหนื่อยผิดปกติหรืออาการหนามืด
คลายจะเปนลม ผทู ี่มอี าการดงั กลาวกค็ วรหยดุ ออกกาํ ลงั กาย การวงิ่ ระยะตน ๆ ควรว่งิ เหยาะ ๆ ชา ๆ วนั ละ
5 – 10 นาที แลว คอยเพิ่มขนึ้ ทีละนอย
การออกกําลังกายท่ีปลอดภัยที่สุดอีกวิธีหน่ึง สําหรับผูปวย คือ กายบริหาร ยืดเสน ยืดสายให
กลา มเน้ือ ขอตอไดอ อกแรงโดยยึดหลกั ดังน้ี
1. กายบรหิ ารวนั ละ 10 นาทีทุกวนั
2. ทาทีใ่ ชฝก ควรเปน 6 – 7 ทา ตอวนั ใน 2 สปั ดาหแรกใหฝ กทาละ 5 – 10 รอบ สัปดาห 3 – 4 รอบ
เพ่ิมเปน 12 รอบ
3. เปลี่ยนทาฝกไมใหเบ่ือหนาย เลือกทาบริหารกลามเนื้อมัดใหญๆ เชน ทอนขา ทอนแขน
ตนคอ หัวไหล เปนตน
4. ทา ซอยเทาอยกู ับทีแ่ ละทากระโดดเชือกถาเลือกทําใหพึงระวังเปนพิเศษ ในผูปวยหนักและ
ผสู งู อายุ
5. ถงึ แมว าจะรูสึกวา แข็งแรง สดชื่นก็ไมค วรฝกหักโหมออกกําลงั กายมากเกินไป ทาบริหารแต
ละทา ไมค วรฝกเกินทา ละ 30 รอบ และไมฝก เกนิ 30 ทา ในแตล ะวัน
6. ตรวจสอบความกาวหนาในการออกกําลังกายโดยการช่ังน้ําหนัก สวนคนที่มีรูปรางได
สัดสว นนํา้ หนกั ไมค วรเปล่ียนแปลงมากนกั
76
7. วัดชีพจรท่ีซอกคอหรือขอมือคนทั่ว ๆ ไป ถาไมเจ็บปวยเปนไข ผูชายเฉลี่ยอัตราการเตนของ
หัวใจหรือชีพจร 70 – 75 คร้ังตอนาที ผูหญิง 74 – 76 ครั้งตอนาที สวนผูปวยท่ีมีพิษไขจะมีชีพจรสูงกวา
ปกติ แตถารางกายสมบูรณแข็งแรงขึ้น ชีพจรควรลดลงอยางนอยจากเดิม 5 – 10 ครั้งตอนาที แสดงวา
หัวใจทาํ งานดขี น้ึ
สรุป
การออกกาํ ลังกายแตล ะประเภทมีลกั ษณะเฉพาะที่ผูออกกาํ ลงั กายตอ งคาํ นึงถึง เชน การขจี่ กั รยาน
มีจุดทคี่ วรระมัดระวงั อยทู หี่ ัวเขา ผทู ่ีขอเขาไมแ ขง็ แรงหรือมกี ารอกั เสบถาออกกําลังกายดวยการขจ่ี ักรยาน
จะทาํ ใหเ กิดการอกั เสบมากย่งิ ขึน้ ฉะนนั้ การเลือกวิธกี ารออกกาํ ลงั กายจะตอ งคํานงึ ถึงขอจํากัดของสภาพ
รางกาย โดยพยายามหลกี เลีย่ งการใชอวัยวะสว นทีเ่ สีย่ งอันตรายของตนเองใหนอยท่ีสุดหรือรักษาใหหาย
เสยี กอน จึงคอ ยออกกาํ ลัง โดยเริม่ จากเบา ๆ แลวเพม่ิ ความหนักทลี ะนอ ย
สวนบุคคลท่มี ีโรคประจําตวั ควรปรกึ ษาแพทยก อนออกกาํ ลงั กายและตอ งสังเกตอาการผิดปกติท่ี
เกิดข้ึนระหวางการออกกําลังกายหรือหลังการออกกําลังกายทุกคร้ัง ท้ังน้ีการออกกําลังกายท่ีถูกตอง
เหมาะสมควรอยใู นการดแู ลของแพทย ยอมกอใหเ กิดประโยชนม ากกวาเปนโทษอยา งแนนอน นอกจากน้ี
พึงระลกึ วาการออกกําลังกายท่เี หมาะสมสาํ หรับคนหนึ่ง อาจไมใชการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมสําหรับ
อีกคนหนง่ึ
กิจกรรม
1. ฝกการจบั ชพี จรทคี่ อและขอ มอื
2. ใหชวยกนั วิเคราะหเ พื่อนในกลุมวา บคุ คลใดมีสขุ ภาพแขง็ แรงหรือออนแอ แลว แบง กลมุ
ตามความแข็งแรง
3. จดั โปรแกรมออกกําลงั กายสาํ หรบั เพือ่ นในแตละกลมุ ใหมคี วามเหมาะสมกบั สภาพรา งกาย
และความพรอ มของแตละกลมุ ทแ่ี บง ไวใ นขอ 2
4. สาธติ การออกกําลังกายของทุกกลมุ พรอมอธิบายถึงประโยชนแ ละความเหมาะสมกบั วิธกี าร
ทสี่ าธิตวา เหมาะสมอยางไร มีประโยชนอยา งไร
77
บทที่ 5
โรคท่ถี า ยทอดทางพันธุกรรม
สาระสาํ คัญ
มีความรูและสามารถปฏิบัตติ นในการปองกันโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรมได สามารถแนะนํา
ขอมลู ขาวสาร และแหลงบรกิ ารเพ่อื ปองกนั โรคแกครอบครวั และชมุ ชนได
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. อธบิ ายโรคที่ทถี่ ายทอดทางพนั ธกุ รรม สาเหตุ อาการ การปอ งกันและการรกั ษาโรคตาง ๆ
2. อธิบายหลักการและเหตุผลในการวางแผนรวมกับชุมชน เพ่ือปองกันและหลีกเลี่ยงโรค
ทถ่ี า ยทอดทางพันธุกรรม
3. อธิบายผลกระทบของพฤติกรรม สขุ ภาพที่มีตอ การปองกนั โรค
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 โรคทถี่ า ยทอดทางพนั ธุกรรม
เรอื่ งที่ 2 โรคทางพนั ธุกรรมท่สี ําคญั
2.1 โรคทาลสั ซีเมยี
2.2 โรคฮโี มฟเ ลีย
2.3 โรคเบาหวาน
2.4 โรคภมู แิ พ
78
เร่ืองท่ี 1 โรคท่ีถายทอดทางพันธุกรรม
โรคตดิ ตอทางพนั ธุกรรมคืออะไร
การท่ีมนุษยเกิดมามีลักษณะแตกตางกัน เชน ลักษณะ สีผิว ดํา ขาว รูปราง สูง ตํ่า อวน ผอม
ผมหยิก หรือเหยียดตรง ระดับสติปญญาสูง ต่ํา ลักษณะดังกลาวจะถูกควบคุมหรือกําหนดโดย
“หนวยพันธุกรรมหรือยีน” ท่ีไดรับการถายทอดมาจากพอและแม นอกจากน้ีหากมีความผิดปกติใด ๆ
ทแ่ี ฝงอยใู นหนวยพันธกุ รรม เชน ความพิการหรอื โรคบางชนดิ ความผิดปกตินนั้ กจ็ ะถูกถายทอดไปยงั
รุนลูกตอ ๆ ไปเรียกวา โรคติดตอ หรือโรคทถี่ ายทอดทางพันธกุ รรม
ความผดิ ปกตทิ แ่ี ฝงอยูในหนวยพันธกุ รรม (ยนี ) ของบิดา มารดา เกดิ ข้ึนโดยไดรบั การถา ยทอดมา
จาก ปู ยา ตา ยาย หรอื บรรพบรุ ษุ รนุ กอน หรอื เกิดข้ึนจากการผา เหลา ของหนวยพนั ธุกรรม ซง่ึ พบในเซลล
ทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงผิดไปจากเดมิ โดยมปี จจยั ตาง ๆ เชน การไดรับรังสหี รอื สารเคมบี างชนดิ เปนตน
ท้ังน้ี ความผิดปกติท่ีถายทอดทางพันธุกรรมสามารถเกิดขึ้นไดท้ังสองเพศ บางชนิดถายทอด
เฉพาะเพศชาย บางชนิดถายทอดเฉพาะในเพศหญิง ซ่ึงควบคุมโดยหนวยพันธุกรรมหรือยีนเดน และ
หนวยพันธุกรรมหรือยีนดอ ย บนโครโมโซมของมนุษย
โครโมโซมคอื อะไร
โครโมโซม คอื แหลง บรรจหุ นว ยพนั ธุกรรมหรอื ยนี ซึ่งอยภู ายในเซลลข องมนุษย ความผิดปกติ
ของโครโมโซมจะกอ ใหเ กดิ ความไมส มดุลของยนี ถาหากมคี วามผดิ ปกติมากหรอื เกิดความไมสมดุลมาก
ในขณะตงั้ ครรภจ ะทําใหทารกแทง หรอื ตายหลังคลอดได ถาหากความผดิ ปกตนิ อยลง ทารกอาจคลอด
และรอดชีวิตแตจ ะมอี าการผิดปกติ พกิ ารแตก าํ เนิด หรือสตปิ ญญาตา่ํ เปนตน
โครโมโซมของคนเรามี 23 คู หรอื 46 แทง แบง ออกเปนสองชนดิ คอื
- ออโตโซม (Autosome) คือโครโมโซมรางกาย มี 22 คู หรอื 44 แทง
- เซก็ โครโมโซม(Sex Chromosome) คือโครโมโซมเพศ มี 1 คู หรือ 2 แทง
- โครโมโซมเพศในหญงิ จะเปนแบบ XX
- โครโมโซมเพศในชายจะเปน แบบ XY
ความผดิ ปกติทถี่ ายทอดทางพนั ธกุ รรมในโครโมโซมรางกาย (Autosome)
- เกดิ ข้นึ ไดทกุ เพศและแตละเพศมโี อกาสเกิดข้นึ เทา กัน
- ลกั ษณะทถี่ ูกควบคุมดวยยนี ดอยบนโครโมโซม ไดแก โรคทารสั ซีเมยี ผิวเผือก
เซลลเมด็ เลือดแดงเปน รปู เคียว
- ลกั ษณะที่ควบคมุ โดยยนี เดน บนโครโมโซม ไดแ ก โรคทา วแสนปม นิว้ มือส้ัน คนแคระเปนตน
ความผดิ ปกตทิ ีถ่ ายทอดทางพันธกุ รรมในโครโมโซมเพศ (Sex Chromosome)
- เกิดขึ้นไดทกุ เพศ แตโ อกาสเกดิ ขน้ึ จะมมี ากในเพศใดเพศหนง่ึ
79
- ลักษณะท่คี วบคมุ โดยยนี ดอยบนโครโมโซม X ไดแก หวั ลาน ตาบอดสี พันธุกรรมโรคภาวะ
พรองเอนไซม จ-ี 6- พดี ี (G-6-PD) โรคกลามเนอ้ื แขนขาลบี การเปน เกย เนื่องจากควบคมุ ดว ยยนี ดอยบน
โครโมโซม X จงึ พบในเพศชายมากกวา ในเพศหญิง (เพราะผชู ายมี X ตัวเดียว)
ความผดิ ปกตขิ องพนั ธกุ รรมหรอื โรคทางพนั ธกุ รรมมคี วามรนุ แรงเพียงใด
1. รุนแรงถึงขนาดเสยี ชวี ติ ต้ังแตอยใู นครรภ เชน ทารกขาดนํ้าเนอื่ งจากโรคเลือดบางชนิด เปนตน
2. ไมถ งึ กับเสยี ชีวติ ทันที แตจ ะเสยี ชวี ิตภายหลงั เชน โรคกลามเนือ้ ลีบ เปนตน
3. มรี ะดับสติปญ ญาต่าํ พกิ าร บางรายไมส ามารถชว ยเหลือตนเองได หรือชว ยเหลอื ตัวเองได
นอ ย เชน กลุม อาการดาวนซ นิ โดรม เปน ตน
4. ไมรุนแรงแตจะทําใหมีอุปสรรคในการดํารงชีวิตประจําวันเพียงเล็กนอย เชน ตาบอดสี
ตัวอยา ง ความผิดปกติทางพันธกุ รรมที่พบบอย เชน กลมุ ดาวนซนิ โดรม โรคกลามเนือ้ ลบี มะเรง็
เม็ดเลือดขาวบางชนดิ เปนตน
จะปองกันการกําเนดิ บตุ รที่มคี วามผิดปกตทิ างพันธกุ รรมไดห รือไม
ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางชนิด สามารถตรวจพบไดตั้งแต กอนต้ังครรภออน ๆ โดยการ
ตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม และถาหากเปนโรคเลือดทาลัสซีเมีย สามารถตรวจเลือดบิดาและ
มารดาดูวาเปน พาหนะของโรคหรือไม
เมือ่ พบความผดิ ปกตปิ ระการใด จะตองไปพบแพทยท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานเพื่อทําการวางแผน
การมบี ุตรอยางเหมาะสมและปลอดภัย
กรณใี ดบางที่ควรจะไดร บั การวิเคราะหโ ครโมโซม
1. กอ นตดั สินใจมีบุตร ควรตรวจคดั กรองสภาพทางพนั ธกุ รรมของคูสมรส เพื่อทราบระดับความเส่ียง
2. กรณมี ีบตุ รยาก แทงลกู บอย เคยมบี ุตรตายหลังคลอด หรอื เสียชวี ิตหลังคลอดไมน าน เคยมี
บุตรพิการแตก ําเนดิ หรอื ปญญาออน
3. กรณีทม่ี ารดาตั้งครรภท ี่มอี ายตุ งั้ แต 35 ปขน้ึ ไป
4. กรณีที่ไดร บั สารกัมมนั ตรังสีหรอื สารพษิ ท่ีสงสัยวาจะเกดิ ความผิดปกตขิ องโครโมโซม
5. กรณีเดก็ แสดงอาการผดิ ปกติต้งั แตก าํ เนดิ หรือมีภาวะปญ ญาออ น
การตรวจหาความผิดปกตขิ องโครโมโซมสามารถตรวจไดจ ากอะไรบาง
การตรวจความผดิ ปกตขิ องโครโมโซม สามารถตรวจไดจ าก
1. เลอื ด
2. เซลลในน้าํ คร่ํา
3. เซลลของทารก
4. เซลลจากไขกระดูก
5. เซลลอ ่ืน ๆ
80
เร่อื งที่ 2 โรคทางพันธุกรรมท่ีสาํ คัญ
โรคทถี่ า ยทอดทางพนั ธุกรรมทพี่ บโดยท่ัวไป ไดแก โรคธาลัสซีเมีย โรคฮีโมฟเลีย โรคตาบอดสี
โรคคนเผือก โรคเบาหวาน รวมถึงกลุมอาการดาวนซินโดรม (Down’s syndrome) หรือ โรคปญญาออน
เปนตน ซ่งึ โรคตดิ ตอ ท่ีถายทอดทางพันธุกรรมนี้ หากไมมีการตรวจพบหรือคัดกรองกอนการสมรส จะ
เกิดปญ หาตามมามากมาย เชน อาจทาํ ใหเ กิดพกิ าร หรอื เสยี ชีวติ ในที่สุด รวมท้ังเกิดปญหาดานภาวการณ
เล้ียงดูและการรักษา ขนั้ กระทบตอ การดําเนินชีวิตของผปู วยและครอบครัวเปนอยางมาก ดังน้ันจึงควรมี
การตรวจรางกายเพอ่ื หาความผิดปกติของคูสมรส กอนแตงงานหรือกอนตั้งครรภโดยปจจุบันมีแพทยที่
สามารถใหค ําปรกึ ษาและตรวจรักษาไดถ ูกโรงพยาบาล
โรคทีถ่ ายทอดพันธกุ รรมท่สี ําคญั ไดแ ก
2.1 โรคธาลสั ซีเมีย
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เปนโรคเลือดจางท่ีมีสาเหตุมาจากมีความผิดปกติทาง
พนั ธกุ รรม ทาํ ใหม ีการสรางโปรตนี ทีเ่ ปน สวนประกอบสําคัญของเม็ดเลือดผิดปกติ จงึ ทําใหเมด็ เลือดแดง
มีอายุสั้นกวาปกติ แตกงาย ถูกทําลายงาย ผูปวยที่เปนโรคน้ีจึงมีเลือดจาง โรคน้ีพบไดท้ังหญิงและชาย
ปริมาณเทา ๆ กนั ถา ยทอดมาจากพอ และแมท างพนั ธุกรรมพบไดท ัว่ โลก และพบมากในประเทศไทยดวย
เชน กัน
ประเทศไทยพบผูป วยโรคน้ีรอยละ 1 และพบผูท่ีมีพาหะนําโรคถึงรอยละ 30 - 40 คือประมาณ
20 - 25 ลานคน เมื่อคนท่ีเปนพาหะแตงงานกันและพบยีนผิดปกติรวมกัน ก็อาจมีลูกท่ีเกิดโรคน้ีได ซึ่ง
ประมาณการณว าจะมคี นไทยเปน มากถึง 500,000 คน โรคนี้ทําใหเกิดโลหิตจางโดยเปนกรรมพันธุของ
การสรางเฮโมโกลบิน ซงึ่ มสี แี ดงและนาํ ออกซิเจนไปเลยี้ งรางกายสวนตา ง ๆ
ธาลสั ซเี มียเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของการสังเคราะหเฮโมโกลบินที่เกิดจากความ
เปลี่ยนแปลงในอัตราการสรางสายโปรตนี เฮโมโกลบิน การทม่ี ีอัตราการสรา งสายเฮโมโกลบินชนิดหนงึ่ ๆ
หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสรางเฮโมโกลบินและทําใหเกิดความไมสมดุลในการสรางสาย
เฮโมโกลบินชนิดหนึง่ หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสรา งเฮโมโกลบินและทําใหเ กิดความไมสมดุล
ในการสรางสายเฮโมโกลบนิ ปกตอิ ืน่
เฮโมโกลบินปกติประกอบดวยสายเฮโมโกลบินสองชนิด (แอลฟาและไมใชแอลฟา) ใน
อัตราสวน 1:1 สายเฮโมโกลบนิ ปกติสว นเกินจะตกคา งและสะสมอยใู นเซลลในรูปของผลผลติ ที่ไมเ สถียร
ทาํ ใหเซลลเ สยี หายไดง าย
81
ชนิดและอาการ
ธาลสั ซีเมีย แบงออกเปน 2 กลมุ ใหญ ไดแ ก แอลฟาธาลสั ซีเมยี และเบตาธาลัสซีเมีย ซึ่งก็คือ ถามี
ความผิดปกติของสายแอลฟา ก็เรียกแอลฟาธาลัสซีเมีย และถามีความผิดปกติของสายเบตาก็เรียก
เบตา ธาลสั ซเี มีย
เบตาธาลัสซีเมีย เบตาธาลัสซีเมียจะเกิดขึ้นเม่ือสายเบตาในเฮโมโกลบินน้ันสรางไมสมบูรณ
ดังนน้ั เฮโมโกลบินจงึ ขนสง ออกซิเจนไดล ดลง ในเบตาธาลสั ซีเมียสามารถแบง ออกไดเ ปน หลายชนิดยอ ย
ข้นึ อยูกบั ความสมบูรณข องยีนในการสรา งสายเบตา
ถา มียีนทส่ี รา งสายเบตา ไดไ มสมบูรณ 1 สาย (จากสายเบตา 2 สาย) ภาวะซดี อาจมคี วามรุนแรงได
ปานกลางถงึ มาก ในกรณนี ีเ้ กิดจากการไดรบั ยีนสท ผ่ี ิดปกตมิ าจากทั้งพอและแม
ถามีภาวะซีดปานกลาง จําเปนตองไดรับเลือดบอย ๆ โดยปกติแลวสามารถมีชีวิตไดจนถึงวัย
ผูใหญ แตถามีภาวะซีดท่ีรุนแรงมักจะเสียชีวิตกอนเน่ืองจากซีดมาก ถาเปนรุนแรงอาการมักจะเร่ิมตน
ตงั้ แตอายุ 6 เดือนแรกหลังเกิด แตถา เดก็ ไดรับเลอื ดอยางสมํ่าเสมอตั้งแตแรกเร่ิมก็มักจะมีชีวิตอยูไดนาน
มากขึน้ แตอยา งไรกต็ ามกม็ กั จะเสียชวี ติ เนอื่ งจากอวัยวะตา ง ๆ ถกู ทําลาย เชน หัวใจ และตบั เปนตน
แหลงระบาดของเบตา ธาลสั ซีเมยี ไดแก เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตและแถบเมดเิ ตอรเ รเนยี น
แอลฟาธาลัสซีเมีย แอลฟาธาลัสซีเมีย เกิดข้ึนเน่ืองจากเฮโมโกลบินในสายแอลฟามีการสราง
ผิดปกติ โดยปกติแลว จะมแี หลงระบาดอยูในแถบตะวันออกเฉียงใตเปนหลัก ไดแก ไทย จีน ฟลิปปนส
และบางสวนของแอฟรกิ าตอนใต
ความผดิ ปกติเก่ยี วกับการสรา งสายแอลฟา โดยปกตแิ ลวสายแอลฟา 1 สายจะกําหนดโดยยีน 1 คู
2 แทง ดังนี้
ถา มีความผดิ ปกตเิ กีย่ วกบั ยนี ในการสรา งสายแอลฟา 1 ยีน จะไมม ีอาการใด ๆ แตจะเปนพาหะท่ี
สงยืนน้ีไปยังลูกหลาน ถามีความผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 2 ยีน จะมีภาวะซีดเพียง
เลก็ นอ ย แตไ มจ าํ เปน ตอ งไดร บั การรกั ษา ถา มคี วามผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 3 ยีน จะ
เกิดภาวะซดี ไดต งั้ แตรุนแรงนอ ย จนถึงรุนแรงมาก บางคร้ังเรยี กวาเฮโมโกลบนิ H ซงึ่ อาจจําเปน ตอ งไดร บั
เลือด ถามีความผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 4 ยีนจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาสั้น ๆ
ภายหลังจากเกิดออกมา เรียกวา เฮโมโกลบินบารด
อาการ
จะมีอาการซดี ตาขาวสีเหลือง ตัวเหลือง ตับโต มามโต ผิวหนังดําคลํ้า กระดูกใบหนาจะเปลี่ยน
รปู มจี มูกแบน กะโหลกศรี ษะหนา โหนกแกมนนู สูง คางและขากรรไกรกวาง ฟน บนยนื่ กระดกู บาง
เปราะ หักงาย รางกายเจริญเติบโตชากวาคนปกติ แคระแกร็น ทองปอง ในประเทศไทยมีผูเปนโรค
ประมาณรอยละ 1 ของประชากรหรอื ประมาณ 6 แสนคน
82
โรคเลือดจางธาลัสซีเมียมีอาการตัง้ แตไ มม ีอาการใด ๆ จนถึงมีอาการรุนแรงมากท่ีทําใหเสียชีวิต
ตงั้ แตอยูในครรภหรอื หลงั คลอดไมเ กนิ 1 วนั ผูทีม่ อี าการจะซีดมากหรือมีเลือดจางมาก ตองใหเลือดเปน
ประจํา หรือมภี าวะติดเชือ้ บอย ๆ หรือมีไขเปนหวัดบอย ๆ ได มากนอยแลวแตชนิดของธาลัสซีเมียซึ่งมี
หลายรปู แบบ ทงั้ แอลฟา - ธาลัสซเี มยี และเบตา - ธาลสั ซเี มยี
ผูทม่ี ีโอกาสเปน พาหะ
- ผูท่ีมญี าตพิ ่นี องเปน โรคน้ีกม็ ีโอกาสท่ีจะเปนพาหะหรือมียนี แฝงสงู
- ผทู ีม่ ลี ูกเปน โรคน้ี แสดงวา ทง้ั คสู ามภี รรยาเปนพาหะหรอื มยี นี แฝง
- ผทู ่มี ีประวตั บิ คุ คลในครอบครวั เปนโรคธาลัสซีเมยี
- ถาผปู ว ยทีเ่ ปน โรคธาลัสซเี มยี และแตง งานกับคนปกตทิ ไ่ี มม ยี นี แฝง ลูกทุกคนจะมียีนแฝง
- จากการตรวจเลอื ดดวยวธิ พี เิ ศษดคู วามผดิ ปกติของเฮโมโกลบนิ
โอกาสเสี่ยงของการมีลูกเปนโรคธาลสั ซีเมีย
ถาท้งั พอ และแมเ ปนโรคธาลัสซเี มีย (ปว ยทัง้ ค)ู
- ในการตั้งครรภแตล ะครง้ั ลูกทุกคนจะปว ยเปน โรคธาลัสซเี มยี
- ในกรณนี ้ีจงึ ไมมลี ูกที่เปนปกติเลย
ถา ทัง้ พอ และแมม ยี นี แฝง (เปน พาหะท้งั ค)ู
- ในการตั้งครรภแ ตละครงั้ โอกาสทล่ี กู จะเปนปกติ เทา กบั รอยละ 25 หรือ 1 ใน 4
- ในการตงั้ ครรภแตละคร้งั โอกาสที่ลูกจะมยี นี แฝง (เปน พาหะ) เทากับ รอยละ 50 หรอื 2 ใน 4
- ในการต้ังครรภแตล ะครงั้ โอกาสทจี่ ะมีลกู จะเปนโรคธาลัสซีเมยี เทากับ
รอยละ 25 หรอื 1 ใน 4
ถา พอ หรอื แมเ ปน ยีนแฝงเพียงคนเดียว (เปนพาหะ 1 คน ปกติ 1 คน)
- ในการต้ังครรภแ ตละครั้งโอกาสท่ีจะมลี ูกปกตเิ ทา กับรอ ยละ 50 หรือ 1 ใน 2
- ในการตั้งครรภแตละคร้งั โอกาสที่ลกู จะมยี ีนแฝงเทา กับรอยละ 50 หรอื 1 ใน 2
ถา พอ หรือแมเ ปน โรคธาลสั ซีเมยี เพียงคนเดยี วและอกี ฝายมยี นี ปกติ (เปน โรค 1 คน ปกติ 1 คน)
- ในการตง้ั ครรภแตล ะครง้ั ลูกทุกคนจะมียีนฝง หรอื เทากบั เปน พาหะรอยละ 100
- ในกรณีนจ้ี งึ ไมม ีลูกทป่ี ว ยเปน โรคธาลัสซเี มีย
83
ถา พอหรอื แมเปน โรคธาลัสซเี มียเพยี งคนเดยี วและอีกฝา ยมยี นี แฝง (เปน โรค 1 คน เปนพาหะ 1 คน)
- ในการมีครรภแตล ะครงั้ โอกาสทีล่ กู จะปว ยเปน โรคเทากับรอ ยละ 50 หรอื 1 ใน 2
- ในการมคี รรภแ ตล ะครง้ั โอกาสทีล่ ูกจะมยี ีนแฝงเทากับรอยละ 50 หรือ 1 ใน 2
- ในกรณนี ้จี ึงไมม ีลูกท่เี ปนปกติเลย
การรกั ษา
1. ใหร ับประทานวิตามนิ โฟลคิ วันละเม็ด
2. ใหเลือดเม่ือผูปวยซดี มากและมอี าการของการขาดเลอื ด
3. ตัดมามเมือ่ ตอ งรบั เลอื ดบอย ๆ และมามโตมากจนมีอาการอึดอดั แนน ทอง กนิ อาหารไดนอ ย
4. ไมค วรรับประทานยาบํารุงเลอื ดทม่ี ีธาตุเหล็ก
5. ผูปวยทอี่ าการรนุ แรงซีดมาก ตอ งใหเ ลอื ดบอ ยมากจะมีภาวะเหล็กเกนิ อาจตองฉีดยาขบั เหลก็
การปลูกถา ยไขกระดูก
โดยการปลูกถายเซลลต นกาํ เนิดของเมด็ เลือด ซึง่ นาํ มาใชในประเทศไทยแลว ประสบความสําเร็จ
เชนเดยี วกับการปลูกถายไขกระดูก ซ่ึงทําสําเร็จในประเทศไทยแลวหลายราย เด็กๆ ก็เจริญเติบโตปกติ
เหมอื นเด็กธรรมดาโดยหลักการ คือ นําไขกระดูกมาจากพ่นี องในพอแมเดียวกัน (ตางเพศก็ใชได) นํามา
ตรวจความเหมาะสมทางการแพทยห ลายประการ และดาํ เนนิ การชวยเหลือ
การเปล่ียนยีน
นอกจากน้ยี ังมเี ทคโนโลยีทันสมัยลา สุดคอื การเปลี่ยนยนี ซ่ึงกําลงั ดําเนินการวจิ ัยอยู
แนวทางการปองกนั โรคธาลสั ซเี มีย
- จัดใหม ีการฝกอบรมบุคลากรทางการแพทย เพอื่ จะไดม ีความรู ความสามารถในการวินิจฉัย
หรือใหคําปรกึ ษาโรคธาลสั ซีเมยี ไดถ ูกวธิ ี
- จัดใหม ีการใหค วามรปู ระชาชน เก่ยี วกับโรคธาลสั ซเี มยี เพอื่ จะไดทาํ การคนหากลุมท่ีมีความ
เส่ยี ง และใหคาํ แนะนําแกผูท่เี ปน โรคธาลัสซีเมียในการปฏบิ ตั ิตัวไดอ ยา งถกู วธิ ี
- จดั ใหม กี ารใหค าํ ปรกึ ษาแกคสู มรส มีการตรวจเลือดคสู มรส เพอื่ ตรวจหาเช้ือโรคธาลัสซีเมีย
และจะไดใหคําปรกึ ษาถงึ ความเสี่ยง ท่จี ะทาํ ใหเ กดิ โรคธาลัสซเี มยี ได รวมถึงการแนะนํา และการควบคุม
กําเนดิ ที่เหมาะสมสาํ หรับรายที่มีการตรวจพบวา เปนโรคธาลัสซเี มียแลว เปน ตน
84
2.3 โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเปนภาวะท่ีรางกายมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงกวาปกติ เกิดเน่ืองมาจากการขาด
ฮอรโ มนอนิ ซูลนิ หรอื ประสทิ ธภิ าพของอินซูลินลดลงเนอื่ งจากภาวะดอ้ื ตอ อินซูลิน ทําใหนา้ํ ตาลในเลือด
สงู ขน้ึ อยเู ปนเวลานานจะเกดิ โรคแทรกซอนตออวัยวะตาง ๆ เชน ตา ไต และระบบประสาท เปนตน
ฮอรโ มนอินซลู นิ มคี วามสาํ คญั ตอรา งกายอยางไร
อินซูลินเปนฮอรโมนสําคัญตัวหนึ่งของรางกาย สรางและหล่ังจากเบตาเซลลของตับออน
ทําหนาทีเ่ ปนตัวพานา้ํ ตาลกลโู คสเขา สเู นอ้ื เย่ือตา ง ๆ ของรางกาย เพ่ือเผาผลาญเปน พลังงานในการดําเนิน
ชีวติ ถาขาดอินซลู ินหรอื การออกฤทธไิ์ มด ี รางกายจะใชน ํ้าตาลไมไ ด จึงทําใหน้ําตาลในเลือดสูงมีอาการ
ตางๆของโรคเบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารคารโบไฮเดรตแลว ยังมีความ
ผดิ ปกติอ่ืน ๆ เชน มกี ารสลายของสารไขมันและโปรตนี รว มดวย
อาการของโรคเบาหวาน
คนปกตกิ อนรบั ประทานอาหารเชา จะมรี ะดับนา้ํ ตาลในเลอื ดรอ ยละ 10 - 110 มก. หลงั
รับประทานอาหารแลว 2 ชัว่ โมง ระดับนํา้ ตาลไมเ กนิ รอยละ 1 - 40 มก. ผทู ่รี ะดับนํ้าตาลสงู ไมม าก อาจจะ
ไมม ีอาการอะไร การวินจิ ฉัยโรคเบาหวานจะทําไดโดยการเจาะเลอื ด
อาการทพี่ บบอ ย ไดแก
1. การมปี ส สาวะบอ ย ในคนปกติมักไมตองลุกขึน้ ปสสาวะในเวลากลางคนื หรือปส สาวะไมเ กิน
1 คร้ัง เม่ือนํา้ ตาลในกระแสเลือดมากกวา 180 มก. โดยเฉพาะในเวลากลางคืนน้ําตาลจะถูกขับออกทาง
ปสสาวะ ทําใหน้ําถูกขับออกมากข้ึนจึงมีอาการปสสาวะบอยและเกิดสูญเสียนํ้า และอาจพบวาปสสาวะ
มมี ดตอม
2. ผูปว ยจะหวิ นํ้าบอย เน่อื งจากตอ งทดแทนนํ้าที่ถูกขับออกทางปสสาวะ
3. ผปู วยจะกินเกง หวิ เกง แตนํา้ หนักจะลดลงเนื่องจากรางกายนํานา้ํ ตาลไปใชเ ปน พลังงานไมได
จงึ มีการสลายพลังงานจากไขมนั และโปรตนี จากกลา มเน้อื แทน
4. ออ นเพลยี นาํ้ หนกั ลด เกดิ จากรา งกายไมสามารถใชนํา้ ตาลจงึ ยอ ยสลายสวนท่ีเปนไขมัน และ
โปรตีนออกมา
5. อาการอืน่ ๆ ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ไดแ ก อาการคนั อาการตดิ เชอื้ แผลหายชา
- คนั ตามผิวหนงั มีการตดิ เชอื้ รา โดยเฉพาะบรเิ วณชองคลอดของผูหญิง สาเหตุของอาการคัน
เน่ืองจาก ผิวแหง ไป หรอื มอี าการอักเสบของผวิ หนัง
- เหน็ ภาพไมช ัด ตาพรา มวั ตองเปล่ียนแวน บอย เชน สายตาส้นั ตอ กระจก นํา้ ตาลในเลอื ดสงู
- ชาไมมีความรูสึก เจบ็ ตามแขน ขา บอย หยอ นสรรมภาพทางเพศ เน่ืองจากน้ําตาลสูงนาน ๆ
ทาํ ใหเสน ประสาทเส่ือม
- เกิดแผลทีเ่ ทา ไดงา ย เพราะอาการชาไมร สู ึก เมือ่ ไดรบั บาดเจบ็
85
2.4 โรคภมู แิ พ
โรคภูมิแพ คือ โรคที่เกิดจากปฏิกิริยาภูมิไวเกินตอสารกอภูมิแพ ซึ่งในคนปกติไมมีปฏิกิริยานี้
เกิดขึ้นผูท่ีเปนโรคภูมิแพมีปฏิกิริยาภูมิไวเกินตอ ฝุน ตัวไรฝุน เช้ือราในอากาศ อาหาร ขนสัตว เกสร
ดอกไม เปน ตน สารที่กอ ใหเ กดิ ปฏกิ ริ ิยาภูมิไวเกินน้ีเรียกวา “สารกอภูมิแพ” โรคภูมิแพ สามารถแบงได
ตามอวยั วะทีเ่ กดิ โรคไดเ ปน 4 โรค คือ
- โรคโพรงจมกู อกั เสบจากภูมแิ พ หรือโรคแพอ ากาศ
- โรคตาอกั เสบจากภูมิแพ
- โรคหอบหดื
- โรคผนื่ ภูมิแพผิวหนงั
โรคภูมิแพ จัดเปนโรคที่พบบอยโรคหนึ่งในประเทศไทย จากการศึกษาอัตราความชุกของโรค
ในประเทศไทย มอี ตั ราความชกุ อยรู ะหวาง 15-45% โดยประมาณ โดยพบโรคโพรงจมกู อกั เสบจากภูมแิ พ
มีอัตราชุกสูงสุดในกลุมโรคภูมิแพ น่ันหมายความวา ประชากรเกือบคร่ึงหน่ึงของประเทศ มีปญหา
เก่ยี วกบั โรคภมู ิแพอยู
โรคภมู แิ พส ามารถถายทอดทางกรรมพนั ธุ คือ ถา ยทอดจากพอ และแมมาสูลูก เหมือนภาวะอื่น ๆ
เชน หวั ลา น ความสงู สขี องตา เปน ตน ในทางตรงกันขาม แมวาพอแมของคุณเปนโรคภูมิแพ คุณอาจจะ
ไมมีอาการใด ๆ เลยกไ็ ด
โดยปกติ ถาพอ หรือแม คนใดคนหน่ึงเปนโรคภมู ิแพ ลูกจะมีโอกาสเปนโรคภูมิแพป ระมาณ 25%
แตถาทัง้ พอและแมเ ปนโรคภมู แิ พท้ังคู ลกู ท่เี กดิ ออกมามโี อกาสเปนโรคภมู แิ พสงู ถึง 66% โดยเฉพาะโรค
โพรงจมกู อักเสบจากภมู ิแพ จะมอี ัตราการถายทอดทางกรรมพนั ธสุ งู ท่สี ดุ
โรคภูมิแพ อาจหายไปไดเ องเม่ือผูป วยโตเปน ผูใหญ แตสวนใหญมักไมหายขาด โดยอาการของ
โรคภมู ิแพอ าจสงบลงไปชว งหนึ่ง และมักจะกลบั มาเปน ใหม
สรุป
โรคถายทอดทางพันธุกรรมนับวาเปนปญหาท่ีสําคัญ ซ่ึงอาจทําใหผูปวยเสียชีวิตตั้งแตคลอด
ออกมา หรือไดรับความทรมานจากโรค เม่ือเกิดอาหารแลวไมมีทางรักษาใหหายขาดได มีเพียงรักษา
เพื่อบรรเทาอาการเทาน้ัน หรือควบคุมใหโรคแสดงอาการออกมา ดังนั้น การตรวจสอบโรคทาง
พันธุกรรม และการใหคําปรึกษาทางดานพันธุศาสตรแกคูสมรส รวมท้ังการตรวจสุขภาพกอนการ
แตง งานจงึ มคี วามสาํ คัญอยา งยิง่ เพราะจะเปนการปองกันกอนการตั้งครรภ ซึ่งแพทยตามสถานพยาบาล
สามารถใหค าํ แนะนาํ ปรกึ ษาได
86
กจิ กรรม
ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ แลว บันทกึ ในแฟมสะสมงานพรอ มอธบิ ายในช้ันเรยี น
1. โรคธาลสั ซีเมียเกิดจากสาเหตอุ ะไรและมีกป่ี ระเภทอะไรบา ง
2. โรคภูมแิ พเกดิ จากสาเหตอุ ะไรและมีอวยั วะใดบา งทเี่ กิดโรคภมู แิ พไ ด
3. สาํ รวจเพ่อื นในกลมุ วา ใครเปน โรคภมู ิแพบ าง เพื่อจะไดอ อกมาอภปิ รายใหท ราบถงึ อาการท่ี
เปน และสันนิษฐานหาสาเหตุ และคน หาวิธกี ารปองกันรวมกัน
87
บทที่ 6
ความปลอดภยั จากการใชย า
สาระสาํ คญั
มคี วามรู ความเขา ใจ เก่ียวกับหลกั การและวิธกี ารใชยาท่ีถกู ตอ ง สามารถจาํ แนกอนั ตรายทเี่ กดิ
จากการใชย าได รวมทั้งวิเคราะหค วามเชอื่ และอนั ตรายจากยาประเภทตาง ๆ เชน ยาบํารุงกําลัง
ยาดองเหลา ตลอดจนการปอ งกนั และชว ยเหลือเมอ่ื เกิดอนั ตรายจากการใชยาไดอ ยา งถกู ตอ ง
ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง
1. รแู ละเขาใจ หลักการและวิธกี ารใชย าทถ่ี กู ตอง
2. จาํ แนกอนั ตรายจากการใชย าประเภทตา ง ๆ ไดอยา งถกู ตอ ง
3. วิเคราะหผ ลกระทบจากความเชือ่ ท่ีผิดเกย่ี วกบั การใชย าได
4. ปฐมพยาบาลและใหค วามชว ยเหลอื แกผ ูท ไ่ี ดรับอนั ตรายจากการใชยาไดอยา งถกู ตอง
ขอบขา ยเน้ือหา
เรอ่ื งที่ 1 หลักการและวิธีการใชย าท่ีถกู ตอ ง
เรอ่ื งที่ 2 อันตรายจากการใชย า
เรื่องท่ี 3 ความเชอ่ื เกย่ี วกับการใชย า
88
เรื่องท่ี 1 หลกั การและวิธีการใชยาทีถ่ กู ตอ ง
การใชย าท่ีถกู ตอ งมหี ลกั การดังน้ี
1. อานฉลากยาใหละเอียดกอนการใชทุกคร้ัง ซึ่งโดยปกติยาทุกขนาดจะมีฉลากบอกช่ือยา
วธิ กี ารใชยา ขอ หามในการใชยา และรายละเอยี ดอ่นื ๆ ไวดวยเสมอ จงึ ควรอา นใหละเอียดและปฏิบัติตาม
คําแนะนําอยา งเครง ครัด
2. ใชย าใหถ ูกชนิดและประเภทของยา ซ่งึ ถา ผใู ชย าหยบิ ยาไมถ ูกตองจะเปนอันตรายตอผูใชและ
รกั ษาโรคไมหาย เน่อื งจากยาบางชนดิ จะมชี ื่อ สี รปู รา ง หรอื ภาชนะบรรจคุ ลา ยกนั แตต ัวยา สรรพคุณยาท่ี
บรรจภุ ายในจะตา งกนั
3. ใชยาใหถูกขนาด เพราะการใชยาแตละชนิดในขนาดตาง ๆ กัน จะมีผลในการรักษาโรคได
ถาไดร บั ขนาดของยานอยกวา ที่กําหนดหรือไดร บั ขนาดของยาเพียงครึ่งหน่ึง อาจทําใหการรักษาโรคนั้น
ไมไ ดผ ลและเชอื้ โรคอาจดื้อยาได แตหากไดรับยาเกินขนาดอาจเปน อันตรายตอรางกายได ดังนั้น จึงตอง
ใชยาใหถูกตองตามขนาดของยาแตละชนิด เชน ยาแกปวดลดไข ตองใชครั้งละ 1 – 2 เม็ด ทุก ๆ 4 – 6
ชวั่ โมง เปนตน
4. ใชยาใหถูกเวลา เนื่องจากยาบางชนิดตองรับประทานกอนอาหาร เชน ยาปฏิชีวนะพวก
เพนนซิ ลิ ลิน เพราะยาเหลานี้จะดูดซึมไดดีในขณะทองวาง ถาเรารับประทานหลังอาหาร ยาจะถูกดูดซึมได
ไมดี ซง่ึ จะมีผลตอ การรกั ษาโรค ยาบางชนดิ ตองรบั ประทานหลงั อาหาร บางชนิดรับประทานกอนอาหาร
เพราะยาบางประเภทเมือ่ รบั ประทานแลวจะมอี าการงวงซึม รางกายตองการพักผอน แพทยจึงแนะนําให
รบั ประทานกอ นนอนไมค วรรบั ประทานในขณะปฏิบตั งิ านเกยี่ วกับเคร่ืองจักรกล หรือขณะขับข่ีรถยนต
เพราะอาจจะทําใหเกดิ อันตรายได
- ยากอนอาหาร ควรรบั ประทานกอ นอาหารประมาณครึ่งถงึ หนึ่งชั่วโมง
- ยาหลังอาหาร ควรรบั ประทานหลังอาหารทนั ที หรอื ไมค วรจะนานเกนิ 15 นาที หลังอาหาร
- ยากอนนอน ควรรบั ประทานกอนเขานอน เพือ่ ใหร า งกายไดรับการพักผอน
5. ใชยาใหถ กู วธิ ี เชน ยาอมเปน ยาท่ีตองการผลในการออกฤทธิ์ที่ปาก จึงตองอมใหละลายชา ๆ
ไปเรื่อยๆ ถา เรากลืนลงไปพรอ มอาหารในกระเพาะ ยาจะออกฤทธผ์ิ ดิ ที่ ซงึ่ ไมเ ปนทีท่ เ่ี ราตองการใหรักษา
การรักษาน้ันจะไมไดผล ยาทาภายนอกชนดิ อน่ื ๆ ก็เชนกัน เปนยาทาภายนอกรางกาย ถาเรานําไปทาใน
ปากหรือนาํ ไปกินจะไมไดผลและอาจใหโทษตอรางกายได
6. ใชยาใหถูกกับบุคคล แพทยจะจายยาตรงตามโรคของแตละบุคคลและจะเขียนหรือพิมพช่ือ
คนไขไ วหนาซองยาทุกครั้ง ดงั น้ัน จึงไมควรนาํ ไปแบง ใหผ ูอืน่ ใชเ พราะอาจไมตรงกบั โรคและมีผลเสยี ได
เน่อื งจากยาบางชนดิ หา มใชใ นเดก็ คนชรา และหญิงมีครรภ ยาบางชนิดมีขอหามใชในบุคคลที่ปวยเปน
โรคบางอยาง ซ่งึ ถานาํ ไปใชจ ะมีผลขา งเคียงและอาจเปนอนั ตราตอ ผใู ชยาได
89
7. ไมควรใชยาที่หมดอายุหรือเส่ือมคุณภาพ ซ่ึงเราอาจสังเกตไดจากลักษณะการเปล่ียนแปลง
ภายนอกของยา เชน สี กล่ิน รส และลักษณะท่ีผิดปกติไปจากเดิม ไมควรใชยาน้ัน เพราะเส่ือมคุณภาพ
แลว แตถึงแมวา ลกั ษณะภายนอกของยายงั ไมเ ปลี่ยน เรากค็ วรพิจารณาดูวันท่ีหมดอายุกอนใช ถาเปนยาที่
หมดอายแุ ลว ควรนําไปทิ้งทนั ที
ขอควรปฏิบตั ิในการใชยา
1. ยานํา้ ทุกขนาดควรเขยาขวดกอ นรนิ ยา เพ่ือใหตัวยาทตี่ กตะกอนกระจายเขา เปนเนือ้ เดยี วกัน
ไดด ี
2. ยาบางชนิดยังมขี อกําหนดไวไ มใหใ ชรว มกบั อาหารบางชนดิ เชน หามด่ืมพรอมนมหรือน้ําชา
กาแฟ เนื่องจากมฤี ทธิต์ านกนั ซึ่งจะทาํ ใหเ กิดอนั ตรายหรือไมมผี ลตอการรักษาโรคได
3. ไมควรนําตัวอยางเม็ดยา ขวดยา ซองยา หรอื หลอดยาไปหาซื้อมาใชหรือรับประทานเอง หรือ
ใชย าตามคําโฆษณาสรรพคุณยาจากผขู ายหรอื ผูผลิต
4. เมอื่ ใชยาแลว ควรปด ซองยาใหส นิท ปองกันยาชนื้ และไมควรเกบ็ ยาในที่แสงแดดสองถึง หรือ
เกบ็ ในท่ีอบั ชืน้ หรือรอนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหย าเสือ่ มคุณภาพ
5. เมอื่ ลืมรบั ประทานยาม้อื ใดมื้อหน่ึง หา มนํายาไปรับประทานรวมกับม้ือตอไป เพราะจะทําให
ไดร ับยาเกินขนาดได ใหรบั ประทานยาตามขนาดปกตใิ นแตล ะม้อื ตามเดมิ
6.หากเกิดอาการแพยาหรือใชยาผิดขนาด เชน มีอาการคลื่นไส อาเจียน บวมตามหนาตาและ
รางกาย มผี ่นื ขึ้นหรอื แนนหนาอก หายใจไมออก ใหหยุดยาทันทีและรีบไปพบแพทยโดยดวน พรอมท้ัง
นาํ ยาที่รบั ประทานไปใหแ พทยวนิ ิจฉัยดวย
7. ไมค วรเก็บยารักษาโรคของบคุ คลในครอบครวั ปนกบั ยาอนื่ ๆ ที่ใชกบั สตั วหรือพชื เชน
ยาฆาแมลงหรือสารเคมีอืน่ ๆ เพราะอาจเกิดการหยบิ ยาผดิ ไดงาย
8. ไมค วรเกบ็ ยารักษาโรคไวใกลมือเด็กหรือในที่ท่ีเด็กเอื้อมถึง เพราะเด็กอาจหยิบยาไปใสปาก
ดวยความไมรแู ละอาจเกิดอันตรายตอรา งกายได
9. ควรซ้ือยาสามัญประจําบานไวใชเองในครอบครัว เพื่อใชรักษาโรคทั่ว ๆ ไปท่ีไมรายแรงใน
เบอื้ งตนเน่ืองจากมรี าคาถกู ปลอดภัย และทีข่ วดยาหรอื ซองยาจะมีคาํ อธิบายสรรพคุณและวิธกี ารใชงาย ๆ
ไวทุกชนิด แตถ า หากเม่ือใชยาสามญั ประจาํ บา นแลว อาการไมดขี น้ึ ควรไปพบแพทยเ พือ่ ตรวจรกั ษาตอ ไป
90
เรอ่ื งที่ 2 อันตรายจากการใชย า
ยาทุกชนิดมีทั้งคุณและโทษ ดังน้ัน เพ่ือหลีกเลี่ยงอันตรายจากการใชยาจึงควรใชยาอยาง
ระมัดระวงั และใชเทา ท่จี าํ เปนจริงๆ เทานั้น อนั ตรายจากการใชย ามสี าเหตทุ ่ีสาํ คัญ ดังนี้
1. ผูใชยาขาดความรูใ นการใชย า แบงได ดังนี้
1.1 ใชย าไมถ ูกตอง เชน ไมถูกโรค บคุ คล เวลา วธิ ี ขนาด นอกจากทําใหการใชย าไมไดผ ลใน
การรักษาแลว ยังกอ ใหเกิดอนั ตรายจากการใชย าอกี ดว ย
1.2 ถอนหรอื หยุดยาทันที ยาบางชนิดเมอื่ ใชไดผลในการรักษาแลวตองคอย ๆ ลดขนาดลง
ทีละนอ ยจนสามารถถอนยาได ถาหยุดทันทีจะทําใหเกิดโรคขางเคียงหรือโรคใหมตามมา ตัวอยางเชน
ยาเพรดนิโซโลน ยาเดกซาเมธาโซน ถาใชต ิดตอกันนานๆ แลว หยุดยาทันที จะทําใหเ กิดอาการเบื่ออาหาร
คล่ืนไสอาเจยี น ปวดทอง รา งกายขาดนา้ํ และเกลือ เปนตน
1.3 ใชย ารวมกนั หลายขนาน การใชยาหลายๆ ชนดิ รกั ษาโรคในเวลาเดียวกัน บางคร้ังยาอาจ
เสริมฤทธก์ิ ันเอง ทาํ ใหยาออกฤทธ์ิเกินขนาด จนเกิดอาการพิษถึงตายได ในทางตรงกันขาม ยาอาจตาน
ฤทธ์ิกันเอง ทําใหไมไดผลตอการรักษาและเกิดดื้อยา ตัวอยางเชน การใชยาปฏิชีวนะรวมกันระหวาง
เพนซิ ิลลนิ กบั เตตราซยั คลนี นอกจากน้ี ยาบางอยางอาจเกิดผลเสียถาใชรวมกับเคร่ืองด่ืม สุรา บุหรี่ และ
อาหารบางประเภท ผูทใ่ี ชย ากดประสาทเปน ประจํา ถา ดม่ื สรุ าดว ยจะย่ิงทําใหฤ ทธิก์ ารกดประสาทมากขึ้น
อาจถงึ ขน้ั สลบและตายได
2. คุณภาพยา
แมผ ูใชยาจะมีความรใู นการใชยาไดอ ยา งถูกขนาด ถกู วิธี และถูกเวลาแลว ก็ตาม แตถา ยาท่ใี ชไมมี
คุณภาพในการรกั ษาจะกอใหเ กดิ อนั ตรายได สาเหตทุ ที่ ําใหยาไมม คี ุณภาพ มดี ังนี้
2.1 การเก็บ ยาทผ่ี ลิตไดมาตรฐาน แตเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหยาเส่ือมคุณภาพ เกิดผลเสีย
ตอ ผใู ช ตวั อยา งเชน วคั ซีน ตองเก็บในตเู ย็น ถาเก็บในตธู รรมดายาจะเสอื่ มคุณภาพ แอสไพรินถาถูกความช้ืน
แสง ความรอน จะทําใหเ ปลยี่ นสภาพเปน กรดซาลซิ ัยลกิ ซึ่งไมไดผลในการรกั ษาแลวยังกัดกระเพาะทะลุ
อีกดว ย
2.2 การผลิต ยาท่ีผลิตแลวมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐาน อาจเกิดข้ึนเน่ืองจากหลายสาเหตุ คือ
ใชวัตถุดิบในการผลิตท่ีมีคุณภาพตํ่า และมีวัตถุอ่ืนปนปลอม กระบวนการการผลิตไมถูกตอง เชน
อบยาไมแหง ทําใหไ ดย าทเี่ สียเร็ว ขึ้นรางาย นอกจากนี้พบวา ยาหลายชนิดมีการปะปนของเช้ือจุลินทรีย
ตํารับยาบางชนิดท่ใี ชไมเหมาะสม เปนสตู รผสมยาหลาย ๆ ตัวในตํารับเดียว ทําใหยาตีกัน เชน คาโอลิน
จะดูดซมึ นโี อมยั ซนิ ไมใ หออกฤทธ์ิ เปนตน
3. พยาธสิ ภาพของผใู ชยา และองคป ระกอบทางพันธกุ รรม
ผูปว ยทเ่ี ปนโรคเกีย่ วกบั ตบั หรอื ไต จะมีความสามารถในการขับถายยาลดลง จึงตองระวังการใช
ยามากยง่ิ ขนึ้ นอกจากน้ี องคประกอบทางกรรมพันธุจะทําใหความไวในการตอบสนองตอยาของบุคคล
91
แตกตางกนั ตวั อยาง คนนิโกร ขาดเอนไซมที่จะทําลายยาไอโซนอาซคิ ถา รับประทานยาน้ีในขนาดเทากับ
คนเชือ้ ชาตอิ นื่ จะแสดงอาการประสาทอกั เสบ นอนไมหลับ เปนตน
ดงั นั้น ผูใ ชย าควรศึกษาเรื่องการใชยาใหเขาใจอยางแทจริง และใชยาอยางระมัดระวังเทาท่ีจําเปน
จริง ๆ เทานั้น โดยอยูในความดูแลของแพทยหรือเภสัชกรอยางใกลชิด จะชวยขจัดสาเหตุที่ทําใหเกิด
อนั ตรายจากการใชยาไดอ ยา งไรก็ตาม ผใู ชยาควรตระหนักถงึ โทษหรอื อันตรายจากการใชยาท่ีอาจเกิดขึ้นได
ดังตอ ไปน้ี
1. การแพยา (Drug Allergy หรือ Drug Hypersensitivity)
เปนภาวะท่รี างกายเคยไดร ับยาหรอื สารท่มี ีสูตรคลายคลึงกับยาน้ันมากอนแลวยาหรือสารนั้นจะ
กระตนุ ใหร างกายสรา งภูมิคมุ กนั ขน้ึ เรยี กวา “สิ่งตอตาน” (Antibody) โดยใชเวลาประมาณ 7-14 วัน เมื่อ
ไดรับยาหรือสารนั้นอีก จะเกิดปฏิกิริยาไดสารประกอบเชิงซอนเปน “ส่ิงเรงเรา” (Antigen) ใหรางกาย
หล่ังสารบางอยางที่สําคัญ เชน ฮีสตามีน (Histamine) ทําใหเกิดอาการแพข้ึน ตัวอยาง ผูท่ีเคยแพยา
เพนซิ ลิ ลนิ เม่อื รบั ประทานเพนซิ ิลลนิ ซํา้ อกี คร้ังหนึง่ จะถูกเปล่ียนแปลงในรางกายเปนกรดเพนิซิลเลนิก
ซ่ึงทาํ หนาท่เี ปน “สิ่งเรง เรา ” ใหรา งกายหล่ังฮสี ตามีน ทําใหเกิดอาการแพ เปนตน
การแพยาจะมีตั้งแตอาการเล็กนอย ปานกลาง จนรุนแรงมาก ถึงข้ันเสียชีวิต ท้ังนี้ข้ึนอยูกับ
องคป ระกอบตอไปน้ี
1. ชนิดของยา ยาท่ีกระตุนใหเกิดอาการแพท่ีพบอยูเสมอ ไดแก เพนิซิลลิน แอสไพริน
ซลั โฟนาด เซรุมแกบ าดทะยกั ยาชา โปรเคน นํา้ เกลอื และเลอื ด เปน ตน
2. วิธกี ารใชยา การแพยาเกิดข้ึนไดจากการใชยาทุกแบบ แตการรับประทานเปนวิธีที่ทําใหแพ
นอยทสี่ ดุ ขณะทีก่ ารสมั ผสั หรือการใชยาทาจะทําใหเ กิดอาการแพไ ดง า ยทีส่ ุด สวนการฉีด เปนวิธีการให
ยาท่ีทาํ ใหเ กดิ การแพอยา งรวดเร็ว รุนแรง และแกไขไดย าก
3. พนั ธกุ รรม การแพย าเปนลกั ษณะเฉพาะของบุคคล คนที่มีความไวในการถูกกระตุนใหแพยา
หรอื คนท่ีมีประวตั เิ คยเปนโรคภมู แิ พ เชน หืด หวดั เร้อื รงั ลมพษิ ผืน่ คนั จะมโี อกาสแพยามากกวาคนท่ัวไป
4. การไดรับการกระตุนมากอน ผูปวยเคยไดรับยาหรือสารกระตุนมากอนแลวในอดีต โดยจํา
ไมไ ดห รือไมร ตู ัว เมอื่ ไดรบั ยาหรือสารน้ันอีกคร้ัง จงึ เกดิ อาการแพ เชนในรายที่แพเ พนซิ ลิ ลนิ เปนครง้ั แรก
โดยมปี ระวัติวาไมเคยไดรับยาท่ีแพมากอนเลย แทท่ีจริงแลวผูปวยเคยไดรับสารเพนิซิลลินมากอนแลว
ในอดีต แตอาจจําไมไดหรือไมรูตัว เพราะผูปวยใชยาที่ไมทราบวามีเพนิซิลลินอยูดวย หรืออาจ
รับประทานอาหารบางชนดิ ทีม่ ีเช้อื เพนิซลิ เลียมอยดู ว ย
การปองกันและการแกไข การปองกันมิใหเกิดอาการแพยาเปนวิธีท่ีดีท่ีสุด เพราะถาอาการแพ
รุนแรงมาก อาจแกไ ขไมทันการ โดยทั่วไปการปองกนั อาจทําไดด งั น้ี
1. งดใชย า ผูปวยควรสังเกต จดจาํ และงดใชย าท่เี คยแพมากอ น นอกจากนี้ ยังควรหลกี เล่ียงการใช
ยาทีอ่ ยใู นกลุมเดียวกัน หรอื มีสตู รโครงสรางใกลเ คยี งกันดว ย
92
2. ควรระมัดระวังการใชย าทม่ี ักทาํ ใหเกิดอาการแพงา ยบอ ย ๆ เชน เพนซิ ลิ ลิน ซัลโฟนาไมด หรือ
ซาลซิ ยั เลท เปนตน โดยเฉพาะรายทมี่ ีประวัตหิ อบหืด หวดั เร้อื รัง ลมพษิ ผ่ืนคนั แพสารตาง ๆ หรือแพยา
มาแลว ควรบอกรายละเอียดใหแ พทยห รอื เภสัชกรทราบกอ นใชย า
3. กรณีท่ีจาํ เปนจะตองใชยาท่เี คยแพ จะตอ งอยใู นความดแู ลของแพทยอยา งใกลช ดิ โดยแพทยจะ
ใชย าชนิดท่แี พค รง้ั ละนอย ๆ และใหย าแกแพพรอมกนั ไปดว ยเปนระยะเวลาหน่ึง จนกวารางกายจะปรับ
สภาพไดจนไมแพแลว จงึ จะใหยานน้ั ในขนาดปกติได
การแกไ ขอาการแพยา ควรพิจารณาตามสภาพของการแพ ในกรณที ่มี ีอาการแพเ พียงเลก็ นอย เชน
ผน่ื คัน คัดจมูก ควรหยุดใชยา ซ่งึ จะชวยใหอาการตา งๆ ลดลงและหมดไปภายใน 2-3 ชว่ั โมง สาํ หรบั รายที่
มีอาการผ่นื คนั มากอาจจะใหย าแกแ พ (Antihistamine) รวมดวย ถามอี าการแพรนุ แรงมากและเกิดขึ้นควร
ไปพบแพทยทันทีทันใด ควรลดการดูดซึมของยา โดยทําใหอาเจียนหรือใหกินผงถาน (Activated
Charcoal) เพ่ือชวยดดู ซึมยา นอกจากนี้ ควรชวยการหายใจโดยใหอะดรนี าลินเพอื่ ชว ยขยายหลอดลมและ
เพมิ่ ความดนั โลหติ ถามีอาการอักเสบ อาจใชยาแกอกั เสบประเภทสเตอรอยดชว ยบา ง
2. ผลขา งเคียงของยา (Side Effect)
หมายถึง ผลหรืออาการอ่ืน ๆ ของยาอันเกิดขึ้นนอกเหนือจากผลที่ตองการใชในการรักษา
ดังเชน ยาแกแ พม ักจะทําใหเ กิดอาการงวงซึมเปนผลขางเคียงของยา หรือเตตราซัยคลีนใชกับเด็ก ทําให
เกิดผลขางเคียง คือฟนเหลืองอยางถาวร เปนตน ในกรณีท่ีเกิดผลขางเคียงของยาข้ึน ควรหยุดยาและ
หลีกเล่ียงการใชยาน้ันทันที
3. การดอื้ ยา (Drug Resistance)
พบมากที่สดุ มกั เน่อื งมาจากการใชย าปฏิชวี นะไมตรงกับชนิดของเชื้อโรคหรอื ใชไมถ ูกขนาด
หรอื ใชใ นระยะเวลาท่ไี มเ พยี งพอตอ การทําลายเชอ้ื โรค ซึง่ เรยี กวา การดอ้ื ยา เชน การดอื้ ตอ
ยาเตตราซยั คลีน ยาคลอแรมเฟนคิ อล เปนตน
4. การตดิ ยา (Drug Dependence)
ยาบางชนิดถา ใชไมถ กู ตองหรอื ใชตอเนือ่ งกนั ไปชั่วระยะเวลาหนึ่งจะทําใหต ดิ ยาขนานน้ันได
เชน ฝน มอรฟน บารบ ิทเู รต แอมเฟตามนี ยากลอมประสาท เปน ตน
5. พษิ ของยา (Drug Toxicity)
มกั เกดิ ขึน้ เนอ่ื งจากการใชยาเกดิ ขนาด สําหรบั พษิ หรือผลเสียของยาอาจกลา วโดยสังเขป ไดด งั นี้
1. ยาบางชนิดรับประทานแลว เกิดอาการไข ทาํ ใหเขา ใจผิดวาไขเกดิ จากโรค ในรายเชน น้ีเม่ือ
หยดุ ยาอาการไขจะหายไปเอง
2. ความผิดปกตขิ องเม็ดเลอื ดและสว นประกอบของเลอื ด ยาบางอยาง เชน ยาเฟนลิ บิวตาโซน
คลอแรมเฟนคิ อล และยารักษาโรคมะเรง็ จะยบั ยั้งการทาํ งานของไขกระดกู ทําใหเมด็ เลือดขาวและ
เมด็ เลือดแดงลดจํานวนลงกวาระดับปกติ เปนผลใหเ กิดภาวะโลหติ จาง รางกายออนแอ ติดเช้ือไดงายและ
รุนแรง ยาบางขนานที่ใชรักษามาเลเรีย เชน ควินิน พามาควิน และไพรมาควีน จะทําใหเม็ดเลือดแดง