The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by qa.islamiccollege, 2022-07-10 13:35:40

รายงานประจำปีสถานศึกษา 2564

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2564

๔๕

ชอื่ หลกั สตู ร ห้องเรียนปกติ (6/4) แผนการเรยี นคณติ ศาสตร์-ภาษาอังกฤษ

ม.6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ม.6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

รหสั วชิ า ชือ่ วิชา นก. ชม. รหสั วิชา ชอื่ วชิ า นก. ชม.

รายวิชาพืน้ ฐาน 6.5 260 รายวิชาพ้นื ฐาน 6.5 260

ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1 40
40
ค33111 คณติ ศาสตร์ 1 40 ค33113 คณติ ศาสตร์ 1 40
40
ว30162 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1 40 ว30113 วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส)์ 1 20
20
ส33101 สังคมศกึ ษา 5 1 40 ส33102 สงั คมศึกษา 6 1 20
40
พ33101 สขุ ศกึ ษา 0.5 20 พ33102 สุขศกึ ษา 0.5

ศ33101 ศิลปะ 0.5 20 ศ33102 ศลิ ปะ 0.5

ง33111 การงานอาชพี 0.5 20 ง33112 การงานอาชพี 0.5

อ33101 ภาษาองั กฤษ 1 40 อ33102 ภาษาอังกฤษ 1

รายวชิ าเพมิ่ เติม 8.5 360 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8.0 320

ท33223 ภาษาวเิ คราะห์เชอ่ื มโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวิเคราะหเ์ ช่ือมโยง 2 1 40
ค33211 คณติ ศาสตร์เพิม่ เตมิ 2 80 ค33212 คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 2 80
ส33201 พระพทุ ธศาสนา 5 รวม รวม ส33202 พระพุทธศาสนา 6 รวม รวม
ส33203 ปรัชญาอสิ ลาม 1 40 ส33204 เศรษฐศาสตร์อสิ ลาม 1 40
พ33201 พลศึกษา 0.5 20 พ33202 พลศึกษา 0.5 20
อ33201 ภาษาองั กฤษฟังพดู 1 40 อ33202 ภาษาองั กฤษฟังพดู 1 40
อ33203 ภาษาอังกฤษอา่ นเขียน 1 40 อ33204 ภาษาอังกฤษอ่านเขียน 1 40
อ33205 องั กฤษอา่ นเชงิ วเิ คราะห์ 1 40 อ33206 อังกฤษอ่านเชิงวเิ คราะห์ 1 40
ว33271 วิทยาการคำนวณ 1 40 ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 0.5 20
I30903 IS3 การนำความรไู้ ปใช้บรกิ ารสังคม
20

กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 60 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 60
ก33901 ชมุ นมุ 20 ก33902 ชุมนุม 20
ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20
ก33907 เพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 20
กิจกรรมเพมิ่ เติม
0 กิจกรรมเพ่ิมเตมิ 0
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด
15.0 680 รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด 14.5 640

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๔๖

ช่ือหลกั สตู ร ห้องเรียนปกติ (6/5) แผนการเรียนศิลป์-ธุรกจิ

ม.6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ม.6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา นก. ชม. รหัสวิชา ช่อื วชิ า นก. ชม.

รายวชิ าพ้นื ฐาน 6.5 260 รายวชิ าพืน้ ฐาน 6.5 260

ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1 40

ค33112 คณิตศาสตร์ 1 40 ค33114 คณติ ศาสตร์ 1 40

ว30162 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 40 ว30113 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ(ฟสิ ิกส์) 1 40

ส33101 สังคมศึกษา 5 1 40 ส33102 สงั คมศึกษา 6 1 40

พ33101 สุขศกึ ษา 0.5 20 พ33102 สุขศึกษา 0.5 20

ศ33101 ศลิ ปะ 0.5 20 ศ33102 ศิลปะ 0.5 20

ง33111 การงานอาชีพ 0.5 20 ง33112 การงานอาชพี 0.5 20

อ33101 ภาษาองั กฤษ 1 40 อ33102 ภาษาอังกฤษ 1 40

รายวิชาเพิม่ เตมิ 8.0 340 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 8.5 340

ท33223 ภาษาวเิ คราะห์เช่ือมโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวเิ คราะหเ์ ชอ่ื มโยง 2 1 40
ส33201 พระพทุ ธศาสนา 5
ส33203 ปรชั ญาอสิ ลาม รวม รวม ส33202 พระพุทธศาสนา 6 รวม รวม
พ33201 พลศึกษา
ง33265 บัญชี 1 1 40 ส33204 เศรษฐศาสตรอ์ สิ ลาม 1 40
ท30201 ภาษาไทยกบั สื่อ
ส30228 การปกครองท้องถนิ่ ของไทย 0.5 20 พ33202 พลศึกษา 0.5 20
อ33201 ภาษาองั กฤษฟังพูด
ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 2 80 ง33266 บญั ชี 2 2 80
I30903 IS3 การนำความรู้ไปใชบ้ ริการสงั คม
1 40 ท30202 ภาษาไทยในเพลง 1 40

1 40 ส30263 เอเชียตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา 1 40

1 40 อ33202 ภาษาองั กฤษฟังพดู 1 40

0.5 20 ว33271 วิทยาการคำนวณ 1 40

20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน 60
ก33901 ชมุ นุม 20 ก33902 ชุมนุม 20
ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20
ก33907 เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20
กจิ กรรมเพมิ่ เติม
0 กจิ กรรมเพิ่มเตมิ 0
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด
14.5 660 รวมเวลาเรียนท้ังหมด 15.0 660

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๔๗

ช่ือหลกั สตู ร ห้องเรียนปกติ (6/6) แผนการเรียนศิลปท์ ัว่ ไป

ม.6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ม.6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

รหสั วิชา ช่ือวิชา นก. ชม. รหัสวชิ า ช่อื วิชา นก. ชม.

รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5 260 รายวิชาพืน้ ฐาน 6.5 260

ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1 40
1 40
ค33112 คณติ ศาสตร์ 1 40 ค33114 คณิตศาสตร์ 1 40
1 40
ว30162 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1 40 ว30113 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ(ฟสิ ิกส)์ 0.5 20
0.5 20
ส33101 สังคมศกึ ษา 5 1 40 ส33102 สังคมศึกษา 6 0.5 20
1 40
พ33101 สุขศกึ ษา 0.5 20 พ33102 สุขศึกษา

ศ33101 ศิลปะ 0.5 20 ศ33102 ศลิ ปะ

ง33111 การงานอาชีพ 0.5 20 ง33112 การงานอาชีพ

อ33101 ภาษาอังกฤษ 1 40 อ33102 ภาษาอังกฤษ

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8.0 340 รายวิชาเพม่ิ เตมิ 8.5 340

ท33223 ภาษาวิเคราะหเ์ ช่ือมโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวิเคราะหเ์ ช่อื มโยง 2 1 40
ท30201 ภาษาไทยกบั สอื่ 1 40 ท30202 ภาษาไทยในเพลง 1 40
ท33201 ประวตั วิ รรณคดี 1 1 40 ท33206 ประวัติวรรณคดี 2 1 40
พ33201 พลศึกษา 0.5 20 พ33202 พลศึกษา 0.5 20
ส33201 พระพุทธศาสนา 5 รวม รวม ส33202 พระพุทธศาสนา 6 รวม รวม
ส33203 ปรชั ญาอสิ ลาม 1 40 ส33204 เศรษฐศาสตรอ์ สิ ลาม 1 40
ส30228 การปกครองทอ้ งถิ่นของไทย 1 40 ส30263 เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตศ้ ึกษา 1 40
ส30262 เอเชียตะวันออกในโลกปจั จุบัน 1 40 ส30264 โลกศึกษา 1 40
อ33203 ภาษาอังกฤษอา่ นเขยี น 1 40 อ33204 ภาษาอังกฤษอา่ นเขยี น 1 40
ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 0.5 20 ว33271 วิทยาการคำนวณ 1 40
I30903 IS3 การนำความรไู้ ปใช้บริการสังคม
20

กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 60 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 60
ก33901 ชมุ นมุ 20 ก33902 ชมุ นุม 20
ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20
ก33907 เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20
กจิ กรรมเพม่ิ เติม
0 กจิ กรรมเพิม่ เตมิ 0
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด
14.5 660 รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด 15.0 660

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๔๘

ช่อื หลกั สตู ร หอ้ งเรียนศาสนา (6/7) แผนการเรียนซานาวีย์

ม.6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ม.6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

รหัสวชิ า ช่อื วชิ า นก. ชม. รหัสวชิ า ชือ่ วิชา นก. ชม.
260
รายวชิ าพื้นฐาน 6.5 260 รายวิชาพนื้ ฐาน 6.5 40
40
ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1
40
ค33112 คณติ ศาสตร์ 1 40 ค33114 คณติ ศาสตร์ 1
40
ว30162 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 40 ว30113 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 20
(ฟสิ ิกส)์ 20
20
ส33101 สงั คมศึกษา 5 1 40 ส33102 สังคมศกึ ษา 6 1 40
พ33101 สขุ ศึกษา 0.5
ศ33101 ศลิ ปะ 0.5 20 พ33102 สขุ ศึกษา 0.5
ง33111 การงานอาชีพ 0.5
อ33101 ภาษาองั กฤษ 1 20 ศ33102 ศลิ ปะ 0.5

20 ง33112 การงานอาชีพ 0.5

40 อ33102 ภาษาองั กฤษ 1

รายวชิ าเพิ่มเตมิ 9.5 400 รายวชิ าเพิ่มเตมิ 10.0 400

ท33223 ภาษาวเิ คราะห์เชื่อมโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวิเคราะหเ์ ชื่อมโยง 2 1 40
พ33201 พลศึกษา
ร33201 อัล-ลุเฆาะฮ์ อัล-อะเราะบยี ะฮ์ 0.5 20 พ33202 พลศึกษา 0.5 20
ร33212 อลั -เกาะวาอดิ
ร33213 อัล-มหุ าดะษะฮ์ 2 80 ร33202 อลั -ลุเฆาะฮ์ อัล-อะเราะบียะฮ์ 2 80
ร33214 อัด-ดริ อสะฮ์ อลั -อิสลามยี ะฮ์
ร33215 ฮฟิ ซุลกุรอาน 2 80 ร33222 อลั -เกาะวาอดิ 2 80
ร33216 อัล-บะลาเฆาะฮ์
ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 1 40 ร33223 อลั -มหุ าดะษะฮ์ 1 40
I30903 IS3 การนำความรู้ไปใชบ้ รกิ ารสงั คม
1 40 ร33224 อดั -ดริ อสะฮ์ อัล-อิสลามยี ะฮ์ 1 40

0.5 20 ร33225 ฮิฟซลุ กรุ อาน 0.5 20

1 40 ร33226 อัล-บะลาเฆาะฮ์ 1 40

0.5 20 ว33271 วิทยาการคำนวณ 1 40

20

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 60
ก33901 ชมุ นุม 20 ก33902 ชุมนมุ 20
ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20
ก33907 เพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20

กิจกรรมเพิ่มเติม 0 กิจกรรมเพิ่มเตมิ 0

รวมเวลาเรียนท้งั หมด 16.0 720 รวมเวลาเรียนทัง้ หมด 16.5 720

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๔๙

ชือ่ หลกั สตู ร ห้องเรียนพเิ ศษ (6/8) แผนการเรียน Gifted SME

ม.6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ม.6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

รหสั วชิ า ช่ือวชิ า นก. ชม. รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า นก. ชม.

รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5 260 รายวิชาพน้ื ฐาน 6.5 260

ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1 40
40
ค33111 คณิตศาสตร์ 1 40 ค33113 คณิตศาสตร์ 1 40
40
ว30113 วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ กิ ส)์ 1 40 ว30162 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1 20
20
ส33101 สงั คมศึกษา 5 1 40 ส33102 สังคมศึกษา 6 1 20
40
พ33101 สุขศกึ ษา 0.5 20 พ33102 สขุ ศึกษา 0.5

ศ33101 ศลิ ปะ 0.5 20 ศ33102 ศลิ ปะ 0.5

ง33111 การงานอาชีพ 0.5 20 ง33112 การงานอาชีพ 0.5

อ33101 ภาษาอังกฤษ 1 40 อ33102 ภาษาอังกฤษ 1

รายวิชาเพิ่มเติม 13.0 540 รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 13.5 540

ท33223 ภาษาวิเคราะหเ์ ชื่อมโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวเิ คราะหเ์ ชือ่ มโยง 2 1 40

ค33211 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม 2 80 ค33212 คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เติม 2 80

ว33211 ฟิสิกส์เพม่ิ เตมิ 2 80 ว33212 ฟสิ ิกสเ์ พมิ่ เติม 2 80

ว33223 เคมีเพ่ิมเตมิ 1.5 60 ว33224 เคมีเพมิ่ เติม 1.5 60

ว33245 ชีววทิ ยาเพิ่มเติม 1.5 60 ว33244 ชวี วทิ ยาเพม่ิ เตมิ 1.5 60

ว33261 โลกดาราศาสตร์และอวกาศ1 1 40 ว33262 โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ2 1 40

ส33201 พระพทุ ธศาสนา 5 รวม รวม ส33202 พระพุทธศาสนา 6 รวม รวม

ส33203 ปรัชญาอสิ ลาม 1 40 ส33204 เศรษฐศาสตรอ์ ิสลาม 1 40

พ33201 พลศกึ ษา 0.5 20 พ33202 พลศกึ ษา 0.5 20

อ33215 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร 0.5 20 อ33216 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 0.5 20

อ33201 ภาษาอังกฤษฟังพูด 1 40 อ33202 ภาษาอังกฤษฟงั พูด 1 40

ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 0.5 20 ว33271 วิทยาการคำนวณ 1 40

จ33203 ภาษาจนี 0.5 20 จ33204 ภาษาจนี 0.5 20

I30903 IS3 การนำความรู้ไปใชบ้ ริการ 20
สงั คม

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

ก33901 ชุมนมุ 20 ก33902 ชุมนุม 20

ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20

ก33907 เพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20

กิจกรรมเพ่มิ เตมิ 0 กจิ กรรมเพ่ิมเติม 0

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 19.5 860 รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 20.0 860

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๕๐

ช่อื หลกั สตู ร ห้องเรยี นปกติ (6/9) แผนการเรยี นศิลป์ทั่วไป

ม.6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ม.6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

รหัสวชิ า ชือ่ วิชา นก. ชม. รหสั วชิ า ช่ือวชิ า นก. ชม.

รายวิชาพนื้ ฐาน 6.5 260 รายวชิ าพื้นฐาน 6.5 260

ท33101 ภาษาไทย 1 40 ท33102 ภาษาไทย 1 40

ค33112 คณติ ศาสตร์ 1 40 ค33114 คณติ ศาสตร์ 1 40

ว30162 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 40 ว30113 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ กิ ส)์ 1 40

ส33101 สังคมศกึ ษา 5 1 40 ส33102 สังคมศึกษา 6 1 40

พ33101 สุขศึกษา 0.5 20 พ33102 สุขศึกษา 0.5 20

ศ33101 ศิลปะ 0.5 20 ศ33102 ศิลปะ 0.5 20

ง33111 การงานอาชพี 0.5 20 ง33112 การงานอาชีพ 0.5 20

อ33101 ภาษาอังกฤษ 1 40 อ33102 ภาษาองั กฤษ 1 40

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8.0 340 รายวิชาเพ่ิมเตมิ 8.5 340

ท33223 ภาษาวเิ คราะห์เชื่อมโยง 1 1 40 ท33224 ภาษาวเิ คราะหเ์ ชือ่ มโยง 2 1 40
ท30201 ภาษาไทยกับสื่อ 1 40 ท30202 ภาษาไทยในเพลง 1 40
ท33201 ประวัติวรรณคดี 1 1 40 ท33206 ประวัติวรรณคดี 2 1 40
พ33201 พลศกึ ษา 0.5 20 พ33202 พลศกึ ษา 0.5 20
ส33201 พระพทุ ธศาสนา 5 รวม รวม ส33202 พระพทุ ธศาสนา 6 รวม รวม
ส33203 ปรัชญาอสิ ลาม 1 40 ส33204 เศรษฐศาสตร์อิสลาม 1 40
ส30228 การปกครองท้องถิน่ ของไทย 1 40 ส30263 เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา 1 40
ส30262 เอเชียตะวันออกในโลกปจั จุบัน 1 40 ส30264 โลกศกึ ษา 1 40
อ33203 ภาษาองั กฤษอ่านเขียน 1 40 อ33204 ภาษาองั กฤษอ่านเขียน 1 40
ว33282 ออกแบบเทคโนโลยี 0.5 20 ว33271 วทิ ยาการคำนวณ 1 40
I30903 IS3 การนำความรไู้ ปใช้บริการสังคม
20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 60
ก33901 ชมุ นมุ 20 ก33902 ชมุ นุม 20
ก33903 แนะแนว 20 ก33904 แนะแนว 20
ก33907 เพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 ก33908 เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20

กิจกรรมเพิ่มเติม 0 กิจกรรมเพ่ิมเตมิ 0

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 14.5 660 รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด 15.0 660

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๕๑

๑.๑๐ ผลการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา

ผลสัมฤทธิก์ ารจัดการเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 เปน็ ดงั นี้

๑.๑๐.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของสถานศึกษา

- ระดับสถานศึกษา

ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รยี นทัง้ หมดตง้ั แตร่ ะดับชน้ั ม.1 - ม.6 โดยเฉลยี่ คิดเป็น

2.59 และเมอ่ื จำแนกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามระดับชัน้ เรยี น ระดับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีผลเปน็ ดงั น้ี

- ระดับชนั้ เรียน

จำนวน จำนวนนักเรียนทีม่ ีผลการเรยี นรู้ จำนวน รอ้ ยละ
นักเรียน นกั เรยี น

ระดบั ช้ันเรียน นกั เรียน ทไ่ี ด้ ท่ีได้

(คน) ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ระดับ ๓ ระดบั ๓
ข้ึนไป ข้นึ ไป

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ๒๑๗ ๘ ๑๗ ๑๒ ๑๔ ๑๔ ๒๑ ๑๘ ๘๕ ๑๒๔ ๕๗.๑๔

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๓๐๐ ๑๙ ๔๕ ๒๒ ๑๘ ๑๖ ๑๗ ๑๓ ๑๐๙ ๑๓๙ ๔๖.๓๓

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๒๘๒ ๑๖ ๓๙ ๑๔ ๑๔ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๒๗ ๑๕๖ ๕๕.๓๒

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๒๓๖ ๑๗ ๒๐ ๑๐ ๑๓ ๑๕ ๑๙ ๑๗ ๙๑ ๑๒๗ ๕๓.๘๑

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๒๔๙ ๒๑ ๑๘ ๗ ๑๐ ๑๑ ๑๔ ๑๓ ๑๑๘ ๑๔๕ ๕๘.๒๓

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ๒๘๕ ๘ ๒๓ ๑๐ ๑๑ ๑๕ ๒๖ ๓๒ ๑๔๗ ๒๐๕ ๗๑.๙๓
๕๗.๑๑
รวมจำนวนนกั เรยี น ม.๑ – ๖ ๑๕๖6 ๘๙ ๑๖๒ ๗๕ ๘๐ ๘๔ ๑๑๑ ๑๐๘ ๖๗๗ ๘๙๖

จากตารางและกราฟแสดงการเปรียบเทียบจำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ระดับ 3 ข้นึ ไป
และต่ำกวา่ 3 พบวา่ จำนวนนกั เรียนที่ไดต้ ง้ั แตร่ ะดบั 3 ข้นึ ไปในระดบั ม.1 - ม.6 สูงกวา่ จำนวนนักเรียนท่ีไดร้ ะดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตำ่ กวา่ 3

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๕๒

- ระดบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทกุ ระดบั (ชน้ั ม.๑ - ม.๖) เปน็ ดงั นี้

จำนวน จำนวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ จำนวน รอ้ ยละ
นกั เรยี น นกั เรียน

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ นกั เรียน ที่ได้ ที่ได้

(คน) ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ระดับ ๓ ระดบั ๓
ขึน้ ไป ขน้ึ ไป

ภาษาไทย ๑๕๖6 ๑๗๗ ๒๑๒ ๗๐ ๙๘ ๘๐ ๑๒๘ ๑๑๓ ๕๒๐ ๗๖๑ ๔๘.๕๐

คณิตศาสตร์ ๑๕๖6 ๗๔ ๒๐๓ ๙๗ ๗๙ ๑๑๗ ๑๑๑ ๑๑๐ ๕๘๙ ๘๑๐ ๕๑.๖๓
๔๓.๔๐
วิทยาศาสตร์และ ๑๕๖6 ๒๑๔ ๑๗๗ ๑๐๐ ๑๐๕ ๙๖ ๑๒๐ ๑๐๔ ๔๕๗ ๖๘๑ ๕๙.๗๘
เทคโนโลยี ๑๕๖6 ๕๘ ๑๖๐ ๗๗ ๘๓ ๙๒ ๑๑๐ ๑๑๗ ๗๑๑ ๙๓๘ ๗๘.๕๙

สงั คมศกึ ษา ศาสนา
และวฒั นธรรม

สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๕๖6 ๓๔ ๖๑ ๒๒ ๔๖ ๔๒ ๕๕ ๘๖ ๑๐๙๒ ๑๒๓๓

ศลิ ปะ ๑๕๖6 ๔๘ ๙๒ ๕๗ ๕๘ ๕๐ ๑๓๘ ๘๐ ๖๙๙ ๙๑๗ ๕๘.๔๔

การงานอาชีพ ๑๕๖6 ๘๗ ๒๓๓ ๘๘ ๙๘ ๑๐๔ ๑๓๑ ๑๒๔ ๕๒๓ ๗๗๘ ๔๙.๕๙
๑๕๖6 ๘๑ ๑๘๘ ๑๐๔ ๘๒ ๘๗ ๑๑๔ ๑๔๖ ๖๒๒ ๘๘๒ ๕๖.๒๑
ภาษาตา่ งประเทศ 154 1 3 6 16 14 24 21 63 108 70.13
อิสลามศึกษาและ
ภาษาอาหรับ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๕๓

๑.๑๐.๒ ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน ( O-NET)

๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ

ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และ ๖

ระดับชน้ั ม.๓ ม.๖

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔

ภาษาไทย ๔๙.๕๘ ๕๒.๕๘ ๕๖.๔๒ ๔๐.๐๒ ๔๐.๐๑ ๓๗.๓๐

คณติ ศาสตร์ ๒๓.๔๘ ๒๓.๕๔ ๒๒.๓๗ ๒๑.๓๖ ๒๐.๕๘ ๑๕.๐๐

วิทยาศาสตร์ ๒๗.๗๓ ๒๗.๘๗ ๓๐.๓๕ ๒๖.๖๘ ๓๐.๖๑ ๓๙.๐๐

สังคมศึกษาฯ - - - ๓๓.๑๖ ๓๓.๒๐ ๓๑.๘๘

ภาษาอังกฤษ ๒๙.๙๙ ๓๖.๑๙ ๓๑.๙๘ ๒๔.๙๒ ๒๕.๘๓ ๒๑.๗๗

จากแผนภูมิแสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) 3 ปี (2562 - 2564)
พบวา่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรม์ คี ะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น สำหรบั กลุ่มสาระการ
เรยี นรสู้ ังคมศึกษาฯไมม่ ีการจัดสอบในระดับ ม.3

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๕๔

จากแผนภมู แิ สดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) 3 ปี (2562 - 2564)

พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ย 3 ปีสงู ขนึ้

๒) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ระดับ / รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลี่ย ระดับโรงเรยี น ๕๖.๔๒ ๒๒.๓๗ ๓๐.๓๕ ๓๑.๙๘

คะแนนเฉลย่ี ระดับสพม.กท1

คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด ๕๙.๗๖ ๓๒.๓๒ ๓๕.๙๘ ๔๓.๒๒

คะแนนเฉลย่ี สังกัดสพฐ.ทงั้ หมด ๕๒.๑๓ ๒๔.๗๕ ๓๑.๖๗ ๓๐.๗๙

คะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศ ๕๑.๑๙ ๒๔.๔๗ ๓๑.๔๕ ๓๑.๑๑

จ า ก ต า ร า ง แ ล ะ แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ก า ร
เป รียบเที ยบ ผลการทดสอบ ทาง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ม.3 ปี
การศึกษา 2564 ระดับโรงเรียน
เทียบกับระดับสังกัด สพฐ. และระดับ
ประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยระดับ
โรงเรียนสูงกวา่ ระดับสังกัด สพฐ. และ

ระดบั ประเทศ

๓) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ระดบั / รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน ๓๗.๓๐ ๑๕.๐๐ ๓๙.๐๐ ๓๑.๘๘ ๒๑.๗๗

คะแนนเฉล่ีย ระดับสพม.กท1

คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวดั ๕๔.๖๗ ๓๒.๘๓ ๓๓.๓๗ ๔๒.๐๔ ๓๙.๕๓

คะแนนเฉลยี่ สงั กดั สพฐ.ทั้งหมด ๔๗.๗๔ ๒๑.๘๓ ๒๙.๐๔ ๓๗.๔๕ ๒๕.๘๓

คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ ๔๖.๔๐ ๒๑.๒๘ ๒๘.๖๕ ๓๖.๘๗ ๒๕.๕๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดบั จ า ก ต า ร า ง แ ล ะ แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ก า ร
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ระดับโรงเรยี น เป รียบเที ยบ ผลการท ดสอบ ทาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ม.6
เทยี บกบั ระดบั สังกดั และระดบั ประเทศ ปีการศึกษา 2564 ระดับโรงเรียน
เทียบกับระดับสังกัด สพฐ. และระดับ
๖๐.๐๐ ระดับโรงเรียน สงั กดั สพฐ.ทงั้ หมด ระดับประเทศ ประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้
๕๐.๐๐ วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียระดับ
โรงเรียนสูงกว่าระดบั สังกัด สพฐ. และ
๔๐.๐๐ ระดบั ประเทศ

๓๐.๐๐

๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๕๕

๑.๑๐.๓ ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรยี น จำนวน (รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดับคุณภาพ)
ท้งั หมด
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน
๒๑๕ ๗๐.๐๕ ๒๗.๖๕ ๑.๓๘ ๐.๙๒
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๓๐๒ ๖๖.๓๔ ๓๒.๓๓ ๐.๓๓ ๑.๐๐
มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๒๘๔ ๖๑.๗๐ ๓๖.๑๗ ๐.๓๖ ๑.๗๗
มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ ๒๓๒ ๔๗.๘๘ ๔๙.๑๕ ๑.๗๐ ๑.๒๗
มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ ๒๔๙ ๖๒.๒๕ ๒๙.๗๒ ๕.๖๒ ๒.๔๑
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ๒๘๔ ๘๔.๒๑ ๑๔.๗๔ ๐.๐๐ ๑.๐๕
รวม ๑๕๖๖ ๓๙๒.๔๓ ๑๘๙.๗๖ ๙.๓๙ ๘.๔๒
เฉลี่ยร้อยละ 100 ๖๕.๔๐ ๓๑.๖๓ ๑.๕๗ ๑.๔๐

๑๐.๔ ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ๕ ด้าน ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ด้าน จำนวน จำนวน (ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ)
นักเรียน
ทง้ั หมด ดีเยย่ี ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

๑) ด้านความสามารถในการส่อื สาร ๑๕66 ๕๒.๒๐ ๔๕.๘๙ ๑.๔๐ ๐.๕๑

๒) ด้านความสามารถในการคิด ๑๕66 ๖๕.๗๗ ๓๐.๘๕ ๑.๙๑ ๑.๔๗

๓) ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา ๑๕66 ๔๖.๔๖ ๕๐.๖๗ ๑.๓๔ ๑.๕๓

๔) ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๑๕66 ๗๗.๗๖ ๒๐.๒๐ ๐.๗๐ ๑.๓๔

๕) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๑๕66 ๗๐.๖๙ ๒๐.๒๐ ๘.๑๖ ๐.๙๕
รวม ๑๕66 ๓๑๒.๘๘ ๑๖๗.๘๑ ๑๓.๕๑ ๕.๘๐

เฉลี่ยร้อยละ ๑๐๐ ๖๒.๕๘ ๓๓.๕๖ ๒.๗๐ ๑.๑๖

๑.๑๐.๕ ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ระดบั ชน้ั จำนวนนกั เรียน จำนวน (ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ)
ทั้งหมด ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๒๑๕ ๗๗.๘๘ ๑๙.๘๒ ๑.๓๘ ๐.๙๒
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๓๐๒ ๖๑.๓๓ ๓๖.๖๗ ๐.๐๐ ๒.๐๐
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๒๘๔ ๖๒.๐๖ ๓๖.๑๗ ๐.๗๑ ๑.๐๖
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ๒๓๒ ๔๓.๖๔ ๕๒.๙๗ ๒.๑๒ ๑.๒๗
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๒๔๙ ๖๑.๘๕ ๒๘.๕๑ ๗.๒๓ ๒.๔๑
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ๒๘๔ ๘๖.๖๗ ๑๑.๕๘ ๐.๗๐ ๑.๐๕
รวม ๑๕๖๖ ๓๙๓.๔๓ ๑๘๕.๗๒ ๑๒.๑๔ ๘.๗๑
เฉล่ยี ร้อยละ 100 ๖๕.๕๗ ๓๐.๙๖ ๒.๐๒ ๑.๔๕

๑.๑๐.๖ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ระดับชนั้ จำนวนนกั เรยี น จำนวน (ร้อยละของนักเรยี น)
ทัง้ หมด ผา่ น ไมผ่ ่าน

มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๒๑๕ ๙๘.๖๒ ๑.๓๘
มัธยมศึกษาปีที่ ๒
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๓๐๒ ๙๘.๓๓ ๑.๖๗
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔
๒๘๔ ๙๔.๖๘ ๕.๓๒
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๒๓๒ ๙๘.๓๑ ๑.๖๙

รวม ๒๔๙ ๙๖.๗๙ ๓.๒๑
เฉลีย่ ร้อยละ
๒๘๔ ๙๙.๓๐ ๐.๗๐

๑๕๖๖ ๕๘๖.๐๓ ๑๓.๙๗

100 ๙๗.๖๗ ๒.๓๓

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๕๖

๑.๑๑ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.๒๕๕๙- ๒๕๖๓) ของสถานศึกษา หรือ ผลการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID - ๑๙

สถานศึกษาได้รับการรับรองจากคณะผู้ประเมนิ เม่อื วนั ที่ 12 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมนิ SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID - ๑๙ ดงั ตารางต่อไปนี้

มาตรฐานท่ี ระดับคณุ ภาพ
๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี
๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ดี
๔ การจดั การเรียนรตู้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดี
ดี

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขนึ้
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น

สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR คร้ังต่อไปให้มีความสมบูรณ์ในประเด็นการระบุเป้าหมายในการ
พฒั นาผู้เรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับช้ันเรียน เชน่ ช้ันมัธยมศึกษา

ปีที่ ๑ สามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ในระดับใด โดยนำมากำหนดให้เป็นเป้าหมายการ
พัฒนาท้ังเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เพ่ือใช้วัดผลสำเร็จเมื่อสิ้นสุดโครงการ และสามารถนำมาเปรียบเทีย บ
พัฒนาการได้อย่างชดั เจน นอกจากน้ีควรนำเสนอข้อมูลท่ีแสดงรายละเอียดการพัฒนาตามกระบวนการเชิงระบบ เช่น

การวางแผน การดำเนินการ การนิเทศ กำกับติดตาม การประเมินผล ซ่ึงอาจนำเสนอเกี่ยวกับปฏิทินปฏิบัติงานการ
มอบหมายงาน การติดตามงานท่ีสถานศึกษาได้ดำเนินการไว้แล้วอย่างเป็นระบบ เพิ่มเติมในรายงานให้ชัดเจนควร

นำเสนอผลสมั ฤทธิ์ในประเดน็ ผู้เรียนมีความพอเพียงใหช้ ัดเจน เชน่ การสรุปผลการดำเนินการเปรียบเทียบกับผลการ
ดำเนินการท่ีผ่านมา เพ่ือนำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพต่อไป ควรระบุข้อมูลให้ชัดเจนว่าสถานศึกษามีการ
นำเสนอผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนต่อผู้เกี่ยวข้องเป็นใครบ้าง เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง

หน่วยงานต้นสังกัด และสาธารณชน ด้วยช่องทางที่หลากหลาย เช่น Website Facebook Line Group แจกเอกสาร
แผน่ พบั ประชุมผูป้ กครอง ประชุมกรรมการสถานศกึ ษา เป็นต้น

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR ครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ ในประเด็นการบริหารจัดการ

สถานศึกษาและการดำเนินงานจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี ควรเพิ่มรายละเอียดข้อมูลความต้องการของชุมชน
ผู้ปกครองและผู้เรียนที่นำมาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ชัดเจนว่า แต่ละฝ่ายมีความต้องการอะไร อย่างไร
ควรเพิ่มรายละเอียดของโครงการ และกิจกรรมที่สนับสนุนการบริหาร และการจัดการ เชน่ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
ข้ันตอนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ผลประเมนิ ความสำเร็จของโครงการ และกจิ กรรมต่างๆ เปน็ ต้น ควรจัดทำ
ฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือติดตามผลการปฏิบัติงานในแต่ละโครงการ หรือกิจกรรมท่ีเข้าถึงง่ายครู และผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามได้ การประเมินผลการดำเนินตามแผน ควรระบุข้อมูลเคร่ืองมือ และวิธีการที่ใช้
ในการประเมิน ควรระบุข้อมูลการนำผลจากการประเมินคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก และผลจาก
การกำกับติดตามจากบุคคลหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมาใช้พัฒนาคุณภาพ ควรระบุข้อมูลท่ีนำมาใช้กำหนด
แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษาในอนาคตให้ชดั ว่าเป็นข้อเสนอแนะดา้ นใด อย่างไร และได้มีการรายงานต้นสังกัด
เม่ือใด ควรระบุข้อมูลการนำเสนอรายงานผลการประเมินตนเองเพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ
และรับทราบแล้วให้ชัดเจนว่า สถานศึกษาได้นำเผยแพร่ต่อสาธารณชนผ่านสื่อสารสนเทศของสถานศึกษาในช่องทางใด

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๕๗
อย่างไร อาทิ เช่น Website Facebook อาจแสดงให้ทราบเป็นภาพถ่ายในภาคผนวกหรือส่งผ่านช่องทาง Line
Group ของคณะกรรมการ หรือภาคีเครือข่าย Line Group ห้องเรียน (ครู ผู้เรียนผู้ปกครอง) ซ่ึงเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียโดยตรงไดร้ ับทราบ เปน็ ตน้ และควรระบชุ ่อื ต้นสังกดั ที่จดั ส่งรายงานไปดว้ ย

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR ครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ ในประเด็นครูมีการวางแผนจัดทำ

หน่วยการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาให้ครบทุกรายวิชา และทุกชั้นปี ควรระบุการจัดการเรียนรู้
ท่ีส่งเสริมให้ครูสร้างชิ้นงาน ผลงานทางวิชาการ เพ่ือนำไปสู่การเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม
(Innovation) ของครู ควรระบุวิธีการตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครูให้ชัดเจนว่ามีวิธีการ
ดำเนินงานอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไรบ้าง เชน่ การนิเทศโดยผู้บรหิ าร หัวหนา้ กลุ่มสาระ การให้ผเู้ รียนประเมินผลการ
จัดการเรียนรู้ของครู เป็นต้น ควรระบุการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูให้ชัดเจน เช่น
การออกแบบหน่วยการการเรียนรู้ใหม่ ปรับเปลย่ี นวิธีการ หรือกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ ปรับเปล่ียนวิธีการ
ประเมินผลผู้เรียน เป็นต้น ควรสรุปผลการดำเนินงาน หาปัญหา อุปสรรค และนำมาเป็นข้อมูลในการวางแผน
พฒั นาการจัดการเรียนรู้ของครูในครั้งต่อไปให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขึน้ ควรระบุวิธกี ารให้ข้อมูลป้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ของครใู ห้ชดั เจน เชน่ นำผลการประเมินมาแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ะหว่างผู้บริหารกบั ครู ครูกับ
ครู ด้วยการใช้กระบวนการ PLC ครูนำปัญหาท่ีพบมาร่วมวางแผนแก้ไข ด้วยการทำวิจัยเพื่อพัฒนา จัดทำโครงการ
เพื่อแกป้ ัญหา เปน็ ตน้

มาตรฐานที่ 4 การจดั การเรียนร้ตู ามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR ครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ ในประเด็นข้อมูลรายละเอียดของ

เป้าหมายโครงการ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังเป้าหมายเชิงปริมาณ และเชิง
คณุ ภาพ ควรระบุการวเิ คราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อนำสาระเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการกบั หน่วยใดบ้าง
ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ใช้เวลาเทา่ ใด มกี ิจกรรมการจดั การเรียนรูใ้ นรปู แบบใด เชน่ การค้นคว้า การทำรายงาน
การลงมอื ปฏบิ ัติ เปน็ ตน้ มีกระบวนการในการวัดและประเมนิ ผลในเร่อื งน้อี ยา่ งไร เช่น การตรวจผลงาน การสงั เกต
พฤติกรรม การร่วมกิจกรรม เปน็ ตน้ ควรแสดงข้อมูลทแี่ สดงถึงผลสัมฤทธ์ิของการบูรณาการการสอนเรอื่ งเศรษฐกิจ
พอเพยี งในทุกระดับชนั้ โดยเปรียบเทยี บกบั เป้าหมายหรือจดุ ประสงคท์ กี่ ำหนด ควรนำเสนอสรุปผลการดำเนินการ
จดั การเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาพรวมของสถานศึกษา ในประเด็นทค่ี วรนำไปปรบั ปรงุ แก้ไข
พัฒนา รักษาคุณภาพ หรือต่อยอดเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) ควรเพ่ิมช่อง
ทางการนำเสนอผลการดำเนินการให้กับผู้เก่ียวข้องท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบผ่านช่องทางท่ีหลากหลาย เช่น
Facebook Website Line เอกสาร แผ่นพับ การประชุมผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา หรือรายงานหน่วยงาน
ต้นสงั กัด เปน็ ตน้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๕๘

๑.๑๒ ผลงานดเี ดน่ / รางวัล / ผลการปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) / นวัตกรรม(Innovation)
ของสถานศกึ ษา

ผลงานผู้บริหารและครู ชอ่ื รางวัล/ผลงานทไ่ี ด้รับ หนว่ ยงานท่จี ัด
ท่ี ชอ่ื - นามสกุล
รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาดีเดน่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และสมาคม
1 นายวินยั สุขชมุ รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาดเี ด่น การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
2 นางสาววรพรรณ กอจริ ัฐิติกาล Sesao 1 Futsal League U17
โค้ชยอดเยีย่ ม
3 นายนิพนธ์ กระมล

ผลงานนักเรียนด้านวิชาการ ชอ่ื รางวัล/ผลงานท่ไี ด้รบั หนว่ ยงานท่ีจัด

ที่ ชอ่ื - นามสกลุ ได้รับทุนไปแลกเปลีย่ นท่ีประเทศสหรฐั อเมรกิ า IEE Hight School Exchang
United States of America (USA)
1 นางสาวอยั รดา มะมิน
ได้รับทนุ ไปแลกเปลี่ยนทป่ี ระเทศสหรัฐอเมริกา โครงการ Engenious
2 นางสาวปนดั ดา อ่ิมสมบรู ณ์
United States of America (USA) International
3 นางสาวกลั ยา นิกุล
นางสาวภาสินี พัดพรม ผลงาน “ชดุ มดี ตัดสลัดบาร์” คณะวทิ ยาศาสตร์
นางสาวกันตนา โคตะไชย
รางวัลชมเชย การประกวดโครงงานประเภท มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
4 นายนวดล นิยมเดชา
นายอานัส แสงมณี ส่งิ ประดิษฐ์ดา้ ยวิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม พระจอมเกลา้ ธนบุรี
นายธรี ภัทร์ นมิ า
ผลงาน “แสงสว่างจากต้นกลว้ ย” คณะวิทยาศาสตร์
5 นางสาวอุลยา เดชเลย์
รางวัลชมเชย การประกวดโครงงานประเภท มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี

ส่งิ ประดษิ ฐด์ า้ ยวทิ ยาศาสตร์ และนวัตกรรม พระจอมเกล้าธนบรุ ี

อันดบั ท่ี 8 การแขง่ ขัน Online World Youth Korea Chess Federation Inc.

Mind Sports Fair 2021 (SUDOKU) ประเทศเกาหลใี ต้

ผลงานด้านกีฬาฟุตซอล ช่อื รางวลั /ผลงานท่ีได้รบั

ท่ี ชื่อ - นามสกุล U17 รายการฟุตซอลลีกดดิ ีเย่ สพม.๑
U18 รายการฟตุ ซอล กรมพลศกึ ษา
๑ รางวลั ชนะเลศิ U17 ฟตุ ซอลลกี ดิดีเย่ รายการดำเนินสะดวก คัพ จ.ราชบรุ ี
๒ รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับที่ ๑ U18 ฟุตซอลกรมพลศึกษา
๓ รางวัลรองชนะเลิศอันดบั ท่ี ๒ ฟตุ ซอลรายการดำเนินสะดวก คัพ U13 รายการประดู่ในทรงธรรม คัพ
๔ รางวัลรองชนะเลศิ อันดับที่ ๓ U13 รายการประดู่ในทรงธรรม คพั Women FUTSAL FA U16
๕ รางวัลรองชนะเลศิ อันดับท่ี ๓ การแข่งขนั ฟตุ ซอลหญิง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๕๙

๑.๑๓ สถานศึกษาประเมนิ ความพรอ้ มดา้ นปจั จัยนำเข้า (Input) เพื่อวเิ คราะห์ประสทิ ธภิ าพ และ
โอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา

รายการ แนวการพจิ ารณา ระดับ
๑. ดา้ นกายภาพ ความพร้อม
1) การจัดหอ้ งเรยี นตอ่  มีการจัดห้องเรยี น ครบตามระดับช้ันท่ีเปิดสอน
 มีการจัดห้องเรยี น แบบคละช้ัน 2 ระดบั ชั้น 3 มาก
ระดบั ช้นั  มีการจัดห้องเรียน แบบคละช้ันมากกว่า 2 ระดับช้นั 2 ปานกลาง
 มหี ้องปฏบิ ัติการ/ห้องพเิ ศษ/แหลง่ เรยี นรูเ้ พยี งพอและพร้อมใชง้ าน 1 นอ้ ย
2) ห้องปฏิบัตกิ าร/ห้องพิเศษ /  มหี ้องปฏบิ ัตกิ าร/ห้องพเิ ศษ/แหลง่ เรียนรู้เพียงพอแต่ไมพ่ รอ้ ม 3 มาก
แหลง่ เรียนรูใ้ นโรงเรยี น 2 ปานกลาง
ใช้งาน หรอื มีไม่เพียงพอแตพ่ ร้อมใช้งาน
3) ส่ือเทคโนโลยปี ระกอบ  มีห้องปฏิบตั กิ าร/หอ้ งพเิ ศษ/แหลง่ เรียนรู้ไม่เพยี งพอ และไม่พร้อม 1 น้อย
การเรียนการสอน
ใชง้ าน 3 มาก
๒. ดา้ นบุคลากร  มสี ่ือเทคโนโลยสี ง่ เสริมการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย และครบทุก
2 ปานกลาง
1) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้
 มีสอ่ื เทคโนโลยีส่งเสริมการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย แตไ่ มค่ รบทุก 1 นอ้ ย
2) จำนวนครู
กลุม่ สาระการเรียนรู้ 3 มาก
3) จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยการพัฒนา  มีสอื่ เทคโนโลยีสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ไม่หลากหลาย และไมค่ รบทกุ 2 ปานกลาง
ตนเองของครูระดับการศึกษา 1 น้อย
ข้ัน พ้ื น ฐาน ท้ั งห ม ด ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3 มาก
ปกี ารศกึ ษาท่ีผา่ นมา 2 ปานกลาง
 มีผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา
4) จำนวนช่ัวโมงเฉล่ียการเข้า  มผี รู้ ักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา 1 นอ้ ย
ร่วมกิจกรรม PLC ของครู  ไมม่ ผี ู้อำนวยการ/ผรู้ กั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา 3 มาก
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน  มจี ำนวนครูครบทุกระดับชน้ั และทกุ รายวิชา 2 ปานกลาง
ท้ังห มดในปี การศึกษ า  มจี ำนวนครคู รบทกุ ระดับชัน้ แตไ่ มค่ รบทกุ รายวชิ า หรือมคี รูไมค่ รบ 1 น้อย
ท่ีผา่ นมา
ทุกระดับชนั้ แตค่ รบทุกรายวิชา 3 มาก
๕) บคุ ลากรสนบั สนุน  มจี ำนวนครูไมค่ รบทกุ ระดบั ชนั้ และไมค่ รบทกุ รายวชิ า 2 ปานกลาง
 มีชว่ั โมงเฉลย่ี ต้ังแต่ 20 ชั่วโมงขนึ้ ไป 1 น้อย
 ชั่วโมงเฉลี่ยระหว่าง 10 - 19 ชัว่ โมง
 มีชั่วโมงเฉลยี่ นอ้ ยกว่า 10 ช่ัวโมง 3 มาก
2 ปานกลาง
 มีชว่ั โมงเฉล่ยี ตงั้ แต่ 50 ช่ัวโมงขึน้ ไป 1 น้อย
 มีชั่วโมงเฉลีย่ ระหวา่ ง 25 - 49 ช่ัวโมง
 มชี ัว่ โมงเฉลีย่ น้อยกวา่ 25 ช่วั โมง

 มีบุคลากรสนบั สนุนงานวชิ าการ และธุรการ
 มีบุคลากรสนับสนุนงานวิชาการ หรอื ธรุ การ
 ไม่มบี ุคลากรสนับสนนุ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๖๐

รายการ แนวการพิจารณา ระดับ
ความพรอ้ ม

๒. ดา้ นบุคลากร (ต่อ)

๖) การให้ความรู้ ความเข้าใจ  มีการประชุม/อบรม/แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เร่ืองการประกันคุณภาพฯ 3 มาก

เก่ี ย ว กั บ ก า ร ป ร ะ กั น กบั ครูทุกคน

คุณ ภาพการศึกษาในปี  มีการประชมุ /อบรม/แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เร่ืองการประกันคณุ ภาพฯ 2 ปานกลาง
การศกึ ษาทผ่ี ่านมา
กบั ครูท่ีรับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา

 ไม่มกี ารประชุม/อบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เร่ืองการประกัน 1 นอ้ ย

คณุ ภาพฯ

๓. ดา้ นการสนบั สนุนจากภายนอก

1) การมสี ่วนร่วมของผปู้ กครอง  ผู้ปกครองรอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป เขา้ รว่ มประชุมหรอื กิจกรรมของ 3 มาก

สถานศกึ ษา

 ผูป้ กครองร้อยละ 50 - 79 เขา้ รว่ มประชมุ หรือกิจกรรมของ 2 ปานกลาง

สถานศึกษา

 ผู้ปกครองนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 เขา้ ร่วมประชมุ หรือกิจกรรมของ 1 น้อย

สถานศึกษา

2) การมี ส่ วนร่ วมของคณ ะ  คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมประชุมกับสถานศกึ ษา อยา่ ง 3 มาก

กรรม การส ถาน ศึ ก ษ า น้อย 4 ครั้งต่อปี

ข้นั พ้นื ฐาน  คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมประชมุ กับสถานศึกษา 2-3 ครั้ง 2 ปานกลาง

ต่อปี

 คณะกรรมการสถานศึกษาเขา้ ร่วมประชมุ กับสถานศกึ ษา นอ้ ยกว่า 1 นอ้ ย

2 ครั้งต่อปี

3) การสนับสนุนจากหน่วยงาน /  ไดร้ บั การสนับสนนุ เพียงพอ และส่งผลต่อการพฒั นาสถานศกึ ษา 3 มาก

องคก์ รทเี่ กี่ยวข้อง  ได้รับการสนบั สนนุ เพยี งพอ แต่ไม่ส่งผลต่อการพัฒนาสถานศึกษา 2 ปานกลาง

หรอื ได้รบั การสนับสนุนไม่เพียงพอ แตส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาสถานศกึ ษา

 ไดร้ ับการสนบั สนนุ ไม่เพียงพอ และไม่สง่ ผลต่อการพฒั นา 1 นอ้ ย

สถานศึกษา

สรปุ ระดบั ความพร้อม

สถานศึกษามคี วามพร้อมอยใู่ นระดับมาก 8 รายการ
สถานศกึ ษามีความพร้อมอยู่ในระดบั ปานกลาง 4 รายการ
สถานศกึ ษามคี วามพร้อมอยู่ในระดับน้อย 0 รายการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๖๑

ส่วนท่ี ๒ การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศึกษา

๑. การบริหารจัดการของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ

กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารท่ัวไป ซ่ึงผู้บริหารยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม
และใช้เทคนิคการบริหารแบบ PDCA มีการวิเคราะห์ จดุ แขง็ และจดุ อ่อน (SWOT) และเสรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรม
และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการในการบรหิ ารพัฒนาโรงเรยี นให้เป็นไปตามความต้องการของชมุ ชน ผูป้ กครอง
และนักเรียน โดยแบง่ โครงสรา้ งการบริหารงานแสดงได้ดังแผนภาพด้านลา่ งน้ี

โครงสร้างการบริหารงาน อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

ผู้อำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

มูลนธิ ิเพอ่ื การศึกษาอสิ ลาม สมาคมผูป้ กครองและครู สมาคมเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง สมาคมผู้ศิษย์เกา่
วทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย อิสลามวิทยาลยั อิสลามวิทยาลัย อิสลามวทิ ยาลยั

(เลก็ นานา อปุ ถัมภ์ ) แหง่ ประเทศไทย แห่งประเทศไทย แหง่ ประเทศไทย

รองผ้อู ำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ รองผูอ้ ำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ
กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารท่ัวไป

กล่มุ บริหารวชิ าการ กลุ่มกจิ การนักเรยี น กล่มุ บริหารงบประมาณ กลมุ่ บริหารท่ัวไป

1. งานสำนักงาน 1. งานสำนักงาน 1. งานสำนักงาน 1. งานสำนักงาน
2. งานบริหารกลุม่ สาระ ฯ 2. งานส่งเสริมกจิ การนักเรียน 2. งานระดมทรัพยากร และลงทนุ เพ่ือ 2. งานสารบรรณ
3. งานพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 3. งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน 3. งานคณะกรรมการสถานศึกษา
4. งานสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม การศกึ ษา
และการจัดการเรยี นรสู้ ู่ 3. งานบรหิ ารการเงนิ ข้นั พื้นฐาน
มาตรฐานสากล นักเรียน 4. งานบริหารบัญชี 4. งานอาคารสถานทีแ่ ละปกตคิ รอง
4. งานวัดผล ประเมนิ ผลและเทียบ 5. งานสง่ เสริมประชาธปิ ไตย 5. งานบริหารพสั ดุ และสินทรัพย์
โอนผลการเรียนรู้ 6. งานคณะกรรมการบริหารนักเรียน 6. งานระบบโปรแกรมพสั ดุ ลกู จ้าง
5. งานวิจัยและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 7. งานระดบั ชั้น ครทู ่ีปรึกษา และคณะสี 7. งานพัฒนาวัสดอุ ุปกรณ์ทาง 5. งานสิ่งแวดล้อม
6. งานพัฒนาส่ือนวตั กรรม 8. งานต่อตา้ นยาเสพตดิ 6. งานตกแตง่
7. งานพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ 9. งานวนิ ยั และความประพฤตินักเรียน อิเล็กทรอนิกส์ 7. งานสัมพันธ์ชมุ ชน
8. งานนเิ ทศการศกึ ษา 10. งานประสานและพฒั นาเครอื ข่าย 8. งานนโยบายและแผน 8. งานโภชนาการ
9. งานแนะแนวการศกึ ษา 9. งานจดั ต้งั เสนอขอ และจัดสรร 9. งานอนามัยสถานศกึ ษา
10. งานรบั นักเรยี น การศึกษา 10. งานประกันอุบัตเิ หตุ
11. งานทะเบียนนักเรียนและจดั ทำ 11. งานดูแลนักเรียนมาสาย งบประมาณ 11. งานสวัสดิการ
สำมะโน 12. งานอนื่ ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย 10. งานตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล 12. งานวิทยุส่อื สาร
12. งานทุนการศึกษา 13. งานโสตทศั นศกึ ษา
13. งานห้องสมุด กลุ่มงานบุคคล การดำเนินงาน 14. งานรกั ษาความปลอดภยั จราจร
14. งานนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์ 11. งานคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ
15. งานศนู ย์พัฒนาวชิ าการภาษา 1. งานวางแผนอัตรากำลงั และการดำรง 12. งานสารสนเทศ และเวรยาม
อาหรบั สพม.กท.1 ตำแหนง่ 13. งานจัดเก็บขอ้ มูลนักเรียนรายบคุ คล 15. งานสระวา่ ยนำ้
16. งานเรียนรว่ ม 2. งานสรรหา บรรจุ แตง่ ต้ัง ยา้ ย และ 16. งานดูแลห้องออกกำลังกาย
17. งานนกั ศึกษาวิชาทหาร การออกจากราชการ (DMC) 17. งานศูนยก์ ีฬา
18. งานสง่ เสริมและสนับสนุนทกั ษะ 3. งานทะเบยี นประวัติ และเครื่องราช 14. งานจัดระบบควบคุมภายใน และ 18. งานประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น
19. งานพฒั นาระบบประกันคุณภาพ อิสรยาภรณ์ 19. งานเว็ปไซตโ์ รงเรียน
การศึกษา 4. งานพฒั นาบุคลากร และสรา้ งเสรมิ บรหิ ารความเสย่ี ง 20. งานพาหนะ
20. งานอื่น ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย ประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ริ าชการ 15. งานตรวจสอบภายใน 21. งานอ่ืน ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
5. งานวินัยราชการ และจรรยาบรรณ 16. งานอืน่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
6. งานอนื่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๖๒
๒. วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย และกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษา (ตามแผนกลยุทธ์หรอื แผนพฒั นาคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2564 – ปีงบประมาณ 2565)

วิสัยทัศน์
เปน็ สถาบนั ทมี่ งุ่ มัน่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ คู่คณุ ธรรม นำกฬี า ล้ำหน้าเทคโนโลยี ยึดถือวิถีความพอเพยี ง

และอยูร่ ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข

พนั ธกิจ
1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรและค่านิยมหลัก
ของคนไทย 12 ประการ
2. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลศิ
3. พฒั นาระบบบริหารจดั การเน้นการมีสว่ นรว่ มเพอ่ื เสรมิ สร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพการจดั การศึกษา

เป้าหมาย
1. นักเรียนทุกคนมพี ฒั นาการเต็มตามศักยภาพและมคี ุณภาพ
2. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงานและทำหนา้ ท่มี ุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ
3. นกั เรยี นทุกคนได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานอยา่ งทั่วถึง มคี ณุ ภาพ และเสมอภาค
4. โรงเรยี นมกี ารจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลท่มี ีคณุ ภาพ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
5. โรงเรียนมีกลไกขับเคลือ่ นการศึกษาข้ันพน้ื ฐานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษกิจพอเพยี ง
6. โรงเรียนมกี ารทำงานแบบบูรณาการ บรหิ ารแบบมีส่งนร่วมจากทกุ ภาคสว่ น

กลยทุ ธ์
1. เสรมิ สร้างความเข้มแข็งใหก้ บั การพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ
2. สร้างการมสี ่วนรว่ มและบรู ณาการความรเู้ พ่ือพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี น
3. สง่ เสรมิ โครงการสถานศกึ ษาสีขาวเพอ่ื พฒั นานักเรยี นอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
4. ยกระดับการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เชื่อมโยงกับมาตรฐานวชิ าชีพและมาตรฐานวิทยฐาน
5. พฒั นาส่ือและเทคโนโลยีเพอ่ื ใชใ้ นการสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ
6. สง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามกี ารวิจัยทางการศกึ ษาเพ่ือพฒั นานวัตกรรม
7. ส่งเสริมสนับสนุนการนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชบ้ ริหารจัดการศึกษาอยา่ งเหมาะสม
8. เสรมิ สรา้ งคุณธรรมจรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการศกึ ษา
9. พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้เขม้ แขง็ เพ่อื ใช้เปน็ ฐานในการพัฒนาคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศึกษา
10. พัฒนาระบบกำกับติดตามตรวจสอบและประเมินผลเพ่ือการบริหารจัดการท่ีมปี ระสิทธภิ าพ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๖๓

๓. โครงการทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ชื่อโครงการ/กิจกรรม
ของสถานศกึ ษา
มาตรฐานท่ี 1 1. โครงการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน
คุณภาพของผเู้ รยี น 1.1 กิจกรรมกฬี าสี
1.2 กิจกรรมส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ด้านศิลปะ-ดนตรี-นาฏศลิ ป์
1.3 กจิ กรรมปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสิ่งเสพตดิ และอบายมุข
1.4 กิจกรรมสง่ เสริมสุขภาพนักเรยี นและบุคลากร
1.5 กจิ กรรมออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพ
1.6 กิจกรรมนักศึกษาวชิ าทหาร
1.7 กิจกรรมคนดีศรี อ.ว.ท.
1.8 กจิ กรรมปจั ฉมิ นเิ ทศ ม.3 และ ม.6
1.9 กิจกรรมปอ้ งกันและแก้ปญั หาพฤติกรรม และยาเสพติด
1.10 กจิ กรรมสง่ เสรมิ กจิ การนกั เรยี น
1.11 กิจกรรมพัฒนาวนิ ยั และความประพฤตนิ กั เรียน
1.12 กิจกรรมสง่ เสริมและพฒั นาประชาธิปไตย
1.13 กิจกรรมวนั เคารพครู และกจิ กรรมวนั ครู
1.14 กิจกรรมวนั เด็กแหง่ ชาติ
1.15 กิจกรรมปฐมนเิ ทศนักเรียน ม.1 และ ม.4
1.16 กิจกรรมอนรุ กั ษ์วรรณกรรมท้องถนิ่
1.17 กจิ กรรมธนาคารขยะ
1.18 กิจกรรมอบรมลูกเสือ - เนตรนารี ยวุ กาชาด อาสาจราจร
1.19 กจิ กรรมกตเวทคิ ุณวันพอ่ แห่งชาติ
1.20 กจิ กรรมกตเวทคิ ณุ วนั แมแ่ หง่ ชาติ
1.21 กจิ กรรมประกวดโครงงานคุณธรรม
1.22 กิจกรรมคา่ ยคณิตศาสตร์
1.23 กจิ กรรมค่ายภาษาอังกฤษ
1.24 กิจกรรมค่ายภาษาไทย
1.25 กิจกรรมคา่ ยดาราศาสตร์
1.26 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักเรยี น
1.27 กิจกรรมสปั ดาห์วิทยาศาสตร์
1.28 กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการอา่ น การเขยี นภาษาไทยระดับช้ัน ม.1
1.29 กจิ กรรมส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศทางคณิตศาสตร์
1.30 กิจกรรมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
1.31 กิจกรรม Open - House
1.32 กิจกรรมเส้นทางวันสอู่ าชพี
1.33 กจิ กรรมธนาคารขยะ
1.34 กจิ กรรมคา่ ยพกั แรมลูกเสือ – เนตรนารี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๖๔

มาตรฐานการศึกษา ชื่อโครงการ/กิจกรรม
ของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 (ต่อ) 1.35 กจิ กรรมทัศนศกึ ษานอกสถานท่ี ม.1 - ม.6

มาตรฐานที่ 2 2. โครงการกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
กระบวนการบริหารและ 2.1 กิจกรรมพฒั นาบคุ ลากร
การจดั การ 2.2 กิจกรรมพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
2.3 กจิ กรรมสร้างแหลง่ เรยี นรู้พัฒนาครูภาษาไทย
2.4 กิจกรรมแนะแนวการศึกษา
2.5 กจิ กรรมพฒั นา EQ , IQ บุคลากร
2.6 กิจกรรมพัฒนาบคุ ลากรสมู่ าตรฐานสากล
2.7 กิจกรรมพฒั นาครูใหม้ ีความรู้ความชำนาญในสาขาวิชาท่ีสอน
2.8 กิจกรรมพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้เพื่อครวู ิทยาศาสตร์
2.9 กิจกรรมพัฒนางานวิจยั ในชน้ั เรียน
2.10 กิจกรรมพฒั นาระบบสารสนเทศ
2.11 กิจกรรมพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา
2.12 กิจกรรมประชุมภาคี 4 ฝ่าย
2.13 กจิ กรรมพัฒนาและประสานเครือขา่ ยผู้ปกครอง
2.14 กจิ กรรมชุมชนสัมพนั ธ์
2.15 กิจกรรมพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
2.16 กิจกรรมนเิ ทศภายใน
2.17 กิจกรรมจัดทำแหลง่ เรยี นรู้คณติ ศาสตร์
2.18 กจิ กรรมจัดทำแหล่งเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
2.19 กิจกรรมซอ่ มแซมสวนหย่อม
2.20 กิจกรรมปลกู ต้นไมล้ ดโลกรอ้ น
2.21 กจิ กรรมจัดทำทางเชื่อม
2.22 กิจกรรมจดั รายการวทิ ยุ “เสียงยามเช้า”
2.23 กิจกรรมจดั ทำป้ายบคุ ลากร
2.24 กจิ กรรมจดั ทำศูนย์การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
2.25 กจิ กรรมวิทยุกระจายเสียงและเผยแพร่วิทยาการสูช่ ุมชน
2.26 กิจกรรมสถานศึกษาพอเพยี ง
2.27 กิจกรรมบริการคอมพิวเตอร์
2.28 กิจกรรมประชุมสรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก
2.29 กิจกรรมจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา
2.30 กิจกรรมพฒั นาโปรแกรมหอ้ งสมุดอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Library)
2.31 กิจกรรมจดั ทำแหล่งเรยี นรู้ (วชิ าการ)
2.32 กจิ กรรมพัฒนาแหล่งเรียนรสู้ ารสนเทศ
2.33 กจิ กรรมพัฒนาศูนย์การเรียนรู้
2.34 กิจกรรมละหมาดประจำวนั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๖๕

มาตรฐานการศกึ ษา ช่ือโครงการ/กจิ กรรม

ของสถานศกึ ษา 2.35 กิจกรรมละศีลอด
2.36 กิจกรรมตง้ั วงนาซดี
มาตรฐานท่ี 2 2.37 กิจกรรมกอรชี งิ ถ้วยพระราชทาน
กระบวนการบริหารและ 2.38 กิจกรรมอาซรู อ
การจัดการ (ตอ่ ) 2.39 กิจกรรมศาสนสัมพนั ธ์
2.40 กจิ กรรมต้อนรบั เดอื นรอมฎอน
2.41 กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนักเรียนพุทธ และนักเรยี นมสุ ลิม
2.42 กจิ กรรมเมาลดิ ีลนบี
2.43 กิจกรรมซานาวีย์สัมพันธ์
2.44 กิจกรรมปฐมนเิ ทศนักเรยี นมสุ ลมิ
2.45 กจิ กรรมอิสเราะห์เมียะรอจญ์
2.46 กิจกรรมสร้างบรรยากาศโซนอิสลามศกึ ษา

3. โครงการระดมทรัพยากรทางการศกึ ษา
3.1 กิจกรรมประชุมจัดทำแผนพัฒนาฯ และประสานแผนฯ
3.2 กิจกรรมชุมผูป้ กครองเพื่อระดมทรัพยากรทางการศึกษา
3.3 กิจกรรมประชมุ สรุปตดิ ตามการใช้งบประมาณและสรุปผล

การปฏบิ ตั ิงานตามแผนฯ
3.4 กิจกรรมมอบทุนการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 4. โครงการกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
กระบวนการจดั การเรยี น 3.1 กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
การสอนทีเ่ น้นผเู้ รียน 3.2 กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธ์ิกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เปน็ สำคัญ
3.3 กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธก์ิ ลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ
3.4 กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธกิ์ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
3.5 กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธก์ิ ลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษาฯ
3.6 กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธก์ิ ลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.7 กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธิ์กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
3.8 กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธิก์ ลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

3.9 กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระอิสลามศกึ ษาและภาษาอาหรับ
3.10 กจิ กรรมจดั ทำขอ้ มูลนักเรยี นรายบุคคล
3.11 กจิ กรรมจัดทำคลังข้อสอบ

มาตรฐานท่ี 4 4.1 กจิ กรรมบา้ นของพ่อ

การจัดการเรียนรู้ตาม
แนวปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๖๖

ส่วนท่ี ๓ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 และบริบทของสถานศึกษารวมถึงกำหนดค่าเป้าหมาย
โดยวิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐาน ค่าเป้าหมายและผลลัพธ์ของ 3 ปีที่ผ่านมา (2561 - 2563) จากนั้นประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายของปีการศึกษา 2564 ดำเนินการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา
ตามกระบวนการ PDCA และประเมินความสำเร็จตามมาตรฐาน 4 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพ
ผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ และมาตรฐานท่ี 4 การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยดำเนินการจัด
ประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบดูแลมาตรฐานแต่ละมาตรฐาน จากนั้นหัวหน้ามาตรฐานได้จัดประชุมชี้แจง
คณะกรรมการในแต่ละมาตรฐาน ให้จัดเก็บรวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน หรือผลงานเชิงประจักษ์ ที่สามารถ
รายงานผลงานหรอื ผลการปฏิบัติงาน และผลการดำเนินโครงการ ให้ผู้บริหารรับทราบตามลำดับ รวบรวมและจัดทำ
รายงานผลการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา นำเสนอรายงานผลในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
ซ่ึงมีผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษามีการ
ประเมิน ๔ มาตรฐาน ได้รับการประเมินคุณภาพภายใน เม่ือวันที่ 4 - 5 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565 ซ่ึงสรุปผล
การประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐาน ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน
ระดับคณุ ภาพ : ดีเลศิ

๑. กระบวนการพัฒนา
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้

ตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรยี น โดยมีการจัดการเรียนร้ทู ั้งรูปแบบ Online และ On-
site ซงึ่ ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การระดมสมอง การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นตน้ และพัฒนาครทู กุ คน
ให้มคี วามรูค้ วามสามารถในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงเทคนิควิธีการสอนต่าง ๆ การวัด
และประเมินผล ให้สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีแหล่งเรียนรู้และแหล่ง
สบื คน้ ข้อมูล ได้แก่ ห้องสมดุ โรงเรียน หอ้ งสมดุ กลุม่ สาระฯ ศนู ยภ์ าษาอาหรับ เปน็ ตน้ ครูในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้
มกี ารทำ PLC เพ่ือหาแนวทางรว่ มกนั ในการแกป้ ัญหา พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รียนอย่างต่อเนอื่ ง อีกทั้ง
ครูผู้สอนในระดับเดียวกันยังร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ เน้นการใช้
คำถามเพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ของผ้เู รยี น

นอกจากน้ีอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้มีการจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน
เพ่ือให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านกีฬา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวยั ของผู้เรียน
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศกึ ษาท่ีวา่ “เปน็ สถาบันที่มุ่งม่นั พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ คู่คุณธรรม นำกีฬา ล้ำหน้า
เทคโนโลยี ยึดถือวิถีความพอเพียง และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข” โดยการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและบุคลากร กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตย
กิจกรรมบ้านของพ่อ กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี เป็นต้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีวินัย มีความซ่ือสัตย์
รับผิดชอบ และมีจติ สาธารณะ มีระบบการแนะแนวศึกษาต่อและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นำภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มารว่ มกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน จดั ให้มกี ารศกึ ษากับภูมิปญั ญาในชุมชนรอบสถานศึกษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๖๗

๒. ผลการดำเนนิ งาน
ด้านผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการ ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา อยู่ใน

ระดบั ดีข้ึนไปคิดเป็นร้อยละ 57.11 (แสดงดังตารางหน้า 51) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ
การคิดคำนวณ อยู่ในระดับดีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 96.26 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นและแก้ปัญหา อยู่ในระดับดีข้ึนไปคิดเป็นร้อยละ 96.88 มีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่ใู นระดับดีข้ึนไปคิดเปน็ รอ้ ยละ 90.89 (แสดงดงั ตารางหน้า 55) นอกจากนี้
ยังมีกิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศในทุกกลุ่มสาระ ฯ รวมถึงสถานศึกษาสนับสนุนให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรม
แข่งขนั ต่าง ๆ ภายนอกสถานศกึ ษา เพื่อสง่ เสริมความสามารถของผเู้ รียนจนได้รับรางวัล (แสดงดังตารางหนา้ 55)

ด้านผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน อยู่ในระดับดีข้ึนไปคิดเป็นร้อยละ 97.03
(แสดงดังตารางหน้า 55) ซึ่งสถานศึกษาได้พัฒนาและส่งเสริมคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีให้กับผู้เรียน สร้างความ
ภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติ ศาสนา ให้เปน็ ไปตาม
อตั ลักษณ์ที่ว่า “สมานฉนั ท์ สันติสุข" และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม โดยจัดกิจกรรม ดงั นี้
กจิ กรรมอบรมลูกเสือ-เนตรนารี ยุวกาชาด กจิ กรรมนักศึกษาวิชาทหาร กจิ กรรมประกวดโครงงานคุณธรรม กิจกรรม
วรรณกรรมท้องถิ่น กิจกรรมบ้านของพ่อ กิจกรรมครอบครัวพอเพียง และกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ กิจกรรมส่งเสริม
และพฒั นาประชาธิปไตย กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรมอิสลาม กิจกรรมพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น กิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและบุคลากร กิจกรรมออกกำลังเพื่อสุขภาพ ซ่ึงการจัดกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นในช่วงปี
การศึกษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 1 เปน็ การเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ภายใต้สถาณการณ์โควิด19 ทำให้การจัด
กิจกรรมบางกิจกรรมเป็นการจัดในรูปแบบออนไลน์ด้วย นอกจากนี้ในภาคเรียนที่ 2 สถานศึกษาเปิดการเรียนแบบ
Online สลับกับการเรียนแบบ On-Site และสถานศึกษายังมีการส่งเสริมความสามารถของนักเรียนทางด้านต่าง ๆ
โดยสง่ นกั เรียนเข้าร่วมการแข่งขนั และได้รับรางวัลหลายรายการ (แสดงดังตารางหนา้ 58)

๓. จุดเดน่
๑. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีกิจกรรมคาบจริยธรรม หลังรับประทานอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน

ที่นับถือศาสนาพุทธ, อิสลาม และคริสเตียน ปฏิบัติศาสนกิจตามศาสนาของตนเองทุกวัน ถือเป็นการปฏิบัติจริง ๑๐๐ %
โดยมีคณะกรรมการนกั เรยี นทง้ั สามศาสนา เปน็ ผู้นำ มคี ณุ ครทู ุกท่าน ผลดั เปล่ยี น เปน็ ผดู้ แู ล ทุกวนั

๒. ผู้เรยี นมีทักษะด้านการคิด และมีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์โดยมีโครงการ/ กิจกรรม ประกวด
ผลงาน สิ่งประดิษฐท์ างวทิ ยาศาสตร์จนไดร้ บั รางวัลอยา่ งต่อเนือ่ ง

๓. ผู้เรียนมีความรู้ตามหลักสูตร ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้ตามความสามารถและความแตกต่างอย่างหลากหลาย มีกิจกรรมชมรม ท่ีหลากหลายตามความ
สนใจของผู้เรียน และความถนัด จนสามารถสร้างงานสร้างอาชพี ใหก้ ับผูเ้ รียน ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาสู่นวตั กรรม
หรอื แบบอย่างท่ีดี

4. สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักประหยัด อดออม ไม่ใช้สิ่งของฟุ่มเฟือย โดยการร่วมมือ กับ
ธนาคารอิสลาม จัดตั้งธนาคารโรงเรียน และการจัดดำเนินโครงการ ร่วมกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ส่งเสริมให้
นักเรียนตระหนักในปัญหาของสังคม ช่วยเหลือเสยี สละเพ่ือส่วนรวม โดยนำนกั เรียนร่วมช่วยเหลอื พ่ีๆ พยาบาล และ
เจ้าหน้าที่ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในการวัดความดัน จัดเรียงประวัติคนไข้ ดูแลเข็นรถคนไข้ไปพบแพทย์อย่าง
สม่ำเสมอในชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔

5. สถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพตามความถนัดและความสนใจ และ
สนับสนุนให้ผู้เรียนร่วมแข่งขันภายนอกสถานศึกษาจนได้รับรางวัลต่าง ๆ อาทิ รางวัลชนะเลิศด้านกีฬาฟุตซอล
เข้าร่วมการแข่งขัน Sudoku ซ่ึงจัดโดยประเทศเกาหลี (ผ่านระบบออนไลน์) ในการแข่งขัน World Youth Mind
Sports Fair 2021 และได้อนั ดบั ที่ 8 จากผเู้ ข้ารว่ มการแขง่ ขนั ทัง้ หมด

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๖๘
๔. จดุ ควรพัฒนา

1. พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรยี นอยใู่ นระดับดีขึ้นไป ใหส้ ูงขน้ึ ในทุกกลมุ่ สาระฯ
2. การจัดแหลง่ เรียนรู้สำหรับผู้เรียนให้มีความทันสมัยมี E-Library สำหรับนักเรียนสามารถดาวน์โหลดและ
ศกึ ษาผา่ นระบบออนไลนไ์ ด้
3. การพัฒนานวัตกรรมสง่ิ ประดิษฐข์ องผู้เรยี น สถานศึกษาควรสนับสนุนให้มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนอื่ งนำไปสู่
การจดอนุสิทธิบัตร หรือนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับชุมชนโดยรอบเพื่อเป็นการต่อยอดและสร้างรายได้ให้กับชุมชน
ต่อไป

๕. นวตั กรรม / การปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ –

๖. แหลง่ ข้อมูล หลกั ฐาน
๖.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน
ประเดน็ พิจารณา ๑ มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดคำนวณ
๑) รายงานผลการดำเนินกิจกรรมพัฒนาทกั ษะการอ่าน การเขียนภาษาไทยระดับช้ัน ม.1
๒) รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณติ ศาสตร์
ประเดน็ พิจารณา ๒ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็
และแกป้ ัญหา
๑) รายงานสรุปการประเมนิ ความสามารถสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นด้านความสามารถ
ในการคดิ การแก้ปัญหา
๒) รายงานสรปุ การประเมนิ ความสมารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน
ประเดน็ พิจารณา ๓ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๑) รายงานสรุปผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในรายวิชา IS1 – IS2
๒) Infographic การนำเสนอผลงาน IS2
๓) รายงานสรุปผลการเข้ารว่ มประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ และ
สงิ่ ประดษิ ฐ์&นวัตกรรม

ประเดน็ พิจารณา ๔ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
๑) รายงานสรปุ ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ด้านความสามารถในการใช้

ประเดน็ พิจารณา ๕ ผลสเทัมคฤโทนธโล์ิทยาีงการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
๑) รายงานสรุปผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
๒) รายงานผลการดำเนินกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของแตล่ ะกล่มุ สาระฯ

ประเด็นพิจารณา ๖ มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานและเจตคติต่องานอาชีพ
๑) รายงานสรุปผลการจดั กิจกรรมเส้นทางวันสู่อาชพี
๒) รายงานสรปุ ผลการจัดกิจกรรมแนะแนว

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๖๙
๖.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น

ประเดน็ พจิ ารณา ๑ การมีคุณลักษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด
๑) รายงานสรปุ ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รยี นตามหลกั สูตร
สถานศึกษา
๒) รายงานสรุปผลการจัดกจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด

ประเดน็ พิจารณา ๒ ความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
๑) รายงานสรุปผลการจดั กจิ กรรมอาซูรออ์
๒) รายงานผลเมาลิดนบี ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลัม
๓) รายงานสรุปผลการจดั กิจกรรมวันสำคญั ตา่ ง ๆ

ประเด็นพจิ ารณา ๓ การยอมรบั ที่จะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๑) รายงานสรุปผลการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนักเรียนพุทธ และนกั เรยี นมุสลิม
๒) รายงานสรปุ ผลการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนาประชาธิปไตย
๓) รายงานสรปุ ผลการจัดกิจกรรมระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น

ประเด็นพจิ ารณา ๔ สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม
๑) รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมออกกำลงั กายเพื่อสุขภาพ
๒) รายงานสรุปผลการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพนกั เรียนและบุคลากร
๓) รายงานสรปุ ผลการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมความเป็นเลิศดา้ นศิลปะ-ดนตรี-นาฏศิลป์

7. แผนการพัฒนา / แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในปีการศกึ ษาตอ่ ไป
7.๑ พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอยใู่ นระดับดีขนึ้ ไป ใหส้ งู ข้ึนในทุกกลุ่มสาระฯ
7.2 จัดใหม้ แี หล่งเรียนรูส้ ำหรบั ผู้เรยี นให้มีความทันสมัยสามารถสบื คน้ ผ่านระบบออนไลน์ได้ เชน่ E-Library
7.3 ส่งเสริมการพัฒนานวตั กรรมสง่ิ ประดษิ ฐข์ องผู้เรียนในทุกกล่มุ สาระฯ และสนบั สนนุ ให้มีการจดอนุสิทธิบัตร

สิ่งประดิษฐ์

************************************************************

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๗๐
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ
๑. กระบวนการพฒั นา

อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทยดำเนินการวิเคราะห์สภาพปญั หา ผลการจัดการศึกษาปีที่ผ่านมา โดยศึกษาข้อมูล
สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดม
ความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ ในการ
จัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายปฏิรูปการศึกษาพร้อมท้ังจัดหารทรัพยากร
จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกำหนดไว้
มกี ารดำเนนิ การนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนนิ งาน

๒. ผลการดำเนินงาน
2.1 สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ

ในการพฒั นาของสถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถนิ่ และสอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศกึ ษาตามแผนการศึกษาชาติ

2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเป้าหมาย มกี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง โดยครู
ร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาตามทส่ี นใจ และไดร้ ับการนิเทศจากฝา่ ยบริหาร หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ/ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
ขอ้ มูลสารสนเทศมีความถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ทนั สมัย นำไปประยกุ ใชไ้ ด้

2.3 สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับ
สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษาโดยผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีส่วนร่วมในการพัฒนา

2.4 ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา และรบั ทราบผลการจัดการศึกษา

2.5 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม
เป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วข้องมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

2.6 สถานศกึ ษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผ้เู รียนตามแนวทางปฏิรปู การศึกษา

2.7 สถานศึกษามีการระดมทรพั ยากรเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาสง่ ผลให้สถานศึกษาจัดหาส่ือ อุปกรณ์
แหลง่ เรยี นรู้ และปรบั สภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

๓. จดุ เดน่
อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทยมีการบริหารและการจัดการอยา่ งเป็นระบบ โดยกระบวนการ PDCA มกี าร

ประชุมคณะกรรมการฝ่ายงานต่าง ๆ และการประชุมกลุ่มสาระฯ เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
มงุ่ เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การ
ดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และใช้สารสนเทศเป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษาต่อไป

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๗๑

๔. จุดควรพฒั นา

4.1 ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีความ
เขม้ แข็ง มสี ว่ นร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการขับเคล่อื นคุณภาพการจดั การศึกษา

4.2 ควรเปิดโอกาสให้ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียมสี ่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
ผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ

๕. นวัตกรรม / การปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลิศ (ถ้ามี) –

๖. แหลง่ ขอ้ มูล หลกั ฐาน

ประเดน็ พจิ ารณา ๑ มีเปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

๑) สถานศึกษามแี ผนกลยุทธ์ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติการ สำหรับการบรหิ าร

จดั การ

๒) รายงานสรุปผลการประชมุ ปฏบิ ตั ิการจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษา แผนกลยุทธ์

แผนปฏิบัติการ

ประเดน็ พจิ ารณา ๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศกึ ษา

- รายงานสรุปผลการดำเนินกจิ กรรม กำกับ ตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผลโดยใช้วงจร

คุณภาพ PDCA

ประเดน็ พจิ ารณา ๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

- รายงานสรปุ ผลการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา

ประเดน็ พิจารณา ๔ พัฒนาครู และบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี
กลุ่มเปา้ หมาย
๑) รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ กิจกรรมพัฒนาครูและบคุ ลากร

๒) รายงานสรุปผลการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา
ประเดน็ พจิ ารณา ๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ

๑) รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 9 กลุ่มสาระฯ และอาคารสถานท่ีต่าง ๆ

ประเดน็ พิจารณา ๖ จัดเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

๑) รายงานผลการจดั การเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ของครแู ต่ละกลุม่ สาระฯ

๒) สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19

7. แผนการพฒั นา / แนวทางการพฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการในปีการศึกษาตอ่ ไป

7.๑ สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือของผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องในการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาใหม้ ีความเขม้ แข็ง มี
สว่ นร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา

7.๒ ใหผ้ ู้มีส่วนได้สว่ นเสยี มสี ่วนรว่ มในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาผ้เู รียนให้มี
คณุ ภาพ

************************************************************

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๒
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ
๑. กระบวนการพัฒนา

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดย
ดำเนินการ ดังนี้ งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษามีการประชุมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่
มาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน
ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสอดคล้อง
กบั หน่วยการเรียนรู้ สนบั สนุนใหค้ รูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผเู้ รียนทุกคนมสี ่วนร่วมได้ลงมือปฏิบตั จิ ริงจน
สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการ
มอบหมายให้ผู้เรยี นจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อ
การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี มีบางกลุ่มสาระ ฯ บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพ
และประสทิ ธิภาพของส่อื การสอนท่ีใช้ ครทู กุ คนมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการ PLC และทำงานวิจยั ในช้ัน
เรยี นปีการศกึ ษาละ 1 เรอื่ ง และได้รบั การตรวจใหค้ ำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ
๒. ผลการดำเนินงาน

จากการทส่ี ถานศึกษาส่งเสริมใหค้ รูดำเนินกจิ กรรมที่หลากหลายในการพัฒนาตนเอง ทำใหค้ รสู ามารถจดั การ
เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และจัด
แหล่งเรยี นรู้ที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก มีการวดั และประเมินผลผเู้ รียนอย่างหลากหลาย
ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล นำผลการพัฒนาผู้เรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และแก้ปัญหาโดยการทำวิจัยในช้ันเรียนปีการศึกษาละ 1 เร่ือง เพ่ือแก้ปัญหา/พัฒนา
ผเู้ รยี นอย่างต่อเนือ่ งทำใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพมากยิ่งขนึ้
๓. จุดเดน่

ครูมีความต้ังใจ มุ่งม่ันในการพัฒนาการสอน โดยจดั กิจกรรมให้นกั เรียนได้เรยี นรู้โดยการคิด ได้ปฏิบตั ิจริง มี
การใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
นกั เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน
ไดร้ บั การตรวจให้คำแนะนำจากผู้เชย่ี วชาญ
๔. จุดควรพัฒนา

4.1 ควรนำภมู ิปญั ญาท้องถิ่นบรู ณาการเข้าสกู่ ารจัดการเรียนการสอนในทุกกลมุ่ สาระฯเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการ
เรยี นรู้และสามารถต่อยอดได้ในชีวิตประจำวัน

4.2 ให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่ผู้เรยี นทนั ทีเพ่อื นำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง

๕. นวัตกรรม / การปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ (ถ้ามี) –

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๓
๖. แหลง่ ขอ้ มูล หลกั ฐาน

ประเด็นพจิ ารณา ๑ จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้
๑) แผนการจัดการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
๒) รายงานสรุปผลการจัดการเรยี นการสอนผ่านระบบออนไลน์

ประเด็นพจิ ารณา ๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
๑) รายงานผลการจดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์
๒) รายงานสรุปผลการใชห้ ้องสมดุ แหล่งเรยี นรู้และภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ

ประเดน็ พจิ ารณา ๓ มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเซงิ บวก
๑) รายงานผลการจดั การเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์
2) รายงานผลการใช้ผลการประเมินผเู้ รยี นมาพฒั นาการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น
3) แผนการจัดการเรยี นรขู้ องครูแต่ละกลุ่มสาระฯ

ประเด็นพจิ ารณา ๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน
๑) การจัดทำวิจยั ในชัน้ เรียนของครผู ้สู อนแตล่ ะกลุ่มสาระฯ
๒) การออกแบบการวัดและประเมนิ ผลทหี่ ลากหลายในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละวิชา
๓) การแจง้ ผลการสอบกลางภาคในการประชุมผู้ปกครอง

ประเดน็ พิจารณา ๕ มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้
1) รายงานผลการจัดกิจกรรม PLC ของแต่ละกล่มุ สาระฯ
2) สรปุ รายงานการทำวิจัยในช้ันเรยี นของแตล่ ะกลุ่มสาระฯ

7. แผนการพัฒนา / แนวทางการพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ในปกี ารศึกษา
ตอ่ ไป
7.๑ จดั ให้มีการนำภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ มาบูรณาการเข้ารว่ มกบั การจัดการเรียนการสอนในทกุ กลุ่มสาระฯ
7.2 จดั ให้มกี ารสะทอ้ นผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รียนจำนวน 2 คร้ังต่อภาคเรยี น ไดแ้ ก่ หลังสอบกลางภาคเรียน

ไม่เกนิ 2 สปั ดาห์และกอ่ นสอบปลายภาคเรียน 2 สปั ดาห์

************************************************************

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๔

มาตรฐานที่ ๔ การจดั การเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลิศ
๑. กระบวนการพัฒนา

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย มีการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดการศึกษาและ

เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนของ ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ชีวติ พอเพียงอิสลามวิทยาลัยฯ สถานศึกษาพอเพียง (Sufficiency life

Center : Islamic college of Thailand) โดยจัดสอนและแนะนำชุมชนให้รู้จักการรับผิดชอบ ใฝ่หาความรู้

มภี ูมิคุ้มกัน มีเหตผุ ล มีความพอประมาณ มคี วามพอเพียง ทีจ่ ะทำให้อย่รู อดได้ในสถานการณ์ท่มี ีโรคระบาดของโรค

ตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

ศูนย์การเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มขี ัน้ ตอนการดำเนินการดงั น้ี

1) ขั้นการรว่ มวางแผน (P)

เชญิ ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพือ่ วเิ คราะห์ปัญหาและร่วม วางแผนพัฒนาคุณภาพโดยได้จัดทำโครงการศูนย์

การเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบ้านของพ่อ บรรจใุ นแผนปฏบิ ัติการประจำทกุ ปี ระบุกจิ กรรมตา่ ง ๆ

เสนอตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพื่อขออนุมัติ

2) ข้นั ร่วมดำเนินการ (D)

2.1 ออกคำส่ังแต่งตง้ั คณะทำงาน โดยมอบหมายใหแ้ ต่ละกิจกรรมมผี ู้รบั ผิดชอบ ประชุมวางแผนเตรียมการ

บคุ ลากร วสั ดุอปุ กรณ์สถานท่ี และงบประมาณ

2.2 ดำเนินกจิ กรรมตามความรับผิดชอบ ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นผู้รับผิดชอบฐานการเรยี นรู้ โดยมีการ

ดำเนินงานตามประเดน็ ในการพฒั นา

3) ขัน้ การรว่ มตรวจสอบ (C)

ใช้การนเิ ทศโดยคณะผบู้ รหิ าร ครู ผู้ปกครองนกั เรยี น เปน็ การประเมินผลรว่ มกันทกุ ระยะ

4) ขน้ั ตอนประเมินและปรับปรงุ (A)

การวดั และประเมินผลการดำเนินงานเม่อื สิน้ สุดโครงการ

๒. ผลการดำเนนิ งาน
จากการที่อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยดำเนินโครงการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง โดยพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถสร้างเยาวชนครอบครัว
พอเพียง ได้จำนวนห้องเรียนละ ๕ คน รวม ๒๕๐ คน เพ่ือเป็นแกนนำในการทำกิจกรรมจิตอาสาท้ังภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา ทำให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และการมีจิตอาสาที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปขยายผล
ยงั ชุมชนของตนเองได้ นอกจากนี้ยังมีความรว่ มมือกับหน่วยงานในชมุ ชน โดยการนำต้นส้มบางมด ที่เป็นตำนานของ
บางมด ท่งุ ครุ มาปลกู ในสวนเกษตร ศูนยก์ ารเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นของพ่อ ทำให้เป็นสถานทีท่ ี่ทกุ คนในชุมชน
มาศึกษาหาความรู้ และสามารถพัฒนาให้ยง่ั ยนื ต่อไป

๓. จดุ เด่น
ศูนย์การเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นของพ่อ เป็นแหล่งเรยี นรู้ท่ีทุกคนสามารถมาศกึ ษาและเรยี นรู้ไดแ้ ละยัง

เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรูส้ ำหรบั ชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษา

๔. จดุ ควรพฒั นา
พัฒนากิจกรรมของศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านของพ่อให้มีความต่อเน่ือง และอนุรักษ์ภูมิปัญญา

ท้องถน่ิ เพือ่ ความยงั่ ยนื

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๗๕

๕. นวัตกรรม / การปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศ (ถา้ มี) –

6. แผนการพฒั นา / แนวทางการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ในปกี ารศึกษา
ตอ่ ไป
6.๑ จัดฐานการจัดการเรียนรู้ 10 กิจกรรม ให้มีความต่อเนื่อง และบูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนแต่ละกลุม่ สาระฯ

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

มาตรฐานท่ี ช่อื มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั คุณภาพ แปลผล
๑ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ดีเลิศ
๒ คณุ ภาพของผู้เรยี น ดีเลิศ
๓ กระบวนการบริหารและการจดั การ 44 ดเี ลิศ
กระบวนการจัดการเรียนการสอน 44
๔ ที่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ 44 ดเี ลศิ
การจดั การเรียนรูต้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง 44 ดเี ลศิ

สรุปผลในภาพรวม 44

จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสำเร็จตามทตี่ ้งั เป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรปุ ได้ว่าได้ ระดับดเี ลิศ
ทั้งนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามการพัฒนาตาม

ศักยภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพชุมชนท้องถ่ิน จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของ

ผเู้ รียนอยู่ในระดับดเี ลิศ ผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่านและเขียน การสือ่ สาร มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ การ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามที่

สถานศึกษากำหนดปรากฏอย่างชัดเจนดังท่ีปรากฏในผลการประเมินแต่ละมาตรฐาน สถานศึกษามีการวางแผน
ออกแบบกจิ กรรมและดำเนินงานตามแผนท่เี กิดจากการมสี ่วนร่วม ใชผ้ ลการประเมินและการดำเนินงานท่ีผ่านมาเป็น
ฐานในการพัฒนา และสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของการพัฒนา ตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงาน

ให้ดขี ึ้นอย่างต่อเน่ือง ครูจัดกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วิเคราะห์ออกแบบและจัดการเรยี นรู้ท่ี
เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบรบิ ทของสถานศกึ ษา พฒั นากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สือ่ การเรยี นรู้ ติดตาม

ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล วัดและประเมินผลตามสภาพจริงในทุกขั้นตอน
นอกจากน้ีสถานศึกษายังดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมฐาน
ทห่ี ลากหลายและครอบคลุมการพัฒนาทกั ษะชีวติ อย่างรอบด้าน ทำให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และการมีจติ อาสาไป

ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุขเปน็ พลเมืองท่ีดใี นสังคมต่อไป

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๖

ส่วนท่ี ๔ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการช่วยเหลือ

๔.๑ สรปุ ผลในภาพรวม (ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดบั 4 ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ )
จากการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าได้ระดับดีเลิศ ทั้งน้ี เพราะ
มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 ด้าน
กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมาตรฐานท่ี 4 การจัดการเรียนร้ตู ามแนวทางปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ทุกมาตรฐานมีผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ โดยมีจุดเด่น และจุดท่ีควรพัฒนาในปี
การศึกษาตอ่ ไปใหส้ ถานศึกษามีคณุ ภาพสูงขึ้น ดงั นี้

จุดเด่น จุดทค่ี วรพัฒนา

1. ด้านคุณภาพผเู้ รยี น 1. ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น
1) ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีกิจกรรมคาบจริยธรรม 1) พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
หลังรับประทานอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน ท่ีนับถือ อยู่ในระดบั ดีขน้ึ ไป ใหส้ ูงขึ้นในทกุ กลมุ่ สาระฯ
ศาสนาพุทธ, อิสลาม และคริสเตียน ปฏิบัติศาสนกิจตาม 2) การจัดแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียนให้มี
ศาสนาของตนเองทกุ วนั ถอื เปน็ การปฏิบตั ิจรงิ ๑๐๐ % โดย ความ ทั น สมั ย มี E-Library สำห รับ นั ก เรีย น
มีคณะกรรมการนักเรียนทั้งสามศาสนา เป็นผู้นำ มีคณุ ครูทุก สามารถดาวน์โหลดและศึกษาผ่านระบบออนไลน์
ทา่ น ผลัดเปลี่ยน เปน็ ผู้ดแู ลทุกวัน ได้
2) ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิด และมีความสามารถ 3) การพัฒนานวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์ของ
ทางด้านวิทยาศาสตร์โดยมีโครงการ/ กิจกรรม ประกวด ผู้เรียน สถานศึกษาควรสนับสนุนให้มีการพัฒนา
ผลงาน ส่ิงประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์จนได้รับรางวัลอย่าง อย่างต่อเนื่องนำไปสู่การจดอนุสิทธิบัตร หรือนำ
ต่อเนื่อง ความรู้ไปเผยแพร่ใหก้ ับชุมชนโดยรอบเพอื่ เป็นการ
๓) ผู้เรียนมีความรู้ตามหลักสูตร ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน ต่อยอดและสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ชมุ ชนต่อไป
บนความแตกต่าง โดยสถานศึกษาได้จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การ
เรยี นรู้ตามความสามารถและความแตกต่างอย่างหลากหลาย
มีกิจกรรมชมรม ที่หลากหลายตามความสนใจของผู้เรียน
และความถนัด จนสามารถสร้างงานสร้างอาชีพให้กับผูเ้ รียน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นาสู่นวตั กรรม หรือแบบอย่างท่ีดี
4) สถานศกึ ษามีการส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนรู้จกั ประหยดั อด
ออม ไม่ใช้สิ่งของฟุ่มเฟือย โดยการร่วมมือ กับธนาคาร
อิสลาม จัดตั้งธนาคารโรงเรียน และการจัดดำเนินโครงการ
รว่ มกับมลู นธิ คิ รอบครวั พอเพยี ง ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นตระหนัก
ในปัญหาของสังคม ช่วยเหลือเสียสละเพื่อส่วนรวม โดยนำ
นักเรียนร่วมช่วยเหลือพี่ๆ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ที่
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในการวัดความดัน จัดเรียงประวัติ
คนไข้ ดูแลเข็นรถคนไข้ไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอในชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔
5) สถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนาผูเ้ รยี นได้รับการพัฒนา
ศักยภาพตามความถนัดและความสนใจ และสนับสนุนให้
ผู้เรียนรว่ มแข่งขันภายนอกสถานศึกษาจนได้รับรางวัลต่าง ๆ
อาทิ รางวัลชนะเลิศด้านกีฬาฟุตซอล เข้าร่วมการแข่งขัน
Sudoku ซ่ึงจัดโดยประเทศเกาหลี (ผ่านระบบออนไลน์) ใน
การแขง่ ขนั World Youth Mind Sports Fair 2021

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๗

จุดเด่น จดุ ท่คี วรพัฒนา

2. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2. ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ

1) ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการ 1) ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วน
บริหาร และมีวิสัยทัศน์ท่ีดีในการบริหารงาน สามารถ เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีความ

เป็นแบบอย่างท่ีดีในการทำงาน และคณะกรรมการ เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และ
สถานศึกษามีความต้ังใจ และมีความพรอ้ มในการปฏิบัติ การขบั เคล่อื นคณุ ภาพการจดั การศึกษา

หน้าที่ตามบทบาท 2) ควรเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมใน

2) สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่าง การเสนอความคดิ เห็นในการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาผ้เู รยี น

เป็นระบบโดยใช้กระบวนการ PDCA มีการประชุม ให้มคี ณุ ภาพ

คณะกรรมการฝา่ ยงานต่าง ๆ และการประชมุ กลมุ่ สาระ
ฯ เพ่ือให้ทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการ มุ่งเน้น

การพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย ครูผู้สอนสามารถจดั การเรยี นรู้ได้อย่างมีคณุ ภาพ มี

การดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การ
ดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และ

ใช้สารสนเทศเป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ของสถานศกึ ษาต่อไป

3. ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอน 3. ด้านกระบวนการเรียนการสอน

1) ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจ มุ่งมั่น 1) ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการเข้าสู่การจัดการ
ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีอ่ ย่างเตม็ เวลาและความสามารถ เรยี นการสอนในทุกกลุม่ สาระฯเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

2) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรยี นแสวงหาความรู้จากส่ือ และสามารถต่อยอดได้ในชวี ติ ประจำวัน

เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง 2) ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทันทีเพื่อนำไปใช้

3) ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ พฒั นาตนเอง

สภาพแวดลอ้ มที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้

4) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิด
ได้ปฏบิ ัติจรงิ ดว้ ยวิธกี ารและแหล่งเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย

5) ผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคนได้รับการ
ตรวจประเมนิ และคำแนะนำจากผูเ้ ช่ยี วชาญ

4. การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ 4. การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง พอเพียง

ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านของพ่อ ควรพัฒนากิจกรรมของศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ

เป็นแหล่งเรยี นรู้ท่ีทุกคนสามารถมาศึกษาและเรยี นรู้ได้ พอเพียงบ้านของพ่อให้มีความต่อเน่ือง และอนุรักษ์ภูมิ

และยังเป็นศูนย์การเรียนรู้สำหรับชุมชนโดยรอ บ ปัญญาทอ้ งถ่ินเพื่อความย่งั ยืน

สถานศึกษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๗๘
๔.๒ แนวทางการพัฒนาในปีต่อไป

1) พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรยี นอยใู่ นระดับดีขนึ้ ไป ใหส้ งู ข้ึนในทกุ กลมุ่ สาระฯ
2) จัดใหม้ ีแหลง่ เรียนรู้สำหรับผู้เรียนให้มีความทันสมัยสามารถสืบคน้ ผ่านระบบออนไลน์ได้ เชน่ E-Library
3) ส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนในทุกกลุ่มสาระฯ และสนับสนุนให้มีการจด
อนุสทิ ธิบตั รส่ิงประดษิ ฐ์
4) สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง
มสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา
5) ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพ
6) จัดให้มีการนำภูมิปัญญาท้องถ่ินมาบรู ณาการเข้าร่วมกับการจดั การเรยี นการสอนในทุกกล่มุ สาระฯ
7) จัดให้มีการสะท้อนผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนจำนวน 2 คร้ังต่อภาคเรียน ไดแ้ ก่ หลงั สอบกลางภาคเรียนไม่เกนิ 2
สปั ดาห์และกอ่ นสอบปลายภาคเรียน 2 สัปดาห์
8) จัดฐานการจัดการเรียนรู้ 10 กิจกรรม ให้มีความต่อเน่ือง และบูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนแต่ละกลมุ่ สาระฯ
๔.๓ ความต้องการและการช่วยเหลือ
1) การจัดสรรอัตรากำลังครูผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระ ฯ ให้มีจำนวนเพียงพอตามความต้องการ
ของสถานศกึ ษาและความจำเป็น
2) การพัฒนาครูผสู้ อนใหม้ คี วามเช่ยี วชาญในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน การพัฒนาส่ือเทคโนโลยีที่
ทันสมัย
3) สนับสนุนวัสดุ อปุ กรณ์เทคโนโลยี เพ่ืออำนวยความสะดวกให้กับครูผู้สอนใช้เทคโนโลยีเพือ่ การจัดการ
เรยี นการสอนอยา่ งเพยี งพอ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๗๙

ภาคผนวก *

• หลกั ฐาน รอ่ งรอย ข้อมูลสำคัญ เอกสารอ้างองิ ทีแ่ สดงเกยี รตยิ ศและผลงานดีเดน่
ของสถานศกึ ษา

• ภาพกิจกรรมสำคัญ
 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน/คณะกรรมการประเมนิ ตนเอง / ประเมนิ คุณภาพภายใน

ของสถานศึกษา
 คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

(Self - Assessment Report : SAR)
 บนั ทึกการให้ความเหน็ ชอบรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
 รายชอื่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอกของสถานศกึ ษา
 รายชอ่ื คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๘๐

หลักฐาน รอ่ งรอย ขอ้ มูลสำคญั เอกสารอ้างอิงที่แสดงเกียรติยศและผลงานดเี ดน่ ของสถานศกึ ษา

ผบู้ รหิ าร
นักเรยี นอสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทยไดร้ บั ทนุ ศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ และศึกษาต่อในระดับอุดมศกึ ษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๑
นักเรยี นอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้รบั การสง่ เสริมและสนับสนนุ ตามศกั ยภาพของตนเอง และได้รบั รางวลั

ในการแขง่ ขนั ประเภทต่าง ๆ

ความสามารถด้านวชิ าการ

ไดร้ ับทุนไปแลกเปลี่ยนทีป่ ระเทศสหรฐั อเมริกา ได้รับทุนไปแลกเปลยี่ นท่ีประเทศสหรัฐอเมรกิ า
United States of America (USA) United States of America (USA)

ผลงาน “ชดุ มดี ตัดสลัดบาร์” ผลงาน “ชดุ มีดตัดสลดั บาร์”

รางวัลชมเชย การประกวดโครงงานประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์ รางวลั ชมเชย การประกวดโครงงานประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์
ดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ และนวัตกรรม
ดว้ ยวิทยาศาสตร์ และนวตั กรรม

อนั ดับที่ 8 การแข่งขัน Online World Youth Mind Sports Fair 2021 (SUDOKU) ประเทศเกาหลีใต้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๒

ความสามารถดา้ นกฬี าฟุตซอล

รางวลั ชนะเลิศ รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2
U17 ฟุตซอลลีกดดิ ีเย่ ฟตุ ซอลรายการดำเนินสะดวก คัพ

รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 1 ฟตุ ซอลกรมพลศึกษา U18 รองชนะเลิศอนั ดับที่ 3 ฟุตซอลหญิง U16

รายงานผลการจดั การเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๘๓

ตวั อยา่ งผลงานการจัดการเรียนการสอนรายวิชา IS

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๘๔

ภาพกจิ กรรมสำคัญ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๕

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๖

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๗

คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๘

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑

๘๙

บันทกึ การให้ความเห็นชอบรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

บนั ทึกการให้ความเห็นชอบรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self- Assessment Report : SAR)

ตามที่อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต ๑ ได้จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพ่ือรายงานผลการดำเนินงานการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
( ฉบับท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๘ ทกี่ ำหนดไว้ชดั เจน ในมาตรา ๔๘ ใหส้ ถานศึกษามกี ารจดั ทำรายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัดเป็นประจำทุกปี และได้นำเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานน้ัน

ข้าพเจ้าและคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ได้ศึกษารายละเอียดของรายงานผลการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษาแล้ว ปรากฏว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
ข้าพเจ้าคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจึงมีมติให้ความเห็นชอบรายงานประจำของสถานศึกษา ปีการศึกษา
๒๕๖๔ ของอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย และขอให้ทางโรงเรยี นนำผลการประเมินไปเป็นข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ
วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาต่อไป

ลงชอื่
( นายสน่ัน ชนนั ทวารี )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๙๐

รายช่ือผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอกของสถานศึกษา

รายนามคณะกรรมการเครือขา่ ยผู้ปกครองอิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

ที่ ชื่อ-นามสกลุ ตำแหน่ง เบอร์โทรศัพท์

1 นายอาหะหมัด เจ๊ะแมง็ ประธาน 095-142-5928
รองประธานคนที่ 1
2 นายอำพล ค้มุ วงศ์ รองประธานคนที่ 2 089-3005563
081-9888760
3 นายสรุ ศักด์ิ อินสมะพันธ์ เลขานุการ 062-9096524
ประชาสัมพันธ์ 090-9912614
4 นางสาวรดามณี พุทธสอน นายทะเบยี น 081-4059839
087-0690991
5 นางสาวมลฤดี พงษศ์ ิลา ปฏิคม 089-9661006
ประสานงาน 081-7207859
6 นายจรงุ รตั น์ พลู สวัสด์ิ กรรมการ 098-8401374
กรรมการ 064-2193369
7 นางสาวสุพรรษา ดาวแยม้ กรรมการ 081-7352734
กรรมการ 095-2542114
8 นายสมนกึ ผ่องอำไพ กรรมการ

9 นางชฎากานต์ สะเรม็

10 นายนวิ ฒุ ิ รัตนา

11 นายสกุลชัย เหมอื นละหมา้ ย

12 นางสาวฐานิยา ชตู ระกูล

13 นายวรี ะศกั ดิ์ แสนศรี

รายนามคณะกรรมการมลู นธิ เิ พื่อการศึกษาอสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย(เล็ก นานาอปุ ถัมภ์)

ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตำแหน่ง เบอร์โทรศพั ท์

1 นายประเสรฐิ ทัพเสน ประธานกรรมการ 087-0270561
2 นายณฐั วฒุ ิ บญุ มา รองประธานกรรมการ 097-0186781
3 นางสาวดาราณี เรืองพานิช 089-4940761
4 นางซลั บียะห์ สาโรวาท เลขานกุ าร 084-1571976
5 นางรัตนา ยามาลี ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 081-3093186
6 นางสพุ ิศ วัฒนเวศ 098-8602963
7 นายประสิทธิ์ มูซอ เหรัญญิก 089-5070048
8 นายรอฟกิ การมี ี ผชู้ ่วยเหรัญญิก 087-5183749
9 นายนุสรณ์ ทพิ ย์ธารา ประชาสัมพันธ์ 081-4240061
10 นางสราญจติ ร เจรญิ กจิ ราษฎร์ ผูช้ ่วยประชาสมั พันธ์ 081-9232194
11 นายบาํ รุง กองแก้ว 083-2869915
12 นางจนั ทรา ประภศั ร กรรมการ 087-0156902
13 นายสมศักด์ิ ชวู งศ์ กรรมการ 087-0461752
14 นายอนันต์ สขุ สาลี กรรมการ 086-0975740
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๙๑

รายชอ่ื คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

ท่ี ชือ่ - นามสกุล ตำแหนง่ ผแู้ ทน
1 นายสนั่น ชนนั ทวารี ประธานกรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
2 ดร.พรภินันท์ เลาะหนับ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
3 นายบรรจบ เดวเิ ลาะ กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
4 นายบรรจบ ศิรวิ าลย์ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
5 นายอภษิ ฐา กติ ตเิ อกชยั กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
6 ผศ.ดร.ชยั วัฒน์ มสี ัณฐาน กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
7 นายพชิ ติ หมดั ป้องตวั กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
8 นายสรุ ชัย บินซาเลห์ กรรมการ ผู้แทนผู้ปกครอง
9 นายรอฟกี ี การีมี กรรมการ ผแู้ ทนครู
10 รศ.ดร.สมบตั ิ ธนะวันต์ กรรมการ ผแู้ ทนศิษยเ์ ก่า
11 นายเกษม มหนั ตเกียรติ กรรมการ ผ้แู ทนองคก์ รชุมชน
12 นายพรเทพ ศิริวนารงั สรรค์ กรรมการ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
13 นายสมมารถ ยซู ุบ กรรมการ ผูแ้ ทนองคก์ รศาสนา
14 ดร.อดศิ ักด์ิ นชุ มี กรรมการ ผแู้ ทนองค์กรศาสนา
15 นายสมบรู ณ์ สาลพี นั ธ์ กรรมการ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
กรรมการและเลขานกุ าร

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑

๙๒

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑


Click to View FlipBook Version