The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by songkhlapolytechnic, 2022-01-05 20:46:02

sar62

sar62

47

รางวัลและผลงานของผู้เรยี น ปีการศกึ ษา 2562

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดบั ใหโ้ ดย

นายสริ ชิ ยั กติ ยิ ามาศ ชนะเลศิ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลิศ ร่นุ ไลท์ฟลายเวท นา้ หนกั ไมเ่ กิน อาชีวศกึ ษา
48 กโิ ลกรัม ประเภทชาย การแข่งขันกฬี า
นกั เรยี นนกั ศึกษา อาชวี ะเกมส์ระดบั ภาค ภาคใต้

นายสริ ิชัย กิติยามาศ ชนะเลิศ จังหวัด สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลศิ ประเภทกีฬา มวยไทยสมัครเล่น อาชีวศึกษา
ชาย รุ่นนา้ หนักไม่เกนิ 48 กโิ ลกรมั การแขง่ ขนั
กีฬาอาชีวะเกมส์ ระดับอาชวี ศกึ ษาจังหวัดสงขลา

นายสกรีน คงั คะโร

รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2 รนุ่ ไลทฟ์ ลายเวท รองชนะเลิศ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

น้าหนกั ไมเ่ กิน 49 กโิ ลกรัม ประเภทชาย การ อาชีวศกึ ษา

แข่งขันกีฬานักเรยี นนักศึกษา อาชวี ะเกมสร์ ะดบั

ภาค ภาคใต้

นายอลงกรณ์ เทพทวี รองชนะเลศิ ชาติ สานักงานการวิจยั แห่งชาติ
รางวลั เหรยี ญเงิน โครงการ Thailand New
Gen Inventors Award (I-New Gen Award
2020) เรื่องเคร่ืองล้างระบบภายในของ
เครอ่ื งปรบั อากาศแบบ 3 ระบบ

นายเกยี รตศิ ักด์ิ ชมช่ืน รองชนะเลศิ ชาติ สานักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลเหรียญเงิน โครงการ Thailand New
Gen Inventors Award (I-New Gen Award
2020) เรื่องเคร่ืองล้างระบบภายในของ
เครอื่ งปรบั อากาศแบบ 3 ระบบ

นายธนพล เอยี ดสยุ รองชนะเลศิ ชาติ สานักงานการวจิ ัยแหง่ ชาติ
รางวัลเหรยี ญเงนิ โครงการ Thailand New
Gen Inventors Award (I-New Gen Award
2020) เรอ่ื งเคร่ืองล้างระบบภายในของ
เครื่องปรับอากาศแบบ 3 ระบบ

นายสิทธกิ ร บญุ ช่วย รองชนะเลิศ ภาค สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 12
รางวลั เหรยี ญเงนิ การแข่งขนั ฝีมอื แรงงาน สงขลา
แห่งชาติ คร้งั ท่ี 28 ระดับภาค สาขาสีรถยนต์

48

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดบั ให้โดย

นายภาสกร จู่เถ้ยี ง รางวลั อ่นื ๆ จงั หวัด สมาคมเยาวชนจังหวดั สงขลา
รางวลั เยาวชนดเี ดน่ แห่งชาติ รว่ มกับองค์การบริหารส่วน
จังหวัดสงขลา

นางสาวรงุ้ ทอง ย่องเซ่ง ภาค สถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน 12
รางวัลเหรียญทอง การแขง่ ขันฝมี ือแรงงาน คร้ังท่ี ชนะเลศิ สงขลา
28 ระดับภาค สาขาแตง่ ผม

นายศุภกฤต จาติกานนท์ รางวัลอืน่ ๆ จงั หวดั สานักงานคณะกรรมการการ
รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง โครงงานเรือ่ ง อาชวี ศกึ ษา
การศกึ ษาประสทิ ธิภาพของเคร่ืองคดั แยกขนาด
เมล็ดข้าวสารท่มี ตี ่อปริมาณและระยะเวลา ใน
การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตรอ์ าชีวศกึ ษา-
เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษาจงั หวัดสงขลา

นายชยตุ ม์ คมบาง รางวลั อื่น ๆ จังหวัด อาชีวศกึ ษาจังหวัดสงขลา
รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดง โครงงานเรอ่ื ง สานักงานคณะกรรมการการ
การศกึ ษาประสิทธภิ าพของเครอ่ื งคดั แยกขนาด
เมลด็ ข้าวสารท่ีมตี ่อปริมาณและระยะเวลา ใน อาชีวศึกษา
การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตรอ์ าชวี ศกึ ษา-
เอสโซ่ ระดับอาชวี ศึกษาจังหวัดสงขลา

นายณฐั พงศ์ หวังโบรักษ์

รางวลั ระดบั เหรญี เงนิ โครงงานเร่ือง การศกึ ษา รองชนะเลิศ จงั หวดั อาชวี ศกึ ษาจังหวัดสงขลา

คณุ ภาพน้าโดยการใช้อุปกรณ์ Backwash สานักงานคณะกรรมการการ

อัตโนมตั ิ ที่มีต่อค่า TDS และคา่ pH ของน้า ใน อาชวี ศกึ ษา

การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์อาชวี ศกึ ษา-

เอสโซ่ ระดบั อาชีวศึกษาจังหวดั สงขลา

นางสาววิภาวี อุ่งเภา

รางวลั ระดับเหรียญเงนิ โครงงานเร่อื ง การศึกษา รองชนะเลิศ จังหวัด อาชวี ศกึ ษาจังหวดั สงขลา

คณุ ภาพน้าโดยการใชอ้ ปุ กรณ์ Backwash สานักงานคณะกรรมการการ

อัตโนมัติ ทม่ี ตี ่อค่า TDS และคา่ pH ของนา้ ใน อาชวี ศึกษา

การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์อาชวี ศกึ ษา-

เอสโซ่ ระดับอาชีวศกึ ษาจังหวัดสงขลา

49

ช่ือ-สกุล/รายการ รางวัล ระดบั ใหโ้ ดย

นางสาวจุฬาลกั ษณ์ เดมิ พรม

รางวลั ระดับเหรียญเงนิ โครงงานเรอ่ื ง การศึกษา รองชนะเลศิ จงั หวดั อาชวี ศึกษาจังหวัดสงขลา

คุณภาพนา้ โดยการใชอ้ ุปกรณ์ Backwash สานกั งานคณะกรรมการการ

อตั โนมัติ ที่มตี ่อค่า TDS และคา่ pH ของน้า ใน อาชวี ศกึ ษา

การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์อาชีวศึกษา-

เอสโซ่ ระดบั อาชีวศกึ ษาจงั หวัดสงขลา

นางสาวอมรรัตน์ แสนทวี ชนะเลศิ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะการประกอบ อาชีวศกึ ษา
อาหารจานเดียว ขา้ วคลุกกะปิ การแข่งขันทักษะ
วชิ าชพี และทักษะพืน้ ฐาน ระดับภาค ภาคใต้

นางสาวชาลิสา สวสั ดริ กั ษา ชนะเลิศ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลิศ การแข่งขนั ทักษะการประกอบ อาชีวศึกษา
อาหารจานเดยี ว ขา้ วคลกุ กะปิ การแขง่ ขันทกั ษะ
วชิ าชีพ และทกั ษะพ้นื ฐาน ระดับภาค ภาคใต้

นายเตชธร ยม้ิ แยม้

รางวลั ระดับเหรียญทองแดง ทักษะการแข่งขัน รางวลั อน่ื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

ออกแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การแข่งขันทักษะ อาชวี ศกึ ษา

วชิ าชีพ และทกั ษะพืน้ ฐาน ระดับภาค ภาคใต้

นายณัฐพล แซ่โคว้

รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง ทักษะการแขง่ ขัน รางวลั อ่นื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ การแข่งขันทักษะ อาชีวศึกษา

วิชาชีพ และทกั ษะพื้นฐาน ระดับภาค ภาคใต้

นางสาวสุดารตั น์ สาม่าน

รางวัลระดบั เหรียญทองแดง ทักษะการแขง่ ขัน รางวัลอน่ื ๆ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

ออกแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การแข่งขันทักษะ อาชวี ศึกษา

วิชาชพี และทักษะพ้นื ฐาน ระดับภาค ภาคใต้

นายสกั รนิ ทร์ หลเี จริญ

รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 การประกวดดนตรี รองชนะเลศิ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

สากลคนพนั ธ์ุ R การแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี และ อาชีวศกึ ษา

ทกั ษะพน้ื ฐาน ระดบั ภาค ภาคใต้

นายปฏพิ ันธ์ ไชยยุโก

รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั 2 การประกวดดนตรี รองชนะเลิศ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

สากลคนพนั ธ์ุ R การแขง่ ขันทักษะวชิ าชพี และ อาชวี ศึกษา

ทักษะพนื้ ฐาน ระดบั ภาค ภาคใต้

50

ชอื่ -สกุล/รายการ รางวลั ระดับ ให้โดย

นายศราวนิ จองน้ยุ

รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 2 การประกวดดนตรี รองชนะเลศิ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

สากลคนพันธุ์ R การแข่งขันทักษะวิชาชีพ และ อาชวี ศึกษา

ทักษะพ้ืนฐาน ระดบั ภาค ภาคใต้

นายธภี ัทร์ สอนมา

รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 การประกวดดนตรี รองชนะเลศิ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

สากลคนพันธุ์ R การแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชีพ และ อาชีวศึกษา

ทักษะพื้นฐาน ระดบั ภาค ภาคใต้

นายธนพล ชานาญหาญ

รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2 การประกวดดนตรี รองชนะเลิศ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

สากลคนพนั ธุ์ R การแขง่ ขนั ทักษะวิชาชพี และ อาชวี ศกึ ษา

ทกั ษะพนื้ ฐาน ระดบั ภาค ภาคใต้

นางสาวมารนี า เจะ๊ แว รองชนะเลศิ ภาค สถาบนั พัฒนาฝมี ือแรงงาน 12
รางวัลเหรยี ญเงนิ การแขง่ ขันฝีมือแรงงาน สงขลา
แหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 28 ระดับภาค สาขาแฟชั่น
เทคโนโลยี

นายศุภมติ ร คงสวุ รรณ รองชนะเลศิ จังหวัด สานกั งานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลศิ อันดับ 1 ระดับเหรียญทอง อาชวี ศึกษา
สิ่งประดษิ ฐด์ า้ นนวัตกรรมซอฟต์แวรแ์ ละสมอง
กลฝงั ตัว อปุ กรณ์ทา Backwash อัตโนมัติ

นายธนพล เอยี ดสยุ รองชนะเลิศ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลชนะเลศิ อันดับ 1 ระดับเหรยี ญทอง อาชวี ศึกษา
สงิ่ ประดษิ ฐ์ดา้ นนวตั กรรมซอฟต์แวร์และสมอง
กลฝงั ตวั อปุ กรณ์ทา Backwash อัตโนมัติ

นายซลั มาน สืบประดิษฐ์ รองชนะเลศิ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการ
รางวลั ชนะเลศิ อันดบั 1 ระดับเหรยี ญทอง อาชวี ศกึ ษา
สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟตแ์ วรแ์ ละสมอง
กลฝังตวั อปุ กรณ์ทา Backwash อัตโนมตั ิ

นายพเิ ชฐ เส้งเช้ือ รองชนะเลศิ จงั หวดั สานกั งานคณะกรรมการการ
รางวลั ชนะเลิศ อันดับ 1 ระดับเหรยี ญทอง อาชวี ศึกษา
สง่ิ ประดษิ ฐด์ ้านนวตั กรรมซอฟตแ์ วรแ์ ละสมอง
กลฝังตวั อุปกรณ์ทา Backwash อัตโนมัติ

51

ช่อื -สกุล/รายการ รางวัล ระดบั ให้โดย

นายศุภฤกษ์ ชูเมือง

รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั 2 ระดับเหรยี ญ รองชนะเลศิ จังหวัด สานักงานคณะกรรมการการ

ทองแดง ส่งิ ประดิษฐด์ า้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ อาชีวศึกษา

อุปกรณ์ควบคมุ และตรวจสอบการใชง้ าน

เครอื่ งจักรกลไฟฟ้า

นายสมั ฤทธ์ิ พนั ธรุ ัตน์

รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ระดบั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการ

ส่ิงประดษิ ฐด์ า้ นการแพทย์หรือบรรเทาสาธารณ อาชีวศกึ ษา

ภยั ไฟเล้ียวอจั ฉรยิ ะ

นางสาวศตพร พรมทองบญุ

รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ 2 ระดบั เหรียญทอง รองชนะเลิศ จงั หวัด สานกั งานคณะกรรมการการ

สิ่งประดษิ ฐ์ด้านการแพทยห์ รือบรรเทาสาธารณ อาชีวศึกษา

ภยั ไฟเลย้ี วอัจฉริยะ

นางกติ ติพงษ์ กีสะบตุ ร รองชนะเลิศ จงั หวัด สานักงานคณะกรรมการการ
รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 3 ระดับเหรียญ อาชวี ศึกษา
ทองแดง สิ่งประดิษฐ์ด้านพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
อุปกรณส์ รา้ งแนวเสน้ ในงานติดตัง้

นายศรายุทธ คาระวะ รองชนะเลิศ จังหวัด สานกั งานคณะกรรมการการ
รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั 3 ระดบั เหรียญ อาชวี ศึกษา
ทองแดง สงิ่ ประดิษฐด์ า้ นพฒั นาคุณภาพชีวติ
อุปกรณ์สรา้ งแนวเส้นในงานติดตงั้

นายนนทวัฒน์ บญุ รตั นัง รองชนะเลิศ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการ
รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 3 ระดบั เหรยี ญ อาชีวศึกษา
ทองแดง ส่งิ ประดิษฐ์ดา้ นพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
อุปกรณ์สร้างแนวเสน้ ในงานติดตง้ั

นายสรวิชญ์ รัตนรัตน์

รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 3 ระดับเหรยี ญทอง รองชนะเลิศ จงั หวัด สานกั งานคณะกรรมการการ

สิ่งประดษิ ฐ์ดา้ นการแพทย์หรือบรรเทาสาธารณ อาชวี ศึกษา

ภัย อปุ กรณ์แจ้งเตอื นไฟทา้ ยรถขาด

นายเมทนี ทองนวน

รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 3 ระดบั เหรียญทอง รองชนะเลศิ จงั หวัด สานักงานคณะกรรมการการ

ส่งิ ประดษิ ฐด์ ้านการแพทย์หรือบรรเทาสาธารณ อาชวี ศึกษา

ภยั อปุ กรณ์แจ้งเตอื นไฟทา้ ยรถขาด

52

ช่อื -สกุล/รายการ รางวลั ระดบั ให้โดย

นายเมทนี ทองนวน

รางวัลชมเชย ระดับเหรียญเงิน ส่ิงประดษิ ฐด์ ้าน รางวัลอน่ื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

การแพทย์หรอื บรรเทาสาธารณภัย อุปกรณ์แจง้ อาชีวศกึ ษา

เตอื นไฟท้ายรถขาด

นายสรวิชญ์ รตั นรตั น์

รางวลั ชมเชย ระดับเหรียญเงนิ ส่งิ ประดิษฐ์ด้าน รางวัลอน่ื ๆ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

การแพทย์หรอื บรรเทาสาธารณภัย อปุ กรณ์แจง้ อาชวี ศกึ ษา

เตอื นไฟทา้ ยรถขาด

นายนนทวฒั น์ บญุ รตั นงั

รางวัลชมเชย ระดบั เหรยี ญทองแดง ส่ิงประดษิ ฐ์ รางวัลอ่ืน ๆ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ

ดา้ นพฒั นาคุณภาพชวี ติ อุปกรณส์ ร้างแนวเสน้ ใน อาชวี ศกึ ษา

งานติดตั้ง

นายกิตติพงษ์ กีสะบุต

รางวลั ชมเชย ระดับเหรียญทองแดง ส่ิงประดษิ ฐ์ รางวัลอน่ื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

ด้านพฒั นาคุณภาพชีวิต อปุ กรณ์สรา้ งแนวเส้นใน อาชีวศกึ ษา

งานตดิ ตั้ง

นายศรายทุ ร คาระวะ

รางวัลชมเชย ระดับเหรียญทองแดง ส่ิงประดษิ ฐ์ รางวลั อน่ื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ

ด้านพฒั นาคุณภาพชีวติ อปุ กรณ์สร้างแนวเสน้ ใน อาชีวศึกษา

งานติดตัง้

นายธนพล เอียดสยุ รางวัลอน่ื ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ
รางวลั ชมเชย ส่ิงประดิษฐด์ ้านนวตั กรรม อาชีวศกึ ษา
ซอฟต์แวรแ์ ละสมองกลฝังตัว อุปกรณ์ทา
Backwash อัตโนมตั ิ

นายซัลมาน สืบประดิษฐ์ รางวลั อน่ื ๆ ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
รางวลั ชมเชย ส่งิ ประดิษฐด์ ้านนวตั กรรม อาชวี ศกึ ษา
ซอฟต์แวร์และสมองกลฝังตวั อุปกรณ์ทา
Backwash อัตโนมัติ

นายพเิ ชฐ เส้งเชื้อ รางวลั อื่น ๆ ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ
รางวลั ชมเชย สงิ่ ประดิษฐ์ด้านนวัตกรรม อาชวี ศึกษา
ซอฟต์แวร์และสมองกลฝงั ตวั อปุ กรณ์ทา
Backwash อัตโนมัติ

53

ชอื่ -สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโ้ ดย
ภาค สานกั งานคณะกรรมการการ
นายศุภฤกษ์ ชเู มือง รางวลั อื่น ๆ
รางวลั ชมเชย ระดับเหรียญทองแดง ส่ิงประดิษฐ์ อาชวี ศึกษา
ด้านพฒั นาคุณภาพชีวติ อปุ กรณ์ควบคุมและ
ตรวจสอบการใช้งานเครื่องจักรกลไฟฟ้า ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา
นายสมั ฤทธิ์ พันธุรัตน์ รางวลั อื่น ๆ
รางวัล Honor Awards ระดับเหรยี ญทองแดง ภาค สานักงานคณะกรรมการการ
สิ่งประดษิ ฐ์ด้านการแพทยห์ รือบรรเทาสาธารณ อาชีวศึกษา
ภยั ไฟเลยี้ วอจั ฉรยิ ะ
ชาติ สานักงานคณะกรรมการการ
นางสาวศตพร พรมทองบญุ รางวลั อน่ื ๆ อาชีวศกึ ษา
รางวลั Honor Awards ระดับเหรยี ญทองแดง
ส่งิ ประดิษฐด์ า้ นการแพทย์หรือบรรเทาสาธารณ ชาติ สานกั งานคณะกรรมการการ
ภัย ไฟเลย้ี วอจั ฉรยิ ะ อาชวะศึกษา

นายสิทธกิ ร บุญชว่ ย ชาติ มูลนธิ ิพลังสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม
รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 ทกั ษะเทคนิคงานสี รองชนะเลศิ
รถยนต์ งานประชุมองค์การนักวชิ าชพี ในอนาคต ชาติ มลู นธิ ิพลงั สร้างสรรค์นวตั กรรม
แห่งประเทศไทย การแขง่ ขันทกั ษะวิชาชพี และ
ทักษะพนื้ ฐาน ระดบั ชาติ

นายรฐนนท์ ขนุ จนั ทร์
รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 3 ทักษะงานสีรถยนต์ รองชนะเลศิ
งานประชุมองค์การนกั วิชาชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพและทักษะ
พ้นื ฐาน ระดบั ชาติ

นายเกยี รติศักดิ์ ชมช่นื รางวลั อน่ื ๆ
รางวลั นกั เรียน ระดับช้นั อาชีวศกึ ษา ไดผ้ า่ นการ
เข้ารอบ 45 ทีมระดบั ชาติ โครงการปะกวด
นวตั กรรมสีเขยี วประจาปี 2562 Youth
Greenovation Award 2019

นายธนพล เอยี ดสุย รางวลั อืน่ ๆ
รางวลั นกั เรยี น ระดบั ชัน้ อาชีวศกึ ษา ไดผ้ า่ นการ
เขา้ รอบ 45 ทีมระดับชาติ โครงการปะกวด
นวตั กรรมสเี ขียวประจาปี 2562 Youth
Greenovation Award 2019

54

สว่ นที่ 3
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยสารพัดช่างสงขลา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน
ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี 1 คุณลกั ษณะของผสู้ าเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาท่พี ึงประสงค์

การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มี
ทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดังนี้

1.1 ดา้ นความรู้
ผสู้ าเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเทจ็ จรงิ ตามหลักการ ทฤษฏี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่
เก่ียวข้องกับสาขาวิชาทีเ่ รียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจรงิ เป็นไปตามมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชวี ศึกษาแตล่ ะระดับการศกึ ษา
1.2 ด้านทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไป
ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการ
ดารงชวี ติ อย่รู ว่ มกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมสี ขุ ภาวะทดี่ ี
1.3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจ
และรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่
ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสานึกรักษ์
สิ่งแวดลอ้ ม
มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการ
จดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ และบรหิ ารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ
มีคว ามส าเร็ จใน กา รดา เนิน การ ตา มนโ ยบา ยสา คัญ ของ ห น่ว ยงา นต้ นสัง กัดห รือห น่ว ยงา นท่ีก ากับ ดูแ ล
สถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังน้ี
2.1 ดา้ นหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทัน
ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกบั สถานประกอบการ
หรือหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง
2.2 ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ไดร้ ับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ
ต่อเน่ือง เพื่อเปน็ ผู้พร้อมทัง้ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเขม้ แข็งทางวชิ าการและวชิ าชีพ จัดการเรียนการ
สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทางาน ตามหลักสูตร
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและ

55

การประเมินผลการเรยี นของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจดั การเรียนการสอนรายวิชา
ให้ถูกตอ้ ง ครบถ้วน สมบูรณ์

2.3 ด้านการบริหารจดั การ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหลง่ เรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภณั ฑ์ และงบประมาณของสถานศกึ ษา
ทม่ี ีอยูอ่ ย่างเตม็ ศักยภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
2.4 ด้านการนานโยบายสู่การปฏบิ ัติ
สถานศึกษามีความสาเร็จในการดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสาคัญที่หน่วยงาน
ตน้ สังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากบั ดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมอื ของผบู้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการ
ศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและ
หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
สถานศกึ ษาร่วมมอื กบั บุคคล ชุมชน องค์กรตา่ ง ๆ เพือ่ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มกี ารจัดทานวตั กรรม
ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดังนี้
3.1 ด้านความร่วมมอื ในการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศใน
การจัดการศึกษา การจัดทรพั ยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชพี โดย
ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพ่อื พฒั นาผเู้ รียนและคนในชมุ ชนสสู่ ังคมแหง่ การเรยี นรู้
3.2 ด้านนวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดย
ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ตามวตั ถุประสงค์ และเผยแพร่ส่สู าธารณชน

56

ส่วนท่ี 4
รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ วิทยาลัยฯ
ในแต่ละมาตรฐานและประเดน็ การประเมิน ดงั นี้
4.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ลกั ษณะของผ้สู าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาทพี่ งึ ประสงค์
4.1.1 ด้านความรู้
1) ผลสมั ฤทธิ์

1.1) ผลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี
1.1.1) เชิงปริมาณ :

จานวนผเู้ รียนที่ผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี รอบแรก 244 คน มรี ายละเอียดดงั นี้
- จานวนผู้เรียนระดับ ปวช. ช้ันปีท่ี 3 ท่ีลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างของ
หลักสูตร 175 คน
- จานวนผู้เรียนระดับ ปวส. ชั้นปีท่ี 2 ที่ลงทะเบียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างของหลักสูตร
95 คน
- จานวนผู้เรียนระดับ ปวช. ชั้นปีท่ี 3 ที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรกแรก
152 คน
- จานวนผู้เรยี นระดับ ปวส. ชัน้ ปที ี่ 2 ทผี่ า่ นการประเมินมาตรฐานวิชาชพี รอบแรกแรก 92 คน
1.1.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก มผี ลการประเมิน
ร้อยละ 90.37
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยส่งเสริมสนับสนุนจัดให้มีโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนหลักสูตร ปวส.
ตามมาตรฐานฝีมือแรงงานและความต้องการของสถานประกอบการ โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ภายในจังหวดั สงขลา

1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
1.2.1) เชิงปริมาณ : จานวนผู้เรียนท่ีมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา
168 คน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

- จานวนผู้เรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างของ
หลกั สตู ร 175 คน

- จานวนผู้เรียนระดับ ปวส. ช้ันปีท่ี 2 ท่ีลงทะเบียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างของหลักสูตร
95 คน

- จานวนผู้เรียนระดับ ปวช. ช้ันปีท่ี 3 ที่ได้คะแนนต้ังแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติข้ึนไป
102 คน

- จานวนผูเ้ รยี นระดับ ปวส. ชั้นปีท่ี 2 ท่ีไดค้ ะแนนตง้ั แต่ค่าคะแนนเฉล่ยี ระดบั ชาติขนึ้ ไป 66 คน
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของผู้เรียนท่ีมผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นอาชีวศึกษา (V-
NET) มีผลการประเมิน ร้อยละ 96.00

57

1.2.3) ผลสะท้อน : สถานประกอบการ และสถานศึกษาต่างๆ ให้การยอมรับผู้สาเร็จการศึกษาของ
วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลาท่ีมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการอาชีวศึกษา โดยรับผู้สาเร็จ
การศึกษาจากวิทยาลัยสารพดั ชา่ งสงขลาเขา้ ทางานและศึกษาต่อ

4.1.2 ด้านทักษะและการประยุกตใ์ ช้
1) ผลสัมฤทธิ์

1.1) ผ้เู รียนมีสมรรถนะในการเป็นผปู้ ระกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ
1.1.1) เชงิ ปรมิ าณ :

1. จานวนผู้เรยี นกลมุ่ เป้าหมายทผ่ี ่านการพฒั นาเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
34 คน

2. จานวนผเู้ รียนประสบความสาเร็จสู่การเปน็ ผูป้ ระกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ 27 คน
1.1.2) เชงิ คณุ ภาพ : ผลการประเมินศนู ย์บม่ เพาะผู้ประกอบการอาชวี ศึกษา อยูใ่ นระดบั 3 ดาว
1.1.3) ผลสะทอ้ น : จากการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาผเู้ รียนทมี่ ีสมรรถนะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ
หรือการประกอบอาชีพอิสระ ร้อยละ 79.41 ซึ่งสถานประกอบการ ให้การยอมรับผู้เรียนในวิทยาลัยฯ ท่ีผ่าน
การพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการหรืออาชีพอิสระ ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพและได้รับ
ความไวว้ างใจจากชุมชน

1.2) ผลการแขง่ ขนั ทักษะวิชาชพี
1.2.1) เชิงปริมาณ : จานวนผู้เรยี นทไ่ี ด้รบั รางวัลจากการแขง่ ขันทักษะวิชาชพี 20 คน
1.2.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการแขง่ ขันทกั ษะวิชาชีพในแต่ละระดบั

- ผูเ้ รียนมผี ลการประกวดแข่งขันทักษะวชิ าชพี ระดบั จังหวดั จานวน 5 คน
- ผเู้ รียนมีผลการประกวดแข่งขันทกั ษะวิชาชพี ระดบั ภาค จานวน 13 คน
- ผเู้ รยี นมีผลการประกวดแข่งขันทกั ษะวชิ าชีพระดับชาติ จานวน 2 คน
1.2.3) ผลสะทอ้ น : ผู้เรยี นของวิทยาลยั สารพัดช่างสงขลา ได้รบั การยอมรับจากผลงานทส่ี ่งเข้าแข่งขัน
ทักษะวิชาชีพและทักษะพื้นฐานระดับชาติ ดาเนินการโดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งสถาน
ประกอบการมสี ว่ นรว่ มในการฝกึ ประสบการณน์ ักเรยี นนักศกึ ษา

4.1.3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
1) ผลสัมฤทธิ์

1.1) การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น
1.1.1) เชิงปริมาณ : จานวนผู้สาเร็จการศึกษา 208 คน จากจานวนผู้เรียนแรกเข้าของรุ่น จานวน
459 คน
1.1.2) เชงิ คณุ ภาพ : รอ้ ยละของผู้สาเร็จการศกึ ษา 45.31
1.1.3) ผลสะท้อน : มีการพัฒนาดูแลระบบช่วยเหลือและแนะแนวผู้เรียนให้สามารถสาเร็จการศึกษา
ตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกาหนด โดยจาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน และภาพรวม
ของสถานศึกษา ซ่งึ มีองคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรือผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรบั วิทยาลัยฯ โดยการดูแล
และแนะแนวผู้เรียน 2 ส่วน คือ 1) องค์กรภายนอก ดแู ลแนะแนวผู้เรียนภายในสถานศึกษา มีกิจกรรมเข้ามา
ให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสาเร็จการศึกษา เช่น เทคนิคการเขียนจดหมายสมัครงาน จากบริษัท

58

ซปุ เปอร์เรซเู ม่ ความรเู้ กย่ี วกับหน้าท่ที ี่พึงปฏบิ ัติ สทิ ธปิ ระโยชน์ในการประกนั สังคมก่อนเข้าสตู่ ลาดแรงงานจาก
สานักงานประกันสังคม แนะแนวการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
และ 2) วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลา แนะแนวผู้เรียน องค์กร หน่วยงานภายนอสถานศึกษา โดยการจัดทา
โครงการแนะแนวอาชีพและศึกษาตอ่ ปีการศกึ ษา 2562 ให้โรงเรียนมธั ยมในจงั หวัดสงขลา

1.2) ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์
1.2.1) เชิงปริมาณ : ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพ่ือส่วนรวม มีความเป็น
ประชาธิปไตย ทางานร่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นา กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย
เห็นคุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดย
วทิ ยาลัยฯจัดใหม้ กี จิ กรรมเสรมิ หลักสูตรเพือ่ พัฒนาผ้เู รียนให้เปน็ คนดี คนเก่งอย่างมคี วามสขุ ร้อยละ 87.28
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผ้เู รียนมีความรบั ผิดชอบ ซือ่ สัตย์ และเสียสละเพ่ือส่วนรวม มีความเป็นประชาธิป
ไตย ทางานร่วมกับผ้อู ื่นได้อยา่ งเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นา กล้าแสดงออก ภมู ิใจในความเปน็ ไทย เหน็ คุณค่า
และร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจติ สานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยวิทยาลัยฯจัด
ให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่งอย่างมีความสุข ร้อยละ 87.28 ผลการ
ประเมินกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) องค์การมาตรฐานดีเด่น ระดับกลุ่ม
จังหวัด
1.2.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลเป็นสถานศึกษานาร่องตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรมและธรรมมาภิบาลในสถานศึกษาจากหน่วยนิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้รับ
คัดเลือกให้เป็นผู้แทนอาชีวศึกษา จังหวัดสงขลา นาเสนอตัวอย่างโครงงานสถานศึกษาพัฒนาคุณธรรม
อาชีวศึกษาในการประชุมสัมมนา แลกเปล่ียนเรียนรู้และจัดแสดงผลงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาคุณธรรม
อาชวี ศกึ ษา จากกระทรวงศึกษาธิการ ได้รบั โล่เกียรตยิ ศโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมาภิ
บาลในสถานศกึ ษา จากหน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาร่วมกับ สานักงาน ป.ป.ช.
โดยเน้นคุณธรรมด้านความซ่ือสัตย์สุจริต โดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้รับ
รางวัลสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษา อันดับที่ 2 ระดับภาค ภาคใต้ และได้รับรางวัลการนาเสนอโครงงาน
สถานศกึ ษาพฒั นาคณุ ธรรมอาชวี ศึกษา ระดับภาค ภาคใต้ โครงงาน ลกู พระวษิ ณุ SMART

1.3) การมงี านทาและศกึ ษาต่อของผูส้ าเรจ็ การศึกษา
1.2.1) เชิงปริมาณ : จานวนผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาที่ผ่านมา มีงานทาใน
สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อ ท้ังหมด 155 คน จาก
จานวนผสู้ าเร็จการศึกษา ปวช. และ ปวส. ในปกี ารศกึ ษาทีผ่ ่านมา ทั้งหมด 170 คน
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาที่ผ่านมา มีงานทา
ในสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชพี อิสระหรือศกึ ษาต่อ คิดเป็นรอ้ ยละ 91.17
1.2.3) ผลสะท้อน : สถานประกอบการ และสถานศึกษาต่างๆ ให้การยอมรับผู้สาเร็จการศึกษาของ
วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลาที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการอาชีวศึกษาเข้าศึกษาต่อ และ
สถานประกอบการรบั ผูส้ าเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสารพัดช่างสงขลาเขา้ ทางาน

59

2) จุดเดน่
วิทยาลัยส่งเสริมสนับสนุนจัดให้มีโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนหลักสูตร ปวส.ตามมาตรฐานฝีมือ

แรงงานและความตอ้ งการของสถานประกอบการ โดยความร่วมมอื กบั สถานประกอบการภายในจังหวัดสงขลา
สถานประกอบการ และสถานศึกษาต่างๆ ให้การยอมรับผู้สาเร็จการศึกษาของวิทยาลัยสารพัดช่างสงขลาที่มี
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการอาชีวศึกษา โดยรับผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสารพัดช่าง
สงขลาเขา้ ทางานและศึกษาตอ่ โดยได้รบั ผลการคัดเลือก/ประกวดวธิ ปี ฏบิ ตั ิ Best trice การเพิม่ สดั ส่วนผู้เรียน
สายอาชพี ได้รบั เกยี รตบิ ตั รเหรียญเงิน

วทิ ยาลยั ฯ ได้รับรางวัลเป็นสถานศึกษานารอ่ งตามโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมมาภิ
บาลในสถานศึกษาจากหน่วยนิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้แทน
อาชีวศึกษา จังหวัดสงขลา นาเสนอตัวอย่างโครงงานสถานศึกษาพัฒนาคุณธรรมอาชีวศึกษาในการ
ประชุมสัมมนา แลกเปล่ียนเรียนรู้และจัดแสดงผลงานการขับเคล่ือนสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษา จาก
กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับโล่เกียรติยศโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมาภิบาลใน
สถานศึกษา จากหน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาร่วมกับ สานักงาน ป.ป.ช.โดย
เน้นคุณธรรมด้านความซ่ือสัตย์สุจริต โดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้รับ
รางวัลสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษา อันดับท่ี 2 ระดับภาค ภาคใต้ และได้รับรางวัลการนาเสนอโครงงาน
สถานศึกษาพฒั นาคณุ ธรรมอาชีวศึกษา ระดับภาค ภาคใต้ โครงงาน ลูกพระวิษณุ SMART

3) จดุ ทคี่ วรพัฒนา
ผสู้ าเรจ็ การศึกษาของวิทยาลัยฯเมอ่ื เทียบกับแรกเขา้ ยงั พบว่ามคี า่ เฉล่ียทตี่ ่า

4) ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
วิทยาลัยฯ จัดกิจกรรมช่วยเหลือดูแลผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล โดยจัดระบบครูทปี่ รึกษาและทาขอ้ มูลผู้เรียน

เป็นรายบุคคลเพ่อื ติดตามแกไ้ ขปัญหานักเรียน พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เพื่อลดปัญหาการออกกลางคัน
ของนกั เรยี นนกั ศกึ ษา

4.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา
4.2.1 ด้านหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษา
1) ผลสมั ฤทธิ์

1.1) การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะอยา่ งเป็นระบบ
1.1.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของประเภทวิชาที่จัดการเรียนการสอนมีการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรฐาน
สมรรถนะอยา่ งเป็นระบบ 66.67
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการประเมินการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะอยา่ งเป็นระบบ อยใู่ นระดับดี
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของ
สถานประกอบการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยการมีสถาน
ประกอบการมีส่วนรว่ มพิจารณาหลักสูตรและใหข้ ้อมลู เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอน

60

1.2) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ
กาหนดรายวิชาเพม่ิ เตมิ

1.2.1) เชงิ ปริมาณ : จานวนสาขาวิชาหรือสาขางานท่มี ีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรอื ปรบั ปรุง
รายวชิ า หรือปรับปรุงรายวชิ าเดิมหรอื กาหนดรายวิชาเพมิ่ เติม 4 สาขาวิชา

1.2.2) เชงิ คณุ ภาพ :
จานวนสาขาวชิ าหรอื สาขางานทั้งหมด 6 สาขา
จานวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือ

ปรบั ปรงุ รายวชิ าเดมิ หรือกาหนดรายวชิ าเพิม่ เติม 4 สาขา
ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา

หรอื ปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรือกาหนดรายวิชาเพ่ิมเติม 66.67
1.2.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ

สถานประกอบการ มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ
กาหนดรายวิชาเพิม่ เตมิ

4.2.2 ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
1) ผลสัมฤทธิ์

1.1) คณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ส่กู ารปฏบิ ัติ
1.1.1) เชงิ ปริมาณ : ร้อยละของแผนการจดั การเรียนร้สู กู่ ารปฏบิ ัตทิ มี่ ีคณุ ภาพ 94.23
1.1.2) เชงิ คณุ ภาพ : ผลการประเมินคุณภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั คณุ ภาพยอดเย่ยี ม
1.1.3) ผลสะทอ้ น : ครผู ู้สอนของวิทยาลันฯ มกี ารจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่มคี ุณภาพ
มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมคุณลักษณะที่พึงประสงค์และ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีการกาหนดรูปแบบการเรียนรกู้ ารปฏิบัติและกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย
มีการกาหนดการใช้ส่ือ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีการเรียนรู้ มีการกาหนดแนวทางการวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจรงิ เพือ่ จัดการเรียนรูก้ บั ผูเ้ รยี นที่มีคุณภาพ

1.2) การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญและนาไปใชใ้ นการจัดการ
เรียนการสอน

1.2.1) เชิงปริมาณ :
จานวนครทู ั้งหมด 52 คน
จานวนครูผู้สอนท่ีจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการ
จดั การเรียนการสอน 50 คน
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนท่ีจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั และนาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน 96.15
1.2.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนมีแผนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนทม่ี ีคุณภาพ

61

1.3) การจัดการเรียนการสอน
1.3.1) เชงิ ปริมาณ :

1. จานวนครูผสู้ อนทม่ี คี ุณวุฒิทางการศึกษาตรงตามสาขาวิชาทส่ี อน 52 คน
2. จานวนครทู ่ีมแี ผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาทสี่ อน 43 คน
3. จานวนครูผู้สอนท่ีจัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีท่ี
หลากหลาย 52 คน
4. จานวนครูท่ีใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งการเรียนรู้ในการจัดการ
เรียนการสอน 52 คน
5. จานวนครูผู้สอนทที่ าวิจัยเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพจัดการเรยี นรู้และแกป้ ญั หาการจัดการเรยี นรู้ 42
คน
1.3.2) เชิงคุณภาพ : รอ้ ยละของครผู ูส้ อนท่ีมคี ณุ ภาพในการจดั การเรยี นการสอน 91.15
1.3.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนมีแผนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการ
จดั การเรยี นการสอนทมี่ คี ณุ ภาพ

1.4) การบรหิ ารจัดการชนั้ เรียน
1.4.1) เชิงปรมิ าณ :

1. จานวนครผู สู้ อนทจ่ี ดั ทาขอ้ มูลผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล 45 คน
2. จานวนครูผู้สอนที่มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจาช้ันเรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน
45 คน
3. จานวนครูผู้สอนท่ีใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้
45 คน
4. จานวนครูผู้สอนที่ใช้วธิ ีการเสรมิ แรงใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามมุ่งมั่นตั้งใจในการเรยี น 45 คน
5. จานวนครูผสู้ อนที่ดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรียนรายบุคคลดา้ นการเรียนและดา้ นอ่ืนๆ 45 คน
1.4.2) เชงิ คุณภาพ :
จานวนครูทั้งหมด 52 คน
จานวนครูผู้สอนทม่ี ีคุณภาพทมี่ คี ุณภาพในการบริหารจัดการชั้นเรียน 45 คน
ร้อยละของครผู สู้ อนทีม่ คี ุณภาพท่ีมีคณุ ภาพในการบริหารจดั การช้ันเรยี น 86.53
1.4.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ดาเนินการให้ครูผู้สอนท่ีจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูล
สารสนเทศหรือเอกสารประจาช้ันเรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน ใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มี
บรรยากาศที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ ใชว้ ธิ ีการเสรมิ แรงให้ผ้เู รยี นมีความมุ่งม่นั ตั้งใจในการเรยี น ดูแลช่วยเหลือผูเ้ รยี น
รายบุคคลด้านการเรียนและด้านอ่ืนๆ โดยได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองในการไว้วางใจส่งบุตรหลานเข้า
ศึกษา ตามเป้าแผนการรบั นกั เรยี นประจาปกี ารศึกษา 2562

1.5) การพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ
1.5.1) เชงิ ปริมาณ :

1. จานวนครูผู้สอนทจ่ี ัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวชิ าชพี 45 คน
2. จานวนครผู ้สู อนท่ีไดร้ ับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชวั่ โมงตอ่ ปี 45 คน

62

3. จานวนครูผู้สอนท่ีนาผลการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน 45 คน

4. จานวนครูผสู้ อนทม่ี ีผลงานจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ 45 คน
5. จานวนครูผู้สอนทม่ี ีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวชิ าชีพทีไ่ ด้รับการยอมรับ
หรอื เผยแพร่ 45 คน
1.5.2) เชิงคณุ ภาพ :
จานวนครทู ั้งหมด 52 คน
จานวนครผู สู้ อนท่ีได้รบั การพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชพี 45 คน
รอ้ ยละของครูผูส้ อนทไี่ ดร้ บั การพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 86.53
1.5.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12
ชั่วโมงตอ่ ปี ภายในหน่วยงานภายนอกตอ่ เน่ืองเป็นประจา

1.6) การเข้าถึงระบบอนิ เตอรเ์ น็ตความเรว็ สูงเพือ่ การจัดการเรยี นการสอนในช้นั เรียน
1.6.1) เชิงปริมาณ : จานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการท่ีมีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในการจัดการ
เรียนการสอน 65 ห้องเรียน จากจานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัตกิ ารทใ่ี ช้ในการจัดการเรียนการสอนท้ังหมดของ
สถานศกึ ษา 67 หอ้ งเรยี น
1.6.2) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในการ
จดั การเรยี นการสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.01
1.6.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่ือการจัดการ
เรียนการสอนในช้ันเรยี น คา่ เฉลี่ย = 3.80

4.2.3 ด้านการบรหิ ารจัดการ
1) ผลสัมฤทธ์ิ

1.1) การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
1.1.1) เชิงปริมาณ : มีระบบเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงสาหรบั บรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษา
ครบทุกฝา่ ยท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.1.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการ
บริหารจดั การสถานศกึ ษา อยูใ่ นระดบั ยอดเยีย่ ม
1.1.3) ผลสะทอ้ น :
วิทยาลัยฯ มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษาที่หลากหลาย ทันสมัย และมีข้อมูลที่
เป็นปัจจุบัน ดังน้ี เว็ปไซด์วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลามีข้อมูลพ้ืนฐาน 9 ประการ การต้ังกลุ่มไลน์วิทยาลัย
สารพัดช่างสงขลามาใช้ในการจัดการภายในสถานศึกษา ระบบการจัดการเรียนการสอนสื่อการสอนออนไลน์
ของวทิ ยาลยั สารพัดช่างสงขลา Facebook fanpage วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งสงขลา ระบบบริหารจัดการวทิ ยาลัย
สารพัดชา่ งสงขลา RMS 2016
วิทยาลัยฯ มีการบริหารจัดการระบบสารสนเทศและอินเตอรเ์ นต็ ภายในสถานศกึ ษา ประจาปีการศึกษา
2562 อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่ออานวยประโยชน์สาหรับให้บริการทางการศึกษาแก่บุคลากรทางการศึกษา
ผู้เรียน หรือผู้ใช้บริการในสถานศึกษา มีผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการท่ีมีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
เพ่อื การจัดการเรยี นการสอนในชนั้ เรียน อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย = 3.80

63

1.2) อาคารสถานท่ี ห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั ิการ โรงฝึกงาน หรอื งานฟาร์ม
1.2.1) เชิงปริมาณ : ร้อยละของห้องเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ าร โรงฝึกงาน หรืองานฟารม์ ท่ีได้รับการพัฒนา
ให้เอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน
หรอื งานฟาร์ม
1.2.3) ผลสะท้อน : ผู้เรียน และบุคคลทางการศึกษาท่ีเข้ามาใช้บริการวิทยาลัยสารพัดช่างสงขลา มี
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน อาคาร สถานท่ี ห้องเรียนเพียงพอต่อการใช้งาน
อย่ใู นระดับมาก คา่ เฉลีย่ = 3.72

1.3) ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน
1.3.1) เชงิ ปริมาณ : ระบบสาธารณูปโภคพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายใน
สถานศึกษา ระบบการส่ือสารภายใน และระบบรักษาความปลอดภัยได้รับการบารุงรักษาและพัฒนาอย่าง
ต่อเนือ่ ง
1.3.2) เชิงคณุ ภาพ : ผลการประเมนิ และข้อมลู ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน อยูในระดับยอดเยยี่ ม
1.3.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน อยู่ในระดับมาก
คา่ เฉลีย่ = 3.72

1.4) แหล่งเรียนรูแ้ ละศูนย์วิทยบริการ
1.4.1) เชิงปรมิ าณ : รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีใชบ้ รกิ ารแหล่งเรยี นรูแ้ ละศนู ย์วิทยบรกิ าร รอ้ ยละ 100
1.4.2) เชิงคณุ ภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลแหล่งเรียนร้แู ละศูนยว์ ิทยบริการ อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม
วิทยาลัยฯ มีแผนงานโครงการพัฒนาสานักงานศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา การจัดต้ังศูนย์
ประสานงานขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา การจัดอบรมโครงการอบรมเชิง
ปฏิบัติการถอดบทเรียนศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการจัดการเรียนการสอน
ทางไกลผ่านดาวเทียม/โฮมเธียร์เตอร์ มีศูนย์วิทยบริการและห้องสมุดท่ีมีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการศึกษา
คน้ คว้าของครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรยี นหรอื ผู้ท่สี นใจสามารถเข้าใช้บริการได้ ห้องสมดุ ของวิทยาลยั ฯ
มีหนงั สอื ทงั้ หมด จานวน 12,046 เลม่ เพียงพอต่อจานวนผูเ้ รียนและมรี ะบบสบื คน้ ด้วยตนเอง มีความสารวจ
ความพึงพอใจต่อการใช้บริการห้องสมุด ผลการศึกษา พบวา่ ผู้ใช้บริการห้องสมุด มีระดับความพึงพอใจอยู่ใน
ระดบั มาก จัดใหม้ ีสิ่งอานวยความสะดวกภายในหอ้ งสมุด มีการให้บริการส่ือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพ่ือสร้าง
แรงจูงใจให้ผเู้ รียนเข้าใชบ้ ริการห้องสมดุ พบว่า ปกี ารศึกษา 2562 มีผู้เรียนทั้งหมดระดับ ปวช.,ปวส. จานวน
992 คน มสี ถติ ผิ ใู้ ชบ้ ริการห้องสมดุ ทัง้ สิ้น 18,259 คร้งั เฉล่ียรอ้ ยละ 100
1.4.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการท่ีมีต่อแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ อยู่ในระดับ
มาก มีคา่ เฉลีย่ 4.41

1.5) ระบบอินเตอร์เน็ตความเรว็ สูงเพอ่ื การใชง้ านดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
1.5.1) เชิงปริมาณ : ความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ต และครอบคลุมพ้ืนท่ีใช้งานและสถานศึกษา
จานวน 1270 Mbps
1.5.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้าน
สารสนเทศภายในสถานศึกษา อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม

64

วิทยาลัยฯ มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน มีผู้รับผิดชอบ ดูแล
และบริหารจัดการข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บและใช้ข้อมูล มีระบบ
อินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูง ครอบคลุมพื้นท่ีใช้งานภายในสถานศึกษา สามารถเช่ือมโยงการบริหารจดั การภายใน
และภายนอกสถานศกึ ษา

1.5.3) ผลสะท้อน : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการท่ีมีต่อระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งาน
ดา้ นสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา อย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลีย่ 3.80

4.2.4 ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
1) ผลสัมฤทธิ์

1.1) การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี
1.1.1) เชิงปริมาณ :

1. ร้อยละของสาขาวิชาที่จดั การเรียนการสอนในระบบทวภิ าคี
สาขาวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยฯ จานวน 11 สาขาวิชา มีสาขาวิชาท่ีจัดการเรียน
การสอนระบบทวภิ าคี จานวน 8 สาขาวชิ า คดิ เปน็ รอ้ ยละ 72.72
2. รอ้ ยละของผ้เู รียนทีศ่ ึกษาในระบบทวิภาคี
ผเู้ รียนทั้งหมด ประจาปีการศึกษา 2562 จานวน 913 คน เป็นผู้เรียนท่ีศึกษาในระบบทวิภาคี
จานวน 368 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.31
1.1.2) เชงิ คุณภาพ : ผลการประเมินและข้อมลู การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
วิทยาลัยฯจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จานวน 8 สาขาวิชา คือ สาขางานยานยนต์ ทวิภาคี สาขา
งานตัวถงั และสีรถยนต์ ทวภิ าคี สาขางานเทคนคิ ยานยนต์ ทวิภาคี สาขางานเทคนคิ ซ่อมตัวถังและสีรถยนต์ทวิ
ภาคี สาขางานเทคโนโลยีงานเช่ือมโครงสร้างโลหะทวิภาคี สาขางานไฟฟ้ากาลังทวิภาคี สาขางาน
อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมทวิภาคี จัดการศึกษาระบบทวิภาคี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง
มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด
ประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
-ขนั้ ท่ี 1 ขั้นเตรียมความพรอ้ มในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี
วิทยาลยั ได้ดาเนินการสารวจเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ การจัดการเรียนการสอน
อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จานวน 21 แห่ง และมีการบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับสถานประกอบการ ใน
การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี
-ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั วางแผนในการจัดการอาชวี ศึกษา ระบบทวิภาคี
วิทยาลัยฯ จัดทาแผนการฝึกสมรรถนะวิชาชีพนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับสถาน
ประกอบการ และมกี ารจดั ทาส่ือประชาสัมพันธ์การจดั การศึกษาทวิภาคี
-ขน้ั ที่ 3 ขั้นจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี
วทิ ยาลัยฯ จัดให้มีกระบวนการรับสมัครเรียน คัดเลือกผู้เรียนเข้าศึกษาระบบทวิภาคีเป็นประจา
ทุกปี มกี ารปฐมนเิ ทศ และการประชมุ ผู้ปกครอง
มีแผนการฝึกสมรรถนะวิชาชีพนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับสถานประกอบการ และมี
การจัดทาส่ือประชาสัมพันธก์ ารจดั การศึกษาทวภิ าคี จัดระบบการเรียนการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี โดย
ให้นักเรียนนักศึกษาลงเวลาการฝึกทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการเป็นรายบุคคลพร้อมทั้งบันทึกการ
ปฏิบตั ิงาน

65

-ข้นั ที่ 4 ข้ันตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี
วิทยาลัยฯ จัดให้ครูผู้สอนในวิทยาลัยเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ มี
การประเมินผลการเรียนทกุ รายวิชาและจัดให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลกั สตู รที่
วทิ ยาลัยฯจดั ขึน้
-ขัน้ ที่ 5 ขน้ั สรุปรายงานผลการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี
วิทยาลัยฯได้รายงานการจัดทาโครงการงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีตามแผน ประจาปี
การศกึ ษา 2562 ทัง้ ส้นิ 17 โครงการ
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับความร่วมมือกับสถานประกอบการภายในจังหวัดสงขลา เข้าร่วม
ลงนามความร่วมมอื ในการจดั การเรยี นการสอนกับนักเรียนนักศกึ ษา มีการจัดให้มีครูฝึกในสถานประกอบการ
เพื่อจัดการเรยี นการสอนกับนกั เรยี นระบบทวภิ าคี

2) จุดเดน่
วิทยาลัยฯมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง โดยการมีสถานประกอบการมีส่วนร่วม
พจิ ารณาหลักสตู รและให้ข้อมูลเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน โดยครูผู้สอน มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่
การปฏบิ ัตทิ ี่มีคณุ ภาพมกี ารวเิ คราะห์หลักสูตรรายวชิ า มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมคุณลกั ษณะ
ที่พึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการกาหนดรูปแบบการเรียนรู้การปฏิบัติและกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย มีการกาหนดการใช้ส่ือ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีการเรียนรู้ มีการกาหนดแนว
ทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อจัดการเรียนรู้กับผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีแผนการเรียนรู้สู่การ
ปฏิบัตทิ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั และนาไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนทม่ี ีคุณภาพ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครผู สู้ อน
ทจี่ ัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจาช้ันเรียนและรายวิชาเปน็ ปจั จบุ ัน ใช้
เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มีบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้วิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความ
มุ่งมั่นต้ังใจในการเรียน ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการเรียนและด้านอ่ืนๆ โดยได้รับการยอมรับจาก
ผู้ปกครองในการไว้วางใจส่งบุตรหลานเขา้ ศกึ ษา ตามเปา้ แผนการรับนกั เรยี นประจาปกี ารศึกษา 2562

3) จดุ ที่ควรพฒั นา
ส่งเสริมสนับสนนุ ให้ครูทกุ คนท่ที าการสอน จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏบิ ัตทิ ม่ี คี ณุ ภาพ

4) ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
วิทยาลัยฯ ดาเนินโครงการภายในปีงบประมาณ 2563 เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการ

สอนตามกระบวนการอยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยมีโครงการ ดังเชน่
1. โครงการพฒั นาศักยภาพครดู ้านการสอน
2. โครงการพัฒนาศักยภาพครดู า้ นการจดั การเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง

วชิ าชพี
3. โครงการประกวดแผนการเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. โครงการพฒั นาหลกั สตู รวชิ าชีพระยะสนั้

66

4.3 มาตรฐานท่ี 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
4.3.1 ดา้ นความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
1) ผลสมั ฤทธ์ิ
1.1) การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

1.1.1) เชิงปรมิ าณ : ร้อยละของครูและบุคลากรท่ีมีสว่ นรว่ มในการบริหารสถานศึกษา 100.00
1.1.2) เชิงคณุ ภาพ : ผลการประเมินและข้อมลู การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม อยู่ในระดบั
ยอดเยี่ยม
1.1.3) ผลสะท้อน : ผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายนอกของสถานศกึ ษาทีร่ ่วม
เป็นคณะกรรมการสถานศกึ ษา รวมท้ังสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

1.2) การระดมทรพั ยากรเพื่อการจดั การเรยี นการสอน
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ :
จานวนสาขาวิชาท้ังหมด 11 สาขาวชิ า
จานวนสาขาวชิ าทีม่ กี ารระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรยี นการสอน 11 สาขาวชิ า
ร้อยละของสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอน

100.00
1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและขอ้ มูลการระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรยี นการสอน อยู่ใน

ระดับระดบั ยอดเยย่ี ม
1.2.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ มเี ครอื ข่ายความร่วมมอื กับหน่วยงานภายนอก และสถานประกอบการ

ที่ให้การยอมรับและช่วยเหลือวิทยาลัยฯด้วยดีอย่างต่อเน่ือง มีความร่วมมือจากสถานประกอบการ ในการจัด
ให้มีครูฝึกผู้เช่ียวชาญทาการจัดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียน มีการระดมทรัพยากรทั้งด้านการบริจาค
ทนุ การศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปี และการบริจาควสั ดุ อปุ กรณ์ ครภุ ัณฑ์ทใี่ ชเ้ พอื่ การจัดการเรยี นการสอน

1.3) การบริการชุมชนและจิตอาสา
1.3.1) เชิงปรมิ าณ : จานวนกิจกรรมในการบริการชุมชนและจติ อาสา 17 กิจกรรม
1.3.2) เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินและกจิ กรรมการบริการชุมชนและจติ อาสา อยูใ่ นระดบั ยอดเยยี่ ม

จานวนกิจกรรมในการบรกิ ารชุมชนและจติ อาสา 17 กจิ กรรม ดังนี้
- โครงการพัฒนารปู แบบและยกระดับคุณภาพศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it Center) ศนู ย์

องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลคูขุด
- โครงการพัฒนารูปแบบและยกระดับคุณภาพศูนยซ์ ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it Center) ศูนย์

องค์การบริหารส่วนตาบลวดั จันทร์
- โครงการอาชวี ะบรกิ ารช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั ภาคใต้
- การฝกึ อบรมหลักสูตรวชิ าชีพระยะสั้น 108 อาชีพ โครงการสปั ดาหว์ ชิ าการ
- โครงการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทาสาหรบั คนพิการ
- โครงการสง่ เสริมพฒั นาศกั ยภาพกาลังคนดา้ นวิชาชีพบริเวณชายแดน เพื่อรองรับการขยายตัว

ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ กิจกรรมท่ี 1 องค์การบรหิ ารส่วนตาบลพังลา
- โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพกาลงั คนด้านวชิ าชพี บรเิ วณชายแดน เพื่อรองรบั การขยายตวั

ทางเศรษฐกิจของประเทศ กิจกรรมท่ี 2 วิทยาลัยสารพดั ชา่ งสงขลา

67

- โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพกาลงั คนดา้ นวชิ าชีพบริเวณชายแดน เพื่อรองรบั การขยายตวั
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ กิจกรรมท่ี 3 ศนู ย์การเรยี นรสู้ ู่อาเซยี น เทศบาลเมืองสะเดา

- โครงการของขวัญจากอาชีวศึกษาช่วงเทศกาลปีใหม่
- โครงการพฒั นาการศึกษาวิชาชพี ในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
- โครงการอาชีวะอาสาและประสบภัยพบิ ัติ
- โครงการจติ อาสาอาชวี ศึกษาพัฒนาชมุ ชน
- โครงการซอ่ มบารงุ อปุ กรณ์ DLTV
- โครงการอาชวี ะอาสารว่ มด้วยช่วยประชาชน เทศกาลปใี หม่
- โครงการจิตอาสาพิทกั ษ์ศาสนสถาน
- โครงการนวสมั พันธ์ฉันทน์ ้องพี่ สาขาช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
- โครงการจติ อาสาทาความดีดว้ ยหวั ใจจากพี่สนู่ ้อง
ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม ดงั นี้
ผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผเู้ รียน เขา้ ร่วมกจิ กรรมบรกิ ารชมุ ชน บริการวิชาการ บรกิ าร
วิชาชีพ จติ อาสา ทงั้ ส้ินจานวน 2,258 คน
นวัตกรรมในการบริการชมุ ชน วชิ าการ วชิ าชพี และจติ อาสา มีดังน้ี
1. การใหบ้ รกิ ารวชิ าชีพ ซอ่ มบารงุ จักรยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟา้ เครือ่ งใช้อเิ ล็กทรอนิกส์ เสรมิ
สวย ตัดผมชาย
2. การให้บรกิ ารซอ่ มบารุงอุปกรณ์ DLTV
3. สมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพ
4. ของชาร่วยและการจดั ดอกไม้
5. งานมาลยั
6. การต่อหลอดไฟ การตอ่ ปลัก๊ ไฟ
7. ถงุ ผ้าใสโ่ ทรศัพท์
8. กระดุมผกู ผม
9. ยาดมสมนุ ไพร
10. ชอ่ มะกรดู เตยหอม
11. มาลัยชาร่วย
12. ขนมหยกมณี
13. ขนมกล้วยโบราณ
14. ขนมวาฟเฟลิ
15. ซชู ขิ นมปัง
16. กระเช้ามะกรูดใบเตย
17. พวงกุญแจจากผา้
18. การจัดดอกไม้ประดษิ ฐ์
19. ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน
20. ภาษาบาฮาซาเพื่อการสือ่ สารในชวี ติ ประจาวัน
21. พวงมาลยั ของชารว่ ย
22. ขนมปยุ ฝ้าย

68

23. ขนมตะโกเ้ ผอื ก
24. ถงุ ขา้ วลดโลกรอ้ น
25. พวงกุญแจหนงั
26. กระเป๋าเศษสตางคห์ นัง
27. การประกอบวงจรชุดคิท
28. ขนมเข่งมะพร้าวอ่อน
29. ขนมดอกอญั ชัญใบเตย
30. ขนมลืมกลืน
31. พวงกญุ แจ Key Cover
1.3.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯส่งเสริม สนับสนุนให้ครู บุคลากร นักเรียนนักศึกษาให้บริการชุมชน
บริการวิชาการวิชาชีพ และกิจกรรมจิตอาสาแกชุมชนที่ใกล้เคียงเป็นประจาต่อเนื่องทุกปี โดยชุมชนให้การ
ตอบรบั และเขา้ ร่วมกิจกรรมด้วยดเี สมอมา

4.3.2 ดา้ นนวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั
1) ผลสัมฤทธ์ิ
1.1) ผลงานของผเู้ รยี นด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั

1.1.1) เชิงปริมาณ : จานวนผลงานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย จานวน 130
ผลงาน

1.1.2) เชิงคุณภาพ : รางวัลที่ไดร้ บั จากการประกวดนวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย
รางวัลระดับจงั หวดั จานวน 7 รางวัล
รางวลั ระดบั ภาค จานวน 5 รางวัล
รางวลั ระดบั ชาติ จานวน 2 รางวลั
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้รับการยอมรับจากสานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
สนบั สนุนงบประมาณ ในการตอ่ ยอดนวัตกรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์

2) จุดเด่น
วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ระดับ

จังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ โดยชุมชน หน่วยงานภายนอกให้การยอมรับผลงานของนักเรียนนักศึกษา
และได้เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์องคค์ วามรนู้ วตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวิจัยให้กบั ผทู้ ส่ี นใจ ได้
รางวัลระดับเหรียญเงนิ เรอ่ื งเคร่ืองลา้ งระบบภายในของเครอ่ื งปรับอากาศแบบ 3 ระบบ ไดร้ ับการยอมรับจาก
สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ สนับสนุนงบประมาณ ในการต่อยอดนวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์ งาน
สรา้ งสรรค์

3) จดุ ท่คี วรพฒั นา
วิทยาลัยฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ

งานวิจัยอย่างจากัด ทาให้ผู้เรียนขาดโอกาสในการสร้างสรรค์และพัฒนาผลงาน ถึงแม้จะได้รับรางวัลจากการ
ประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติโดย

69

ชุมชน หน่วยงานภายนอกให้การยอมรับผลงานของนักเรียนนักศึกษา นั้น แต่วิทยาลัยฯยังขาดการต่อยอดสู่
ความสาเรจ็ ระดับนานาชาติ
4) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา

ส่งเสริม สนับสนนุ หาแหล่งทุนจากหน่วยงานภายนอกหรือชมุ ชน สาหรับผู้เรียนในการพฒั นานวัตกรรม
สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวจิ ยั เพ่มิ ขน้ึ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ส่ชู มุ ชน

70

สว่ นที่ 5
ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา

ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561

ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 จานวน 3
มาตรฐาน ตามระดบั การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ดังนี้

5.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศึกษาท่ีพึงประสงค์
ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานที่ 1 ในแต่ละประเด็นการประเมนิ

ประเด็นการประเมินที่ 1 ดา้ นความรู้

ข้อการประเมนิ คา่ น้าหนกั ค่าคะแนน คะแนนทีไ่ ด้
(ค่าน้าหนักxคา่ คะแนน)

1.1 ผลการประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพ 20 5 100

1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน 32 6
อาชีวศกึ ษา (V-NET)

ผลรวมคะแนนท่ีได้ 106

รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินท่ี 1 = (ผลรวมคะแนนทไี่ ด้ X 100) / 92.17
115

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ที่ 1 ด้านความรู้
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

ประเด็นการประเมินที่ 2 ดา้ นทักษะและการประยกุ ต์ใช้

ขอ้ การประเมิน ค่านา้ หนัก คา่ คะแนน คะแนนทีไ่ ด้
(ค่าน้าหนักxค่าคะแนน)

2.1 ผเู้ รยี นมีสมรรถนะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการหรือ 3 4 12
การประกอบอาชพี อสิ ระ

2.2 ผลการแข่งขนั ทักษะวชิ าชีพ 24 8

ผลรวมคะแนนที่ได้ 20

ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 80.00
25

71

ประเดน็ การประเมินท่ี 1 ด้านความรู้

ขอ้ การประเมิน ค่านา้ หนัก ค่าคะแนน คะแนนท่ไี ด้
(คา่ นา้ หนกั xคา่ คะแนน)

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประเดน็ การประเมินท่ี 2 ดา้ นทักษะและการประยกุ ต์ใช้
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

ประเดน็ การประเมินที่ 3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ข้อการประเมิน ค่านา้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนทีไ่ ด้
(คา่ นา้ หนกั xค่าคะแนน)

3.1 การดแู ลและแนะแนวผ้เู รียน 21 2

3.2 ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 25 10

3.3 การมงี านทาและศึกษาต่อของผ้สู าเร็จการศึกษา 15 5 75

ผลรวมคะแนนท่ีได้ 87

ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 3 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 91.58
95

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 3 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ
คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดเี ลศิ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

5.2 มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศกึ ษา
ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 2 ในแตล่ ะประเดน็ การประเมนิ

ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 1 ด้านหลกั สตู รอาชีวศึกษา

ข้อการประเมิน คา่ น้าหนัก คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
(ค่าน้าหนักxคา่ คะแนน)

1.1 การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็น 25 10
ระบบ

1.2 การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ หรอื ปรับปรุง 3 4 12
รายวชิ า หรอื ปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรือกาหนด
รายวิชาเพ่ิมเติม

ผลรวมคะแนนท่ีได้ 22

72

ประเด็นการประเมนิ ท่ี 1 ด้านหลักสูตรอาชีวศกึ ษา

ข้อการประเมนิ คา่ นา้ หนกั คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
(ค่าน้าหนกั xคา่ คะแนน)

รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 1 = (ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ X 100) / 88.00
25

ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเดน็ การประเมนิ ที่ 1 ดา้ นหลักสตู รอาชีวศึกษา
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 ดา้ นการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษา

ข้อการประเมิน ค่าน้าหนกั ค่าคะแนน คะแนนทีไ่ ด้
(ค่าน้าหนักxคา่ คะแนน)

2.1 คณุ ภาพของแผนการจดั การเรยี นรสู้ ่กู ารปฏิบตั ิ 2 5 10

2.2 การจัดทาแผนการจดั การเรียนรสู้ ู่การปฏิบัตทิ ่ี 3 5 15
เน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ และนาไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอน

2.3 การจัดการเรยี นการสอน 55 25

2.4 การบรหิ ารจัดการชน้ั เรียน 35 15

2.5 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชพี 25 10

2.6 การเข้าถงึ ระบบอินเทอร์เนต็ ความเรว็ สงู เพื่อการ 2 5 10
จัดการเรียนการสอนในชน้ั เรียน

ผลรวมคะแนนที่ได้ 85

ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100) / 100.00
85

ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 ด้านการจัดการเรียนการสอน
อาชีวศกึ ษา
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

73

ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ

ข้อการประเมิน ค่านา้ หนัก คา่ คะแนน คะแนนทีไ่ ด้
(คา่ น้าหนักxคา่ คะแนน)

3.1 การบรหิ ารจดั การระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อ 5 5 25
การบริหารจัดการสถานศึกษา

3.2 อาคารสถานที่ หอ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัตกิ าร โรง 2 4 8
ฝกึ งาน หรอื งานฟารม์

3.3 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน 25 10

3.4 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วทิ ยบรกิ าร 25 10

3.5 ระบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู เพอ่ื การใช้งานดา้ น 2 4 8
สารสนเทศภายในสถานศึกษา

ผลรวมคะแนนที่ได้ 61

รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X 100) / 93.85
65

ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านการบรหิ ารจัดการ
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดเี ลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

ประเดน็ การประเมนิ ที่ 4 ดา้ นการนานโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ

ขอ้ การประเมิน ค่าน้าหนกั คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
(คา่ นา้ หนกั xคา่ คะแนน)

4.1 การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี 65 30

ผลรวมคะแนนที่ได้ 30

ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 4 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100) / 100.00
30

ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 4 ด้านการนานโยบายสู่การปฏิบตั ิ
ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

74

5.3 มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 3 ในแตล่ ะประเด็นการประเมนิ

ประเดน็ การประเมนิ ที่ 1 ด้านความร่วมมือในการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้

ข้อการประเมนิ คา่ นา้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนที่ได้
(คา่ น้าหนกั xคา่ คะแนน)

1.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมสี ว่ นร่วม 55 25

1.2 การระดมทรัพยากรเพอ่ื การจัดการเรียนการสอน 2 5 10

1.3 การบริการชมุ ชนและจติ อาสา 25 10

ผลรวมคะแนนที่ได้ 45

รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 1 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100) / 100.00
45

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแห่ง
การเรียนรู้
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดเี ลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 ด้านนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั

ขอ้ การประเมนิ คา่ นา้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนท่ีได้
(คา่ นา้ หนักxคา่ คะแนน)

2.1 ผลงานของผเู้ รยี นด้านนวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ 3 5 15
งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวิจยั

ผลรวมคะแนนท่ีได้ 15

รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 100.00
15

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 ดา้ นนวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ งาน
สร้างสรรค์ งานวจิ ัย
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

75

5.4 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม
ตารางที่ 4 สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยภาพรวม

ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา รอ้ ยละ
ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ.2561

มาตรฐานที่ 1 คณุ ลกั ษณะของผสู้ าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาทพ่ี งึ ประสงค์ 90.64

ประเดน็ ท่ี 1.1 ด้านความรู้ 92.17

ประเด็นที่ 1.2 ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้ 80

ประเดน็ ที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 91.58

มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชีวศึกษา 96.59

ประเด็นที่ 2.1 ดา้ นหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา 88

ประเด็นท่ี 2.2 ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา 100

ประเด็นที่ 2.3 ดา้ นการบริหารจดั การ 93.85

ประเด็นท่ี 2.4 ดา้ นการนานโยบายสกู่ ารปฏิบัติ 100

มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 100

ประเดน็ ท่ี 3.1 ด้านความรว่ มมอื ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 100

ประเดน็ ท่ี 3.2 ดา้ นนวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั 100

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 94.20

ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปาน
กลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

76

ส่วนที่ 6
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามบรบิ ทของสถานศึกษาท่ีกาหนดเพ่ิมเติม

การประเมนิ ผลและการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทีก่ าหนด
เพ่มิ เติม ในแต่ละมาตรฐานและประเดน็ การประเมนิ ดงั น้ี

เนอ่ื งจากวทิ ยาลัยฯ ไม่ได้กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีกาหนดเพิม่ เติม

77

สว่ นที่ 7
แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

ผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาศึกษา วิเคราะห์เพื่อ
กาหนดแผนพัฒนายกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษาใหอ้ ยู่ในระดับคุณภาพ “ยอดเยย่ี ม” รายละเอยี ดดงั นี้

มาตรฐานและประเดน็ การประเมนิ แผนพัฒนาเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลักษณะของผูส้ าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาที่พงึ ประสงค์

1.1 ด้านความรู้ 1. ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
2. 1. โครงการจดั หาสื่อการเรียนรูท้ กุ สาขางาน
3. 2. โครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชพี
4. 3. โครงการจดั อบรมการวัดและประเมินผลทางการ

ศกึ ษา
5. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ น

อาชวี ศึกษา (V-NET)
6. 1. โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี เพ่ือการเป็น

ผู้ประกอบการ
7. 2. โครงการแขง่ ขนั ทักษะวิชาชีพ
8. 3. โครงการจดั หาวสั ดุฝึกเพือ่ รองรบั การปฏิบตั ิ

1.2 ด้านทักษะและการประยุกตใ์ ช้ 1. ผเู้ รียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรอื
ประกอบอาชีพอสิ ระ

2. 1. โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี เพ่ือการเปน็
ผู้ประกอบการ

3. ผลการแข่งขันทกั ษะวชิ าชีพ
4. 1. โครงการแข่งขนั ทกั ษะวิชาชีพ
5. 2. โครงการจดั หาวัสดฝุ กึ เพื่อรองรบั การปฏบิ ตั ิ

1.3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะทพี่ งึ 1. การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น

ประสงค์ 2. 1. โครงการประชุมผ้ปู กครองก่อนเปดิ ภาคเรียน

3. 2. โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่

4. 3. โครงการผู้บริหารพบปะสถานประกอบการและ

ชมุ ชน

5. 4. โครงการ Fix it Center

6. 5. โครงการอาชวี ะอาสา

78

มาตรฐานและประเดน็ การประเมนิ แผนพฒั นาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศึกษา
2.1 ดา้ นหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา 7. ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
8. 1. โครงการคา่ ยคุณธรรม จริยธรรม
9. 2. โครงการเชดิ ชเู กยี รตเิ ด็กดมี คี ุณธรรม
10.3. โครงการกจิ กรรมวันสาคัญทางชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย์
11.4. โครงการจิตอาสาพฒั นาสงั คม
12.การมีงานทาและศกึ ษาตอ่ ของผสู้ าเร็จการศึกษา
13.1. โครงการพฒั นาหลักสตู รด้านภาษาเพื่อการ

ตดิ ตอ่ สอื่ สารในประเทศอาเซียน
14.2. โครงการพฒั นาหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกบั ความ

ต้องการของสถานประกอบการ
15.3. โครงการพัฒนาหลกั สูตรให้สอดคลอ้ งกับความ

ตอ้ งการของประชาชนและเทคโนโลยที เ่ี ปลยี่ นแปลง

1. การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะอยา่ งเปน็ ระบบ
1. โครงการพัฒนาหลักสตู รด้านภาษาเพ่ือการ
ตดิ ต่อสอื่ สารในประเทศอาเซียน

2. 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกบั ความ
ต้องการของสถานประกอบการ

3. 3. โครงการพฒั นาหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกับความ
ตอ้ งการของประชาชนและเทคโนโลยีทเ่ี ปลี่ยนแปลง

4. การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะหรือปรบั ปรุง
รายวชิ า หรือปรบั ปรงุ รายวิชาเดมิ หรอื กาหนด
รายวชิ าเพิม่ เติม

5. 1. โครงการพฒั นาหลักสตู รด้านภาษาเพื่อการ
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารในประเทศอาเซียน

6. 2. โครงการพฒั นาหลกั สตู รให้สอดคล้องกบั ความ
ตอ้ งการของสถานประกอบการ

7. 3. โครงการพฒั นาหลักสตู รให้สอดคลอ้ งกบั ความ
ต้องการของประชาชนและเทคโนโลยีท่เี ปลี่ยนแปลง

79

มาตรฐานและประเดน็ การประเมนิ แผนพัฒนาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษา
2.2 ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา ของสถานศกึ ษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

1. คุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรสู้ กู่ ารปฏิบตั ิ
2. 1. โครงการส่งเสรมิ การพฒั นาศกั ยภาพครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษาในสาขาวชิ าชพี รว่ มกบั ชมรม
วิชาชพี และหลกั สูตรที่สถาบนั คุรุพฒั นารบั รอง
3. 2. โครงการพฒั นาศักยภาพครูในการจัดการเรียน
การสอนดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้วิชาชีพ PLC
4. 3. โครงการสง่ เสริมสนบั สนนุ ใหข้ า้ ราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาขอเล่อื นวทิ ยฐานะ
5. 4. โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา
6. 5. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
7. การจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ส่กู ารปฏบิ ัติท่ีเน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคญั และนาไปใช้ในการจดั การเรยี น
การสอน
8. 1. โครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาในสาขาวชิ าชีพร่วมกบั ชมรม
วิชาชพี และหลักสตู รที่สถาบนั คุรพุ ัฒนารับรอง
9. 2. โครงการพัฒนาศักยภาพครใู นการจัดการเรียน
การสอนดว้ ยกระบวนการเรียนรวู้ ชิ าชพี PLC
10.3. โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาขอเลือ่ นวิทยฐานะ
11.4. โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้กับครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา
12.5. โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากรดา้ น
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
13.การจัดการเรียนการสอน
14.1. โครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาในสาขาวิชาชีพรว่ มกบั ชมรม
วิชาชพี และหลักสตู รทีส่ ถาบนั ครุ ุพฒั นารับรอง
15.2. โครงการพฒั นาศักยภาพครใู นการจัดการเรยี น
การสอนดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้วชิ าชีพ PLC
16.3. โครงการสง่ เสริมสนับสนนุ ให้ขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาขอเลอื่ นวิทยฐานะ

80

มาตรฐานและประเดน็ การประเมิน แผนพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษา
ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)

17.4. โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กบั ครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา

18.4. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดา้ น
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร

19.การบรหิ ารจดั การชัน้ เรียน
20.1. โครงการส่งเสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพครูและ

บคุ ลากรทางการศึกษาในสาขาวชิ าชพี ร่วมกับชมรม
วิชาชพี และหลักสูตรท่ีสถาบันครุ ุพฒั นารับรอง
21.2. โครงการพฒั นาศักยภาพครใู นการจดั การเรียน
การสอนด้วยกระบวนการเรยี นรูว้ ชิ าชีพ PLC
22.3. โครงการส่งเสริมสนับสนุนใหข้ า้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาขอเลื่อนวิทยฐานะ
23.4. โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ ับครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา
24.5. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
25.การพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชพี
26.1. โครงการส่งเสรมิ การพัฒนาศักยภาพครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษาในสาขาวชิ าชีพร่วมกับชมรม
วิชาชพี และหลกั สูตรทีส่ ถาบนั ครุ พุ ัฒนารบั รอง
27.2. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจดั การเรยี น
การสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้วิชาชีพ PLC
28.3. โครงการส่งเสริมสนับสนุนใหข้ า้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาขอเลื่อนวิทยฐานะ
29.4. โครงการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมให้กับครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา
30.5. โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากรดา้ น
ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร
31.การเขา้ ถึงระบบอินเตอรเ์ น็ตความเร็วสงู เพื่อการ
จดั การเรียนการสอนในชัน้ เรยี น
32.1. โครงการส่งเสรมิ การพฒั นาศักยภาพครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษาในสาขาวิชาชีพรว่ มกบั ชมรม
วิชาชีพและหลักสตู รทีส่ ถาบันคุรุพัฒนารับรอง
33.2. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรยี น
การสอนดว้ ยกระบวนการเรียนร้วู ชิ าชพี PLC

81

มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ แผนพฒั นาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษา
2.3 ด้านการบริหารจดั การ ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

34.3. โครงการสง่ เสริมสนบั สนุนใหข้ ้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะ

35.4. โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษา

36.5. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดา้ น
ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร

1. การบรหิ ารจดั การระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่อื
การบริหารจดั การสถานศึกษา

2. 1. โครงการจัดหาครูและบุคลากรผูเ้ ชี่ยวชาญ ใหต้ รง
กบั สาขาวิชาชีพ

3. 2. โครงการจัดหาครภุ ัณฑ์วัสดุอุปกรณ์
4. 3. โครงการพฒั นาบรหิ ารจดั การเทคโนโลยี

สารสนเทศ
5. 4. โครงการพัฒนาอาคารสถานที่ และปรับปรงุ ภมู ิ

ทัศนข์ องวทิ ยาลัย
6. อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โรง

ฝึกงาน หรอื งานฟาร์ม
7. 1. โครงการจดั หาครูและบุคลากรผู้เช่ยี วชาญ ใหต้ รง

กับสาขาวิชาชพี
8. 2. โครงการจดั หาครภุ ัณฑ์วสั ดุอุปกรณ์
9. 3. โครงการพัฒนาบริหารจัดการเทคโนโลยี

สารสนเทศ
10.4. โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี และปรับปรงุ ภูมิ

ทัศน์ของวิทยาลัย
11.ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน
12.1. โครงการจัดหาครูและบุคลากรผเู้ ชยี่ วชาญ ใหต้ รง

กบั สาขาวชิ าชพี
13.2. โครงการจดั หาครภุ ัณฑว์ ัสดอุ ปุ กรณ์
14.3. โครงการพฒั นาบรหิ ารจัดการเทคโนโลยี

สารสนเทศ
15.4. โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี และปรบั ปรุงภมู ิ

ทัศน์ของวิทยาลัย
16.แหล่งเรียนรู้และศูนยว์ ิทยบริการ

82

มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษา
ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

17.1. โครงการจดั หาครูและบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ ให้ตรง
กับสาขาวิชาชีพ

18.2. โครงการจดั หาครุภัณฑ์วสั ดอุ ปุ กรณ์
19.3. โครงการพัฒนาบริหารจดั การเทคโนโลยี

สารสนเทศ
20.4. โครงการพฒั นาอาคารสถานที่ และปรับปรงุ ภมู ิ

ทัศนข์ องวทิ ยาลัย
21.ระบบอินเตอร์เนต็ ความเร็วสูงเพ่ือการใช้งานด้าน

สารสนเทศภายในสถานศกึ ษา
22.1. โครงการจัดหาครูและบุคลากรผเู้ ชย่ี วชาญ ใหต้ รง

กับสาขาวชิ าชพี
23.2. โครงการจดั หาครภุ ัณฑ์วัสดุอปุ กรณ์
24.3. โครงการพฒั นาบริหารจดั การเทคโนโลยี

สารสนเทศ
25.4. โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี และปรบั ปรงุ ภมู ิ

ทัศนข์ องวทิ ยาลัย

2.4 ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 1. การจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี
2. 1. โครงการแลกเปลยี่ นวิทยากรระหว่างวทิ ยาลัย

และหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน
3. 2. โครงการศึกษาดูงานในสถานประกอบการ
4. 3. โครงการทาความร่วมมือกับหนว่ ยงานรัฐและ

เอกชน เพื่อส่งนักศกึ ษาเข้าฝึกงาน หรือแลกเปลย่ี น
นกั ศึกษารว่ มกัน
5. 4. โครงการฝึกอบรมครฝู กึ ในสถานประกอบการ

มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้

3.1 ดา้ นความร่วมมือในการสรา้ งสงั คมแหง่ การ 1. การบริหารสถานศึกษาแบบมีสว่ นรว่ ม
เรยี นรู้ 2. 1. โครงการแลกเปลี่ยนวทิ ยากรระหวา่ งวทิ ยาลัย

และหน่วยงานภาครฐั และเอกชน
3. 2. โครงการศึกษาดงู านในสถานประกอบการ
4. 3. โครงการทาความรว่ มมือกับหนว่ ยงานรัฐและ

เอกชน เพื่อส่งนักศกึ ษาเขา้ ฝึกงาน หรือแลกเปลย่ี น
นกั ศึกษาร่วมกัน
5. 4. โครงการฝกึ อบรมครูฝกึ ในสถานประกอบการ

83

มาตรฐานและประเด็นการประเมิน แผนพัฒนาเพือ่ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

3.2 ดา้ นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ 6. การระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรียนการสอน
งานวจิ ยั 1. โครงการจัดหาครูและบคุ ลากรผเู้ ชย่ี วชาญ ให้
ตรงกับสาขาวิชาชีพ

7. 2. โครงการจัดหาครุภัณฑ์วสั ดุอุปกรณ์
8. 3. โครงการพฒั นาบรหิ ารจดั การเทคโนโลยี

สารสนเทศ
9. 4. โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ี และปรบั ปรงุ ภูมิ

ทศั นข์ องวิทยาลยั
10.การบรกิ ารชมุ ชนและจติ อาสา
11.1. โครงการประชุมผู้ปกครองกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น
12.2. โครงการปฐมนิเทศนกั ศึกษาใหม่
13.3. โครงการผบู้ ริหารพบปะสถานประกอบการและ

ชมุ ชน
14.4. โครงการ Fix it Center
15.5. โครงการอาชีวะอาสา

1. ผลงานของผูเ้ รยี นดา้ นนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งาน
สรา้ งสรรค์ งานวิจัย

2. 1. โครงการประกวดวิจยั ในช้นั เรยี น
3. 2. โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทาวจิ ัยรว่ มกบั

ชุมชน
4. 3. โครงการทัศนศึกษาดงู านการวจิ ัยพัฒนาชุมชน
5. 4. โครงการจัดอบรมครู บุคลากรทางการศึกษา และ

นักเรียนเกย่ี วกับแนวทางการสรา้ งนวัตกรรมหรือ
สิ่งประดษิ ฐห์ รอื งานวิจยั เพื่อพฒั นาชุมชน
6. 5. โครงการจัดหาทนุ สนบั สนุนการสร้างนวตั กรรม
สิง่ ประดิษฐห์ รืองานวิจยั เพื่อการพฒั นาชมุ ชน


























Click to View FlipBook Version