The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาจิตวิทยา case study
64741626 นานวทัญญู ปัญญา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watanyoopanya, 2021-10-10 04:43:46

วิชาจิตวิทยา case study

วิชาจิตวิทยา case study
64741626 นานวทัญญู ปัญญา

Keywords: วทัญญู ปัญญา,case study

รายงานกรณศี กึ ษา
“พฒั นาการ ทฤษฎีการเรียนรู้ และแนวทางการพัฒนาพฤตกิ รรม”

เสนอ
อาจารย์ทัศนยี ์ บุญแรง

จดั ทาโดย
นายวทญั ญู ปัญญา
รหสั 64741626 Section. 06
หม่เู รียน ป 64. ป.บณั ฑติ 2.6

รายงานนเี้ ปน็ สว่ นหนึ่งของวิชา จติ วทิ ยาสาหรับครู (ED 5301)
หลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑติ วิชาชีพครู ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎั เชยี งใหม่

คานา
การศึกษาและทาความเขา้ ใจในจติ วิทยาสาหรบั ครู เปน็ การศึกษาเพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยใ์ นแต่
ละชว่ งวัย เข้าใจทฤษฎขี องนักจิตวิทยาที่อธิบายพฒั นาการแต่ละดา้ นของมนุษย์ อาทิ ดา้ นบุคลกิ ภาพ ดา้ นสังคม
ด้านสติปญั ญา ดา้ นจริยธรรม เพ่ือที่ครูจะได้นาไปปรับใช้กับนกั เรียน สามารถเข้าใจความแตกต่างในนกั เรียนแต่ละ
คน เทคนคิ การจูงใจ การให้ความชว่ ยเหลือนักเรยี น การรับมือกบั ปัญหาดา้ นจิตวทิ ยาต่างๆ อันเป็นส่วนชว่ ยใหก้ าร
เรยี นรู้ของนักเรียน และการสอนของครู เปน็ ไปได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ประสบผลสมั ฤทธมิ์ ากทส่ี ดุ
รายงานฉบบั น้เี ป็นกรณีศึกษา เกบ็ ข้อมลู และนาความรทู้ างดา้ นจติ วิทยาสาหรับครูไปใชใ้ นการเรยี นรู้
พฤติกรรมของนกั เรยี นท่อี ยู่ในความสนใจ และนาทฤษฎที างจิตวทิ ยาตา่ ง ๆ ไปประยุกต์ใช้ เพอื่ ช่วยใหน้ ักเรียน มี
พฒั นาการที่ดีขนึ้ ในทุกด้าน

(นายวทญั ญู ปัญญา)
นกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ วิชาชีพครู 1/2564

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวของกรณีศกึ ษา

ประวตั สิ ่วนตวั
ชอื่ -นามสกุล ด.ช. ณฐภัทร อาตนนท์ลา ชือ่ เลน่ ดาม เพศ ชาย อายุ 6 ปี
ปจั จบุ นั อยู่ท่ี 28/9 ตาบลบา้ นแหวน อาเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม่
สัญชาตไิ ทย นบั ถอื ศาสนาพุทธ

ประวตั ิด้านครอบครัว
มารดาช่ือ นางนานแสนมล ทาชพี รบั จา้ งทวั่ ไป มีรายได้ทไี่ ม่แนน่ อน ปจั จุบนั อยู่กบั บิดามารดา
สาเหตทุ ี่ศึกษา

- เนื่องจากมีปัญหาด้านสมาธิทสี่ ง่ ผลกระทบต่อดา้ นการเรยี น เวลาทเ่ี รียนทุกครั้งจะมีอาการเหมอ่ ลอย
มองซ้ายมองขวาและวาดรปู เล่นเวลาท่คี รูกาลงั สอนในห้องเรียน รวมถงึ การปลีกตัวเองจากเพ่ือน
ลักษณะท่ีสาคญั

ปัญหาด้านการเรยี น
-จากการดรู ะเบยี นสะสมเด็กมีผลการเรยี นปานกลาง ผู้ปกครองย้าว่าให้ตั้งใจเรียนมากกว่าน้แี ละคอยย้า
เรอื่ งการสง่ งานในแตล่ ะรายวิชา
-จากการท่ีข้าพเจ้าได้ทาการสังเกต เดก็ ทางานชา้ ทาการบ้านไมเ่ สรจ็

ปัญหาดา้ นอารมณ์
-จากการสัมภาษณ์ผ้ปู กครองพบวา่ ไม่ฟังคาสงั่ ของผู้ปกครอง

สว่ นที่ 2 ข้อมูลพฒั นาการ

2.1 ลักษณะพัฒนาการในแต่ละด้าน (รา่ งกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา บคุ ลิกภาพ หรอื อนุ ิสัย)

2.1.1 พัฒนาการด้านรา่ งกาย

ดาม มีสภาพร่างกายที่โตสมวัย น้าหนกั สว่ นสงู ปกติ ชอบเล่นเครทอ่ งเล่นที่ต้องใชแ้ รง

2.1.2 พฒั นาการด้านอารมณ์

ดาม เป็นคนอารมณ์คอ่ นขา้ งคงที่ เงยี บขรึม เปน็ คนท่ีดูไม่แสดงอารมณร์ นุ แรงเหมือนเพือ่ นวัยเดียวกนั

2.1.3 พฒั นาการด้านสงั คม

ไม่เขา้ สงั คม ไมก่ ล้าคยุ กบั เพื่อน ไม่กลา้ คยุ กับครู ไมม่ ีปฎสิ ัมพันธก์ บั ครูและเพื่อนในห้อง

2.1.4 พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา

พ้นื ฐานเปน็ คนท่ีขาดแรงจูงใจในการเรยี น ขาดแรงเสริมจากทางบ้าน และที่บา้ นเข้มงวดเรื่องการเรียน ทา
เด็กต่อตานผปู้ กครอง ส่งผลใหก้ ารเรียนอยูใ่ นระดบั ค่อนไปทางอ่อน

2.1.5 พฤติกรรมท่เี ป็นปญั หา

เน่ืองดว้ ยทางบ้านของดามเป็นครอบครวั ท่ี พอ่ แมต่ า่ งทางานนอกบา้ น จึงไม่ได้เวลามาดแู ลมากนัก แต่
ผู้ปกครองคาดหวงั ต่อการเรยี นของน้องในระดบั สูง เม่ืออยู่ที่บา้ นน้องมกั มีอาการต่อตา่ น ผูป้ กครองและมักจะทา
ตามใจตนเองและผลจากการขาดการไดร้ บั การเอาใจใส่ ไม่ไดอ้ อกไปเลน่ ท่ีไหนกบั ใคร ท้ิงน้องไวก้ ับมือถือ จึงมี
ผลกระทบต่อการเรียนและการเข้าสังมของน้องดาม จึงสรปุ พฤติกรรมทเี่ ปน็ ปัญหาไดด้ ังน้ี

1. เหมอ่ ลอย
2. ทางานช้า
3. ไมท่ าการบ้าน
4. ไมค่ ยุ กับเพ่ือน
5. ไมส่ บตาครู

2.2 ขอ้ มูลการวิเคราะหพ์ ัฒนาการ

2.2.1 กรณศี กึ ษาอยู่ในวัยใด เพราะอะไร

กรณีศึกษาอยใู่ นวยั เด็กตอนกลาง (MinddleChildhood) เพราะอยูใ่ นช่วงอายุระหว่าง 6-13 ปี

2.2.2 พฤติกรรมตามพัฒนาการของวยั ดังกลา่ วในข้อ 1 เป็นอย่างไร

ทางด้านรา่ งกาย

คอ่ ยเป็นค่อยไป หญิงเรว็ กวา่ ชาย ขยายออกทางส่วนสูงมากกว่าทางขวาง ระบบหมนุ เวยี นโลหิต
เจริญเต็มท่ี ฟันแทข้ นึ้ มาแทนฟนั น้านม สายตากับมือประสานกันไดด้ ี สามารถทากิจกรรมตา่ งๆ
ได้ดว้ ยตนเอง อวยั วะเพศเตบิ โตดี

ทางดา้ นอารมณ์

อารมณร์ นุ แรง ขาดการควบคุมอารมณ์ ไม่มเี หตุ ไม่มีผลผล ต้องการอสิ ระมากขน้ึ ถกู ขดั ใจ ถกู
เยาะเย้ย ดูถูก เหยยี ดหยาม ประจารให้อาย ไม่ได้รบั ความยตุ ธิ รรม จะแสดงออกดว้ ยการก้าวรา้ ว
ทะเลาะ กลัวเพื่อนไมย่ อมรบั กลัวไมเ่ หมือนคนอ่นื กงั วลเก่ียวกบั รูปรา่ งของตนเอง อิจฉาเพ่ือน
อยากรู้อยากเหน็

ทางดา้ นสังคม

มีกลมุ่ เพ่ือนร่วมวัย ( Pree Group) มีวฒั นธรรมกลุ่ม( Pree Culture )ทากิจกรรม โดยเฉพาะ
การเล่น เรียนร้กู ฎระเบียบแนวทางการประพฤติทางสงั คม มักคบเพ่ือนเพศเดียวกัน มีการ
เลยี นแบบและเรียนร้บู ทบาททางเพศจากบดิ ามารดา ครู และคนรอบขา้ ง มักปฏิเสธไม่ยอมรบั
เพอื่ นทน่ี ิสัยไม่ตรงกับเพศ เชื่อครมู ากกวา่ พอ่ แม่

ด้านสติปัญญา

มีการใช้เหตผุ ล วิพากษ์วจิ ารณ์ในดา้ นดี – ชัว่ เรยี นรแู้ ละเข้าใจสิง่ ทเี่ ป็นรูปธรรม จดจาไดด้ ีขึ้น
พดู อ่าน เขยี นได้ มีความคิดริเรมิ่ วาดภาพ เลา่ นิทาน

2.2.3 พฤตกิ รรมตามพฒั นาการของกรณีศึกษามีความสอดคล้องหรอื แตกตา่ งจากพัฒนาการตามวยั หรือไม่
อย่างไร

มีความสอดคลอ้ งทุกด้าน
ดา้ นร่างกาย มขี ยายออกทางสว่ นสูง ฟนั แทข้ ้ึนมาแทนฟันน้านม
ด้านอารมณ์ อารมณร์ นุ แรง ขาดการควบคมุ อารมณ์ ไม่มีเหตุ ไม่มีผลผล
ดา้ นสงั คม มกี ลุ่มเพื่อนร่วมวัย
ด้านสติปัญญา เรียนรูแ้ ละเข้าใจสงิ่ ทเ่ี ป็นรูปธรรม

2.2.4 พฤติกรรมของกรณีศกึ ษาสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎพี ัฒนาการใด? ของใครท่ี? กล่าวว่าอยา่ งไร?

ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลกิ ภาพของ Erik Homberger Erikson
ขน้ั ที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period)
ระยะนี้เดก็ เรียนรู้ท่จี ะสร้างสรรค์ มคี วามคิดและพยายามทากจิ กรรมดว้ ยตัวเอง หากได้รับการสนับสนุนก็
ย่อมทาให้เด็กมีการพัฒนาบุคลิกภาพและมีความมานะเพียรพยายามที่จะแสวงหาสิ่งที่ท้าทาย
ความสามารถ สติปัญญา แต่หากเหตกุ ารณ์เปน็ ไปในทางตรงกันขา้ ม จะทาให้เดก็ มีความรู้สึกต่าต้อยด้อย
คา่ อาจตอ้ งถอยกลบั ไปสวู่ ยั ทารกอีกเพื่อหลกี เลีย่ งภาระอันตอ้ งรบั ผิดชอบ

ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบริ ก์ Kohlberg’s stages in moral develobment
ระดบั ก่อนเข้าใจกฎเกณฑ์ทางจริยธรรมช่วงอายุ 2-10 ขวบเปน็ ระดับทีเ่ ด็กแสดงพฤติกรรมโดยอาศัยการควบคุม
ภายนอก (External Controls) ซึง่ แยกออกได้เปน็ 2 ข้ันคือ

1) ในหลักการหลบหลีกมใิ ห้ถกู ลงโทษ (เดก็ อายุประมาณ 2-7 ขวบ) เดก็ เล็กน้ีเป็นบุคคลท่ีตอ้ งยึดผู้ใหญจ่ ึงจาเป็น
จะต้องเชอ่ื ฟังคาสงั่ จากพ่อแม่และผ้ใู หญเ่ ด็กเข้าใจ“ ความดี” ไปในความหมายว่าเป็นสิ่งท่ที าแลว้ ไม่ถูกลงโทษจาก
ผ้ใู หญ่เช่นเดก็ ยอมถอดรองเท้าก่อนขนึ้ บ้านเพราะกลวั ถูกพ่อแมเ่ ด็กไมห่ ยิบขนมก่อนได้รับอนญุ าตเพราะกลัวแมจ่ ะ
ตีเป็นต้น
2.) ข้ันหลกั การแสวงหารางวัล (เด็กอายุประมาณ 7-10 ขวบ) ระยะนเ้ี ด็กจะค่อยๆเห็นสองความสาคัญของการ
ไดร้ ับรางวัลอาจจะเป็นสิ่งของหรอื คาชมเชยเด็กจะกระตือรือร้นทาความดีเพื่อหวงั รางวลั จากพ่อแมห่ รือผู้ใหญ่เชน่
เด็กขยนั ทาการบ้านเพ่ือหวงั จะได้คาชมเชยจากพ่อแมเ่ ด็กช่วยแม่กวาดบ้านเพ่อื จะหวงั ได้ขนมอร่อย ๆ เป็นต้น

2.2.5 หากต้องการส่งเสริมพัฒนาการของกรณีศกึ ษาควรส่งเสริมพัฒนาการด้านใดบา้ ง? และจะตอ้ งทา
อย่างไร?

ดา้ นบุคลกิ ภาพ เด็กจะต้องได้รับการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื เป็นทัง้ พ่อแม่ ครแู ละเพ่ือน โดยใชต้ วั เราเปน็
แบบอยา่ ง เพื่อสร้างความม่นั ใจใหก้ บั เด็ก และเสริมแรงด้วยการชื่นชมและใหร้ างวัล
ด้านจริยธรรม ครสู รา้ งกฎที่ใชร้ ่วมกนั พร้อมอธิบายถงึ เหตุและผลงา่ ยๆ พร้อมชใ้ี หเ้ หน็ ถึงประโยชนแ์ ละ
โทษของการกระทาต่าง ๆ โดยเมื่อทาผิดจะมีบทลงโทษสาหรับผู้ทาผิด และมรี างวลั สาหรบั คนทีท่ าดี ชวน
เด็กทากจิ กรรมรว่ มกนั เปน็ กลุ่ม การมสี ว่ นร่วมกับเพ่ือนดว้ ยความสนุกสนาน

ส่วนท่ี 3 ขอ้ มูลเกี่ยวกับการเรยี นร้แู ละพฤติกรรมการเรยี นรู้

3.1 พฤติกรรม ความสามารถ และความสนใจในการเรยี น

พฤตกิ รรม ไมช่ อบเข้ารว่ มกลุ่มกับเพอ่ื น เหม่อลอย ทางานช้า ตอนอยูบ่ า้ นตดิ มอื ถอื

ความสามารถ วาดภาพระบายสีสวยงาม

ความสนใจในการเรียน ไมค่ ่อยสนใจในทางวิชาการ งานที่คุณครูให้ทามักไม่ค่อยสาเร็จ มสี ่งบ้าง ไม่มีสง่
บา้ ง ทาให้ผลการเรียนค่อนข้างไปทางแย่ ด้วยที่ดามเปน็ คนเงียบๆไมส่ ุงสิงกับใคร ทาให้ไม่มีเพ่ือนคบส่งผล
ทาให้ ดามยิง่ ไมม่ ีความสนใจดา้ นการเรยี น

3.2 ปัญหา หรือลกั ษณะพฤติกรรมที่โดดเด่นการเรียนรู้

แยกตัวจากเพอื่ น เกบ็ ตวั ไม่คุยไมเ่ ลน่ กบั เพื่อน ทาให้ไม่มเี พื่อน

งานไมเ่ สร็จ ไม่สนใจในสิ่งทค่ี รสู อน เลยทางานในสิ่งท่ีครใู ห้ทาไม่ได้ เหม่อลอย และขาดสมาธิ

3.3 วธิ กี ารส่งเสรมิ / ช่วยเหลือ / พัฒนาใหเ้ กดิ การเรียนรทู้ ่ดี ขี นึ้

ได้ใช้วิธีการสังเกตจากคาบเรียนภายในห้อง ป.1/1 และจดบันทึกรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
สหี นา้ ทา่ ทาง การตอบสนอง พฤตกิ รรมในชัน้ เรียน รวมถึงการนาทฤษฎีต่าง ๆ ของนักจิตวทิ ยาไปใช้เพื่อ
ส่งเสริมการเรยี นรู้ แกป้ ญั หาการเรียนให้กบั นักเรยี นมีพฒั นาการทางการเรยี นรู้ที่ดีขน้ึ รายละเอียดดังนี้

ครง้ั ที่ วนั ท่ี พฤติกรรมของนกั เรยี นผู้ ทฤษฎีทางจติ วิทยาท่ีใช้ ผลลพั ธ์
นิง่ เงียบ
สงั เกต เปน็ กรณศี กึ ษาที่พบ

1 5/7/2564 ในขณะที่ครูสอนมักขอไป อบรมเรื่องการควบคุมตวั เองตาม

หอ้ งน้า เหม่อลอย ไม่มี ทฤษฎีของ Sigmund Freud

ปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ครูและ

เพอ่ื นรว่ มห้อง

ครง้ั ที่ วันที่ พฤติกรรมของนกั เรียนผู้ ทฤษฎีทางจิตวทิ ยาทใี่ ช้ ผลลัพธ์

สังเกต เป็นกรณีศึกษาทีพ่ บ

2 19/7/2564 ก้มหนา้ ไม่มีปฏิสัมพนั ธ์ ใช้ทฤษฎีของ Thorndike Law of นักเรยี นในห้องช่วยกนั เสนอ

กบั ครแู ละเพื่อนร่วมห้อง Readiness กฎของความพร้อม และ คาตอบ รวมถึงนอ้ งดามท่ีตา

ทฤษฎกี ารจูงใจของ Gagne’ โดยการ เรมิ่ โฟกสั ท่ีครผู ูส้ อน

เลา่ นทิ าน และใชช้ อ่ื เด็กเปน้ ตัวละคร

3 26/7/2564 ไม่ทาการบา้ น ทางานไม่ ใช้ทฤษฎพี ัฒนาการเชงิ จริยธรรมของ มีความกระตือลือรน้ สนใจ

สาเรจ็ Kohlberg โดยการยกตวั อยา่ งเพ่ือนใน อยากจะได้ดาว

ห้อง ท่ีทาการบา้ น ทางานเสร็จกจ็ ะได้

ดาวสะสม เพ่ือรับของรางวัล

4 2/8/2564 สง่ การบา้ น แต่งานไม่ ใช้ทฤษฎขี อง Thorndike law of หลงั จากใหท้ าอกี ครงั้ งาน

เรียบร้อย Exercise ให้ทาอกี คร้งั หนง่ึ โดยให้ เรีบยร้อยมากขึ้น

กลบั ไปแกไ้ ขใหเ้ รยี บรอ้ ย และใช้ จากท่ีเสรมิ แรง ดว้ ยการให้

ทฤษฎพี ฒั นาการเชงิ จริยธรรมของ ดาวเพม่ิ ดามมอี าการดีใจ

Kohlberg ให้ดาวเพิม่ อย่างเห็นได้ชดั

5 9/8/2564 ทางานช้า ขาดสมาธิ เมื่อเด็กเรม่ิ หมดสมาธเิ ตอื นหรอื เรียก เด็กมีสติมากข้นึ ทางานเสร็จ

ให้เด็กกลบั มาสนใจ โดยการเคาะโต๊ะ ทนั เวลา

นกั เรยี นเบาๆ และ ใช้ทฤษฎีการ

เรยี นรู้โดยการวางเงื่อนไขของ

Skinner เสรมิ แรงทางบวก โดยให้การ

ชื่นชมทนั ทีทีเ่ ดก็ ตัง้ ใจทางาน

6 16/8/2564 ยงั ทางานชา้ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของ ยกตัวอย่างนักเรยี นท่ีทางาน

Bandura โดยการเลยี นแบบจกบุคคล เสร็จงานเรียบร้อยพร้อมบอก

รอบขา้ ง ในห้องที่ได้รบั คาชมจาก ใหท้ กุ คนทาตาม และชน่ื ชม

คุณครู การกระทาของเด็กคนน้ี

7 23/8/2564 ทาแบบฝกึ หดั ทาชิน้ งาน ใช้ทฤษฎีการเรยี นรโู้ ดยวางเงื่อนไข ให้เด็กๆในห้องดูผลงานของ

และฟงั ครสู อน แต่งานยงั แบบการกระทาของ Skinner เด็กทีท่ าเรียบรอ้ ย และวิธที า

ไม่ค่อยเรยี บร้อย เสริมแรงแบบไม่แน่นอนเพื่อให้ ของเด็กคนนนั้ ให้ทุกคนทา

พฤติกรรมใหม่มคี วามคงทนยาวนาน ตามแบบนี้ และชื่นชมการ

ดว้ ยการชมนอ้ งดามว่า ช่วงน้ีตัง้ ใจฟงั กระทาแบบคนนนั้ และกลา่ ว
คณุ ครู ทางานที่คุณครูให้ ขอให้เป็น ชน่ื ชมนอ้ งดาม ให้เพ่อื นๆได้
เด็กดีแบบน้ีทุกๆวนั เลยนะครับ เหน็ วา่ น้องดามพัฒนาแล้ว

ครงั้ ที่ วนั ที่ พฤตกิ รรมของนกั เรยี นผู้ ทฤษฎที างจิตวิทยาที่ใช้ ผลลพั ธ์

สังเกต เปน็ กรณีศกึ ษาที่พบ

8 30/8/2564 มีอาการเหม่อในบางคร้ัง ทฤษฎกี ารจงู ใจของ Gagne’ จดั น้องดามหวั เราะ รอ้ งเพลง

ขาดความมนั่ ใจในการเขา้ กจิ กรรมสร้างความมั่นใจ โดยการร้อง และเตน้ ตามเพ่ือนดูเพือ่ นเต้น

หาเพ่ือน เพลงประกอบการเต้น

9 6/9/2564 ยังขาดความมัน่ ใจในการ สรา้ งบรรยากาศการทากจิ กรรมกลุม่ ที่ น้องดามย้ิม เล่นไปด้วยกับ

เขา้ หาเพ่ือน ทางานกบั เปน็ กันเองกับนักเรยี น โดยการเล่นเกม เพอื่ น เริม่ คุยหัวเราะกบั เพื่อน

เพ่อื นเป็นกลุ่ม ทแี่ บง่ เป็นกลุ่มสเี พื่อสร้างความสามคั คี

กันในหมคู่ ณะ

10 13/9/2564 น้องดามทางานที่ครูส่ัง ทฤษฎีเสริมแรงทางบวกของ Skinner น้องดามมีความกล้าพูดคยุ กับ

ส่งการบ้าน และมี ให้พฤติกรรมเพ่ิมขน้ึ เมอ่ื มีสงิ่ เรา้ คุณครู และเพื่อนในห้องขน้ึ

ปฏิสัมพันธก์ ับเพื่อนใน Law of Effect – กฎแห่งผล

ห้องมากขนึ้ ผลทเี่ กดิ จากการเรยี นรู้พฤตกิ รรมใหม่

พอใจจะเกิดการทาซ้าอีก

ส่วนที่ 4 แนวทางการช่วยเหลือ สง่ เสริม และพัฒนา

4.1 พฤติกรรมของกรณีศึกษาที่ควรปรับเปลี่ยนใหด้ ียิ่งข้ึนมากที่สุด 1 พฤติกรรม

การแยกตวั จากเพือ่ น ควรจะไดร้ ับการปรบั ปรุงแก้ไขให้ดขี ึ้น เพราะเด็กในวยั นนี้ต้องมีการรวมกล่มุ เพื่อ
ทากจิ กรรม ตา่ งๆโดยเฉพาะการเลน่ เดก็ ทอี่ ยู่คนเดยี วไม่เข้ากบั เพ่ือนๆอาจเกิดความรสู้ กึ ไม่พอใจใน
ตนเองและสังคม ดังนน้ั ควรหาทางปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม เพราะการไมเขา้ หาเพ่ือนๆแล้ว นอกจากจะมีผล
ต่อทักาะการเข้าสังคมแล้ว อาจทาให้เดก็ เกิดความเครียด ส่งผลเป็นพฤติกรรมต่อตา้ นสังคมในอนาคต

4.2 วิธีการในการให้การแนะแนว ชว่ ยเหลือ และให้คาปรึกษา

รว่ มกนั ทากจิ กรรมกลุ่ม ทางานกนั เปน็ ทีม วิธโี ฮมรูม เน่อื งจากน้องมพี ฤติกรรมปลีกตัวเองออกจาก
เพอื่ น ครูจึงใชว้ ิธีทากจิ กรรม กล่มุ เปน็ ทีม เพ่อื สรา้ งความม่ันใจใหเ้ ดก็ ได้กล้าเข้าหา พดู คุยกับเพ่อื น สรา้ ง
ความสามัคคี การช่วยเหลือกันและกนั และช้ใี หเ้ ห็นถึงผลที่ได้จากการทางานเป็นทีม ซึ่งจะประสบ
ความสาเร็จทกุ ครั้งเมื่อพวกเราสามคั คีกนั เชน่ การกวาดใบไมใ้ นเขตท่ีกลุ่มสขี องตนรบั ผดิ ชอบ

4.3 กจิ กรรมทีจ่ ะช่วยในการพัฒนาศกั ยภาพของกรณีศกึ ษา

เกมเพือ่ การศกึ ษา วัยประถมเปน็ ชว่ งวัยทกี่ ารเรียนหนงั สือมาเป็นหนา้ ทห่ี ลกั แต่การเลน่ ก็ยงั มบี ทบาท
สาคญั ตอ่ เด็กๆ โดยอาจจะให้ซับซ้อนมากข้ึน มีกติกา เช่น เกมกระดาน ต่อจิ๊กซอว์ ต่อเลโก้ วาดรปู
การฝึกสมาธิ เพ่ือให้เด็กได้อยนู่ ่ิง ไม่วอกแวก ลดอาการเหม่อลอยหรือไม่สามารถโฟกัสกับส่งิ ใดส่งิ หนึง่ ได้
เพราะการทาสมาธเิ ปน็ การเรียกสติ เพ่ือเป็นจดุ เรมิ่ ตน้ ของการเรยี นรู้ นาไปสู่การพฒั นาสมองทาให้เกิด
ความต้งั ใจในการลงมือทาส่งิ ตา่ งๆ
การจัดวางตวั บุคคล เพ่ือลดช่องวา่ งระหวา่ งครู นักเรยี น ผูป้ กครอง ให้เขา้ ใจในตวั เด็ก ๆ ว่าเด็กบางคน
เขาอาจไม่คอ่ ยไดเ้ ลน่ กบั เด็กวัยเดยี วกนั เมอ่ื เขา้ โรงเรียนจงึ ไม่รู้วิธีการทางานเป็นกลุม่ การเขา้ หาเพ่ือน
การเอาใจเขาใสใ่ จเรา รวมถงึ การจดั การกบั ปัญหาทีเ่ หมาะสม

4.4 บคุ คลท่ตี ้องประสานขอความรว่ มมือมใี ครบ้าง? และจะขอความรว่ มมอื ให้ทาอะไร? อย่างไร?

ผู้ปกครอง คณุ พ่อคุณแม่ผูป้ กครองต้องจดั กิจกรรมหรือเลน่ เพื่อเสริมสร้างความมัน่ ใจ เชน่ ร้องเพลง
ดว้ ยกนั แสดงบทบาทสมมติ รวมถงึ เปดิ โอกาสให้ลกู ไดพ้ บกับคนทุกเพศทุกวยั ทั้งเด็กท่ีเลก็ กว่าและโตกวา่
เพอื่ ใหล้ ูกได้เรยี นรู้การเข้าสงั คมและรจู้ ักปรับตัว นอกจากนผ้ี ปู้ กครองควรปล่อยใหล้ ูกได้เลน่ อยา่ งอิสระ
และสงั เกตสถานการณอ์ ยหู่ ่างๆ

ส่วนท่ี 5 ภาคผนวก
5.1 เคร่อื งมือทใ่ี ชเ้ กบ็ ข้อมลู : แบบบันทกึ การสังเกตพฤตกิ รรม

















5.2 ภาพบรรยากาศในคาบเรียนและการทากิจกรรมกลุ่ม




Click to View FlipBook Version