The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องหมาเตือนสารอันตรายและประเภทของสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tamanh3004, 2022-07-11 00:31:44

สมุดภาพเล่มเล็ก เครื่องหมายเตือนสารเคมีอันตราย

เครื่องหมาเตือนสารอันตรายและประเภทของสาร

สมุดภาพเล่มเล็ก



จัดทำโดย

1 กัญญารัตน์ วงศ์วรรธนะกิจ เลขที่3 ม1/3
2 Pham gia tam anh เลขที่ 1 ม. 1/3



เสนอ
อาจารย์ พรพรรณ ยิ่งยง



ก๊าซไวไฟ :
ติดไฟง่ายเมื่อถูกประกายไฟ ก๊าซหุงต้ม ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซ
มีเทน ก๊าซอะเซทีลีน

วั ตถุระเบิด
ระเบิดเมื่อถูกกระเเทก เสียดสี หรือความร้อน เช่น

ทีเอ็นที ดินปืน พลุไฟ ดอกไม้ไฟ

ก๊าซไวไม่ไวไฟเเละไม่เป็นพิษ
ไม่ไวไฟไม่เป็นพิษแต่อาจเกิดระเบิดได้ หากภาชนะบรรจุถูก
กระแทกอย่างแรง หรือ ได้รับความร้อนสูงจากภายนอก เช่น
ก๊าซออกซิเจน ก๊าซไนโตรเจนเหลว ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

ก๊าซพิษ[Poison Gases]
อาจตายได้เมื่อสูดดม เช่น ก๊าซคลอรีน ก๊าซ

แอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์

ของเหลวไวไฟ
ลุกติดไฟง่ายเมื่อถูกประกายไฟ เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์

อะซิโตน ไซลีน

ของเเข็งไวไฟ

ลุกติดไฟง่าย เมื่อถูกเสียดสีหรือ ได้รับ ความร้อนสูง ภายใน 45
วินาที เช่น ผงกำมะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไม้ขีดไฟ

สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไห้มได้เอง

ลุกไหม้ได้เองเมื่อสัมผัสกับ
อากาศภายใน 5 นาที เช่น ฟอสฟอรัสขาว

ฟอสฟอรัสเหลือง โซเดียมซัลไฟด์

สารท่ีสัมผัสกับน้าแล้วทาให้เกิด
ก๊าซไวไฟ

ถูกน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟหรือ ลุกติดไฟ ได้เองเช่น
แคลเซียมคาร์ไบต์ โซเดียม ลิเธียม แมกเนเซียม

สารออกซิไดส์

:ไม่ติดไฟ ไม่ระเบิด แต่ช่วยให้สารอื่น เกิดการลุก
ไหม้ได้ดีขึ้น เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โปแตสเซี
ยมคลอเรต แอมโมเนียไนเตรท

สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic
Peroxides)

อาจเกิดระเบิดได้เมื่อถูกความร้อน เสียดสีหรือถูก

กระแทกอย่างรุนแรง และสามารถทำปฏิกิริยารุนแรงกับสารอื่น ๆ
เช่น อะซิโตนเปอร์ออกไซด์ เมทิลเอทิลคีโตนเปอร์ออกไซด์
ไดเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์

สารพิษ (Toxic Substances)

ของแข็งหรือของเหลวปริมาณเล็กน้อย อาจทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ
อย่างรุนแรงจากการกิน สูดดม หรือสัมผัสทางผิวหนัง เช่น อาร์ซีนิค

ไซยาไนด์ ปรอท สารกำจัดศัตรูพืชโลหะหนักเป็นพิษ

สารติดเช้ือ (Infectious Substances)

วัตถุที่มีเชื้อโรคปนเปื้ อน และอาจทำให้เกิดโรคได้ เช่น ขยะติดเชื้อจาก
โรงพยาบาล เข็มฉีดยาใช้แล้ว เชื้อโรคแอนแทรกซ์ แบคทีเรีย ไวรัส

วัตถุกัมมันตรังสี (Radioactive Materials)

วัตถุที่สามารถแผ่รังสีที่เป็น อันตรายต่อร่างกาย เช่น โคบอลต์
เรเดียม พลูโตเนียม ยูเรเนียม

สารกัดกร่อน (Corrosive Substances)

สามารถกัดกร่อนผิวหนัง และเป็นอันตราย ต่อระบบทางเดินหายใจ
เช่น กรดเกลือ กรดกำมะถัน โซเดียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮเปอร์

คลอไรด์

ประเภทที่ 9 วัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ด

:วัตกุกุมมันตรังสี (Radioactive Materials)

สารและสิ่งของที่ในขณะขนส่งมีความเป็น อันตรายและไม่จัดอยู่ในประเภท 1

ถึง 8 หรือสารที่มีการควบคุมอุณหภูมิ ในขณะขนส่งไม่ต่ำกว่า
100 องศาเซลเซียส

ในสภาพของเหลว หรือมีอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 240 องศาเซลเซียส
ในสภาพของแข็ง เช่น ยางมะตอยเหลว กำมะถันเหลว ขี้เถ้าจากเตาหลอมโลหะ

ขอบคุณที่รับชมค่ะ


Click to View FlipBook Version