TRAVEL
ร า ย ง า น ฉ บั บ นี้ จั ด ทำ ขึ้ น เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น
ว 21292 วิชาการสร้างหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์
โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ จั ด ทำ ไ ด้ ฝึ ก ก า ร ศึ ก ษ า
ค้นคว้า และนำสิ่ งที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้าง
เ ป็ น ชิ้ น ง า น เ ก็ บ ไ ว้ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ รี ย น
ก า ร ส อ น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ แ ล ะ ค น ที่ ส น ใ จ จ ะ ศึ ก ษ า
แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น
จังหวัดยะลาต่อไป ทั้งนี้ เนื้อหาได้รวบรวมมา
จากหนังสื อเว็บไซต์ออนไลน์ กระทู้ บล๊อก
ข้อความต่างๆและจากหนังสื อคู่มือการเรียนอีก
หลายเล่ม
ขอขอบพระคุณอาจารย์วิลาสิ ณีอย่างสู งที่
กรุณาตรวจ ให้คำแนะนำเพื่อแก้ไข ให้ข้อเสนอ
แนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวังว่ารายงาน
ฉ บั บ นี้ ค ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ที่ นำ ไ ป ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล
ตามความคาดหวัง นัขสัตทตวัิฒย นย์ุกมเาหศลช่นาย
CONTENT
ส่วนที่ 1
เเผนที่
อำ เ ภ อ จั ง ห วั ด ย ะ ล า
อำเภอ เมือง
อำ เ ภ อ ร า มั น
อำ เ ภ อ เ บ ต ง
อำ เ ภ อ ธ า ร โ ต
อำ เ ภ อ ก า บั ง
อำ เ ภ อ ย ะ ห า
อำ เ ภ อ ก ร ง ปิ นั ง
อำ เ ภ อ บั น นั ง ส ต า
ประวัติจังหวัดยะลา
ประวัติความเป็นมาของจังหวัด
ยะลา
คำว่า "ยะลา” มาจากภาษาพื้นเมือง
เดิมว่า "ยะลอ” ซึ่งแปลว่า "แห”
ตามประวัติตั้งแต่สมัย สุโขทัยถึง
ตอนต้นกรุงรัตนโกสิทร์นั้น
"เมืองยะลา” เป็นส่วนหนึ่งของ
เมืองมณฑลปัตตานี ต่อมาในรัช
สมัยของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
ได้ทรงโปรดเกล้าให้มีการปรับปรุง
การปกครองส่วนภูมิภาคใหม่
เป็นการปกครองแบบเทศาภิบาล
โดยออกประกาศข้อบังคับสำหรับ
การปกครอง 7 หัวเมือง ร.ศ.120
ซึ่งประกอบด้วย เมืองปัตตานี
หนองจิก ยะหริ่ง สายบุรียะลา
ระแงะ และเมืองรามัน
ตราสัญลักษณ์จังหวัดยะลา
คำขวัญจังหวัดยะลา
ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน
เพลงประจำ งามโอ้ยะลา จิตใจใฝ่
จังหวัดยะลา หายะลาเมืองแก้ว
งามผังเมืองงาม
สวยงามเพริศแพร้ว
สมเป็นเมืองแก้ว
อาจิณ
งามโอ้นิบง จิตใจ
ลุ่มหลงนิบงงามสิ้น
งามสาวนิบง ขอจง
ได้ยิน ทุกนางงาม
สิ้นตึงใน
บาโกยเหมือน
สวรรค์ หลักเมือง
นั้นงามกระไร
วัดถ้ำเพลินใจ และ
ยังอาลัยเขื่อนบาง
ลาง
งามโอ้ยะลา
ประเสริฐนักหนา
ประชาสรรค์สร้าง
งามทั้งน้ำใจ รักไม่จืดจาง เหลือเกินกล่าวอ้างคำชม