สถาปตั ยกรรมใน
ชมุ ชนหนองระบู
Infographic
Situation
Treatment สถาปตั ยกรรมในชมุ ชนหนองระบู
เปิดเรื่องด้วยภาพสถาปตั ยกรรมของตึก อาคาร บ้านเรือนทีโ่ ดดเด่น เปน็ แสดงถึงความ
เป็นเอกลักษณ์ที่ยังคงสภาพเดิมไว้ต้ังแต่อดีตจนมาจนถึงปจั จุบนั ซึง่ ส่วนใหญ่จะเปน็ บ้านที่ทำ�จาก
ไม้เก่าแก่
ภาพมาที่ภาพสถาปตั ยกรรมที่นิยมในอดีตทีย่ งั หลงเหลืออยู่ในหนองระบู ที่อาจจะมีการต่อเติม
ซ่อมแซมส่วนทีส่ ึกหรอไปบ้าง บทบรรยายถึงรปู แบบของบ้านไม้ที่มีเอกลกั ษณ์พร้อมท้ังภาพ
ประกอบ ของลวดลายกนั สาดที่ดูแปลกตา เสาหลักบ้านจะใช้ไม้ใหญ่หน้าต่างและประตูกท็ �ำ จาก
ไม้จริง ช่องลมที่แสดงถึงความเก่าแก่ของบ้าน และช่องระบายอากาศใต้ถนุ บ้านเพื่อให้อากาศ
ถ่ายเทได้ ซึง่ โดยรวมจะใช้ไม้เป็นหลักในการก่อสร้าง เปน็ ซึง่ แต่ละหลงั กจ็ ะมีลวดลายที่แตกต่าง
กันออกไป
ตดั มาทีภ่ าพสัมภาษณ์คุณป้าเพ็ญโฉม ที่ได้อาศัยอยู่บ้านไม้เรือนปนั้ หยามา 62 ปี จดุ เริม่
ต้น เกิดขึ้นจากว่า เจ้าของทีด่ ินขายที่ดินพร้อมบ้านในราคา 35,000 บาท และได้ประกอบการค้า
มาจนถึงปัจจบุ ัน ป้าเพ็ญโฉมได้บอกข้อมูลเกี่ยวกบั บ้านในหนองระบูว่า สมัยก่อนย่านนี้เปน็ บ้าน
ไม้ทั้งหมด เมื่อมีเริ่มมีการสร้างบ้านจากปูน กไ็ ด้สร้างความแปลกหูแปลกตาให้กบั ผู้คนอย่างมาก
บางคนก็รู้สึกไม่มั่นใจโครงสร้างของบ้านปูนเพราะยังไม่คุ้นเคยกับบ้านปนู มากนัก จนกระท่ังกลาย
เป็นที่นิยม ก็มีการสร้างบ้านปนู เพิม่ มากขึ้น เพราะบ้านไม้พังจึงได้สร้างบ้านปูนขึ้นมาแทนที่ อีกท้ัง
ในปัจจบุ ันไม้กเ็ ริม่ หายากขึ้นแล้ว ในอดีตไม่นิยมทาสีส่วนมกั จะทาแบบเคลือบเนื้อไม้เพือ่ ดึงความ
โดดเด่นของเนื้อไม้
ตัดมาที่ภาพรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของอาคารทีเ่ ป็นห้องแถวช้ันเดียว เรือนร้านค้า
สองช้ัน หลังคาทรงปัน้ หยาหรือมนิลา ประกอบกับบทบรรยาของลกั ษณะเรือนหลงั คาทรงป้นั
หยา เปน็ ประเภทของหลังคาที่ทกุ ด้านลาดไหลลงสู่ผนัง โดยมักมีความชนั ไหลเอียงเท่ากัน หลงั คา
ทรงป้ันหยาของบ้านทรงสีเ่ หลี่ยมผืนผ้า จะมีสามเหลีย่ ม 2 ด้าน และมีสีเ่ หลีย่ มคางหมู 2 ด้าน ซึ่ง
เกือบท้ังหมดจะต้องมีความลาดเอียงเดียวกัน เพื่อให้สมดลุ กนั หลงั คาทรงปน้ั หยาสามารถมีราง
ใต้รอบทุกด้านได้ นอกจากนี้หลงั คาทรงปั้นหยายังสามารถมีหน้าต่างยืน่ ออกมาจากหลังคาใน
ด้านที่ลาดเอียงได้ เปน็ เรือนดั้งเดิมของไทย เรือนร้านค้าสองชั้นก่อนยุค Modern และตึกแถวยุค
Modern หลังคา 15 องศา ส่วนมากจะสร้างบ้านแบบสไตบ์ไทยประยกุ ต์ ปจั จุบนั นี้ อาคารเรือน
แถวไม้ถกู รื้อถอนกลายเป็นบ้านตึกเข้ามาแทนที่ แทบจะไม่มีอะไรให้เหลือเพื่อการอนุรกั ษ์ย่านเก่า
เมืองเก่าพะเยา ความเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสทุนนิยม มีการต่อเติมบ้านเพือ่ ความม่นั คงของ
บ้าน บางหลังสร้างบ้านแบบยคุ สมัยใหม่เพื่ออยู่อาศัย แต่กย็ ังคงเกบ็ บ้านแบบเดิมเอาไว้ ทำ�ให้
เหลือเพียงแค่ความทรงจ�ำ เก่าๆให้คนเก่าๆระลึกถึงแค่น้ัน
เปลีย่ นมาเป็นภาพปัจจบุ นั ของย่านหนองระบู ทีม่ ีตึกอาคาร บ้านเรือนบางส่วนยังคง
สภาพเดิม มีเสริมสร้างเติมแต่งเพื่อความมน่ั คงบางส่วน รวมไปถึงแต่มีความเงียบเหงาของ
ชมุ ชน หลังจากทีผ่ ู้คนเริ่มรื้อถอนอาคารเรือนไม้ถูกกลายเปน็ บ้านตึกเข้ามาแทนที่ แทบจะไม่มี
อะไรให้เหลือเพือ่ การอนุรกั ษ์ย่านเก่าเมืองเก่าพะเยา ความเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสทุนนิยม
ทีม่ ีการรีโนเวทบ้านจากบ้านไม้กลายเป็นบ้านครึง่ ไม้ครึ่งปนู และในปจั จุบันกลายเปน็ บ้านปูนท้ัง
หลัง
เล่าถึงช่างฝีมือในอดีตส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นคนในพื้นที่หนองระบู แต่เปน็ ผู้รับเหมาก่อสร้าง
ในอ�ำ เภออืน่ เช่น บ้านหนองลาว อ.ดอกค�ำ ใต้ มีช่างฝีมือที่มีความช�ำ นาญเกีย่ วกบั ด้านไม้อยู่ใน
ย่านน้ันจำ�นวนมาก สร้างตามแบบทีเ่ จ้าของที่ดินวางแบบไว้ และชุมชนบ้านหนองลาวก็เป็นช่าง
ฝีมือทีย่ ังหลงเหลืออยู่
ความแตกต่างของบ้านไม้และบ้านปูน
ในอดีต
บ้านไม้ 1. บ้านไม้เหมาะสำ�หรับภูมิภาคบ้านเรา
2. ความแตกต่างคือวสั ดทุ ีใ่ ช้
3. ความคลาสิกดูเท่วินเทจ
4. นิยมการสร้างบ้านแบบไม้
5. อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่อึดอดั เวลาอยู่ภายในบ้าน
ปจั จบุ ัน
บ้านไม้ 1. บ้านไม้มีความพุพังตามกาลเวลา
2. วัสดทุ ี่ใช้มีราคาสูงเพิ่มขึ้น
3. ช่างฝีมือเริ่มหายากมากขึ้น
ในอดีต
บ้านปนู 1. ปูนซีเมนต์ไม่เปน็ ที่รู้จักของคนในพืน่ ที่
2. คนในยุคน้ันยงั ไม่นิยมสร้างบ้านปูน
3. คนในยุคนั้นเชื่อว่าปูนซีเมนต์มีโครงสร้างที่ไม่แข็งแรง
4. ปูนซีเมนต์มีราคาสงู
ปัจจบุ ัน
บ้านปูน 1. ปนู ซีเมนต์หาซื้อได้ง่ายและมีราคาทีส่ ามารถจบั ต้องได้
2. ปูนซีเมนต์ที่ความคงทนกว่าบ้านไม้
ข้อดีและข้อเสียของบ้านไม้และบ้านปูน 3.บ้านปนู สามารถปรบั ตวั กับสภาพอากาศ
ข้อดีของบ้านไม้ ร้อน อากาศเย็น เช่น กลางวันในหน้าร้อนบ้าน
ปูนจะอยู่เย็นสบายกว่าบ้านไม้ สามารถเก็บ
1.บ้านไม้มีความสวยงาม คลาสสิก ร่วมสมัยไม่ เสียง แถมยังป้องกันเสียงรบกวนจากภายนอก
ค่อยตกยคุ ตัวบ้านได้เป็นอย่างดี
2.มีความแขง็ แรง ทนทาน ว่ากนั ว่าบ้านไม้มี 4.บ้านปนู สามารถป้องกนั ฝุ่นละออง ควนั และ
ความทนต่อแรงแผ่นดินไหว กลิน่ ต่างๆไม่ให้เข้ามารบกวนคนในบ้านได้ดี
3.ง่ายต่อการรื้อถอน หรือ ปรับปรงุ ตกแต่ง
เพิม่ เติม หากจะสร้างใหม่ก็แค่รื้อของเดิมและนำ� ข้อเสียของบ้านปนู
กลบั มาใช้ใหม่ได้ 1.ส่วนใหญ่บ้านปนู จะมีปญั หาสีบ้านนานไปจะ
4.ให้ความรู้สึกบรรยากาศภายในบ้านเปน็ หมอง สีหลุดลอกร่อน ต้องหมนั่ บำ�รงุ รักษา
ธรรมชาติ สดชื่น เพราะสร้างจากไม้ 2.หากเกิดภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ส่วน
ใหญ่บ้านปนู จะเกิดผนงั แตกร้าวได้ง่ายกว่าบ้าน
ข้อเสียของบ้านไม้ ไม้
1.ไม่สามารถป้องกนั สภาพอากาศ เช่น อากาศ 3.มีกลิ่นอบั ชื้นได้ง่าย
ร้อน อากาศเยน็ ในแต่ละฤดไู ด้ดีเท่าที่ควร เช่น 4.บ้านปูนหากออกแบบไม่ดี และเลือกใช้โทนสี
ในหน้าร้อนบ้านไม้จะร้อนกว่าบ้านปูน ในหน้า ไม่เหมาะสมจะทำ�ให้บ้านดูมืดทึบ
หนาวบ้านไม้จะเยน็ กว่าเพราะลมหนาวจะลอด
ผ่านเข้ามาภายในตวั บ้าน
2.อาจมีพวกปลวก มด แมลง มากัดเนื้อไม้
ทำ�ให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำ�รงุ รกั ษาตลอด
3.ไม่สามารถป้องกันฝุ่น ควนั หรือกลิ่นต่างๆที่
จะเข้ามาในบ้านได้ดีเท่าที่ควร
4.หากสร้างบ้านโดยไม่ใช่ไม้เนื้อแข็ง ในระยะ
ยาวอาจส่งผลให้ไม้ขาดความแข็งแรงแตกหักได้
ปจั จุบันไม้มีราคาสูง อาจท�ำ ให้เสียงบประมาณ
ในการสร้างบ้านเพิ่มมากขึ้น
ข้อดีของบ้านปูน
1.บ้านปูนในปัจจุบนั มีให้เลือกมากมายหลาย
แบบ สามารถออกแบบและตกแต่งได้ตามชอบ
2.ผลิตภณั ฑ์และชนิดของปนู ในท้องตลาด
ปจั จบุ นั มีให้เลือกหลากหลาย และราคาไม่แพง
จนเกินไป
สถาปัตยกรรมในชมุ ชนหนองระบู
หนองระบู ชุมชนเก่าแก่ในเมืองพะเยา ย่านหนองระบู ชุมชนคนจีนไหหล�ำ ในเมืองพะเยา
มีสถาปตั ยกรรมของตึก อาคาร บ้านเรือนที่โดดเด่น เปน็ เอกลักษณ์และยังคงสภาพเดิมไว้ต้ังแต่
อดีตจนมาจนถึงปัจจบุ นั
ในอดีตส่วนใหญ่จะเปน็ บ้านทีท่ ำ�จากไม้เก่าแก่ แม้ในปจั จุบัน มีบางส่วนจะมีการต่อเติม
ส่วนที่สึกหรอไปบ้าง แต่กย็ งั มีการตกแต่งภายในที่ใช้เครือ่ งประดบั จากเครือ่ งใช้ไฟฟ้าโบราณที่ไม่
สามารถใช้งานได้แล้ว ผลิตภัณฑ์เก่าแก่คงอยู่ ทำ�ให้มีความคลาสสิก เมือ่ พบเหน็ แล้วทำ�ให้รู้สึก
ย้อนเวลาไปในยคุ สมัยก่อน ยกตวั อย่างเช่น ร้านค้า ร้านตดั ผม ทีย่ ังมีอปุ กรณ์เครื่องใช้เก่าแก่
ที่ยงั สามารถใช้งานได้ แต่หายากแล้วในปจั จุบนั รปู แบบของบ้านไม้ที่มีเอกลกั ษณ์ ไม่ว่าจะเปน็
ลวดลายกันสาดทีด่ ูแปลกตา เสาหลกั บ้านจะใช้ไม้ใหญ่หน้าต่างและประตูก็ทำ�จากไม้จริง โดย
รวมก็คือ ใช้ไม้เป็นหลักในการก่อสร้าง เปน็ ซึง่ แต่ละหลังก็จะมีลวดลายที่แตกต่างกันออกไป ต่อ
มาภายหลงั เมือ่ เศรษฐกิจการค้าขยายตวั จึงมีพ่อค้าแม่ค้านายทุนบางรายได้สร้างอาคารเรือน
แถวไม้ขึ้นมาให้คนเช่าเพื่ออยู่อาศัยและท�ำ การค้า แต่ส่วนหนึง่ สร้างเป็นร้านค้าของตวั เอง
รูปแบบทางสถาปตั ยกรรมของอาคารที่พบเหน็ ห้องแถวช้ันเดียว เรือนร้านค้าสองชั้น
หลังคาทรงปนั้ หยาหรือมนิลา ลักษณะของเรือนทีม่ ีลักษณะเด่นเป็นหลงั คา ต่างจากเรือนดั้งเดิม
ของไทย เรือนร้านค้าสองช้ันก่อนยุค Modern และตึกแถวยคุ Modern หลังคา 15 องศา ซึ่งทรง
Modern มีลักษณะรูปตัวแอล (L) เน้นความทนั สมัยในการประยุกต์ใช้วสั ดุสมยั ใหม่ในการตกแต่ง
และเน้นรูปทรงทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์ส่วนมากจะสร้างบ้านแบบสไตล์จีนประยุกต์ ปจั จบุ นั นี้ อาคาร
เรือนแถวไม้ถกู รื้อถอนกลายเป็นบ้านตึกเข้ามาแทนที่ แทบจะไม่มีอะไรให้เหลือเพื่อการอนรุ ักษ์
ย่านเก่าเมืองเก่าพะเยา ความเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสทุนนิยม มีการต่อเติมบ้านเพือ่ ความ
มั่นคงของบ้าน บางหลังสร้างบ้านแบบยคุ สมยั ใหม่เพือ่ อยู่อาศยั แต่กย็ งั คงเก็บบ้านแบบเดิมเอาไว้
ทำ�ให้เหลือเพียงแค่ความทรงจำ�เก่าๆให้คนเก่าๆระลึกถึงแค่นั้น
จัดทำ�โดย
นางสาว ณิชกลุ เขียวเครือ 61075324 เลขที่ 7 sec.1
นางสาว อพิชญา ฤทธิค์ ำ� 61075346 เลขที่ 16 sec.1
นางสาวปิยะธิดา โนรินทร์ 61075330 เลขที่9 sec.2
นายภาณุพัตน์ ทองดวง 61075335 เลขที1่ 1 sec.2
นิสิตช้ันปีที่ 2 กลุ่ม สถาปตั ยกรรมในชมุ ชนหนองระบู
อาจารย์ผู้สอน
ผศ.ดร.ภัทรา บรุ ารกั ษ์
สาขาวิชาการสือ่ สารสือ่ ใหม่ มหาวิทยาลยั พะเยา