The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Sar 2564 โรงเรียนวัดพระะธาตุน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorawich.pw, 2022-05-20 00:52:59

Sar 2564 โรงเรียนวัดพระะธาตุน้อย

Sar 2564 โรงเรียนวัดพระะธาตุน้อย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปกี ารศึกษา 2564

สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีการศึกษา 2564 สถานศึกษามีภาระหน้าที่จะต้องดาเนิน การ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่กาหนดไว้ชัดเจนในมาตรา 48 ให้สถานศึกษา มีการจัดทา
รายงานพฒั นาคุณภาพเสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัดเป็นประจาทกุ ปี ดังนั้นโรงเรียนวัดพระธาตุน้อยจึงได้ดาเนินการ
ประชุมหารือคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู ตลอดได้แนวปฏิบัติ พร้อมทั้งได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูล
ผลงาน ซึ่งทางโรงเรียนได้ดาเนินกิจกรรม ตามสาระ การเรียนรู้ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุก
ชั้นในรอบปีการศึกษา การจัดทารายงานประจาปีของ สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบและผ่านความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษาเปน็ ท่ีเรยี บร้อยแลว้

…………………………….

( นายพวน สขี า )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรยี นวดั พระธาตุนอ้ ย

วันท่ี 29 เมษายน 2565

คานา

รายงานการประเมินตนเองตนเองของสถานศึกษา เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาท่ีสะท้อนผลการ
พัฒนาการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการศึกษาปฐมวัย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ฉบับที่ 2 ได้
กาหนดความมุ่งหมายและหลักการในด้าน คุณภาพการศึกษาตามหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศึกษา มาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
และถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่าง
ต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และเปิดเผย ต่อ
สาธารณชน เพื่อนาไปสูก่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพอื่ รองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนวดั พระธาตนุ อ้ ยจัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปีข้ึน โดยแต่งตั้งคณะทางาน ประเมินผล
การดาเนนิ งานของโรงเรียนในรอบปีท่ีผ่านมา ตามมาตรฐานและค่าเปา้ หมายท่ีต้ังไว้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อสรุปจาก
การนาเสนอในการประเมินตนเอง จะเป็นสารสนเทศที่สถานศึกษาจะนาไปพัฒนาสถานศึกษาให้ได้คุณภาพตาม
มาตรฐานและดยี ิ่งขึน้

........................................

(นางสาวจฑุ ามาศ ดอกเกยี ง)

ครรู ักษาการในตาแหนง่
ผู้อานวยการโรงเรียนวดั พระธาตนุ ้อย

สารบญั หน้า

คานา 1
สารบญั
ส่วนที่ 1 บทสรปุ ของผู้บรหิ าร 1
1
ตอนที่ 1 ข้อมลู พนื้ ฐาน
ตอนที่ 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 3

ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 3
6
1. ขอ้ มลู พนื้ ฐาน 8
2. ขอ้ มลู พ้ืนฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 11
3. ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา 14
4. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รยี น 14
5. นวตั กรรม/แบบอย่างท่ดี ี (Innovation/Best Practice) 15
6. รางวลั ที่สถานศกึ ษาไดร้ ับ 15
7. ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ ารและนโยบายสพป.ตาก เขต 1 15
8. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ ่านมา 16
9. หน่วยงานภายนอกทีโ่ รงเรยี นเขา้ ร่วมเปน็ สมาชกิ 16
สว่ นท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 33
1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน 36
2. สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 37
3. จดุ เด่น 38
4. จุดควรพฒั นา 38
5. แนวทางการพัฒนา 38
6. ความตอ้ งการชว่ ยเหลือ 39
7. ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ถา้ ม)ี 42
มาตรฐานด้านผ้เู รยี นของโรงเรยี นบา้ นหนองชะลาบ
ภาคผนวก

1

ส่วนที่ 1
บทสรปุ ของผ้บู ริหาร

ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐาน
โรงเรียน วัดพระธาตุนอ้ ย รหสั 1063160062 ทีต่ ั้งเลขท่ี - หมู่ 3 แขวง/ตาบลตากตก

เขต/อาเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทรศัพท์ 082-2280015
โทรสาร - email : [email protected] website http://63101350.thaischool.in.th/
ไดร้ ับอนุญาตจดั ตั้งเม่ือ เปดิ สอนระดับ อนุบาล 1 ถึงระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวนนักเรียน 30 คน จานวน
บคุ ลากรโรงเรยี น 6 คน

ตอนที่ 2 การนาเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
ระดับปฐมวัย

1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
2) หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ

2.1 แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
2.2 แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีของสถานศึกษา
2.3 สารสนเทศของสถานศกึ ษา
2.4 ปฏทิ ินปฏบิ ตั ิงานประจาปี
2.5 ภาระงานของฝ่ายตา่ ง ๆ
2.6 สรุปผลการดาเนนิ งานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3) โรงเรียนมีแผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอยา่ งไรใหไ้ ด้ระดบั คณุ ภาพทด่ี ขี น้ึ กวา่ เดมิ 1 ระดับ
3.1แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี1 (ด้านผู้เรียน)

3.1.1 เข้าร่วมโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยแห่งประเทศไทย เพื่อให้เด็กมีทักษะกระบวน
การทางคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ คดิ วเิ คราะห์และสืบเสาะหาคาตอบไดเ้ หมาะสมตามวัย
3.2 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 2 (ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ)

3.2.1 สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครือข่าย เพ่ือการพัฒนาคุณภาพ
ทางการศึกษา

3.2.2 ส่งเสริมให้บุคลากรครูเข้ารับการอบรมตรงตามวิชาที่สอน และความถนัด เพ่ือพัฒนา
ตนเองด้านความรคู้ วามสามารถ

3.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยให้
บุคลากรทุกฝ่ายตระหนัก และมีส่วนร่วม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบการประกันคุณภาพ
ภายใน
3.3 แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 3 (ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ)

2

3.3.1 ส่งเสริมให้ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือยกระดับ
คณุ ภาพทางการศกึ ษา เช่น สะเตม็ ศกึ ษา โครงงาน Active Learning เปน็ ตน้
4) นวัตกรรม/แบบอย่างท่ีดี
4.1 ครเู ขา้ รบั การอบรมพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ
4.2 ผู้บริหารใหค้ วามสาคัญกับการจดั การศกึ ษาปฐมวัย
4.3 ครูร่วมกนั สร้างสอื่ นวตั กรรมทนี่ ามาใช้ในการพัฒนาทักษะของเด็ก
5) ความโดดเด่นของสถานศึกษา
5.1 เปน็ โรงเรยี นใกล้บา้ นสะดวกตอ่ การเดินทาง
5.2 ครเู ข้าถงึ เด็กทุกคน ศึกษาพฤติกรรมเด็กเป็นรายบุคคล
5.3 ได้รับการดแู ลช่วยเหลอื เป็นอย่างดจี ากผ้ปู กครอง ชาวบา้ น ในชุมชนในการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ
ของโรงเรียน
6) โรงเรียนได้ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 เขา้ รว่ มกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตรน์ อ้ ยประเทศไทย
6.2 เขา้ รว่ มกิจกรรมโรงเรียนคุณธรรม
6.3 การจดั การเรียนการสอนทสี่ ่งเสริมการคิดวเิ คราะห์ด้วยวธิ ีการ Active Learning

ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
1) มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
2) หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ
2.1 แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
2.2 แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา
2.3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2.4 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมของสถานศกึ ษา
2.5 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
3) โรงเรยี นมแี ผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอย่างไรใหไ้ ด้ระดบั คณุ ภาพทดี่ ีขน้ึ กวา่ เดิม 1 ระดับ
3.1 แผนปฏบิ ัติงานท่ี 1 การนิเทศภายใน เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพครู
3.2 แผนปฏิบัติงานท่ี 2 การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริม
การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ แบบ Active Learning เรียนรู้กระบวนการกลุ่ม การ
แลกเปลย่ี น เรียนรู้ และการอยูร่ ว่ มกับผอู้ ่นื
3.3 แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 3 การพัฒนาบุคลากร เพ่ือพฒั นาตนเองด้านความรู้ความสามารถ
4) นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ีดี
4.1 การจดั การเรียนการสอนท่เี น้นใหผ้ ูเ้ รยี นมพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา
4.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณโ์ ดยตรง โดยการจดั การเรยี นการสอน Active learning
4.3 แบบอยา่ งทีด่ ดี า้ นครูมคี วามมุ่งม่ันในการพฒั นาตนเอง อุทศิ ตน เสียสละเพื่อองค์กร

3

5) ความโดดเด่นของสถานศึกษา
5.1 ส่งเสรมิ ความสัมพันธ์และความร่วมมอื กับชุมชน
5.2 จดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตของผเู้ รียน
5.3 มสี ภาพแวดลอ้ มร่มรื่น เหมาะเป็นแหล่งเรยี นรภู้ ายนอกหอ้ งเรยี นท่หี ลากหลาย

6) โรงเรยี นได้ดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 การจดั การศึกษาเพ่ือความปลอดภัย
6.2 การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
6.3 การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะอาชีพและเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน

ลงนาม....................................................(ครูรักษาการโรงเรยี นวัดพระธาตนุ ้อย)
(นางสาวจฑุ ามาศ ดอกเกยี ง)

วัน......29..........เดือน....เมษายน........พ.ศ…2565…

4

ส่วนที่ 2
ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

1. ข้อมูลพืน้ ฐาน
1.1 โรงเรยี น วดั พระธาตนุ อ้ ย รหสั โรงเรียน 1063160062
ทีต่ ั้งเลขท.่ี ......หมู่...3..... แขวง/ตาบล....................ตากตก......................เขต/อาเภอ...........บ้านตาก………………
จงั หวัด.........ตาก......... สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตากเขต 1 โทรศัพท์ 082-2280015
โทรสาร.....-.......email…………[email protected] http://63101350.thaischool.in.th/
ได้รับอนุญาตจัดต้ังเม่ือ.......-........ปี พ.ศ. 2478..............เปิดสอนระดับชั้น.............อนุบาล....................ถึง
ระดับช้ัน.........ประถมศึกษาปที ่ี 6.......................จานวนนกั เรยี น 30 คน จานวนบคุ ลากรโรงเรยี น 6 คน
การจดั การเรยี นการสอน
 ปกติ (สามัญศึกษา)
 English Program ได้รับอนุญาตเม่ือ......................................................................................
 อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ...................................................................................................................

1.2 จานวนหอ้ งเรยี น/ผู้เรยี นจาแนกตามระดบั ทเี่ ปิดสอน

ระดับที่เปิดสอน จานวนหอ้ งเรียน จานวนผเู้ รยี น จานวนผู้เรียนท่มี ี รวมจานวน
ปกติ ความต้องการ ผู้เรยี น
เตรยี มอนุบาล หอ้ งเรียนปกติ ห้องเรียน EP
ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา - - ชาย หญงิ พิเศษ -
อนุบาลปีที่ 1 -- ชาย หญงิ
อนบุ าลปีที่ 2 1 - --
อนุบาลปที ่ี 3 1 -
1 - 21- - 3
รวม 3 - 31- - 4
ระดบั ประถมศกึ ษา 1- - - 1
ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 - 62- - 8
ประถมศึกษาปที ่ี 2 1 -
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 1 - 12- - 3
ประถมศึกษาปีที่ 4 1 - 1- - - 1
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 1 - 2- - - 2
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1 - 42- - 6
33- - 6
4- - - 4

5

รวม 6 - 15 7 - - 22

รวม 9 - 21 9 - - 30

รวมท้ังสิน้ 9 - 21 9 - - 30

1.3 จานวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1.3.1 สรุปจานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จาแนกวุฒกิ ารศกึ ษาและประเภท/ตาแหน่ง

ประเภท/ตาแหน่ง จานวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา รวม
ต่ากวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก
1. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 1
- ผอู้ านวยการ 1 2
- รอง/ผู้อานวยการ 1
11 1
รวม 1
2. ครรู ะดบั ปฐมวัย 1 5
1
- ครูบรรจุ 41 1
- ครตู า่ งชาติ 1 6
3. ครูระดบั ขน้ั พนื้ ฐาน
- ครบู รรจุ 1-
- ครูพนักงานราชการ 51
- ครอู ตั ราจา้ งงบประมาณสพป.ตาก 1
- ครอู ตั ราจ้างโรงเรียนจา้ ง
- ครูพี่เลย้ี งเดก็ พกิ ารเรียนรว่ ม
- ครูอัตราจ้างเจา้ ที่ วทิ ย์ , คณติ
- อ่นื ๆ
รวม
4. บคุ ลากรทางการศึกษา
- เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ
- นักการภารโรง
5.อนื่ ๆ (ระบุ)...
รวม
รวมท้ังสน้ิ

สรปุ อัตราสว่ น
ระดับปฐมวยั
จานวนผูเ้ รียนตอ่ ครู 8. : 1
จานวนผู้เรยี นต่อหอ้ ง 8. : 1

6

ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
ระดบั ประถมศกึ ษา
จานวนผ้เู รียนต่อครู 4. : 1.
จานวนผู้เรยี นตอ่ หอ้ ง 4. : 1

1.3.2 สรปุ จานวนครูผสู้ อน จาแนกตามระดบั และกลุม่ สาระการเรียนรู้

กรณที ่ี 1 ครูสอนหลายระดบั ชัน้ ให้กรอกขอ้ มูลในระดบั ทม่ี ีจานวนชว่ั โมงสอนมากทส่ี ดุ
กรณที ี่ 2 ครทู ี่จบวชิ าเอกการประถมศกึ ษาถือวา่ ตรงเอกสามารถสอนไดใ้ นทุกวิชา ในระดบั ประถมศกึ ษา

ระดบั /กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปฐมวัย จานวนครูผสู้ อน มธั ยมศึกษาตน้
ประถมศกึ ษา
ปฐมวยั ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไมต่ รงเอก
ภาษาไทย ตรงเอก ไมต่ รงเอก
คณิตศาสตร์ 1
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2
สงั คมศึกษา ศาสนา 1 1
วัฒนธรรม
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1
ศลิ ปะ
การงานอาชีพ 1
ภาษาต่างประเทศ 5

รวม

1.3.3 สรปุ จานวนครูผ้สู อนกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน จานวนครูผสู้ อน

 กิจกรรมนักเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
- ลกู เสือ
- เนตรนารี 2-
- ยวุ กาชาด --
- ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ 1-
- กจิ กรรมชุมนุม ชมรม --
1-

- อนื่ ๆ...ใหร้ ะบุ 7
 กิจกรรมแนะแนว
 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ --
1-
--

1.3.4 สรุปจานวนครแู ละบุคลากรทางการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บาเพ็ญประโยชน์

ลูกเสือ/เนตรนารี จานวน จานวนวฒุ ิทางลูกเสอื การจดั ต้งั กองลกู เสือ
/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ผู้บงั คับบญั ชา มวี ฒุ ิ ไม่มีวุฒิ จัดตั้ง ไม่จดั ตงั้
ลกู เสอื เนตรนารี สารอง 1
ลูกเสอื เนตรนารี สามัญ 1 1
ลูกเสือ เนตรนารี สามญั รนุ่ 1 1 1
ใหญ่
ยุวกาชาด 1 1 1
ผู้บาเพ็ญประโยชน์
3 21 3-
รวม

1.3.5 สรุปจานวนครูทท่ี าหนา้ ที่คัดกรอง และนักเรียนทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
(กรณโี รงเรียนมีนักเรียนพเิ ศษเรียนรว่ ม)

จานวนครูท่ีทาหนา้ ทคี่ ดั กรอง จานวนนักเรยี นทมี่ ีความต้องการ

ครทู ี่ไดร้ บั การขึน้ ทะเบียน พิเศษ
เปน็ ผู้คดั กรองของกระทรวงศึกษาธิการ
ครทู ม่ี วี ุฒทิ าง ทัง้ หมด ขึน้ ไมข่ นึ้
-- การศึกษาพเิ ศษ ทะเบียน ทะเบียน

- - --

1.3.6 สรุปจานวนครูท่ีเขา้ รบั การอบรมเกย่ี วกับโรงเรยี นคณุ ธรรม

ปี พ.ศ......... หน่วยงานทเ่ี ข้ารบั การอบรม จานวนครูท่ีเขา้ รับ
- - การอบรม

-

8

2. ข้อมูลพืน้ ฐานแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

ปรัชญา การพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
วิสัยทศั น์
พันธกิจ -

เป้าหมาย โรงเรียนวดั พระธาตนุ ้อย จะดาเนนิ การพัฒนานักเรียนใหอ้ า่ นออก เขยี นไดม้ คี ุณภาพตาม
มาตรฐาน มีคุณธรรม รเู้ ทา่ ทนั ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี เพ่ือใหส้ ามารถดารงชวี ิตอยู่
ยทุ ธศาสตร์หรอื กลยุทธ์ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. จดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหท้ ่วั ถึงโดยพัฒนาผ้เู รยี นให้เป็นคนดี เกง่ มคี วามสุข
เอกลักษณ์ 2. จดั การศกึ ษาโดยยึดผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
อตั ลกั ษณ์ 3. พัฒนาศกั ยภาพของครผู ู้สอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
4. สรา้ งบรรยากาศทดี่ ี เออ้ื ตอ่ การเรยี นรูข้ องผู้เรยี น
5. สรา้ งระบบการบรหิ ารจดั การทดี่ มี าใช้
6. ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
1. นักเรยี นทกุ คนมโี อกาสได้รับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานและไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพให้เปน็ คน

ดี เก่งและมีความสุข
2. ครทู ุกคนจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยยดึ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
3. ครทู ุกคนไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพของตนเองใหป้ ฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เป็นที่

ยอมรับของชุมชน
4. โรงเรียนมสี ภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสม เอื้อตอ่ การเรยี นรู้
5. ผู้บรหิ ารสามารถบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ บรรลตุ าม

วัตถปุ ระสงคท์ ีว่ างไว้
6. โรงเรยี นได้รบั ความรว่ มมืออย่างดีจากชมุ ชน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 (Strategic Goal 1) พัฒนานักเรียนให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีทกั ษะการ
คิดวเิ คราะห์ และมคี ณุ ลักษณะตามมาตรฐานการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 (Strategic Goal 2) จดั ระบบการบรหิ ารจัดการแบบมสี ่วนร่วม
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 (Strategic Goal 3) พฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถในวชิ าชพี
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 (Strategic Goal 4) พัฒนาหลกั สตู ร และจัดกระบวนการเรยี นการสอนท่ี
เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
ยุทธศาสตร์ที่ 5 (Strategic Goal 5) นานวตั กรรมและเทคโนโลยีทที่ ันสมยั มาใชใ้ นการ
บรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นการสอน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 (Strategic Goal 6) สรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธใ์ หช้ มุ ชนเข้ามามีส่วนร่วม
และสนบั สนนุ ในการพัฒนาการศกึ ษา
สามัคคี คือ พลัง

มารยาทดี มีวนิ ยั

9

3. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปขี องสถานศึกษา

ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ผลสาเรจ็ ***
ตามแผนฯของ สอดคล้องกับ
โครงการ ปรมิ าณ ปริมาณ มาตรฐาน ตัวช้ีวดั ประเด็น
โรงเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) การศกึ ษา การตดิ ตาม
ประเมนิ ผลของ
คุณภาพ(อธิบาย) คณุ ภาพ(อธบิ าย) ของ กระทรวง
สถานศึกษา ศึกษาธกิ าร

ระดับปฐมวยั

ยุทธศาสตร์ 1. โครงการ 80 เด็กมพัฒนาการด้าน 90 เด็กมีพฒั นาการ มาตรฐานท่ี 1 จัดการศึกษาทกุ

ท1่ี สง่ เสริม อารมณ์จิตใจควบคุม ดา้ นอารมณ์จติ ใจ มาตรฐานท่ี 3 ระดบั ทกุ ประเภท

พัฒนานักเรียน คณุ ธรรม และแสดงออกทาง ควบคุมและแสดง โดยใชหลักสูตร

ให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม อารมณไ์ ด้ ปฏบิ ัติตน ออกทางอารมณไ์ ด้ ฐานสมรรถนะ
จริยธรรมมี นักเรยี น
ตามหลกั ศาสนาและ ปฏิบตั ติ นตามหลกั รวมทง้ั แนวทาง

ทักษะการคิด ประเพณีไทย อยใู่ น ศาสนาและประ การจัดการเรยี นรู

วิเคราะหแ์ ละมี ระดับ ดีเลิศ เพณไี ทยอยใู น เชงิ รกุ และการวดั

คุณลักษณะ ระดบั ยอดเยย่ี ม ประเมนิ ผลเพือ่

ตามมาตรฐาน พัฒนาผูเรยี น ที่

การศึกษา สอดคลองกับมา

ฐานการศึกษา

แห่งชาติ

2. โครงการ 80 เด็กมีหนักและสว่ นสงู 90 เดก็ มีหนักและ มาตรฐานที่ 1 พัฒนาผู้เรียนใหมี

เสรมิ สรา้ ง เปน็ ไปตามเกณฑ สว่ นสูงเป็นไปตาม ความรอบรแู ละ
สขุ ภาพ
อนามยั มาตรฐาน เคร่ืองไหว เกณฑมาตรฐาน ทกั ษะชวี ติ เพอื่
นักเรยี น
รา่ งกายคลองแคลว เคร่อื งไหวรา่ งกาย เป็นเครอ่ื งมอื ใน

ทรงตัวได้ดี ดแู ล คลองแคลว ทรงตัว การดารงชีวติ และ

รกั ษาสุขอนามยั ได้ดี ดแู ลรกั ษา สรา้ งอาชพี อาทิ

สวนตนและ ปฏบิ ตั ิ สขุ อนามัยสว่ นตน การใชเทคโนโลยี

จนเปน็ นิสยั ใชมอื และ ปฏิบตั จิ นเป็น ดิจทิ ัล สขุ ภาวะ

และตาประสานกันได นสิ ัย ใชมอื และตา และทศั นคติท่ีดี

ดี เปา้ หมายอยใู น ประสานกันไดดี ตอการดแู ล

ระดบั ดีเลิศ เปา้ หมายอยใู น สุขภาพ

ระดับ ดเี ลศิ

ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการ 80 เดก็ มพัฒนาการด้าน 90 เด็กมีพฒั นาการ มาตรฐานที่ 1 จัดการศกึ ษาทกุ

ท่ี 1 ส่งเสริม อารมณ์จติ ใจควบคมุ ดา้ นอารมณ์จติ ใจ ระดบั ทกุ ประเภท
คุณธรรม
พัฒนานกั เรียน จริยธรรม และแสดงออกทาง ควบคุมและแสดง โดยใชหลักสตู ร
ใหม้ คี ณุ ธรรม นักเรียน
จริยธรรมมี อารมณ์ได้ ปฏบิ ตั ิตน ออกทางอารมณไ์ ด้ ฐานสมรรถนะ
ทกั ษะการคดิ
ตามหลกั ศาสนาและ ปฏิบัตติ นตามหลกั รวมทง้ั แนวทาง

ประเพณไี ทย ศาสนาและประ การจดั การเรยี นรู

เพณไี ทย เชิงรกุ และการวดั

วิเคราะหแ์ ละมี 10
คุณลักษณะ
ตามมาตรฐาน ประเมินผลเพือ่
การศกึ ษา พฒั นาผูเรยี น ท่ี
สอดคลองกับมา
ฐานการศึกษา
แหง่ ชาติ

2. โครงการ 80 ผ้เู รยี นปอ้ งกันตนเอง 95 ผเู้ รยี นรอ้ ยละ95 มาตรฐานท่ี 1 พัฒนาผู้เรียนใหมี
ป้องกันและ สามารถปอ้ งกัน ความรอบรแู ละ
แกไ้ ขปญั หา จากสิ่งเสพติดใหโ้ ทษ ตนเองจากส่งิ เสพ ทักษะชีวติ เพอ่ื
ยาเสพตดิ และหลีกเล่ยี งตนเอง ติดให้โทษและ เป็นเครื่องมือใน
จากสภาวะท่เี สยี งตอ่ หลีกเล่ียงตนเอง การดารงชีวิตและ
3. โครงการ ความรนุ แรง โรค ภยั จากสภาวะทเี่ สยี ง สร้างอาชีพ อาทิ
เสรมิ สรา้ ง อบุ ตั ิเหตุ และปัญหา ตอ่ ความรนุ แรง การใชเทคโนโลยี
สุขภาพ ทางเพศ โรค ภัย อบุ ตั เิ หตุ ดจิ ิทลั สุขภาวะ
อนามัย และปัญหาทางเพศ และทัศนคตทิ ด่ี ี
นักเรียน ตอการดูแล
80 ผเู้ รียนรกั ษาสุขภาพ 90 ผเู้ รียนรอยละ 90 มาตรฐานที่ 1 สขุ ภาพ
1. โครงการ พฒั นาผูเรยี นใหมี
จดั ทาแผน กาย สุขภาพจิต รักษาสุขภาพกาย ความรอบรแู ละ
การใชเ้ งนิ อารมณ สังคมและ สุขภาพจิต อารมณ ทกั ษะชวี ิต เพื่อ
งบประมาณ แสดงออกได้อยา่ ง สงั คมและแสดง เปนเครอื่ งมอื ใน
ปีงบประมา เหมาะสม สามารถ ออกไดอยา่ ง การดารงชวี ิตและ
ณ 2565 อยร่ ่วมกบั คนอ่นื ได้ เหมาะสม สามารถ สรางอาชพี การใช
อย่างมีความสขุ อยูร่ ว่ มกนั กบั คน เทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั
อน่ื ได้อย่างมี สขุ ภาวะและ
ความสขุ ทศั นคติทีด่ ตี อการ
ดแู ลสขุ ภาพ
ยุทธศาสตร์ ผู้ ระดบั คณุ ภาพของ ผู้ สถานศึกษามกี าร มาตรฐานที่ 2 สงเสรมิ การพฒั นา
ท่ี 2 บริหาร สถานศึกษาที่มกี าร บริหาร บรหิ ารจัดการ กรอบหลักสตู ร
คณะครู บรหิ ารจดั การ คณะครู เก่ียวกบั งานวิชา ระดบั ทองถิน่ และ
จดั ระบบการ เกี่ยวกบั งานวิชาการ การ การพฒั นา หลักสูตร
บรหิ ารจดั การ การพฒั นาหลกั สตู ร หลักสตู รสถาน สถานศกึ ษาตาม
แบบมสี ว่ นร่วม สถานศึกษา จัด ศึกษา จัดกจิ กรรม ความตองการจา
กจิ กรรมเสริม เสริมหลักสตู รท่ี เปนของกลุมเปา
หลกั สูตรท่ีเนนคุณ เน้นคุณภาพผูเรียน หมายและ แตก
ภาพผเู รยี นรอบ รอบดานเชื่อม โยง ตางหลากหลาย
ดา้ น เช่อื มโยงวถิ ีชวี ติ วถิ ีชวี ติ จริงและ ตามบรบิ ทของ
จริงและครอบคลมุ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ พื้นท่ี
ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย อยใู น
อยู่ในระดบั ดี ระดับดี

11

ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการ 85 ครูสรางโอกาสใหเด็ก 95 ครสู รางโอกาสให มาตรฐานท่ี 1 พฒั นาครใู หมี
เด็กไดรับประสบ มาตรฐานท่ี 3 ทกั ษะ ความรู
ที่ 3 นเิ ทศภายใน ไดรบั ประสบการณ ผู้ การณตรง เลนและ และความชานาญ
ตรง เลนและปฏิบตั ิ บริหาร ปฏิบตั ิอยางมีความ มาตรฐานที่ 2 ในการใช
พัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่ม อยางมคี วามสุข ให คณะครู สุข เด็กมโี อกาส เทคโนโลยดี จิ ิทลั
ใหม้ ีความรู้ ประสิทธภิ า เด็กมโี อกาสเลือกทา เลือกทากจิ กรรม ปญญาประดษิ ฐ
ความสามารถ พครู กิจกรรมตามความต นัก ตามความตองการ และภาษาองั กฤษ
ในวชิ าชีพ องการ ความสนใจ เรียน ความสนใจ ความ รวมท้งั การจดั การ
ทกุ คน สามารถตอบสนอง เรยี น การสอน
ความสามารถ อยใู น ตอวิธกี ารเรียนรู เพอ่ื ฝกทักษะการ
ของเด็กหลาก คดิ วิเคราะห
ระดบั ดีเลศิ หลายรูปแบบ จาก อยางเปนระบบ
แหลงเรียนรทู ี และมีเหตผุ ล
ยุทธศาสตร์ 1. โครงการ ผู้ สถานศึกษา มี หลากหลาย เด็กได เปนขน้ั ตอน
ที่ 4 พฒั นาการ บรหิ าร หลักสูตร ทถ่ี ูกตอ้ ง มี เลือกเลน เรยี นรู
จดั ทา คณะครู ประสทธิ ภาพเกดิ ลงมือกระทาดวย ส่งเสริมการพฒั นา
พฒั นาหลกั หลกั สตู ร ประโยชน์ กับผเู้ รียน ตนเอง อยใู นระดับ กรอบหลักสตู ร
สตู รและจดั สถานศกึ ษา นกั ดเี ลิศ ระดบั ทอ้ งถนิ่ และ
กระบวนการ เรยี น มสี ว่ น ร่วมและ พึง หลักสตู ร
เรียนการสอน ทกุ คน พอใจ ในการ จดั ทา สถานศกึ ษาตาม
ท่เี นน้ ผู้เรยี น หลกั สตู รสถาน ความต้องการ
เป็นสาคญั ศกึ ษา จาเปน็ ของ
กลุ่มเป้าหมายและ
2. โครงการ คณะ สถานศึกษา มี คณะ มีส่วน ร่วมใน การ มาตรฐานท่ี 1 แตกตา่ ง
ยกระดับ ครทู ุก ผลสัมฤทธิ์ ทางการ หลากหลายตาม
ผลสัมฤทธิ์ คน เรยี นดีข้ึน ครทู ุก ยกระดบั มาตรฐานที่ 3 บริบทของพ้นื ที่
ทางการเรยี น จัดการศึกษาทกุ
และเน้น คน ผลสัมฤทธทิ์ างการ ระดับ ทุกประเภท
ผูเ้ รยี นเป็น เรยี นดขี ้นึ โดยใชหลักสตู ร
สาคัญ ฐานสมรรถนะ
รวมทง้ั แนวทาง
การจัดการเรยี นรู
เชงิ รุกและการวัด
ประเมินผลเพือ่
พัฒนาผูเรยี น ที่
สอดคลองกับมา
ฐานการศึกษา
แหง่ ชาติ

12

ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการ 80 ระดับคุณภาพของ 82 ระดบั คณุ ภาพของ มาตรฐานที่ 1 พฒั นาแพลต
ที่ 5 การปรบั ปรุง สถานศึกษาทีจ่ ัดหา สถานศกึ ษาทจี่ ัดหา มาตรฐานท่ี 2 ฟอรมดจิ ทิ ัลเพ่ือ
ระบบข้อมลู ผู้ พัฒนาและบรกิ าร ผู้ พัฒนาและบรกิ าร มาตรฐานที่ 3 การเรยี นรู และใช
นานวัตกรรม สารสนเทศ บริหาร เทคโนโลยสี ารสนเทศ บรหิ าร เทคโนโลยี ดิจิทลั เป็นเคร่ือง
และเทคโนโลยี คณะครู เพือ่ ใชในการบรหิ าร คณะครู สารสนเทศ เพ่อื ใช มาตรฐานท่ี 1 มือการเรยี นรู
ทท่ี นั สมัยมาใช้ 2. โครงการ จัดการและการจดั ในการบริหาร มาตรฐานท่ี 3
ในการบรหิ าร พฒั นาระบบ นกั การเรียนรูท่ีเหมาะสม นกั จัดการและการจดั จัดการศึกษาทกุ
จัดการ และ การวดั และ เรียน กับสถานศึกษา อยใู น เรยี น การเรียนรูทเี หมาะ มาตรฐานที่ 1 ระดบั ทกุ ประเภท
การจดั การ ประเมินผล ทุกคน ระดบั ดี ทกุ คน สมกับสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 3 โดยใชหลักสตู ร
เรียนการสอน การเรยี น ครตู รวจสอบและ ครตู รวจสอบและ ฐานสมรรถนะ
80 ประเมนิ คณุ ภาพการ 90 ประเมินคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 รวมทงั้ แนวทาง
ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการ จัดการเรียนรู้อยา่ งมี การจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 การจดั การเรียนรู
ที่ 6 พฒั นาและ 80 ขนั้ ตอน โดยใช้ 85 อย่างมีขน้ั ตอน โดย เชงิ รุกและการวดั
เครอื่ งมือและวธิ ีการ ใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ ี ประเมินผลเพอ่ื
สรา้ งเสริม ปรบั ปรงุ วดั ผล ประเมินผลที่ การวัดผล ประเมนิ พัฒนาผูเรียน ท่ี
ความสมั พนั ธ์ สภาพแวด เหมาะสมกบั ผลทเ่ี หมาะสมกับ สอดคลองกบั มา
ให้ชุมชนเขา้ มา ล้อมใน เป้าหมายในการ เป้าหมายในการ ฐานการศึกษา
มีส่วนร่วม และ โรงเรียน จัดการเรยี นรู้ นาผล จดั การเรียนรู้ นา แห่งชาติ
สนบั สนุนใน 2.โครงการ ไปใช้พัฒนาการ ผลไปใชพ้ ฒั นาการ
การพฒั นา ส่งเสรมิ การ เรยี นรู้ให้ผ้มู ีส่วน เรียนรูใ้ ห้ผ้มู สี ่วน เสริมสรางการรบั รู
การศึกษา ใช้แหล่งการ เกี่ยวขอ้ งแลกเปลีย่ น เก่ยี วขอ้ งแลก ความเขาใจ ความ
ความรแู้ ละ เปลยี่ นความร้แู ละ ตระหนกั และส
เรยี นรใู้ น ประสบการณ์ ให้ของ ประสบการณ์ ให้ งเสริมคุณลกั ษณะ
ชุมชนและ มูลสะท้อนกลบั เพอื่ ของมลู สะทอ้ น และพฤตกิ รรมท่ี
ภูมปิ ัญญา นาไปใช้ในกา กลบั เพ่อื นาไปใช้ พงึ ประสงคดานสงิ่
ทอ้ งถิ่น ปรบั ปรงุ และ ในกาปรับปรุงและ แวดลอม
พัฒนาการจัดการ พัฒนาการจัดการ จดั การศึกษาทกุ
เรยี นการสอน อย่ใู น เรียนการสอน อยู่ ระดบั ทุกประเภท
ระดบั ดี ในระดบั ดี โดยใชหลกั สูตร
ชมุ ชนและโรงเรียน ชุมชนและโรงเรียน ฐานสมรรถนะ
ร่วมกนั พฒั นา รว่ มกนั พฒั นา รวมทั้งแนวทาง
ปรับปรงุ ปรบั ปรุง การจดั การเรียนรู
สภาพแวดลอ้ มใน สภาพแวดลอ้ มใน เชงิ รุกและการวัด
โรงเรียนให้เหมาะสม โรงเรียนให้ ประเมินผลเพอื่
ตอ่ การเรียนรู้ เหมาะสมตอ่ การ
เรียนรู้
ระดบั คณุ ภาพของ
สถานศกึ ษาทีม่ กี าร สถานศึกษามกี าร
สงเสริมการใชแหล่ง สงเสริมการใช
เรียนรภู ายนอกหอง แหลงเรียนรภู าย
เรียนที่เอือ้ ตอการ นอกหองเรียนท่ี
จัดการเรยี นรู อยใู น เอ้ือตอการจัดการ
ระดบั ดี เรียนรู อยใู นระดบั
ดี

13

พัฒนาผูเรียน ท่ี
สอดคลองกบั มา
ฐานการศกึ ษา
แหง่ ชาติ

*** ยุทธศาสตร์ของสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การปฏริ ปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาเอกชน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การเสรมิ สร้างประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมในการจัดและสนบั สนนุ การศกึ ษาเอกชน
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบเพอื่ สร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาการศึกษาเอกชนในพ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต้
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การสง่ เสริมการศึกษาเอกชน

*** ตวั ชี้วัดประเด็นการตดิ ตามประเมนิ ผลของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปรากฏอย่หู น้า 13 ข้อ 7

4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

4.1 ระดบั ปฐมวยั

ผลการพัฒนาเด็ก

จานวน ร้อยละของเด็กตามระดับคณุ ภาพ

ผลพฒั นาการดา้ น เดก็ ดี พอใช้ ปรับปรุง

ทัง้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1. ดา้ นร่างกาย 8 8 100 - - - -

2. ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ 8 8 100 - - - -

3. ด้านสังคม 8 8 100 - - - -

4. ด้านสตปิ ญั ญา 8 8 100 - - - -

4.2 ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET)

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

วชิ า จานวน จานวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***
นกั เรยี น นกั เรียน เฉลย่ี ระดับ (O-NET) ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ท้ังหมด ทีเ่ ข้าสอบ ประเทศ คะแนน คะแนน พฒั นาการเทียบ
ปี 2564 2562 2563 2564 เฉล่ยี กับร้อยละ 3
เฉลย่ี
(1) (2) (3) (4) (5) (6)

คณติ ศาสตร์ 4 4 29.99 33.00 0 36.25 3.25 9.84 มพี ัฒนาการ

วิทยาศาสตร์ 4 4 38.78 36.00 0 49.69 13.69 38.62 มพี ฒั นาการ

ภาษาไทย 4 4 50.38 49.07 0 51.69 2.62 5.33 มีพฒั นาการ

ภาษาอังกฤษ 4 4 43.55 34.42 0 64.68 30.26 87.91 มีพฒั นาการ

14

*** (4) = (3) – (2) กรณที มี่ ผี ลตา่ งคะแนนเฉลี่ย (4) ติดลบ ให้ใสเ่ คร่ืองหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายลบ

(2) มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตัง้ แต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ฒั นาการแต่ไม่ถงึ ร้อยละ 3”
มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไมม่ ีพฒั นาการ”
หมายเหตุ ปีการศึกษา 2563 ไมไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมการทดสอบ

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
เปรียบเทยี บผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

สมรรถนะ จานวน จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรียน นักเรียน ระดบั สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ทัง้ หมด ที่เขา้ ประเทศ คะแนน คะแนน พฒั นาการเทียบ
สอบ ปี 2564 2562 2563 2564 เฉล่ีย กับร้อยละ 3
(1) (2) (3) เฉลย่ี
(4) (5) (6)

ดา้ นภาษา 2 2 56.14 44.28 34.90 33.25 -1.65 -4.73 ไมม่ พี ฒั นาการ

(Literacy)

ด้านคานวณ 2 2 49.44 41.42 35.80 25.00 -10.8 -30.17 ไมม่ พี ัฒนาการ

(Numeracy)

รวมสองดา้ น 52.80 28.57 23.57 29.12 5.55 23.55

*** (4) = (3) – (2) กรณที ม่ี ผี ลตา่ งคะแนนเฉลี่ย (4) ติดลบ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ให้ใสเ่ ครอื่ งหมายลบ

(2) มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตัง้ แต่ 3.00 ขนึ้ ไป แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการแต่ไม่ถงึ รอ้ ยละ 3”
มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลวา่ “ไมม่ ีพัฒนาการ”

จานวนและรอ้ ยละของนักเรียนทมี่ ีผลการเรียนระดบั 3 ข้ึนไป

ระดับประถมศึกษา

ระดบั ผลการเรยี น

กลมุ่ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
การเรยี นร/ู้
รายวิชา จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน ร้อย จานวน จานวน จานวน จานวน
นกั เรียน นกั เรยี นที่ รอ้ ย นักเรยี น นกั เรียนท่ีมี ร้อยละ นกั เรียน นักเรียนท่ี ร้อย นกั เรยี น นกั เรยี นท่มี ี ละ นกั เรียน นกั เรียนท่ีมี รอ้ ย นกั เรยี น นกั เรยี นทมี่ ี รอ้ ยละ
ภาษาไทย มผี ลระดบั ละ ผลระดบั 3 มีผลระดบั ละ ผลระดบั 3 ผลระดบั 3 ละ ผลระดบั 3
3 3 ขนึ้ ไป 1 2 3 ขนึ้ ไป 6 ขึน้ ไป 90 6 4
ขึน้ ไป ขึ้นไป ขน้ึ ไป
3 100 1 50 5
1 100 6 100 4 100

คณติ ศาสตร์ 3 3 100 1 1 100 2 1 50 6 5 90 6 6 100 4 4 100

15

วิทยาศาสตรแ์ ละ 3 3 100 1 1 100 2 2 100 6 6 100 6 5 90 4 4 100
เทคโนโลยี 1 100 2 1 50 6 6 100 4 4 100
สงั คมศึกษา 3 3 100 1 6 100 6
ศาสนา และ 1 100 2 2 100 6 5 90 4 4 100
วฒั นธรรม 3 3 100 1 1 100 2 2 100 6 5 90 6 6 100 4 4 100
ประวัตศิ าสตร์ 3 3 100 1 6 100 6
สุขศึกษาและ 1 100 2 2 100 6 6 100 4 4 100
พลศกึ ษา 3 3 100 1 1 100 2 2 100 6 6 100 6 5 90 4 4 100
ศลิ ปะ 3 3 100 1 1 100 2 1 50 6 6 100 6 3 50 4 3 90
การงานอาชีพ 3 1 100 1 1 100 2 2 100 6 3 100 6 6 100 4 4 100
ภาษาตา่ งประเทศ 3 3 100 1 6 100 6
รายวิชาเพ่มิ เตมิ ....
การปอ้ งกนั การ
ทุจรติ

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test : RT)
เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1

ความสามารถ จานวน จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
ด้านการอา่ น นกั เรยี น นักเรยี น ระดบั ดา้ นการอ่าน ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ทง้ั หมด ทเี่ ขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลยี่ พฒั นาการเทยี บกบั
อา่ นรเู้ รื่อง ปี 2564 2562 2563 2564 รอ้ ยละ 3
อ่านออกเสียง 3 3 (1) (2) (3) (4) (5)
3 3 72.79 (6)
69.95 78.00 98.00 76.66 -21.34 -21.77
66.25 84.00 85.33 1.33 1.58 ไม่มีพฒั นาการ

มพี ฒั นาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ีม่ ีผลต่างคะแนนเฉลย่ี (4) ติดลบ ใหใ้ ส่เคร่อื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ ส่เคร่อื งหมายลบ

(2) มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตงั้ แต่ 3.00 ขึน้ ไป แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการแต่ไมถ่ งึ ร้อยละ 3”
มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไม่มีพฒั นาการ”

16

5. นวตั กรรม/แบบอย่างทดี่ ี (Innovation /Best Practice )

นวตั กรรม (Innovation) หมายถงึ แนวคดิ หรือวิธีการท่ีนามาใช้ในการปฏิบัติ เพ่ือแก้ปัญหาหรือเพื่อการพัฒนา ซึ่ง
ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงทางความคดิ กระบวนการ หรือองค์กร อย่างส้ินเชิงหรือเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่า มี
เป้าหมายในเชิงบวก ซ่ึงมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทน้ันๆ (N - New)
มคี ณุ ค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม (A - Adaptive)

แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ึนตอนการปฏิบัติท่ีทาให้สถานศึกษาประสบ
ความสาเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสาเร็จปรากฏชัดเจน
โดยมีการสรุปรูปแบบวธิ ปี ฏิบตั หิ รอื ข้นั ตอน การปฏิบัติตลอดจนความร้แู ละประสบการณ์ มรี ่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่
ใหห้ น่วยงานภายในหรอื ภายนอกสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์

ช่ือ นวตั กรรม/แบบอย่างทดี่ ี มาตรฐานด้าน ระดับการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู ปฐมวยั /ขั้นพนื้ ฐาน
1. การขับเคล่ือนนวัตกรรมการเรยี นการสอนโดย มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการ
ใช้ Wonderful vocabulary box จัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผู
เรยี นเปนสาคัญ

6. รางวัลทส่ี ถานศกึ ษาได้รบั ประเภทรางวลั ระดบั หนว่ ยงาน หมายเหตุ
5.1 ปีการศกึ ษาปจั จุบนั ทีม่ อบรางวัล -
ช่อื รางวลั กระทรวง
สาธารณสขุ
1.สามารถดารงมาตรฐาน ระดบั ทอง เขตพืน้ ท่/ี จังหวดั
โรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพระดับ ภาค/ประเทศ
ทองอยา่ งต่อเน่ือง เป็นสมยั ท่ี 5 นานาชาติ

5.2 ปีการศกึ ษาทผี่ ่านมา (ย้อนหลังไมเ่ กนิ 3 ป)ี

ชือ่ รางวลั ปี พ.ศ..... หน่วยงาน หมายเหตุ
1. โรงเรยี นรางวลั พระราชทาน ที่ได้รับรางวัล ท่ีมอบรางวัล
2. นกั เรยี นรางวลั พระราชทาน
3. โรงเรยี นคณุ ธรรม (ระดบั 1,2,3,4 ดาว) 2564 สานักงานเขตพน้ื ที่ -
การศกึ ษาประถมศกึ ษา
4. โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. อื่น ๆ ตาก เขต 1

17

7. ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร (ปรับตามนโยบายแต่ละป)ี

ประเด็นตัวช้ีวัด มี ไม่มี
1. การปลูกฝังความมรี ะเบยี บวนิ ัย ทศั นคตทิ ่ีถูกตอ้ งผ่านกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด /
2. การจดั การเรียนรเู้ พอื่ สรา้ งทักษะพื้นฐานท่ีเช่อื มโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทา /
3. การจดั การเรยี นการสอนทส่ี ่งเสรมิ การคดิ วิเคราะหด์ ้วยวิธกี าร Active Learning /
4. การจัดการเรียนการสอนเพ่อื ฝกึ ทักษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding) /
5. การพฒั นาครูใหม้ ีความชานาญในการจดั การเรียนร้ภู าษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร(์ Coding) /
6. การจัดการเรยี นร้ดู ว้ ย STEM Education
/
6.1 สถานศึกษามกี ารจดั การเรียนการสอนแบบ STEM Education
6.2 สถานศึกษามนี วตั กรรมจากการเรยี นรู้ตามแนวทาง STEM Education /
7. การเรยี นภาษาอังกฤษเพ่อื ใชใ้ นการส่อื สารและเพิ่มทกั ษะสาหรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ /
8. การจัดการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาทส่ี าม)
9. การส่งเสรมิ ทักษะการอา่ น เขียนภาษาไทยเพื่อใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นรภู้ าษาอนื่ /
10.การใช้ดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ เพือ่ การเรยี นรหู้ รอื สรา้ งอาชพี /

8. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ท่ผี า่ นมา

รอบการประเมนิ ระดับคุณภาพผลการประเมิน
ระดับปฐมวยั ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558)
รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) ด้านที่ 1 ........ด.ี ....... ดา้ นที่ 1 .......ด.ี ........
ด้านท่ี 2 ........ดี....... ด้านที่ 2 .......ด.ี ........
ด้านที่ 3 ........ด.ี ...... ด้านที่ 3 .......ด.ี ........

9. หนว่ ยงานภายนอกทโี่ รงเรียนเข้าร่วมเปน็ สมาชิก
1……-………………………………………….

18

สว่ นท่ี 3
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน จานวนเด็ก (คน) *** ผลการ
ระดบั ปฐมวัย ไม่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมนิ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ท้ังหมด ผ่านเกณฑท์ ี่ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) กาหนด (ร้อยละ)
ประเด็นพิจารณา
80 88 100 ยอดเยี่ยม
1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง 80 87 87.5 ดเี ลศิ
มสี ุขนสิ ัยทด่ี ี และดแู ลความ 80 88 100 ยอดเยย่ี ม
ปลอดภัยของตนเองได้
80 88 100 ยอดเยย่ี ม
1.1 ร้อยละของเดก็ มนี ้าหนกั สว่ นสูงตาม
เกณฑม์ าตรฐาน 80 88 100 ยอดเยย่ี ม
1.2 รอ้ ยละของเด็กเคลื่อนไหวรา่ งกาย 80 86 75 ดีเลศิ
คล่องแคลว่ ทรงตวั ได้ดี ใช้มือและตา 80
ประสานสัมพันธ์ไดด้ ี 80 87 87.5 ดเี ลศิ
1.3 ร้อยละของเด็กดูแลรกั ษาสุขภาพ 80
อนามัยสว่ นตนและปฏิบัตจิ นเปน็ นสิ ยั 80 87 87.5 ดีเลศิ
1.4 ร้อยละของเดก็ ปฏบิ ตั ติ นตามขอ้ ตกลง 87 87.5 ดีเลศิ
เก่ียวกบั ความปลอดภยั หลกี เลยี่ งสภาวะ 88 100 ยอดเย่ยี ม
ท่เี ส่ยี งต่อโรค ส่ิงเสพตดิ และระวังภยั จาก
บุคคล ส่งิ แวดล้อม และสถานการณท์ ีเ่ สยี่ ง
อันตราย

2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์
ได้

2.1 รอ้ ยละของเดก็ รา่ เริงแจม่ ใส
แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้เหมาะสม
2.2 รอ้ ยละของเดก็ รจู้ กั ยับยั้งชง่ั ใจ
อดทนในการรอคอย
2.3 รอ้ ยละของเด็กยอมรบั และพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและ
ผอู้ ืน่
2.4 รอ้ ยละของเดก็ มีจติ สานกึ และค่านยิ ม
ท่ีดี
2.5 ร้อยละของเดก็ มีความม่ันใจ กล้าพดู
กล้าแสดงออก
2.6 ร้อยละของเดก็ ช่วยเหลอื แบง่ ปนั

19

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนเดก็ (คน) *** ผลการ
ผลการประเมิน ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา เป้าหมาย ทงั้ หมด ผ่านเกณฑ์ที่ คุณภาพท่ไี ด้
ปฏบิ ตั ิ ไม่ (ร้อยละ) กาหนด (รอ้ ยละ)

ปฏิบตั ิ

2.7 รอ้ ยละของเดก็ เคารพสทิ ธิ รหู้ นา้ ท่ี 80 88 100 ยอดเยี่ยม
รับผดิ ชอบ อดทนอดกลั้น

2.8 ร้อยละของเดก็ ซ่อื สัตย์สุจริต มคี ณุ ธรรม 80 88 100 ยอดเยี่ยม

จริยธรรม ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

2.9 รอ้ ยละของเดก็ มคี วามสุขกบั ศิลปะ 80 88 100 ยอดเยย่ี ม
ดนตรี และการเคล่ือนไหว

3 มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื

ตนเองและเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องสังคม

3.1 ร้อยละของเดก็ ชว่ ยเหลือตนเอง

ในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจาวนั มีวินยั 80 88 100 ยอดเยย่ี ม
ในตนเอง 87 87.5 ดเี ลศิ
87 87.5 ดเี ลิศ
3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยดั และพอเพยี ง 80 87 87.5 ดีเลศิ

3.3 ร้อยละของเดก็ มีส่วนรว่ มดแู ลรักษา 80 88 100 ยอดเยย่ี ม
สิง่ แวดลอ้ มในและนอกหอ้ งเรียน
88 100 ยอดเยย่ี ม
3.4 ร้อยละของเดก็ มีมารยาทตามวฒั นธรรม

ไทย เชน่ การไหว้ การยม้ิ ทกั ทาย และ 80
มสี มั มาคารวะกบั ผูใ้ หญ่ ฯลฯ

3.5 รอ้ ยละของเด็กยอมรับหรอื เคารพ

ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เชน่ ความคดิ 80
พฤตกิ รรม พน้ื ฐานครอบครวั เช้อื ชาติ

ศาสนา วฒั นธรรม เปน็ ต้น

3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทางานร่วมกับ

ผูอ้ ื่นได้ แกไ้ ขข้อขดั แยง้ โดยปราศจาก 80
การใชค้ วามรนุ แรง

4 มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา สื่อสาร

ได้ มีทักษะการคดิ พืน้ ฐาน และ

แสวงหาความรูไ้ ด้

4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโตต้ อบและ 80 87 87.5 ดีเลศิ
เลา่ เรอื่ งใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ 86 75 ดเี ลิศ
88 100 ยอดเยย่ี ม
4.2 รอ้ ยละของเดก็ ต้ังคาถามในสิง่ ที่
87 87.5 ดีเลิศ
ตนเองสนใจหรือสงสยั และพยายามคน้ หา 80
คาตอบ

4.3 ร้อยละของเด็กอา่ นนิทานและเลา่ เรอ่ื ง 80
ท่ตี นเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั

4.4 รอ้ ยละของเดก็ มีความสามารถในการ

คดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ลทาง

คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ การคิด 80
แก้ปญั หาและสามารถตดั สนิ ใจในเรือ่ ง

ง่าย ๆ ได้

20

ประเด็นพจิ ารณา การปฏบิ ัตงิ าน ทง้ั หมด 8 *** ผลการ
ไม่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ประเมิน
ผ่านเกณฑท์ ี่ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) กาหนด (รอ้ ยละ)

4.5 รอ้ ยละของเดก็ สรา้ งสรรค์ผลงานตาม 80 8 8 100 ยอดเยยี่ ม
ความคดิ และจนิ ตนาการ เช่น งานศิลปะ ยอดเยี่ยม
การเคลอ่ื นไหวท่าทาง การเล่นอิสระ ฯลฯ
ยอดเยีย่ ม
4.6 รอ้ ยละของเด็กใช้สอื่ เทคโนโลยี เชน่

แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก กลอ้ งดิจติ อล ฯลฯ เป็น 80 8 8 100
เคร่ืองมือในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้

ได้

สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพจิ ารณา 93.5
จานวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว

วธิ คี านวณ

*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = 100 x จานวนเดก็ ผา่ นเกณฑ์ทีโ่ รงเรยี นกาหนด

จานวนเด็กทงั้ หมด

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กาลังพฒั นา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลิศ

รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ยี ม

กระบวนการพัฒนาท่สี ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1

โรงเรยี นวดั พระธาตนุ อ้ ย มกี ระบวนการพฒั นาเดก็ ทหี่ ลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ด้านร่างกาย
แข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารท่ีสะอาด ถูก
สุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจาทุกวันอย่างสม่าเสมอ มีการช่ัง
น้าหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง มีกิจกรรมออกกาลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์
ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดท่ีเป็นอันตราย มีกฎ กติกา
ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเล่ียงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อใน
ชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจาวัน รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด จัดกิจกรรม
สุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลตากตกในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬา มีการจัด

21

กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้างเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม มี
วินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจาวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความ
สะอาด ทงั้ ภายในและนอกหอ้ งเรยี น ร้จู ักชว่ ยเหลอื แบ่งปันเพ่ือนในห้องเรียน ทางานร่วมกับเพ่ือนๆ ได้ โดยการใช้
กจิ กรรมกลุม่ ในการจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จกั เกบ็ ของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝัง
ให้นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัด
กิจกรรมวันสาคัญต่างๆ กิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่นพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา ส่งเสริม
พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ปลกู ฝังใหเ้ ด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทน
มีความม่ันใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้าง
จินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทากิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อน ท้ังในและนอก
ห้องเรียน โดยครูได้ดาเนินการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัด
กิจกรรมท้งั 6 หลัก ไดแ้ ก่ กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรม
เสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพของตน
โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ให้
เด็กไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพ่ือการเรียนรู้
โดยส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขัน
ทักษะทางวิชาการในระดับต่างๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ
ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพ่ือให้เด็กได้
ปฏิสัมพนั ธ์กับบคุ คลภายนอก เรียนร้นู อกสถานท่ี แกป้ ญั หาในสถานการณ์จรงิ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นพิจารณา การปฏิบตั งิ าน *** ผลการประเมนิ
คุณภาพทีไ่ ด้
1 มีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้ังส่ีดา้ น สอดคลอ้ งกับบริบทของ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ผลสาเรจ็ (ข้อ)
ท้องถิ่น ยอดเยยี่ ม
1.1 มหี ลกั สูตรสถานศึกษาทยี่ ืดหย่นุ และสอดคล้องกับหลกั สตู ร 5
การศกึ ษาปฐมวยั
1.2 ออกแบบการจดั ประสบการณท์ ่ีเตรยี มความพร้อมและไม่เรง่ รดั
วิชาการ
1.3 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นการเรยี นรู้ผ่านการเลน่ และ
การลงมือปฏบิ ตั ิ (Active learning)
1.4 ออกแบบการจดั ประสบการณท์ ี่ตอบสนองความตอ้ งการและ
ความแตกตา่ งของเดก็ ปกตแิ ละกล่มุ เปา้ หมายเฉพาะทส่ี อดคลอ้ งกับ
วิถีชีวิตของครอบครัว ชมุ ชนและท้องถนิ่
1.5 มกี ารประเมนิ ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ / พัฒนาหลกั สตู รอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง

22

ประเด็นพจิ ารณา การปฏิบัตงิ าน *** ผลการประเมิน
ผลสาเร็จ (ข้อ) คณุ ภาพทีไ่ ด้
2 จัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ชนั้ เรียน ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ
3 ดี
2.1 จดั ครคู รบชั้นเรยี น ยอดเยย่ี ม
5
2.2 จดั ครูใหม้ ีความเหมาะสมกับภารกจิ การจัดประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม

2.3 จัดครูไม่จบการศกึ ษาปฐมวยั แต่ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวยั ยอดเยย่ี ม

2.4 จดั ครูจบการศึกษาปฐมวยั ยอดเยยี่ ม

2.5 จดั ครูจบการศกึ ษาปฐมวยั และผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวยั

3 ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์

3.1 มกี ารพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามร้คู วามสามารถในการ
วิเคราะหแ์ ละออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
3.2 สง่ เสริมครใู ห้มีทกั ษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการประเมนิ
พฒั นาการเดก็ 5
3.3 สง่ เสริมครใู ช้ประสบการณ์สาคญั ในการออกแบบการจัดกจิ กรรม
จัดกจิ กรรม สังเกตและประเมนิ พฒั นาการเด็กเป็นรายบุคคล
3.4 สง่ เสริมให้ครมู ปี ฏสิ ัมพนั ธ์ทด่ี กี บั เดก็ และครอบครวั

3.5 สง่ เสริมให้ครูพัฒนาการจดั ประสบการณ์โดยใช้ชมุ ชนแหง่ การ
เรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC)
4 จดั สภาพแวดล้อมและสือ่ เพอื่ การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั
และเพยี งพอ
4.1 จดั สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียนทคี่ านงึ ถงึ ความปลอดภัย
5
4.2 จดั สภาพแวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรียนทีค่ านึงถึงความปลอดภัย

4.3 ส่งเสริมใหเ้ กิดการเรยี นรทู้ ีเ่ ป็นรายบคุ คลและกลุ่ม เลน่ แบบ
ร่วมมอื รว่ มใจ
4.4 จดั ใหม้ มี ุมประสบการณห์ ลากหลาย มีสอ่ื การเรียนรู้ ทป่ี ลอดภยั
และเพียงพอ เช่น ของเลน่ หนงั สือนทิ าน สอ่ื จากธรรมชาติ สอ่ื
สาหรบั เดก็ มุดลอด ปนี ปา่ ย สือ่ เทคโนโลยกี ารสืบเสาะหาความรู้
4.5 จดั หอ้ งประกอบที่เออื้ ต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
5
5 ให้บริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรเู้ พอ่ื
สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์

5.1 อานวยความสะดวกและให้บริการสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ วสั ดุ
อปุ กรณแ์ ละสื่อการเรียนรู้
5.2 พฒั นาครใู หม้ ีความรคู้ วามสามารถในการผลิตและใช้ส่อื ในการ
จัดประสบการณ์
5.3 มกี ารนิเทศติดตามการใชส้ อื่ ในการจัดประสบการณ์

5.4 มีการนาผลการนิเทศติดตามการใชส้ อ่ื มาใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการ
พัฒนา

5.5 ส่งเสรมิ สนับสนุนการเผยแพรก่ ารพัฒนาส่อื และนวตั กรรมเพ่อื
การจัดประสบการณ์

6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมี

23

ประเด็นพิจารณา การปฏบิ ตั ิงาน *** ผลการประเมิน
ผลสาเรจ็ (ข้อ) คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ
4.6 ยอดเย่ยี ม
สว่ นร่วม

6.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกับ
มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และอตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา
6.2 จดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษาทสี่ อดรบั กบั มาตรฐานท่ีสถานศกึ ษา
กาหนดและดาเนนิ การตามแผน
6.3 มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

6.4 มีการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน และจดั ทารายงานผล
การประเมนิ ตนเองประจาปี และรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้หน่วยงานตน้ สังกัด

6.5 นาผลการประเมินไปปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
โดยผ้ปู กครองและผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม

สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลสาเรจ็ ทุกประเดน็ พิจารณา

จานวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว *

แปลผลการประเมนิ คุณภาพทไี่ ด้ ** คา่ เฉลย่ี ผลการประเมินคุณภาพทีไ่ ด้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ กาลังพัฒนา ผล 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลงั พฒั นา
ปฏบิ ัติ 2 ขอ้ ได้ระดบั คุณภาพ ปานกลาง สาเร็ 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี จ 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏบิ ัติ 4 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ
ปฏบิ ตั ิ 5 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ
= 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
วนขอ้ ทปี่ ฏิบตั ใิ นแต่ละประเด็นพิจารณา จาน

กระบวนการพัฒนาท่สี ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 2
โรงเรียนวดั พระธาตุน้อยได้มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนใน

การ จัดการศึกษาปฐมวัยของ มีองค์ประกอบที่สาคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัย พัฒนาหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาจากวัยและประสบการณ์ของเด็กโดยเป็นหลักสูตรที่มุ่ง
พัฒนาเดก็ ทุกด้าน ทงั้ ดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมีความสขุ ในการเรียนรู้ มีการ
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพสาหรับด้านระบบกลไกการเสริมสร้างความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการ
จัดการศึกษาปฐมวัยโดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสาน
ความรว่ มมอื เพอ่ื รว่ มกนั พัฒนาผเู้ รียนตามศกั ยภาพ

โรงเรยี นวดั พระธาตุนอ้ ย ไดจ้ ัดส่งิ อานวยความสะดวกทีจ่ าเป็นซึ่งเอ้ือประโยชน์ และอานวยความสะดวก
ต่อการพฒั นาเด็ก ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ี

24

เอ้อื ต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อการจัดการ
เรยี นรู้ เชน่ จดั ใหม้ ีอปุ กรณ์โทรทัศน์ ของเล่น ของใช้ เครื่องนอน เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆให้พอเพียงกับ
เดก็ โดยจดั ให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย มมี มุ หนังสือที่จาเปน็ ต่อพัฒนาการของเด็กเพียงพอและเหมาะสมกับวัย
จัดให้มีเคร่ืองเล่นสนาม ท่ีเหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพ้ืนท่ีสาหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทาความสะอาดร่างกาย
ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ท่ีจาเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับ
หลักสตู รสถานศกึ ษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ท่ีก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น
และการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นจัดครู ที่เหมาะสมกับการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยมีครูประจาการท่ีจบการศึกษาปฐมวัย และส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมพัฒนา
ศักยภาพ คุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยมีความรู้
ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการ
ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการ
ปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็กและผู้ปกครองมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีคานึงถึงความ
ปลอดภัยของผเู้ รยี น ส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรยี นรูท้ ้ังแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้
ท่ีหลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้
มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกให้บริการด้านส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ของ
สถานศึกษาท่ีกาหนดไว้ มีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการ
ประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมท้ัง
รายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสงั กดั อย่างต่อเน่ือง

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เปน็ สาคญั

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนครู (คน) ผลการ
เป้าหมาย ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา บรรจุ ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมนิ คณุ ภาพท่ไี ด้
ปฏบิ ตั ิ ไม่ (รอ้ ยละ) ท่ีกาหนด (รอ้ ยละ)
1 จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการ ปฏิบตั ิ ยอดเยย่ี ม
11 100 ยอดเย่ียม
ทกุ ด้าน อย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ 100 11 100
100 ยอดเยีย่ ม
1.1 มีการวิเคราะหข์ อ้ มลู เดก็ เปน็ รายบคุ คล 11 100
1.2 จัดทาแผนและใช้แผนการจดั ประสบการณ์ 100
จากการวิเคราะหม์ าตรฐานคุณลกั ษณะท่พี งึ
ประสงคใ์ นหลกั สตู รสถานศึกษา
1.3 จดั กจิ กรรมท่สี ง่ เสริมพัฒนาการเด็กครบ
ทุกดา้ น ท้งั ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์จติ ใจ
ด้านสังคม และดา้ นสติปัญญา โดย ไม่มุง่ เนน้
การพฒั นาดา้ นใดด้านหนงึ่ เพยี งด้านเดียว

2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ 100 1 25
100 1
และปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสขุ 100 ยอดเยยี่ ม
2.1 จดั ประสบการณ์ที่เช่ือมโยงกบั
ประสบการณเ์ ดิม 100 1 1 100 ยอดเยี่ยม
2.2 ให้เดก็ มโี อกาสเลือกทากจิ กรรมอยา่ ง
อสิ ระ ตามความต้องการความสนใจ 100 1 1 100 ยอดเยี่ยม
ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วิธกี ารเรยี นรขู้ อง
เดก็ เปน็ รายบคุ คล หลากหลายรูปแบบจาก 100 1 1 100 ยอดเยี่ยม
แหล่งเรียนรู้ท่หี ลากหลาย 100 1 1 100 ยอดเย่ยี ม
100 ยอดเยย่ี ม
2.3 เด็กไดเ้ ลือกเลน่ เรียนรู้ลงมือ กระทา และ 100 1 1
สรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง
100 1 1 100 ยอดเยย่ี ม
3 จดั บรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ ือ่ และ

เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วยั
3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
หอ้ งเรียนไดส้ ะอาด ปลอดภัย และอากาศ
ถา่ ยเทสะดวก
3.2 จดั ให้มีพื้นทแ่ี สดงผลงานเด็ก พื้นท่ี
สาหรบั มุมประสบการณ์และการจัดกจิ กรรม
3.3 จดั ใหเ้ ด็กมสี ่วนรว่ มในการจดั ภาพ
แวดลอ้ มในห้องเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดแู ล
ตน้ ไม้
เปน็ ต้น
3.4 ใช้สือ่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับชว่ ง
อายุ ระยะความสนใจ และวถิ กี ารเรยี นร้ขู อง
เดก็ เชน่ กลอ้ งดิจติ อล คอมพิวเตอร์ สาหรับ
การเรียนรู้
กลมุ่ ย่อย ส่อื ของเล่นทกี่ ระตุน้ ให้คดิ และหา
คาตอบ เป็นตน้

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จานวนครู (คน) *** ผลการ
(รอ้ ยละ) ผลการประเมนิ ประเมนิ
4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนา ปฏิบตั ิ ไม่ ผา่ นเกณฑ์ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ บรรจุ ที่กาหนด (ร้อยละ)
ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการ ยอดเยย่ี ม
จัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก 100 11 100 ยอดเยย่ี ม
4.1 ประเมินพัฒนาการเดก็ จากกจิ กรรมและ 100 11 100
กจิ วัตรประจาวนั ดว้ ยเคร่อื งมือและวิธกี ารท่ี
หลากหลาย
4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเดก็

26

โดยผู้ปกครองและผู้เกย่ี วขอ้ งมีส่วนรว่ ม 100 1 1 100 ยอดเย่ียม
4.3 นาผลการประเมนิ ท่ไี ด้ไปพฒั นาคุณภาพ 100 ยอดเยย่ี ม
เด็กอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง 100 1 1 ยอดเยี่ยม
4.4 นาผลการประเมนิ แลกเปลีย่ นเรียนรโู้ ดยใช้ 100
กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพจิ ารณา
จานวนประเด็นพิจารณา
สรปุ ผลการประเมนิ =

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว 100 x จานวนครูผา่ นเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนด
วธิ ีคานวณ จานวนครูทัง้ หมด

*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = กาลังพัฒนา
ปานกลาง
แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้ = ดี
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ดเี ลิศ
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ยอดเยย่ี ม
ร้อยละ 60.00 – 74.99 =
ร้อยละ 75.00 – 89.99 =
รอ้ ยละ 90.00 – 100

กระบวนการพัฒนาทส่ี ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 3
โรงเรียนวัดพระธาตนุ อ้ ยสง่ เสริมใหค้ รจู ดั กระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั โดยการดาเนินงาน/

กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั ฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐)ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learn-
ing) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิดปฏิบัติจริง ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการ
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนา
ผลทไ่ี ด้มาปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ ครมู แี ผนการจดั การเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้ส่ือ และ
แหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพ่ือให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ร่วม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ปรับ
โครงสร้างรายวิชา กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน
การสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการ
สอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และ
บรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ให้เข้ามา มสี ว่ นร่วมในการจดั การเรยี นการสอน

27

ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผ้เู รียน (คน) *** ผลการ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการ ประเมนิ
เป้าหมาย ท้งั หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพท่ไี ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ทก่ี าหนด (ร้อยละ)
ดีเลศิ
ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน 80 22 19 86.36 ดเี ลิศ
1 มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น 80 22 17 77.27 ดเี ลศิ
80 22 19 86.36 ดเี ลิศ
การส่ือสาร และการคดิ คานวณ 80 22 17 77.27
1.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมีทักษะในการอ่านใน ดเี ลิศ
แตล่ ะระดบั ชัน้ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษา 80 22 19 86.36
กาหนด ดี
1.2 ร้อยละของผู้เรียนมที ักษะในการเขยี นใน 80 22 16 72.72 ดเี ลิศ
แตล่ ะระดบั ช้ันตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษา 80 22 19 86.36 ดเี ลศิ
กาหนด 80 22 18 81.81
1.3 ร้อยละของผเู้ รยี นมที กั ษะในการส่ือสาร
ในแต่ละระดบั ชนั้ ตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษา
กาหนด
1.4 รอ้ ยละของผเู้ รียนมที ักษะในการคดิ
คานวณในแตล่ ะดับช้นั ตามเกณฑท์ ่ี
สถานศกึ ษากาหนด
2 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่าง
มีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความ
คดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการ
คดิ จาแนกแยกแยะ ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง
อยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตผุ ลประกอบการ
ตัดสินใจ
2.2 ร้อยละของผู้เรียนมกี ารอภปิ ราย
แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น
2.3 ร้อยละของผู้เรยี นมกี ารแกป้ ญั หาอย่างมี
เหตุผล
3 มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
3.1 รอ้ ยละของผ้เู รยี นมีความสามารถในการ
รวบรวมความรไู้ ด้ทงั้ ตวั เองและการทางาน
เปน็ ทมี

28

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผูเ้ รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ทงั้ หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน คุณภาพท่ไี ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ท่ีกาหนด (รอ้ ยละ)
ดีเลิศ
3.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนสามารถเช่ือมโยงองค์ 80 22 18 81.81

ความรแู้ ละประสบการณม์ าใชใ้ นการ

สรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคดิ

โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลติ

4 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ และการส่ือสาร

4.1 ร้อยละของผ้เู รียนมคี วามสามารถในการ 80 22 19 86.36 ดีเลิศ
80 22
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 17 77.27 ดีเลศิ

4.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความสามารถในการ

นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อ

พฒั นาตนเองและสงั คมในด้านการเรียนรู้การ

สื่อสาร การทางานอย่างสรา้ งสรรค์ และมี

คุณธรรม

5 มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสตู ร

สถานศึกษา

5.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนบรรลุการเรยี นรูต้ าม 80 22 19 86.36 ดเี ลศิ
80 22
หลกั สตู รสถานศกึ ษา 17 77.27 ดีเลิศ

5.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามก้าวหน้าในการ

เรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐาน

เดิม

5.3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามกา้ วหน้าในผล 80 22 16 72.72 ดี

การทดสอบระดบั ชาติ หรือผลการทดสอบ

อื่น ๆ

6 มคี วามรทู้ กั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี ่องาน

อาชพี

6.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ 80 22 19 86.36 ดีเลศิ
80 22
พนื้ ฐานและเจตคติทด่ี ใี นการศกึ ษาตอ่ 20 90.90 ยอดเย่ยี ม

6.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ

พ้ืนฐานและเจตคติท่ีดีในการจดั การ การ

ทางานหรอื งานอาชพี

คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผู้เรียน

1 การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามที่
สถานศกึ ษากาหนด

29

1.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ที่มี 80 22 22 100 ยอดเยย่ี ม
คุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า 80 22 22 100 ยอดเยยี่ ม
1.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีค่านิยมและจิตสานกึ
ตามท่สี ถานศึกษากาหนด โดยไม่ขดั กับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดขี องสงั คม

การปฏบิ ัตงิ าน จานวนผเู้ รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ท้ังหมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน คุณภาพที่ได้
ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) ทกี่ าหนด (รอ้ ยละ) ยอดเยีย่ ม
ยอดเยยี่ ม
2 ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย
ดเี ลศิ
2.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมคี วามภูมิใจในท้องถิ่น 80 22 22 100
ยอดเยี่ยม
เห็นคณุ คา่ ของความเปน็ ไทย ดเี ลิศ

2.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการ 80 22 22 100 ดเี ลิศ

อนรุ ักษ์วัฒนธรรมและประเพณไี ทยรวมทงั้

ภูมิปัญญาไทย

3 การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่าง

และหลากหลาย

3.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นยอมรบั และอยรู่ ่วมกัน 80 22 19 86.36

บนความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลในดา้ นเพศ

วัย เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม

ประเพณี

4 สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม

4.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีการรกั ษาสขุ ภาพ 80 22 22 100

กาย สุขภาพจติ อารมณแ์ ละสงั คม และ

แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั

4.2 ร้อยละของผเู้ รยี นสามารถอยรู่ ่วมกบั คน 80 22 19 86.36

อน่ื อยา่ งมคี วามสุข เข้าใจผู้อนื่ ไมม่ คี วาม

ขดั แย้งกับผอู้ ่นื

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพจิ ารณา 86.36

จานวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว

วธิ ีคานวณ

*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = 100 x จานวนผู้เรียนผา่ นเกณฑท์ ีโ่ รงเรยี นกาหนด

จานวนผู้เรยี นท้ังหมด

แปลผลการประเมินคุณภาพทไ่ี ด้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กาลงั พัฒนา

30

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี
ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลศิ
รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนาทีส่ ่งผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานที่ 1

โรงเรียนวัดพระธาตุน้อย ได้จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/
กิจกรรมอย่างหลากหลาย เช่น การประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพ่ือให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ท้งั ร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชวี ิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ได้อยา่ งมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้มุ่ง
พัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร
การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิด
อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการมี
ความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถ่ิน
และความเปน็ ไทยการยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

การปฏิบตั ิงาน *** ผลการประเมนิ
ผลสาเรจ็ (ขอ้ ) คณุ ภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่
ปฏิบตั ิ 4 ดเี ลิศ
1 มเี ป้าหมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน

1.1 กาหนดเปา้ หมายทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความ 

ต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถิน่ วตั ถุประสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ 

นโยบายของรัฐบาลและต้นสงั กัด

1.2 กาหนดวสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสอดคลอ้ ง เชือ่ มโยง กบั

เปา้ หมาย แผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบายของ

รฐั บาลและตน้ สงั กดั

1.3 กาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจ ทนั ตอ่ การ

เปลย่ี นแปลงของสังคม

1.4 นาเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจผา่ นความเห็นชอบ จาก

คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน

1.5 นาเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพร่ ตอ่ 

สาธารณชน

31

การปฏบิ ตั ิงาน *** ผลการประเมนิ
ผลสาเรจ็ (ขอ้ ) คุณภาพทไ่ี ด้
ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่
ปฏิบัติ 4 ดเี ลศิ
2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาอยา่ งเป็นระบบ 
2.2 มกี ารนาแผนไปปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ 
ปรบั ปรุงพัฒนางานอยา่ งต่อเน่อื ง

2.3 มีการบรหิ ารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศกึ ษจดั ระบบดูแล 
ช่วยเหลือนกั เรยี น และระบบการนเิ ทศภายใน 
2.4 สถานศึกษามีการนาขอ้ มูลมาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา

2.5 สถานศกึ ษาใหบ้ คุ ลากรและผูท้ ีเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการ 
วางแผน ปรับปรงุ พฒั นา และรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา

3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตร  4 ดีเลศิ
สถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย  5 ยอดเยย่ี ม
3.1 บริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลักสตู ร 4
สถานศึกษา  ดเี ลศิ
3.2 บรหิ ารจดั การเก่ยี วกบั งานวชิ าการ ในดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร 
ตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น ทีส่ อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา
ชุมชน และทอ้ งถ่ิน 
3.3 บริหารจดั การเกย่ี วกบั กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรทเ่ี น้นคุณภาพ
ผูเ้ รียนรอบดา้ นเชื่อมโยงวถิ ชี ีวิตจริง
3.4 กาหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลุมการจดั การเรยี นการสอน
ทกุ กลุม่ เป้าหมาย
3.5 สถานศึกษามกี ารปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรให้ทนั ตอ่ การ
เปลย่ี นแปลงของสังคม

4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี 

4.1 สง่ เสริม สนบั สนุน พัฒนาครู บคุ ลากร ให้มีความเช่ยี วชาญทาง 
วิชาชีพ 
4.2 จดั ให้มชี ุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี 
4.3 นาชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี เข้ามาใชใ้ นการพฒั นางานและ
การเรียนร้ขู องผู้เรียน 
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ตั ิงานของครู บคุ ลากร ที่มีผล
ตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรียน
4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสรา้ งนวตั กรรมหรือวธิ ีการท่ีเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
ทสี่ ่งผลต่อการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น
5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรียนรู้
อย่างมคี ณุ ภาพ
5.1 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในหอ้ งเรยี น ท่เี อ้ือต่อการ
เรยี นรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภยั

32

การปฏบิ ตั งิ าน *** ผลการประเมิน
ผลสาเร็จ(ขอ้ ) คุณภาพท่ไี ด้
ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่
ปฏิบัติ 3 ดี

5.2 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกหอ้ งเรยี น ท่ีเอ้ือตอ่ การ 

เรียนรู้ และคานึงถึงความปลอดภยั

5.3 จัดสภาพแวดลอ้ มท่ีส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรเู้ ป็น 

รายบุคคล และเป็นกลมุ่

5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ และมี 

ความปลอดภยั

5.5 จดั ใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ช้ประโยชน์จากการจัดสภาพแวดล้อมตาม 

ศกั ยภาพของผูเ้ รยี น

6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุน การบริหารจัดการและ

การจดั การเรยี นรู้

6.1 ไดศ้ ึกษาความตอ้ งการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ 

เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบรหิ ารจัดการและการจดั การ 

เรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารจดั การและการ 

จัดการเรยี นร้ทู เี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

6.4 ให้บรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการบริการจดั การและ 

การจัดการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

6.5 ติดตามผลการใชบ้ รกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ 

สถานศกึ ษาเพื่อใชใ้ นการบรกิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ท่ี

เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลสาเร็จทกุ ประเด็นพิจารณา 4 ยอดเยย่ี ม
จานวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสาเรจ็ = จานวนขอ้ ท่ปี ฏิบัตใิ นแต่ละประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมินคุณภาพทไ่ี ด้ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพท่ีได้
ปฏิบตั ิ 1 ข้อ ได้ระดับคณุ ภาพ กาลงั พัฒนา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลงั พฒั นา
ปฏิบัติ 2 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏิบัติ 4 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดเี ลศิ 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
ปฏิบตั ิ 5 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

33

กระบวนการพัฒนาทสี่ ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2

โรงเรยี นวัดพระธาตุนอ้ ยได้ดาเนนิ การวเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษา
ข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และจัด
ประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผน ร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์กาหนด
พันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัด
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศึกษาพร้อมท้ังจัดหา ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตาม
แผนงานเพ่ือให้ บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดา เนินงาน และ
สรุปผลการดาเนนิ งาน

สถานศกึ ษามีการการติดตามตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา กาหนดผู้รับผิดชอบ ดาเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา ทงั้ ระดับบคุ คลครบทกุ คน และระดับสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบอย่างนอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้ัง เตรียมการ
และให้ ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด ใช้วิธีการ เคร่ืองมือท่ี
หลากหลาย 46 และเหมาะสมให้ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมาจากหน่วยงานต้นสังกัดเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการประเมิน
คณุ ภาพภายใน ของสถานศึกษา นาผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สถานศกึ ษานาผล การตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและผลการประเมินคุณภาพภายใน-ภายนอกสถานศึกษา
มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาครอบคลุมภาระ
งานของ สถานศึกษา เพือ่ การจัดทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

34

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั

การปฏบิ ัติงาน เปา้ หมาย จานวนครู (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ (ร้อยละ) ผ่านเกณฑท์ ่ี ประเมนิ (ร้อย คณุ ภาพท่ี
ปฏิบตั ิ กาหนด ละ)
บรรจุ ได้

1 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ

จรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้

1.1 จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามมาตรฐานการ  85 4 4 100 ยอดเย่ียม
เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ี

เนน้ ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ โดยผา่ นกระบวนการ

คดิ และปฏบิ ัตจิ ริง

1.2 มแี ผนการจดั การเรยี นรทู้ ่สี ามารถนาไป  44 100 ยอดเยย่ี ม
จัดกิจกรรมไดจ้ ริง

1.3 มรี ปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะ  43 75 ดีเลศิ
สาหรบั ผทู้ ม่ี คี วามจาเป็น และต้องการความ

ชว่ ยเหลอื พเิ ศษ

1.4 ฝกึ ทกั ษะใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงออก แสดง  43 75 ดีเลิศ
ความคิดเหน็ สรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอ

ผลงาน

1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รยี น  43 75 ดีเลิศ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันได้

2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่ง

เรยี นรู้ทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้

1.1 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศในการ  100 4 3 75 ดเี ลิศ
จดั การเรยี นรู้  100 4 3 75 ดเี ลิศ
1.2 ใช้แหลง่ เรียนรู้ และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นใน  100 4 4 100 ยอดเยยี่ ม
การจัดการเรยี นรู้
1.3 สร้างโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้แสวงหาความรู้
ด้วยตนเองจากสอ่ื ทหี่ ลากหลาย
3 มีการบริหารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก

3.1 ผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียน โดย  100 4 4 100 ยอดเยี่ยม
เนน้ การมปี ฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก 100 4 4 100 ยอดเยี่ยม

3.2 ผู้สอนมีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น ให้  100 4 4 100 ยอดเย่ยี ม
เดก็ รักครู ครูรกั เด็ก และเดก็ รักเดก็ เด็กรกั ท่ี
จะเรยี นรู้ สามารถเรียนรรู้ ว่ มกันอย่างมี
ความสขุ

4 ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็น

ระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน

4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพ 
การจัดการเรยี นร้อู ย่างเปน็ ระบบ

35

การปฏิบตั งิ าน เปา้ หมาย จานวนครู (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมิน
ประเด็นพิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ (ร้อยละ) ผ่านเกณฑท์ ่ี ประเมิน(ร้อย คณุ ภาพที่
ปฏบิ ตั ิ กาหนด ละ)
บรรจุ ได้

4.2 มขี น้ั ตอนโดยใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ กี ารวัด  100 4 3 75 ดีเลศิ
และประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกบั เปา้ หมายใน

การจดั การเรยี นรู้

4.3 เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นและผู้มสี ว่ น  100 4 4 100 ยอดเยี่ยม

เก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ มในการวดั และประเมนิ ผล

4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ู้เรยี นเพอื่ นาไปใช้  100 4 3 75 ดเี ลศิ
ในการพัฒนาการเรียนรู้

5 มีการแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ น

กลบั เพ่อื พฒั นาปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้

5.1 และผู้มีส่วนเกยี่ วขอ้ งรว่ มกนั แลกเปลย่ี น  100 4 4 100 ยอดเยย่ี ม
ความรูแ้ ละประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้

5.2 นาข้อมูลปอ้ นกลบั ไปใช้ในการปรับปรุง  100 4 4 100 ยอดเยีย่ ม
และพัฒนาการจดั การเรียนร้ขู องตนเอง

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทกุ ประเดน็ พิจารณา 89.06 ดเี ลิศ

จานวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ 1.กรอกขอ้ มลู เฉพาะแถบสีขาว 100 x จานวนครูผ่านเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนด
วธิ ีคานวณ จานวนครูทั้งหมด

*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = กาลังพฒั นา
ปานกลาง
แปลผลการประเมินคณุ ภาพท่ไี ด้ = ดี
ร้อยละ 00.00 – 49.99 = ดเี ลิศ
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ยอดเยี่ยม
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 =
ร้อยละ 75.00 – 89.99 =
รอ้ ยละ 90.00 – 100

กระบวนการพัฒนาทีส่ ่งผลต่อระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 3

ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา ศักยภาพ
ของผู้เรียน จากการศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เก่ียวข้องพบว่า ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล โดยใช้
ข้อมูลผู้เรียนวางแผนการจัดการเรียนรู้และมีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศผู้เรียนเป็นรายบุคคล ให้กับครูผู้สอนใน
ระดับทส่ี ูงข้ึน และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง หรอื ตามที่โรงเรยี นกาหนดครอู อกแบบและจัดการ เรียนรู้ที่ตอบสนองความ
แตกต่างระหวา่ งบคุ คลและพฒั นาการทางสตปิ ัญญา

36

1. การออกแบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้โดยมีองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด
สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยใช้เทคนิคการสอนหลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง
บุคคล มกี ารกาหนดส่อื การสอนหลากหลาย เหมาะสมกับกจิ กรรมและความแตกต่างระหว่างบุคคล
กาหนดแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายเหมาะสมกับกิจกรรม และความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดกิจกรรมที่ส่งเสริม
พัฒนาการด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามระดับ ความสามารถ และนาผลการประเมินการออกแบบการเรียนรู้จาก
บันทึกหลังสอนนามาพัฒนาการออกแบบการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ออกแบบไว้ โดยใช้เทคนิคการสอน ส่ือการสอน แหล่งเรียนรู้และจัดทาบันทึกหลังสอนประเมินการจัด
แผนการเรียนรตู้ ามทีอ่ อกแบบไว้ พร้อมท้ังแนวทางการ พัฒนา ครูมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก โดยให้ความ
เคารพศักด์ิศรขี องผเู้ รียนพฒั นาพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ให้เกิดกับผู้เรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดย
คานึงถึง ความต้องการและพัฒนาการของผู้เรียน ให้ความยุติธรรมเท่าเทียมกันและไม่เลือกปฏิบัติกับผู้เรียน และ
เสรมิ สร้างความสามัคคี กลมเกลียวในกลมุ่ ใหก้ ับผู้เรียน

2. ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและ
แหล่งเรียนรทู้ ี่เออื้ ต่อการเรียนรู้ ครใู ชส้ อ่ื เทคโนโลยี สารสนเทศ และ งานวิจัยในการจดั การเรยี นรู้ตามบริบทและภูมิ
ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ โดยมีการ เลือกใช้สื่อภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทรัพยากรในท้องถ่ิน
อย่างคุ้มค่า มีการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการสอน ให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยครูจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม
การใช้หอ้ งเรยี น/แหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลาย

3. มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและใช้ข้อมูลในการวาง
แผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียน จากการศึกษาเอกสารและสัมภาษณ์ผู้เก่ียวข้องพบว่า ครูมี
การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้ ข้อมูลผู้เรียนวางแผนการจัดการเรียนรู้และมีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศ
ผเู้ รียนเป็นรายบุคคลให้กับครผู ูส้ อนใน ระดับทสี่ งู ข้ึน และหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง หรอื ตามที่โรงเรียนกาหนด

4. ตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ครูมีการวัดและประเมินผลท่ี
มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรขู้ องผ้เู รียนด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย มีการพฒั นา เคร่อื งมอื วัดและประเมินผลการเรียนท่ี
มีคุณภาพตามหลักการวัดผลและประเมินผลสอดคล้องกับทุกมาตรฐานและ ตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้
พร้อมทัง้ จัดเกบ็ เคร่อื งมืออย่างเปน็ ระบบ และตดั สนิ ผลการเรยี นรโู้ ดย พิจารณาคะแนนพฒั นาการ

5. มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ กาหนด
แนวทางการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในและภายนอก สถานศึกษา
สถานศึกษาผ่านกิจกรรมส่ือเทคโนโลยีารสนเทศหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆภายในสถานศึกษา และ ดาเนินการตาม
แนวทางท่ีกาหนด ระบุความรู้ท่ีจาเป็น (Knowledge Mapping) กล่ันกรองความรู้ให้กับบุคลากร ภายใน
สถานศึกษา ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร โดยการนาไปใช้และผลลัพธ์จากการพัฒนาส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ 54
ผู้เรยี นและ/หรือความสาเร็จ สร้างเครือขา่ ยการเรยี นรทู้ ัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา มกี ารเผยแพร่ความรู้ และ
นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

37

3. สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั ปฐมวยั

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี คณุ ภาพของเดก็ 5
1 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 5
2. มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 5
มาตรฐานท่ี 3. มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องสงั คม 5
2 4. มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหา
ความรไู้ ด้ 5
มาตรฐานที่ 5. โรงเรียนเพม่ิ เตมิ ได้... 3
3 กระบวนการบริหารและการจดั การ 5
1. มหี ลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการท้ังส่ดี า้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทขอทอ้ งถน่ิ 5
2. จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชน้ั เรยี น 5
3. ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
4. จดั สภาพแวดลอ้ มและส่อื เพอื่ การเรยี นรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 5
5. ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรียนรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจัด
ประสบการณ์ 5
6. มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม 5
7. โรงเรียนเพมิ่ เตมิ ได.้ .. 5
การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคญั 5
1. จดั ประสบการณท์ ีส่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ น อยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
2. สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั ิอย่างมคี วามสขุ 4.86 = ดเี ลศิ
3. จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวยั
4. ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพฒั นาการเด็กไป
ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
5. โรงเรียนเพมิ่ เตมิ ได้...

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพระดับปฐมวัย

การคดิ ระดับคณุ ภาพของสรุปผลการประเมิน

1. การแปลผลระดับคุณภาพของประเด็นพจิ ารณาและมาตรฐานการศึกษา

ระดับคณุ ภาพ คะแนน

ยอดเยย่ี ม = 5

ดเี ลิศ = 4

ดี = 3

ปานกลาง = 2

38

กาลังพฒั นา = 1
2. หาระดบั คุณภาพของแต่ละมาตรฐาน ดงั นี้

2.1 หาคะแนนเฉลย่ี ของแตล่ ะมาตรฐานโดยใช้สูตร
คะแนนเฉลี่ยแต่ละมาตรฐาน = ผลรวมคะแนนทุกประเด็นพจิ ารณาของแตล่ ะมาตรฐาน

จานวนประเดน็ การพิจารณา
2.2 แปลผลคะแนนเฉล่ียแตล่ ะมาตรฐานเป็นระดับคุณภาพ

เชน่ คะแนนเฉลี่ยมาตรฐานที่ 1 = 4+5+4+4 = 17 = 4.4 = ดเี ลิศ

44

หมายเหตุ: ทศนิยมตา่ กว่า .5 ปดั ลง ตง้ั แต่ .5 ปัดข้ึน

3. หาระดบั คุณภาพของสรปุ ผลการประเมนิ ดงั น้ี

3.1 หาคะแนนเฉลี่ยของสรุปผลการประเมนิ โดยใช้สตู ร

คะแนนเฉลีย่ ของสรุปผลการประเมนิ = ผลรวมคะแนนเฉลย่ี ของแต่ละมาตรฐาน

จานวนมาตรฐาน

3.2 แปลผลคะแนนเฉลย่ี สรุปผลการประเมินเปน็ ระดบั คุณภาพ

เชน่ คะแนนเฉล่ียของสรุปผลการประเมิน = 4.4+4.33+4.25 = 12.98 = 4.33 = ดเี ลศิ

33

หมายเหตุ: ทศนิยมตา่ กวา่ .5 ปัดลง ต้ังแต่ .5 ปดั ขึ้น

ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน 39

มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี คณุ ภาพของผู้เรียน 4
4
1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รยี น
4
1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคานวณ 4
4
2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ 4

คดิ เห็นและแก้ปัญหา 5
5
3. มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4
5
4. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร
5
5. มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 4
4
6. มคี วามรู้ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี
5
คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน 5
4
1. การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมท่ดี ตี ามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
4
2. ความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย 4
5
3. การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4
5
4. สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม
4.38 = ดีเลิศ
มาตรฐานที่ กระบวนการบริหารและการจดั การ

2 1. มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน

2. มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

3. ดาเนินงานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุก

กลุ่มเป้าหมาย

4. พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้

7. โรงเรยี นเพิม่ เติมได.้ ..

มาตรฐานท่ี กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ

3 1. จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้

2. ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนร้ทู ีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้

3. มกี ารบริหารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก

4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน

5. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้

6. โรงเรียนเพิ่มเติมได้...

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

*** สรุปผลการประเมินคุณภาพคิดแบบเดยี วกับระดบั ปฐมวัย***

40

3. จุดเดน่
ระดบั ปฐมวัย (เขยี นเปน็ ขอ้ หรือเขยี นเปน็ บรรยายรอ้ ยแก้ว)

คณุ ภาพของเด็ก
1.เดก็ มีพัฒนาการท่ีเหมาะสมกับวยั ทง้ั 4 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปญั ญา
2.เด็กมีร่างกายเตบิ โตตามวัย มนี า้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีทกั ษะการเคลือ่ นไหวตามวยั สามารถดแู ลสขุ ภาพและ
หลกี เลีย่ งต่อสภาวะที่เส่ยี งต่ออุบัตเิ หตุ
3.ทางานร่วมกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งมีความสขุ มีอารมณ์แจม่ ใส ร่าเริง สนกุ สนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1.มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถิ่น
2.การจัดสง่ิ อานวยความสะดวกให้บรกิ ารดา้ นสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณเ์ พื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
3.ครไู ดร้ บั การพัฒนาดา้ นวชิ าชีพ
การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ สาคญั
1.เด็กมพี ฒั นาการการอยา่ งสมดุล
2.เด็กเรยี นรู้ จากการเล่นและปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
3.มบี รรยากาศ สภาพห้องเรยี นเอื้อต่อการเรียนรู้
4.ประเมินผลเด็กดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย

ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (เขียนเป็นข้อ หรือเขยี นเปน็ บรรยายรอ้ ยแก้ว)
คุณภาพของผู้เรยี น
1. ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ขน้ึ บรรลุตามเป้าหมาย และตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ ทีโ่ รงเรยี นกาหนด
2. ผเู้ รียนทุกคนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดบั การศึกษาท่ีสูงข้นึ ร้อยละ 100
3. ผเู้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยใี นการเรียนรู้ คน้ ควา้ และนาเสนอผลงาน รวมถึงการสืบค้นความรู้ต่าง ๆ ได้อย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ
กระบวนการบริหารและการจัดการ
1. ผูบ้ ริหารมวี สิ ัยทศั น์ และนโยบายการบริหาร บรหิ ารโดยใช้หลักธรรมาภบิ าล และการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม
2. ครูทางานเปน็ ทีม และพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง
3. สถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2564
กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
1. ครูมคี วามมุ่งมน่ั ในการพฒั นาตนเอง อทุ ศิ ตน เสียสละเพื่อองค์กร
2. ครูได้รบั การพฒั นาตนเองในด้านวิชาชีพอย่างต่อเน่อื ง
3. ครูสามารถบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และจดั กิจกรรมต่าง ๆ ด้วยเทคนคิ วธิ ีการท่หี ลากหลาย
สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม สรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรูร้ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข

41

4. จุดควรพัฒนา
ระดับปฐมวยั (เขียนเปน็ ข้อ หรือเขียนเป็นบรรยายรอ้ ยแก้ว)

คุณภาพของเดก็
1.ดา้ นการมคี วามคิดรวบยอด
2.การรจู้ ักยับบั้งช่ังใจ อดทน รอคอย
3.การทาความเคารพ ยิ้ม ไหว้ ทกั ทาย
กระบวนการบริหารและการจัดการ
1.จดั ครใู หเ้ พยี งพอตอ่ ชน้ั เรียน
2.จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และพอเพียง
3.กาหนดแผนการพัฒนาครูอยา่ งชดั เจน
การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสาคัญ
1.จดั อปุ กรณส์ ื่อการเรยี นการสอนทห่ี ลากหลาย
2.พฒั นาเคร่ืองเลน่ สนามและระบบสาธารณปู โภค
3.จดั กิจกรรมส่งเสรมิ เด็กเรียนรูก้ ารอยูร่ ่วมกัน

ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (เขียนเปน็ ข้อ หรือเขียนเป็นบรรยายร้อยแก้ว)

คุณภาพของผเู้ รียน
1. ผู้เรียนควรไดร้ บั การส่งเสรมิ และผลกั ดนั ด้านอตั ลักษณ์ของผูเ้ รยี นให้เกดิ การพัฒนาอย่างเตม็ ระบบ และ
ต่อเนือ่ ง เพื่อสร้างอัตลักษณ์เฉพาะตวั ของผ้เู รยี นโรงเรยี นวัดพระธาตนุ ้อย
2. ครูผู้สอนควรจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning ในทกุ กล่มุ สาระวิชาเพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีทักษะ
กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และมกี ารแลกเปลีย่ นเรียนร้รู ะหวา่ งผูเ้ รียนกบั ครผู ู้สอน
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. ผบู้ รหิ ารมีทศิ ทางการดาเนินการจัดการศกึ ษา แตค่ วรส่งเสริมและผลกั ดันให้ครอบคลมุ ทั้งระบบอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ
1. ครมู ีการแลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การเรียนรู้
2. ครูผู้สอนควรจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ในทกุ กลมุ่ สาระวชิ าเพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีทักษะ
กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และมกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหวา่ งผูเ้ รียนกบั ครผู สู้ อน
3. ครูควรนาความรทู้ ี่ไดจ้ ากการพัฒนาตนเองไปตอ่ ยอดในการสรา้ งสรรค์นวตั กรรมใหม่ ๆ เพือ่ นาไปใช้ให้ผู้เรียน
เกดิ องค์ความรู้

42

5. แนวทางการพัฒนา (เขยี นเปน็ ข้อ หรือเขียนเปน็ บรรยายรอ้ ยแก้ว)
5.1 จดั กจิ กรรมให้เด็กมโี อกาส แสวงหาความรู้และหาคาตอบดว้ ยตนเอง เพอ่ื สง่ เสริมใหเ้ ด็กรูจ้ ักการคิด

วเิ คราะห์ ซักถามในสิง่ ท่ีตนเองสงสยั และใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมตามวยั
5.2 ครูปฐมวยั ควรศกึ ษาหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยให้เขา้ ใจอย่างชัดเจน เพื่อนามาจัดประสบการณ์ใหเ้ หมาะสม

ตามวยั ของเด็กได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน
5.3 สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ให้มากยิ่งขน้ึ
5.4 จดั สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและชว่ ยสง่ เสรมิ การเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมตามวัยของเด็ก
5.5 สง่ เสริมใหเ้ ดก็ ได้มีประสบการณ์ตรงเก่ียวกบั ภูมิปัญญาท้องถ่ินได้เหมาะสมตามวัย

6. ความต้องการช่วยเหลือ
6.1 การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั ตามแนวทางของการประเมิน O-NET
6.2 การจดั สรรส่อื เทคโนโลยีอปุ กรณ์ทท่ี ันสมัย ให้เพยี งพอต่อผูเ้ รยี น
6.3 การสง่ เสริม สนับสนนุ ครบู คุ ลากรภายในโรงเรียนใหม้ ีทกั ษะด้านภาษาต่างประเทศ

7. ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา(ถ้ามี)
ความโดดเด่น หมายถึง การดาเนินงานของสถานศึกษาที่ส่งเสริมสถานศึกษาเป็นต้นแบบในการ

พัฒนาการจัดการศึกษาด้านต่างๆ เร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาท่ีมีสมรรถนะสูงและ
พรอ้ มสาหรบั การแขง่ ขนั ระดบั สากลในอนาคต

การพิจารณาความโดดเด่นให้พิจารณาจากสัดส่วน ร้อยละ เมื่อเทียบกับเด็กท้ังหมดของปริมาณ
ผลงานท่เี ป็นทย่ี อมรับในวงวิชาการระดับทอ้ งถิน่ ระดับภูมิภาค ระดับชาติหรือระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง
(ท้ังน้ี กรณีท่ีได้รับรางวัลให้ระบุข้อค้นพบที่แสดงถึงการบรรลุผลลัพธ์ท่ีต้องการของสถานศึกษา
หนว่ ยงานท่ีมอบรางวลั และระบปุ ที ่ไี ดร้ ับรางวลั โดยตอ้ งไม่เกิน 2 ปี ย้อนหลัง)

-

43

มาตรฐานดา้ นผ้เู รียนของโรงเรยี นบา้ นหนองชะลาบ

ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผเู้ รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ที่กาหนด (รอ้ ยละ)
ทัง้ หมด

ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน

1 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น

การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ

1.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมที ักษะในการอ่านในแต่ละ  80 2 2 100 ยอดเย่ยี ม
ระดบั ช้นั ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด

1.2 ร้อยละของผเู้ รียนมที ักษะในการเขยี นในแต่ละ  80 2 2 100 ยอดเยีย่ ม
ระดบั ช้นั ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด

1.3 รอ้ ยละของผเู้ รียนมที ักษะในการสอ่ื สารในแตล่ ะ  80 2 2 100 ยอดเยี่ยม
ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด

1.4 ร้อยละของผเู้ รยี นมที กั ษะในการคิดคานวณในแต่ละ  80 2 1 50 ปานกลาง
ดับช้นั ตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด

2 มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ
แกป้ ัญหา

2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนก  80 2 1 50 ปานกลาง
แยกแยะ ใครค่ รวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใช้

เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ

2.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมกี ารอภปิ รายแลกเปลย่ี นความ  80 2 2 100 ยอดเยี่ยม
คดิ เหน็

2.3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมกี ารแกป้ ญั หาอย่างมเี หตผุ ล  80 2 2 100 ยอดเยีย่ ม

3 มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม

3.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวม  80 2 2 100 ยอดเยยี่ ม
ความรไู้ ด้ทง้ั ตวั เองและการทางานเปน็ ทมี

3.2 รอ้ ยละของผู้เรียนสามารถเชือ่ มโยงองคค์ วามรแู้ ละ  80 2 1 50 ปานกลาง
ประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ อาจเปน็

แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต

4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ

สื่อสาร

4.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใช้  80 2 2 100 ยอดเยยี่ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

4.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมคี วามสามารถในการนา  80 2 1 50 ปานกลาง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื พฒั นา

ตนเองและสงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การ

ทางานอยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม

5 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

44

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผ้เู รยี น (คน) *** ผลการ
ปฏบิ ตั ิ ไม่ ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ารณา เป้าหมาย ทงั้ หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพที่ได้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ทก่ี าหนด (ร้อยละ)
5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรยี นรตู้ ามหลักสูตร ยอดเย่ียม
สถานศึกษา  80 22 100 ปานกลาง
5.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้  80 21
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพืน้ ฐานเดมิ 50
5.3 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมีความกา้ วหน้าในผลการ
ทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอนื่ ๆ

การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผ้เู รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมิน
ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ทง้ั หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ท่ีกาหนด (รอ้ ยละ)
6 มคี วามรทู้ กั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ งานอาชพี
6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ  80 2 2 100 ยอดเยยี่ ม
เจตคติท่ดี ีในการศกึ ษาต่อ
6.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ  80 2 2 100 ยอดเยี่ยม
เจตคติที่ดใี นการจดั การ การทางานหรืองานอาชีพ

คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน

1 การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามท่สี ถานศกึ ษา

กาหนด

1.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมเป็นผทู้ ีม่ ีคณุ ธรรม  80 2 2 100 ยอดเยี่ยม
80 2 2 100 ยอดเย่ียม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า
80 2 2 100 ยอดเย่ยี ม
รอ้ ยละของผ้เู รียนมีค่านิยมและจติ สานกึ ตามที่  80 2 2 100 ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและ 80 2 2 100 ยอดเยย่ี ม

วัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม 80 2 2 100 ยอดเยีย่ ม

2 ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย

2.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมคี วามภูมิใจในทอ้ งถิ่น เหน็ 
คุณค่าของความเปน็ ไทย 
2.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์
วฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาไทย 

3 การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและ 
หลากหลาย
3.1 ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยรู่ ่วมกนั บน
ความแตกต่างระหว่างบคุ คลในดา้ นเพศ วัย เชอื้
ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

4 สุขภาวะทางร่างกายและจติ สังคม
4.1 ร้อยละของผเู้ รียนมกี ารรกั ษาสุขภาพกาย
สขุ ภาพจติ อารมณ์และสังคม และแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั


Click to View FlipBook Version