คำนำ
หนงั สือเล่มนีเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ าสุขภาวะจติ โดยมจี ดุ ประสงค์เพอ่ื
ศึกษาเร่ืองยาเสพติดเพราะปญั หายาเสพติดเปน็ ปญั หาต่อสงั คมและมผี ลกระทบโดยตรง
ตอ่ ตวั ผตู้ ิด/ผูเ้ สพยา จงึ ทาํ ใหร้ ัฐบาลในทุกยุคทกุ สมัยให้ความสาํ คัญและกําหนดเปน็
วาระแหง่ ชาติ เพอ่ื แก้ไขปัญหายาเสพติดและจะตอ้ งควบคุมปอ้ งกนั และปราบปราม
ปัญหายาเสพติด ซงึ่ การแกไ้ ขปัญหายาเสพติดที่มงุ่ เน้นตัวผตู้ ิด ผูเ้ สพยาเสพติดทเ่ี ป็น
ตัวการหลักในการใชย้ าเสพตดิ นน้ั ถอื เป็นทางหนง่ึ ในการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ
การศึกษาในคร้ังนเ้ี ปน็ การศกึ ษาเพือ่ ให้ความรใู้ นเร่ืองยาเสพติดและยังเปน็
แนวทาง ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชมุ ชน และสงั คมไทย ผู้จัดทาํ หวงั ว่าหนงั สอื เลม่
น้จี ะเปน้ ประโยชน์ต่อผู้อา่ น
ผู้จดั ทาํ
นางสาวทพิ นภา วงศ์บา
นายธนพล ศาลาน้อย
สำรบญั
ยำเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารหรอื ยาท่อี าจเป็นผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ หรอื จาก
การสังเคราะห์ ซึง่ เมอื่ เสพเขา้ สรู่ า่ งกายไมว่ า่ จะโดย การกนิ ดม สูบ ฉีด หรือ ด้วย
ประการใด ๆ แลว้ จะทาํ ให้เกิดผลตอ่ รา่ งกายและจติ ใจ ในลกั ษณะสําคญั เช่น - ต้องเพิ่ม
ขนาดการเสพขนึ้ เร่อื ยๆ
- มีอาการอยากยาเมอื่ ขาดยา
- มีความต้องการเสพท้งั ร่างกายและจติ ใจอยา่ งรุนแรงและตอ่ เน่ือง
- สขุ ภาพโดยทวั่ ไปจะทรุดโทรมลง
ประเภทของยาเสพตดิ
ยาเสพติด แบ่งไดห้ ลายรปู แบบ ตามลกั ษณะต่าง ๆ ดงั นี้
1. แบง่ ตามแหล่งที่เกิด ซง่ึ จะแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คอื ยาเสพตดิ ทผี่ ลิตมา จากพชื
เชน่ ฝิ่น กระทอ่ ม กัญชา เปน็ ต้น
ฝิน่ กระท่อม
1.2 ยาเสพติดสงั เคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพตดิ ทีผ่ ลติ ข้ึน
ดว้ ยกรรมวิธที างเคมี เช่น เฮโรอนี แอมเฟตามีน เป็นต้น
เฮโรอีน แอมเฟตามนี
2. แบ่งตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ซ่งึ จะแบ่งออก เป็น 5 ประเภท
คือ
2.1 ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน
หรือยาบา้ ยาอีหรือยาเลฟิ
แอลเอสดี ยาอีหรอื ยาเลิฟ
2.2 ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทท่ี 2 ยาเสพตดิ ประเภทนสี้ ามารถ
นามาใช้เพอ่ื ประโยชนท์ างการแพทยไ์ ด้ แตต่ อ้ งใชภ้ ายใต้การควบคมุ ของแพทย์ และ
ใชเ้ ฉพาะกรณีท่จี าเปน็ เท่านัน้ ได้แก่ ฝ่นิ มอรฟ์ นี โคเคน หรอื โคคาอนี โคเคอนี และเม
ทาโดน
มอรฟ์ ีน โคเคน
2.3 ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพตดิ ประเภทนเ้ี ป็นยา เสพติดให้
โทษทีม่ ียาเสพติดประเภทท่ี 2 ผสมอยู่ด้วย มปี ระโยชน์ ทางการแพทย์ การนาไปใชเ้ พื่อ
จดุ ประสงค์อ่ืน หรอื เพื่อเสพตดิ จะมบี ท ลงโทษกากับไว้ ยาเสพตดิ ประเภทน้ี ได้แก่
ยาแก้ไอ ทมี่ ตี วั ยาโคเคอนี ยาแก้ทอ้ งเสีย ท่ีมฝี ่นิ ผสมอยู่ดว้ ย ยาฉีดระงับปวดตา่ ง ๆ เชน่
มอรฟ์ ีน เพทดิ นี ซ่งึ สกดั มาจากฝิ่น
เพทิดนี ยาแกไ้ อ ที่มตี วั ยาโคเคอีน
2.4 ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีทีใ่ ช้ในการผลิตยา เสพติด
ให้โทษ ประเภทที่ 1 หรอื ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนไ้ี ม่มี การนามาใชป้ ระโยชน์
ในการบาบดั โรคแตอ่ ย่างใด และมีบทลงโทษ กากับไว้ด้วย ไดแ้ ก่ นา้ ยาอะเซตคิ แอนไฮ
ไดรย์ และ อะเซตลิ คลอไรด์ ซ่ึงใช้ในการเปลีย่ นมอรฟ์ ีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูได
อีเฟครนี สามารถใชใ้ นการผลติ ยาบา้ ได้ และวัตถุออกฤทธ์ิต่อจติ ประสาทอีก 12 ชนดิ ที่
สามารถนามาผลติ ยาอแี ละยาบา้ ได้
ยาอี ยาบา้
1.5 ยาเสพตดิ ให้โทษประเภทท่ี 5 เป็นยาเสพติดใหโ้ ทษทมี่ ไิ ด้ เข้าขา่ ยอยู่
ในยาเสพติดประเภทท่ี 1 ถึง 4 ได้แก่ ทุกส่วนของพชื กญั ชา ทกุ ส่วนของพชื กระทอ่ ม
เหด็ ขคี้ วาย เปน็ ต้น
กระท่อม เห็ดขี้ควาย
3. แบ่งตามการออกฤทธ์ิต่อจติ ประสาท ซงึ่ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท คือ
3.1 ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝนิ่ มอรฟ์ ีน เฮโรอีน สารระเหย
และยากลอ่ มประสาท
3.2 ยาเสพติดประเภทกระตนุ้ ประสาท ไดแ้ ก่ แอมเฟตามนี กระท่อม และ
โคคาอีน
3.3 ยาเสพตดิ ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดเี อม็ พี และ เห็ด
ข้ีควาย
3.4 ยาเสพตดิ ประเภทออกฤทธ์ิผสมผสาน กลา่ วคอื อาจกด กระตุ้น หรอื
หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กนั ตัวอย่างเช่น กญั ชา
4. แบ่งตามองคก์ ารอนามัยโลก ซ่งึ แบง่ ออกได้เป็น 9 ประเภท คอื
4.1 ประเภทฝิ่น หรอื มอร์ฟนี รวมทง้ั ยาทีม่ ีฤทธค์ิ ล้าย มอรฟ์ นี ได้แก่ ฝ่นิ
มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน
4.2 ประเภทยาปิทเู รท รวมทั้งยาท่มี ฤี ทธ์ิทานองเดยี วกนั ไดแ้ ก่ เซ โคบาร์
ปติ าล อะโมบาร์ปิตาล พาราลดไี ฮด์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม เปน็ ตน้
4.3 ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหลา้ เบียร์ วิสก้ี
4.4 ประเภทแอมเฟตามนี ได้แก่ แอมเฟตามนี เมทแอมเฟตามนี
4.5 ประเภทโคเคน ไดแ้ ก่ โคเคน ใบโคคา
4.6 ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกญั ชา
4.7 ประเภทใบกระทอ่ ม
4.8 ประเภทหลอนประสาท ไดแ้ ก่ แอลเอสดี ดเี อน็ ที เมสตาลีน
เมลัดมอนิง่ กลอร่ี ต้นลาโพง เห็ดเมาบางชนิด
4.9 ประเภทอ่นื ๆ นอกเหนือจาก 8 ประเภทขา้ งต้น ไดแ้ ก่ สาร ระเหย
ตา่ ง ๆ เชน่ ทินเนอร์ เบนซนิ นา้ ยาล้างเลบ็ ยาแก้ปวด และบหุ ร
ประเภทแอลกอฮอล
ใบกัญชา ประเภทยาปทิ ูเรท
อนั ตรายของยาเสพตดิ
ยาเสพตดิ …มีอนั ตรายอยา่ งไร ?.....
การใชย้ าเสพติดอยา่ งปลอดภยั อาจเป็นไปไดใ้ นกรณีที่ใช้กับคนไข้ เพือ่
บรรเทาอาการเจบ็ ปวดอย่างรุนแรง แต่ต้องอยูภ่ ายใต้การดแู ลควบคุม ของแพทยอ์ ย่าง
ใกลช้ ิดซึ่งถอื ว่าเป็นการใช้ยาเสพติดทถ่ี ูกต้องตามกฏหมาย มกี ารควบคมุ ปริมาณการใช้
อยา่ งเครง่ ครดั แพทยผ์ ู้ใชต้ ้องกรอก รายการยาเสพติดรวมทัง้ ปรมิ าณการใช้ทกุ ครงั้ ส่วน
การใช้ยาเสพติด ในทางทผี่ ิดกจ็ ะเกดิ ผลเสียแก่ผเู้ สพได้ เชน่ การใช้ยาเสพตดิ เพ่ือการ
บาบัดความเจ็บป่วยทางร่างกายและจติ ใจในลักษณะพร่าเพรอ่ื จนเกนิ ปรมิ าณ โดย
ไม่ไดอ้ ยู้ภายใต้การควบคมุ ของแพทยก์ ลายเป็นผตู้ ิดยา เสพติด เพราะยาเสพติดนั้นเมอ่ื
เสพเข้าสูร่ ่างกายแล้ว จะมผี ลทาให้ผู้ เสพมคี วามตอ้ งการอยา่ งรนุ แรงแรงในการท่ีจะเสพ
ตอ่ ไป ไม่สามารถ หยดุ การเสพได้ ตรงกันข้ามกลับตอ้ งการที่จะเพิ่มปริมาณการเสพขึ้น
เรอ่ื ยๆ จนทาให้เกดิ ความเสื่อมโทรมของรา่ งกายและจติ ใจ ทาให้ ร่างกายไมเ่ ป็นปกติ ซึ่ง
อาจทาให้ถึงแก่ความตายได้ อันตรายท่ีเกดิ ขึน้ แกผ่ ้เู สพ อาจมไี ดด้ ังน้ี คือ
1. ทาลายสุขภาพใหท้ รุดโทรม เพราะระบบการทางานของอวยั วะผิด
ปกติ น้าหนกั ลด ผิวคลา้ รา่ งกายซูบผอม
2. เป็นบคุ คลไร้สมรรถภาพท้งั ทางร่างกายและจติ ใจ อารมณไ์ ม่เปน็ ปกติ
เฉื่อยชา เกยี จครา้ น
3. บคุ ลกิ ภาพเสยี ขาดความสนใจในตนเอง มพี ฤติกรรมท่ีเปลีย่ นแปลง ไป
จากเดิม 4. อาจประสบอุบัติเหตไุ ดง้ ่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและ ระบบ
ประสาทบกพรอ่ ง
5. เกดิ โรคแทรกซ้อนไดง้ า่ ย เพราะความต้านทานโรคน้อย ติดเชือ้ ง่าย
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงใน รายทีใ่ ช้การฉดี โดยอาศยั เข็มและกระบอกฉีด ร่วมกบั ผทู้ ี่มเี ช้อื โรค
เอดส์ หรอื โรคตับอักเสบ ยอ่ มทาให้เกดิ การตดิ เช้อื ถึงกนั และกนั ได
นอกจากน้ีอันตรายโดยออ้ มทีจ่ ะเกิดกบั ครอบครัวของผู้เสพตดิ ก็คอื ความโกลาหล
ความเดอื ดรอ้ นวุน่ วาย ความวติ กกังวลของทกุ คนใน ครอบครวั น้นั ๆ รวมทง้ั อนั ตรายท่ีอาจทาใหม้ ี
ผลต่อสังคมโดยส่วนรวม ไดแ้ ก่ การเกิดอาชญากรรมตา่ งๆ มากข้นึ ตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายและกาลงั
เจา้ หนา้ ทใ่ี นการป้องกนั และปราบปราม ตลอดจนการบาบัดรกั ษามาก ยิง่ ขึน้ เร่ือยๆ ถา้ หากจะให้
กล่าวโดยรวมแลว้ อาจพดู ได้วา่ ยาเสพตดิ มี อันตรายทัง้ ตอ่ ผูเ้ สพตดิ อนั ตรายตอ่ ครอบครัวของผู้
เสพติด อนั ตรายตอ่ สงั คม และประเทศไทยท่รี กั ของเราน่ันเอง
การป้องกันปญั หายาเสพติด
การป้องกันปญั หาสิง่ เสพตดิ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื จากหลายฝ่าย ดงั นี้
การป้องกนั ตนเอง
1. ไม่ทดลองเสพสิ่งท่ีรู้วา่ มภี ยั เพราะอาจจะทาให้ติดได้ง่าย
2. เลือกคบเพอ่ื นทด่ี ี พยายามหลกี เล่ียงเพ่ือนที่ชอบชักจูงไปในทางเสอื่ มเสีย
3. รู้จกั ใช้วจิ ารณญาณในการแกป้ ัญหา แต่หากวา่ ไมส่ ามารถแกไ้ ขเองได้ กค็ วรจะ
ปรึกษากับพ่อแมห่ รอื ญาติผ้ใู หญท่ ไ่ี ว้ใจได้
4. การสรา้ งทักษะชวี ิต โดยเฉพาะทกั ษะการปฏิเสธเมอ่ื ถกู เพื่อนชกั ชวนใหเ้ สพส่งิ เสพ
ตดิ ต้องรู้จักปฏเิ สธอย่างนุม่ นวล โดยการชแี้ จงผลเสียของส่ิงเสพติดตอ่ การเรียนและอนาคต
การรู้จกั ปฏเิ สธอย่างจรงิ จังและจติ ใจแน่วแนจ่ ะทาใหเ้ พ่อื นเกรงใจไมก่ ลา้ ชวนอีก
ปอ้ งกนั ตนเอง ทาได้โดย…..
• ศึกษาหาความรู้ เพื่อใหร้ ู้เท่าทนั โทษพษิ ภยั ของยาเสพตดิ
• ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนดิ และปฏเิ สธเมือ่ ถูกชกั ชวน
• ระมดั ระวังเรอ่ื งการใชย้ า เพราะยาบางชนิดอาจทาให้เสพติดได้
• ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์
• เลือกคบเพื่อนดี ทีช่ กั ชวนกันไปในทางสรา้ งสรรค์
• เมอื่ มีปญั หาชีวติ ควรหาหนทางแก้ไขท่ไี ม่ข้องเก่ียวกับยาเสพตดิ หากแกไ้ ข
ไมไ่ ดค้ วรปรึกษา ผใู้ หญ่
การป้องกนั ในครอบครัว
ผ้ทู ี่ตดิ สิง่ เสพติดส่วนใหญ่จะเกิดจากครอบครวั ที่แตกแยกมีปัญหา ขาด
ความรกั ความอบอนุ่ เกิดความว้าเหว่ ขาดที่ยดึ เหนีย่ วทางจติ ใจ ซึ่งเป็นเหตุใหเ้ ด็กๆ
หันไปพึง่ ยาเสพติดแทน ดังน้นั พ่อแม่จึงควรให้ความรักความอบอุ่น และพอ่ แม่กค็ วรจะ
ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี และเป็นที่ปรึกษาให้แกล่ กู ๆได้ ทาใหล้ ูกไม่หันไปพ่งึ พา
ยาเสพตดิ ป้องกนั ครอบครัว ทาได้โดย
• สร้างความรัก ความอบอุ่นและความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งสมาชกิ ใน
ครอบครัว
• รแู้ ละปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าท่ขี องตนเอง
• ดแู ลสมาชิกในครอบครัว ไม่ให้ข้องเกย่ี วกับยาเสพตดิ
• ให้กาลงั ใจและหาทางแก้ไข หากพบวา่ สมาชิกในครอบครัวตดิ ยาเสพติด
การปอ้ งกนั ในโรงเรยี น
ครคู วรใหค้ วามร้เู กี่ยวกับโทษและอนั ตรายของสงิ่ เสพตดิ ให้กับนกั เรียน
จดั ให้มีกิจกรรมนนั ทนาการในโรงเรียนให้เพียงพอและสนับสนนุ ใหน้ ักเรียนได้รว่ ม
กจิ กรรมนันทนาการ
การป้องกนั ชมุ ชน
การปอ้ งกันชมุ ชนจากปญั หาสิง่ เสพตดิ ทาไดห้ ลายวธิ ี เช่น
1. การใหค้ วามรู้ โดยการอบรมแกท่ ุกคนในชมุ ชนใหเ้ หน็ โทษหรอื อันตรายจากสง่ิ
เสพตดิ
2. เสรมิ กจิ กรรมยามวา่ ง โดยการสง่ เสริมอาชีพแก่ชุมชนยามวา่ ง เชน่ การเยบ็
เสอื้ ผ้า การทารองเทา้ เป็นต้น
3. ตั้งศูนยร์ ับแจง้ เบาะแสเกยี่ วกบั สง่ิ เสพติด เม่อื พบว่ามกี ารซ้อื ขายหรือเสพสง่ิ เสพ
ตดิ ภายในชุมชน
4. เขา้ รว่ มโครงการชุมชนปลอดสงิ่ เสพตดิ ตา่ งๆ ทงั้ ทท่ี างราชการจัดข้ึน และชุมชน
คิดรเิ ร่ิมขนึ้ มาเอง
รัฐบาล
1. การให้การศกึ ษาแก่ประชาชนอยา่ งท่ัวถึง
2. แก้ไขปญั หาเศรษฐกจิ และสังคมอยา่ งจรงิ จงั และจดั สรรงบประมาณในการ
ป้องกนั และปราบปรามสงิ่ เสพตดิ
3. จัดบคุ ลากรและหนว่ ยงานในการป้องกนั และปราบปรามสิง่ เสพติดใหเ้ พยี งพอ
และดาเนนิ การอย่างต่อเนอื่ ง
4. การบังคับใชก้ ฏหมายอย่างจรงิ จงั บางครั้งเจ้าหนา้ ท่ีตารวจบางคนท่ีดูแลดา้ นส่ิง
เสพตดิ กป็ ล่อยปละละเลย หรอื ทาการคา้ สง่ิ เสพติดเสยี เอง ทาให้การปราบปรามไม่ไดผ้ ล
เทา่ ที่ควร ดงั นั้นรัฐบาลจึงควรเขท้ มงวดกับผูก้ ระทาผดิ และลงโทาผกู้ ระทาผดิ อย่าง
จริงจงั และต่อเนอื่ ง
สาเหตขุ องการตดิ สารเสพตดิ
สาเหตขุ องการติดยาเสพติด มหี ลายประการ ดงั น้ี คอื
1. อยากลอง อยากรู้ อยากเห็น อยากสมั ผสั ซึ่งเป็นสญั ชาตญาณอยา่ งหนงึ่ ของมนษุ ย์
โดยคดิ วา่ "ไมต่ ดิ " แตเ่ ม่อื ลองเสพเขา้ ไปแลว้ มักจะตดิ
2. ถกู เพ่ือนชกั ชวน ส่วนใหญ่พบในกลุ่มเยาวชน ทาตามเพื่อน เพราะตอ้ งการ การ
ยอมรับจากเพื่อนฝูง หรอื ถกู ชักจูงว่าใชแ้ ล้วทาใหส้ มองปลอดโปร่ง หรอื ใช้แลว้ ทาให้ขยนั
จึงเหมาะแก่การเรยี น และการทางาน
3. ถกู หลอกลวง โดยอาศัยรูปแบบสีสันสวยงาม ทาใหผ้ ู้รับไม่อาจทราบได้วา่ สิง่ ทต่ี น
ได้รบั เปน็ ยาเสพตดิ
4. ใช้เพ่ือลดความเจบ็ ปวดทางกาย อันเนือ่ งมาจากโรคภัยไขเ้ จ็บ จนเกดิ การตดิ ยา
เพราะใชเ้ ปน็ ประจา
5. เกิดจากความคนอง และขาดสติย้งั คิด ทั้ง ๆ ท่ีรู้วา่ เป็นยาเสพติด แต่อยากแสดง
ความเกง่ กลา้ อวดเพอื่ น จึงชวนกันเสพจนติด
6. ภาวะส่งิ แวดล้อมรอบตวั เอ้อื อานวยท่จี ะส่งเสรมิ และผลักดนั ให้หนั เขา้ หายาเสพติด
เช่น ครอบครวั แตกแยก สมาชกิ ในครอบครัวขาดความเขา้ ใจซึ่งกนั และกัน ภาวะ
เศรษฐกจิ บีบบงั คับใหท้ าเพ่อื ความอยู่รอด อยากรวยเรว็ หรือพกั อาศยั อยู่ ในแหลง่ ทม่ี ี
การเสพและคา้ ยาเสพตดิ
โทษของยาเสพติด
ยาเสพตดิ ให้โทษ คอื อะไร?
พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522 ซ่งึ เป็นกฎหมายทคี่ วบคมุ ยา
เสพตดิ ให้โทษของประเทศไทย ได้ใหน้ ยิ ามของยาเสพติดใหโ้ ทษไว้ว่า หมายถึง สารเคมี
หรอื วตั ถุใดๆ ซึง่ เม่ือเสพเขา้ สรู่ ่างกายไมว่ ่าจะโดยวิธีใดตาม เช่น รับประทาน สบู ดม
หรือฉดี แลว้ จะก่อให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจท่สี าคัญ 4 ประการ คือ
1. มีความตอ้ งการเสพสารนน้ั อย่างรุนแรงทั้งร่างกายและจติ ใจ
2. ต้องเพิ่มขนาดหรือปรมิ าณการเสพสารน้นั มากข้ึนเป็นลาดับ
3. เมื่อหยุดเสพสารนั้นจะเกดิ อาการถอนยา
4. สุขภาพของผเู้ สพสารนั้นเปน็ เวลานานจะทรุดโทรมลง
ยาเสพตดิ ทีแ่ พรร่ ะบาดในประเทศไทย
ยาเสพตดิ กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาเศรษฐกิจและสงั คมต่อทุกประเทศทั่วโลก
ในลกั ษณะเดียวกัน เช่น ปญั หาอาชญากรรม ปัญหาการลักขโมย ปญั หา
ครอบครัว เป็นต้น แตช่ นดิ ของยาเสพติดที่เป็นตน้ เหตขุ องปัญหานนั้ แตกตา่ งกนั
ไปในแต่ละประเทศ สาหรบั ประเทศไทย ยาเสพติดที่แพรร่ ะบาดอยา่ งรุนแรงอยู่
ในปัจจุบันมี 6 ชนิด ซง่ึ มีรายละเอียด รูปลักษณะ อาการของผเู้ สพ และอันตราย
ของยาเสพติดแต่ละชนิดดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ยาบ้า
ยาบ้า เป็นยาท่ีมีฤทธิก์ ระตุ้นประสาท เป็นสารเคมีสงั เคราะหท์ ี่มีช่อื
วา่ เมทแอมเฟตามนี ยาบา้ ทีล่ กั ลอบจาหนา่ ยกันอยูใ่ นปัจจุบนั มีลักษณะเปน็ ยา
เม็ดสีสม้ สนี า้ ตาล หรอื สเี ขยี ว ด้านหน่งึ ของเมด็ ยาจะมีสญั ลกั ษณเ์ ปน็ ตวั อกั ษร
ภาษาองั กฤษ “wy” สว่ นอกี ดา้ นจะเปน็ รอยขดี แบ่งครึง่ เมด็ ในยาบ้า 1 เมด็ จะมี
สารเมทแอมเฟตามีนประมาณ 25 – 30 มลิ ลกิ รัม อาจเสพโดยการกิน เผาไฟแลว้
สบู ควัน หรือฉีดเขา้ หลอดโลหิตดา
ยาบ้าจะออกฤทธไิ์ ปกระต้นุ ระบบประสาทสว่ นกลาง อันได้แก่
สมองและไขสนั หลัง ส่งผลใหห้ ัวใจเต้นเร็วข้ึน อตั ราการหายใจถ่ีขึน้ ความดัน
โลหติ สงู ข้ึน มา่ นตาขยายกว้างข้นึ และไม่รู้สกึ หวิ นอกจากน้นั ผู้ใช้ยาจะมเี หงอื่
ออกมาก ปวดศรี ษะ ตาพรา่ มัว และนอนไม่หลบั ถา้ เสพยาเขา้ ไปในปรมิ าณมาก
จะมีอาการหัวใจเตน้ รวั ผดิ ปกติ เนอื้ ตัวสั่นเทา ทรงตัวไม่ได้ และสิน้ สติ ถ้าเสพเข้า
ไปในปรมิ าณทมี่ ากเกินกว่ารา่ งกายจะทนรับไหว จะทาให้เกิดอาการหวั ใจวาย
ตาย
นอกจากนี้ ยาบ้ายงั ทาให้เกิดอาการผิดปกตทิ างจิตและประสาท
ดว้ ย โดยผู้เสพยาบา้ จะมอี าการรสู้ กึ สับสน หงุดหงดิ วติ กกังวลใจ และนอนไม่
หลบั อาการดังกล่าวจะรนุ แรงมากย่งิ ขนึ้ เมือ่ เสพยามากขึน้ การเสพยาบ้าใน
ปริมาณมากๆหรือเสพตดิ ต่อกนั เป็นระยะเวลานานๆจะทาใหผ้ เู้ สพกลายเปน็ คน
วิกลจริต โดยจะมีอาการเพ้อคลงั่ มองเห็นภาพหลอน หแู วว่ และหวาดระแวง
หลงผดิ ว่าคนอน่ื จะมาทารา้ ย ซึง่ เป็นเหตุให้ผู้เสพยาบ้าหันไปทารา้ ยผ้อู นื่ เสมอ
2. เฮโรอนี และอนพุ ันธ์ของฝ่ินชนิดอน่ื ๆ
เป็นยาเสพติดที่ไดจ้ ากการสังเคราะหท์ างเคมีทท่ี ามาจากมอรฟ์ นี ซึง่ ได้มา
จากฝน่ิ เฮโรอีนมลี กั ษณะเปน็ ผงสขี าว มรี สขมจดั ไม่มกี ล่ิน ละลายนา้ ไดง้ ่าย เฮโรอีน
สามารถเสพโดยการนาไปละลายน้าแล้วฉดี เขา้ หลอดโลหิตดา หรอื นาไปยดั ใสใ่ นมวน
บุหรี่แลว้ สูบ หรอื นาไปลนไฟแลว้ สูดไอระเหยเขา้ ปอด เฮโรอีนเปน็ ยาเสพติดทร่ี า้ ยแรง
และติดงา่ ยท่ีสดุ
เมอื่ เสพเฮโรอีนหรอื ยาเสพติดท่ีเปน็ อนุพนั ธข์ องฝ่ิน เช่น มอรฟ์ นี เขา้ ไป
แล้ว ผูเ้ สพจะมีอาการเคลบิ เคลมิ้ มนึ เมา ลมื ความทุกขใ์ นจิตใจไปช่ัวขณะ เน่ืองจาก
เฮโรอีนและอนุพนั ธ์ของฝนิ่ ชนิดอ่ืนๆมฤี ทธิ์กดระบบประสาทสว่ นกลาง ผู้เสพยาพวกนีจ้ งึ
มอี าการง่วงซมึ มา่ นตาหรี่ลงเลก็ น้อย ตาแฉะ ในผูท้ เี่ สพยาพวกนีค้ ร้ังแรก อาจมอี าการ
คลืน่ ไส้อาเจยี นเกดิ ข้ึนได้
เฮโรอีนหรือยาทเ่ี ปน็ อนพุ นั ธข์ องฝ่นิ เป็นยาเสพตดิ ที่มฤี ทธ์ริ ุนแรง หาก
เสพมากเกนิ ไปจนรา่ งกายทนไมไ่ หว การทางานของระบบการหายใจจะถูกกด ทาให้
หายใจแผ่วและต้ืน ผิวกายเย็นชน้ื ชกั สลบ และเสียชีวิตเนอื่ งจากระบบการหายใจ
ลม้ เหลว
คนท่ีติดเฮโรอีนหรอื ยาชนิดอ่ืนทเ่ี ปน็ อนุพนั ธข์ องฝิน่ จะมรี ่างกายซูบซีด
ผอมเหลอื ง มอี าการออ่ นเปล้ียเพลียแรง อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เมือ่ ขาดยาจะมี
อาการหงดุ หงิด ทรุ นทรุ าย หาว เหงือ่ ออกมาก เบอ่ื อาหาร ปวดกระดกู ปวดกลา้ มเน้อื
ปวดท้อง ทอ้ งเดิน อาเจียน ชกั จนหมดสติ และถ้ารา่ งกายอ่อนแอกอ็ าจจะถึงขนั้ ทาให้
เสียชีวติ ได้
3. โคเคน
โคเคนเป็นสารเคมที ส่ี กัดมาจากใบของต้นโคคา ซง่ึ เป็นไม้ยืนตน้ ท่ีเจรญิ
งอกงามอยบู่ นภูเขาสูงในทวปี อเมรกิ าใต้ โคเคนเปน็ ยาเสพตดิ ท่ีมฤี ทธก์ิ ระตนุ้ ประสาท
อยา่ งรนุ แรง มีลกั ษณะเปน็ ผงผลกึ สีขาว นิยมเสพโดยการสดู ผงยาเขา้ โพรงจมูก มอี ยู่
ส่วนนอ้ ยท่เี สพโดยนาโคเคนไปละลายนา้ แลว้ ฉดี เข้าหลอดโลหติ ดา
โคเคนทาให้เกดิ ความผดิ ปกตขิ ึ้นกบั รา่ งกายไดภ้ ายในเวลา 10 วินาที อาการผดิ ปกติ
ไดแ้ ก่ ม่านตาขยายกว้างข้นึ กว่าปกติ ความดันโลหิตสูงขึ้นอย่างรวดเรว็ หัวใจเตน้ เรว็
ผิดปกติ หายใจถี่ และอณุ หภมู ริ ่างกายเพม่ิ ขน้ึ สงู กวา่ ปกติ หากเสพโคเคนมากเกินไปจน
รา่ งกายทนไมไ่ หว ผูเ้ สพมกั จะเสียชีวิตจากอาการหัวใจวาย หรือระบบการหายใจ
ล้มเหลว
นอกจากน้ี โคเคนยงั ทาใหเ้ กิดอาการผิดปกตทิ างจิตและประสาทดว้ ย โดย
โคเคนมีฤทธิ์ทาใหเ้ กิดอาการเคลบิ เคล้มิ มึนเมาเป็นระยะเวลาสน้ั ๆประมาณ 20 – 90
นาที ต่อจากนน้ั จะตามด้วยอาการกระสับกระสา่ ย กงั วลใจอยา่ งรนุ แรง ร่างกายออ่ นล้า
และจิตใจหดหู่ หากเสพโคเคนเข้าไปมากๆหรอื ตดิ ต่อกนั เป็นเวลานาน ผู้เสพจะมีอาการ
เพอ้ คลัง่ หวาดระแวงกลัวคนอน่ื จะมาทาร้าย มีอาการประสาทหลอนทางกล่ิน รสและ
สัมผัส อาการดงั กล่าวจะคอ่ ยๆลดระดบั ความรุนแรงลงเมื่อหยดุ เสพโคเคน
4. ยาอี
ยาอีเปน็ สารสงั เคราะหท์ ีอ่ อกฤทธิ์ทัง้ กระตุ้นประสาทและหลอนประสาท
ซึ่งเด็กวยั รุ่นนิยมใชใ้ นปัจจุบนั โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ พวกเดก็ วัยรนุ่ ทชี่ อบมว่ั สุมกันตามดิส
โกเ้ ธค หรอื สถานทีฟ่ งั เพลงและเต้นราที่ๆมีการเปดิ เพลงเสยี งดงั ทงั้ นเ้ี พราะผู้ท่ีเสพยาอี
จะชอบเสยี งดัง
ยาอีทแี่ พร่ระบาดในประเทศไทย จะมีลักษณะเป็นเมด็ กลมแบน ขนาด
เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางประมาณ 0.7 – 0.8 เซนตเิ มตร ความหนาของเม็ดยาประมาณ 0.4 –
0.5 เซนติเมตร สขี องเม็ดยาจะเป็นสอี อ่ นๆ เช่น เขยี วอ่อน เหลอื งอ่อน ฟา้ ออ่ น เทาอ่อน
หรือชมพอู ่อน ไมค่ ่อยพบเม็ดยาทม่ี สี เี ขม้ ๆ สัญลกั ษณ์ท่ีปรากฏบนเมด็ ยาจะมี
หลากหลายรปู แบบ เช่น รูปนก ผเี ส้ือ ตวั การต์ นู หวั ใจ ดวงดาว ดวงจันทร์ ดวงอาทติ ย์
หรอื ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ เปน็ ตน้ ซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณ์ทไ่ี ม่เคยนามาใชเ้ ป็นสญั ลกั ษณ์บน
เมด็ ของยารกั ษาโรค
ยาอเี สพด้วยการกนิ เมือ่ กนิ แลว้ จะเกดิ อาการผดิ ปกตทิ างรา่ งกาย ได้แก่
หัวใจจะเตน้ แรงและเร็วขึ้น ความดันโลหิตสงู ขึน้ อัตราการหายใจถขี่ ึน้ อุณหภูมขิ อง
ร่างกายสูงข้ึนเหมอื นคนเปน็ ไข้ เหง่อื ออกมาก ปวดศีรษะ ตาพรา่ มัว และอาจถงึ กับเป็น
ลมหมดสติ
นอกจากน้ี ยาอียังทาใหเ้ กิดอาการประสาทหลอนขนึ้ มาดว้ ย ผเู้ สพจะมคี วามผิดปกติ
เก่ยี วกับการมองเห็น การไดย้ นิ และการสัมผสั ชอบฟังเพลงเสยี งดงั ชอบดแู สงสที ีว่ ูบ
วาบบาดตา และชอบใหค้ นมาสัมผัสเลา้ โลม แตเ่ มอื่ ยาหมดฤทธ์ลิ ง ผูเ้ สพจะมีอาการวิตก
กงั วลผสมกบั อาการซึมเศรา้
ยาอมี ฤี ทธิท์ าลายเซลล์ประสาทสมอง แม้จะกินเขา้ ไปเพียงเลก็ น้อย ผูท้ ี่
เสพยาอีจงึ มกั มรี ะดบั สติปัญญาและผลการเรยี นรู้ตา่ กวา่ คนปกติทั่วไป
5. ยาแก้ไอผสมโคเดอนี
โคเดอีนเป็นสารประกอบจาพวกอลั คาลอยดท์ ่ีมีอยู่ในฝิน่ ประมาณรอ้ ยละ
0.7 – 2.5 โดยน้าหนกั ซึ่งเปน็ ปรมิ าณทน่ี อ้ ยมากจนไมส่ ามารถผลติ เพ่อื ใช้ในเชิงพาณิชย์
ได้ ปจั จุบันโคเดอีนท่ใี ชใ้ นทางการแพทยไ์ ดจ้ ากการสังเคราะห์จากฝ่ิน
โคเดอนี ออกฤทธ์กิ ดระบบประสาทสว่ นกลาง มฤี ทธิ์ระงบั ปวดและระงับอาการไอ โดย
ออกฤทธ์ทิ ่ีก้านสมองซึ่งทาหน้าท่คี วบคมุ อาการไอ จงึ นิยมใชผ้ ลิตเป็นยาแกไ้ อ แต่ยาแก้
ไอผสมโคเดอนี ที่มีการนาไปใชใ้ นทางทีผ่ ิด และแพรร่ ะบาดอยใู่ นปัจจบุ ัน ได้แก่ ยาแก้ไอ
ผสมโคเดอีนชนิดน้า
วยั รนุ่ นยิ มเสพยานา้ แกไ้ อผสมโคเดอีนด้วยการดม่ื โดยไมต่ อ้ งเจอื จาง หรือ
ดืม่ โดยผสมกบั เคร่อื งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอล์ ซึ่งทาให้เกดิ ผลตอ่ รา่ งกาย ได้แก่ ง่วงซมึ คล่ืนไส้
อาเจียน ท้องผกู ใจส่ัน มีอาการมึนงง หายใจและถ่ายปสั สาวะลาบาก หากเป็นพษิ โดย
เฉียบพลัน อาจทาให้เกดิ การชัก เพอ้ คลงั่ ชพี จรเต้นช้า หวั ใจเตน้ เร็ว ไม่รู้สึกตัว
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบการหมุนเวียนในร่างกายลม้ เหลว ระบบการหายใจเปน็ อมั พาต
เกิดภาวะหยดุ การหายใจและตายได้
การใชโ้ คเดอีนในระยะยาว อาจทาใหเ้ กดิ อาการซึมเศรา้ ขาดสมาธิ ง่วง
นอนและหลบั ได้ ทอ้ งผูกอย่างรนุ แรง และทาให้มปี ัญหาเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศดว้ ย
และหากใชใ้ นปรมิ าณท่สี งู จะทาให้เกิดอาการส่นั และชักได้
6. กัญชา
กญั ชาเป็นพชื ลม้ ลกุ สว่ นทีน่ ามาใช้เสพคอื ช่อดอกตวั เมียและใบทีต่ ดิ มา
กับช่อดอก โดยนามาตากหรืออบให้แหง้ แลว้ นาไปบดหรอื หน่ั เป็นฝอยหยาบๆแล้วจงึ
นาไปมวนสบู โดยผสมกบั บหุ ร่ี หรอื อาจจะสบู จากกลอ้ งยาสูบ หรือบอ้ งกัญชากไ็ ด้
กญั ชาทาใหเ้ กดิ ผลเสยี ต่อรา่ งกายและจติ ใจ ผลเสยี ทเี่ กดิ ข้นึ ต่อร่างกายทนั ทไี ด้แก่ หัว
ใจเต้นเร็วผิดปกติ ตาแดงก่าเนือ่ งจากเสน้ เลอื ดฝอยขยายตวั หรอื แตก ปากแห้ง คอแห้ง
และอยากอาหาร
การสูบกัญชาจะสง่ ผลตอ่ ระบบความจา ทาให้เกดิ ภาวะความจาเส่อื ม
ความเฉลยี วฉลาดลดลง การรับรเู้ รื่องระยะทางและเวลาผดิ ปกติ ความสามารถในการ
ทางานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การใช้สมาธิ เชน่ การขับขีย่ วดยานจะมปี ระสิทธิภาพลดลง
แรงจูงใจและการใฝ่เรยี นรูล้ ดลง นอกจากนั้น การสูบกญั ชามากๆอาจสง่ ผลให้เกดิ
อาการประสาทหลอนและวกิ ลจริต
ในการสบู กัญชา ผ้สู ูบมกั จะเอาควนั ท่เี กดิ จากการเผาไหม้ของกญั ชาเข้า
ไปในปอด แล้วพยายามกักเอาควันไว้ในปอดให้นานทีส่ ดุ กอ่ นจะผอ่ นลมหายใจออกมา
และเนอ่ื งจากในควันของกัญชามสี ารเคมที เ่ี ป็นพิษมากกวา่ ควนั บุหร่ี ฉะนั้น ผทู้ ่ีสบู
กญั ชาจงึ มคี วามเสย่ี งต่อการเป็นโรคถงุ ลมโป่งพองและมะเร็งสงู กวา่ ผทู้ ่สี ูบบหุ รี่ และ
การสูบกัญชาเป็นประจาจะทาใหเ้ กิดการเสพตดิ ทางจิตใจ ตอ้ งเพม่ิ ปรมิ าณกญั ชาท่สี บู
และความถใ่ี นการสบู ขึน้ เรื่อยๆ