/ 5 .;1 '4 1 6'A'&ç 'ē = Ú16.6.% 5 '" 5 6.5 %
B)4 +6%%5I 1 % <-&Ė A 9I&+ 6e ē6 "ò 6'Û
+æ 6 9I ã
+6%'ēA= 'I1é . 8 8 "ò 6' 6%%6 '6 â
B/ Ē "'4'6 e5 e 5 .8 Ē A.'%æ B)4" 5 6 < $6" +9 æ " ò 6' ", âåå
B)4 BI9 ēE A"%öò A %8 '+% 5J /%6& 9AI I9&+ ē1
'%.Ē A.'æ%B)4" 5 6 < $6" +9 æ " ò 6'
'4 '+ 6'"5 6.5 %B)4 +6%%I5 1 % <-&Ė
A
วิชาที่ 3 ความรเู รื่องสทิ ธคิ นพกิ าร ตามมาตรา 20 แหงพระราชบญั ญัตสิ งเสริม
และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และทแ่ี ก ไขเพ่มิ เติม รวมท้งั กฎหมายท่เี กี่ยวของ
คํานํา
พระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
พ.ศ.2550 และทแี่ กไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 มาตรา 20 ไดก าํ หนด
อยางชัดเจนเก่ียวกับสิทธิประโยชนและคุมครองคนพิการ รวมท้ังให
คนพิการมีสิทธิเขาถึง และใชประโยชนไดจากส่ิงอํานวยความสะดวก
ตลอดจนสวัสดิการและความชวยเหลอื อืน่ จากรัฐ ดังนั้น กรมสงเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงไดสงเสริมบทบาทของอาสาสมัคร
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (อพม.) และยกระดับใหมีความรู
ความเชยี่ วชาญดา นคนพกิ าร ใหเ ปน อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมน่ั คง
ของมนุษย เช่ียวชาญดานคนพกิ าร โดยใหการชวยเหลอื พทิ กั ษสิทธแิ ละ
คุม ครองสิทธแิ กคนพกิ ารและครอบครวั
การพัฒนารูปแบบการเรียนรูดาน “อาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย เชี่ยวชาญดานคนพิการ” ผานส่ือออนไลน
มีวัตถุประสงคเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและยกระดับความรูอาสาสมัคร
พฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย เชย่ี วชาญดา นคนพกิ าร ตามแนวคดิ
การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน และพัฒนาใหเปนวิทยากร
กระบวนการในการใหบ รกิ ารสาํ หรบั คนพกิ ารในชมุ ชน โดยเนอ้ื หาประกอบดว ย
5 รายวชิ า ไดแ ก บทบาทหนา ทข่ี อง อพม.ในภารกจิ กระทรวงการพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนษุ ย ความรเู รอ่ื งคนพกิ าร ความพกิ าร การชว ยเหลอื
และการคุมครองสทิ ธคิ นพิการ ความรูเรื่องสิทธิคนพิการ ตามมาตรา 20
แหง พระราชบัญญัติสงเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร พ.ศ. 2550
และท่ีแกไขเพิ่มเติม รวมทั้งกฎหมายที่เกยี่ วขอ ง บทบาทหนา ทขี่ อง อพม.
เชี่ยวชาญดานคนพิการ การปฏิบัติงาน 11 ภารกิจ พรอมท้ังวิธีการ
ใหความชวยเหลือ ดูแลคนพิการในการทํากิจวัตรประจําวันและ
การเขามามีสวนรวมในสังคม สําหรับหนังสือฉบับน้ี จะเปนการสงเสริม
กระบวนการเรียนรูดวยตนเอง เพื่อมุงเนนใหความรูเรื่องสิทธิคนพิการ
ตามมาตรา 20 แหง พระราชบญั ญตั สิ ง เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร
พ.ศ. 2550 และแกไขเพ่ิมเตมิ รวมท้ังกฎหมายท่เี กยี่ วของ
กรมสง เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร หวังเปนอยา งยงิ่ วา
หนงั สอื ฉบบั นจ้ี ะเปน ประโยชนอ ยา งยง่ิ ในการพฒั นาศกั ยภาพ การดาํ เนนิ
เพอ่ื พทิ กั ษค มุ ครองสทิ ธกิ ลมุ เปา หมาย การเสรมิ สรา งเครอื ขา ยดา นพฒั นาสงั คม
ใหมีความรู และมีทักษะการพัฒนาตนเองของอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย เชยี่ วชาญดา นคนพกิ าร เพอ่ื ใหส ามารถชว ยเหลอื
และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการใหดียงิ่ ขนึ้
กรมสง เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพกิ าร
พฤษภาคม 2564
วชิ าที่ 3 ความรเู รอ่ื งสทิ ธิคนพกิ าร ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติสง เสรมิ
และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร พ.ศ. 2550 และทแี่ ก ไขเพม่ิ เตมิ รวมทง้ั กฎหมายท่เี กี่ยวของ
สารบัญ
ความรูเรื่องสิทธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหงพระราชบญั ญัติสงเสรมิ
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 และแก ไขเพิ่มเติม รวมทง้ั
กฎหมายที่เก่ียวขอ ง
หนา
สาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 1
พระราชบัญญัติสง เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ 4
พ.ศ. 2550 และที่แก ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556
การทําบัตรประจาํ ตวั คนพกิ าร 4
สิทธิและการเขาถงึ สิทธิของคนพกิ าร 11
1. สิทธิการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย 11
2. สิทธิทางการศึกษา 12
3. สทิ ธิดานอาชพี 13
4. สิทธทิ างสังคม 14
5. สิทธิในการเขาถึงบรกิ ารภาครัฐ 15
6. สทิ ธิในการเขาถึงและไดร ับขอมลู ขา วสาร 16
7. สิทธิในการมลี ามภาษามอื 17
8. สทิ ธิไดรับเครื่องชว ยความพิการ 18
9. สิทธิไดรับเบย้ี ความพิการ 18
10.สทิ ธดิ า นการปรับสภาพแวดลอ มที่อยอู าศัย 19
การมีผูชวยคนพิการ หรอื การจดั ใหมีสวสั ดกิ ารอืน่
วิชาท่ี 3 ความรเู ร่ืองสิทธิคนพกิ าร ตามมาตรา 20
แหง พระราชบญั ญตั ิสงเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550
และท่ีแก ไขเพิ่มเตมิ รวมทงั้ กฎหมายท่ีเกี่ยวของ
สาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560
ท่เี ก่ียวขอ งกบั คนพกิ าร
ดา นศกั ด์ิศรคี วามเปนมนษุ ย
มาตรา 4 ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาค
ของบคุ คล ยอ มไดร บั ความคมุ ครอง ปวงชนชาวไทยยอ มไดร บั ความคมุ ครอง
ตามรฐั ธรรมนูญเสมอกัน
ดานความเสมอภาค
มาตรา 27 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพ
และไดรับความคมุ ครอง ตามกฎหมายเทา เทียมกนั
1
วชิ าที่ 3 ความรเู รื่องสทิ ธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญตั สิ งเสรมิ
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก ไขเพิ่มเติม รวมทง้ั กฎหมายท่เี กย่ี วขอ ง
ดา นสาธารณสุข
มาตรา 47 บคุ คลยอ มมีสทิ ธิไดร บั บริการสาธารณสขุ ของรฐั
มาตรา 48 สิทธิของมารดาในชวงระหวางกอนและหลัง
การคลอดบุตรยอมไดรับความคุมครอง และชวยเหลือตามท่ีกฎหมาย
บญั ญตั ิ
มาตรา 55 รฐั ตอ งดาํ เนนิ การใหป ระชาชนไดร บั บรกิ ารสาธารณสขุ
ที่มีประสิทธิภาพอยางทั่วถึง เสริมสรางใหประชาชนมีความรูพื้นฐาน
เกยี่ วกบั การสง เสรมิ สขุ ภาพและการปอ งกนั โรค และสง เสรมิ และสนบั สนนุ
ใหม ีการพัฒนาภูมิปญ ญาดานแพทยแ ผนไทยใหเกิดประโยชนสงู สุด
มาตรา 56 รฐั ตอ งจดั หรอื ดาํ เนนิ การใหม สี าธารณปู โภคขน้ั พนื้ ฐาน
ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชนอยางท่ัวถึงตามหลักการพัฒนา
อยา งย่งั ยนื
ดา นการศึกษา
มาตรา 54 รัฐตองดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษา
เปนเวลาสิบสองป ต้ังแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมี
คุณภาพโดยไมเก็บคาใชจ าย
ดา นความยุตธิ รรม
มาตรา 68 รัฐพึงจัดระบบบริหารงานในกระบวนการยุติธรรม
ทกุ ดานใหม ีประสทิ ธิภาพ เปนธรรม และไมเ ลือกปฏบิ ตั ิ และใหป ระชาชน
เขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยสะดวก รวดเร็ว และไมเสียคาใชจาย
สูงเกินควร
2
ดานการดํารงชีวติ อยา งมีคุณภาพ /
ปองกันการใชความรุนแรง / การบาํ บัด ฟ้ืนฟู
มาตรา 71 รัฐพึงใหความชวยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ
คนพกิ าร ผยู ากไร และผดู อ ยโอกาสใหส ามารถดาํ รงชวี ติ ไดอ ยา งมคี ณุ ภาพ
และคุมครองปองกันมิใหบุคคลดังกลาวถูกใชความรุนแรงหรือ
ปฏิบัติอยางไมเปนธรรม รวมตลอดทั้งใหการบําบัด ฟนฟูและเยียวยา
ผถู กู กระทาํ การดงั กลา ว ในการจดั สรรงบประมาณ รฐั พงึ คาํ นงึ ถงึ ความจาํ เปน
และความตองการที่แตกตางกันของเพศ วัย และสภาพของบุคคล ท้ังน้ี
เพ่ือความเปนธรรม
ดา นการมีงานทาํ
มาตรา 74 รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนมีความสามารถ
ในการทํางานอยางเหมาะสมกับศักยภาพและวัยและใหมีงานทํา
และพึงคุมครองใชแรงงานใหไดรับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดี
ในการทาํ งาน ไดร บั รายได สวสั ดกิ าร การประกนั สงั คม และสทิ ธปิ ระโยชนอ น่ื
ที่เหมาะสมแกการดํารงชีพ และพึงจัดใหมีหรือสงเสริมการออม
เพอื่ การดาํ รงชีพเมือ่ พนวัยทาํ งาน
ดานการมีสวนรวม
มาตรา 128 ไดกําหนดใหในการต้ังกรรมาธิการวิสามัญ
เพื่อพิจารณาราง พระราชบัญญัติที่ประธานสภาผูแทนราษฎรวินิจฉัย
วามีสาระสําคัญเกี่ยวกับคนพิการหรือทุพพลภาพ จะตองกําหนด
ใหมีคนพิการหรือทุพพลภาพดังกลาวเปนผูแทนองคกรเอกชนท่ีทํางาน
เกี่ยวกับคนพิการหรือทุพพลภาพรวมเปนกรรมาธิการวิสามัญดวยไมนอย
กวา หนง่ึ ในสามของจาํ นวนกรรมาธิการวิสามญั ทัง้ หมด
3
วชิ าที่ 3 ความรูเรอ่ื งสิทธิคนพิการ ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญตั สิ งเสริม
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 และท่ีแก ไขเพิม่ เติม รวมทั้งกฎหมายทเี่ กย่ี วของ
สาระสําคัญพระราชบัญญัติสง เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
คนพกิ าร พ.ศ. 2550
และท่ีแก ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556
มาตรา 19 ไดก าํ หนดเพอื่ ประโยชนใ นการได รบั สทิ ธติ ามมาตรา 20
คนพิการอาจยื่นคําขอมีบัตรประจําตัวคนพิการตอนายทะเบียนกลาง
หรอื นายทะเบยี นจงั หวดั ณ สาํ นกั งานทะเบยี นกลาง สาํ นกั งานทะเบยี นจงั หวดั
หรอื สถานที่อ่ืนตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาํ หนด
การทําบัตรประจําตวั คนพิการ
มวี ิธีการและขนั้ ตอนดังตอไปน้ี
1. คุณสมบตั ิของคนพกิ ารทยี่ ื่นคาํ ขอ
1.1 เปน บุคคลผูม สี ัญชาตไิ ทย
1.2 บุคคลที่ยังไมไดแจงเกิดหรือบุคคลที่ไมปรากฏแนชัดวา
สั ญ ช า ติ ไ ท ย ต อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม ขั้ น ต อ น ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
การทะเบียนราษฎรพ.ศ.2534 และทแ่ี กไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) กอน
4
2. สถานทีย่ ่นื และบรกิ ารออกบตั รประจาํ ตวั คนพิการ
2.1 กรุงเทพมหานคร
(1) ศูนยบริการคนพิการกรุงเทพมหานคร ณ กรมสงเสริม
และพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร
(2) ศูนยบริการคนพิการกรุงเทพมหานคร สาขาสายไหม
ณ เคหะเอ้อื อาทรสายไหม
(3) ศูนยบริการคนพิการกรุงเทพมหานคร สาขามีนบุรี
ณ ศูนยเ รียนรฟู น ฟูเดก็ พิเศษมนี บุรี
(4) ศูนยบริการคนพิการกรุงเทพมหานคร สาขาลาดกระบัง
ณ ศนู ยช ุมชนบา นเอ้อื อาทรลาดกระบัง 1
(5) โรงพยาบาลสริ นิ ธร
(6) โรงพยาบาลผสู งู อายุบางขนุ เทียน
(7) สถาบันราชานกุ ูล
(8) โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี
(9) โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ (วดั ไรขงิ )
(10) สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แหง ชาติ มหาราชนิ ี (โรงพยาบาลเดก็ )
(11) โรงพยาบาลพระราม 2
(12) โรงพยาบาลเวชการุณยรัศม์ิ
2.2 ศูนยบ ริการคนพกิ ารจงั หวัดทกุ จงั หวดั
5
วิชาที่ 3 ความรูเร่อื งสทิ ธคิ นพกิ าร ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญตั สิ งเสริม
และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 และทแี่ ก ไขเพิ่มเตมิ รวมท้ังกฎหมายทเี่ กยี่ วของ
3. การย่ืนคาํ ขอมีบัตรประจําตวั คนพิการครัง้ แรก
3.1 เอกสารหลักฐานของคนพกิ าร
(1) เอกสารประจําตัวอยางใดอยางหนึ่ง ไดแก
บตั รประจาํ ตวั ประชาชน, บตั รประจาํ ตวั ขา ราชการ,สตู บิ ตั ร (สาํ หรบั บคุ คล
อายุต่าํ กวา เจ็ดป)
(2) ทะเบียนบานของคนพิการ
(3) รูปถา ยคนพิการ ขนาด 1 นิว้ ถายมาแลวไมเ กิน 6 เดือน
จํานวน 2 รปู ในกรณที คี่ นพิการไมไ ดมาย่นื คาํ ขอดว ยตนเอง
(4) เอกสารรบั รองความพกิ าร ซง่ึ รบั รองโดยผปู ระกอบวชิ าชพี
เวชกรรมของสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานพยาบาลเอกชนที่อธิบดี
ประกาศกาํ หนด
(5) สภาพความพกิ ารเปนที่เหน็ ไดโ ดยประจกั ษ ใหเจา หนา ที่
ผรู บั คําขอถายสภาพความพิการไวเปน หลกั ฐาน
สภาพความพกิ ารทเ่ี หน็ ไดโ ดยประจกั ษ คอื สภาพความพกิ าร
ทส่ี ามารถขอมบี ตั รประจาํ ตวั คนพกิ ารไดโ ดยไมต อ งมใี บรบั รองความพกิ าร
ไดแ ก คนตาบอดทไี่ มม ลี กู ตาทงั้ สองขา ง ลกู ตาสขี าวขนุ ไมม ลี กู ตาดาํ ทงั้ สองขา ง
ลูกตาฝอทั้งสองขาง คนหูหนวกไมมีรูหูท้ังสองขาง คนพิการทางรางกาย
ทแ่ี ขนขาดตั้งแตขอ มือขน้ึ ไป หรอื ขาขาดตั้งแตข อ เทาขน้ึ ไป
3.2 เอกสารหลักฐานของผูดูแลคนพิการ (เปนผูซ่ึงมีช่ือ
อยใู นทะเบยี นบา นเดยี วกนั กบั คนพกิ าร หรอื เปน ผดู แู ลคนพกิ ารซง่ึ คนพกิ าร
อาศยั อยดู ว ยตามความเปน จรงิ )
(1) บัตรประชาชนของผดู แู ลคนพกิ าร
(2) ทะเบียนบา นของผูดแู ลคนพิการ
6
3.3 กรณีระบุช่ือผูดูแลคนพิการในบัตรประจําตัวคนพิการ
และผูดแู ลคนพิการมชี อ่ื อยูตา งทะเบยี นบา นกับคนพกิ าร
(1) ตอ งมหี นังสือรับรองการเปนผูดแู ลคนพิการ
- ผรู บั รอง : กาํ นนั ผใู หญบ า น ขา ราชการ พนกั งานราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ประธานชุมชน สมาชิกสภาทองถ่ิน ลูกจางประจํา
(หนวยงานรัฐ ,รัฐวิสาหกิจ) โดยผูรับรองตองอาศัยอยูหรือปฏิบัติหนาท่ี
ในพนื้ ทท่ี ่คี นพิการอาศัยอยใู นปจ จุบนั
(2) สําเนาบัตรประจําตัวของผูรับรอง พรอมลงลายมือ
ช่อื รับรองสําเนา จาํ นวน 1 ฉบบั
* ขา ราชการบํานาญ ไมสามารถรบั รองหนงั สอื ฉบบั นี้ได
* การรบั รองจะสมบรู ณ เมอ่ื พยานลงนามครบถวน
4. การขอมีบัตรใหมกรณบี ตั รเดิมหมดอายุ
บตั รประจาํ วนั คนพกิ ารมอี ายกุ ารใชง าน 8 ป นบั ตง้ั แตว นั ออกบตั ร
เม่ือครบกําหนดแลว คนพิการตองยื่นคําขอมีบัตรประจําตัวคนพิการใหม
ณ สถานทีใ่ หบรกิ ารออกบตั รประจําตัวคนพิการพรอมเอกสาร ดงั นี้
(1) บตั รประจําตัวคนพิการ (บัตรเดิมท่หี มดอาย)ุ
(2) สําเนาเอกสารประจาํ ตวั อยางใดอยางหน่ึง ไดแก สาํ เนาบัตร
ประจาํ ตวั ประชาชน, สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ขา ราชการ, สาํ เนาสตู บิ ตั รสาํ หรบั
บคุ คลอายตุ ่ํากวา 7 ป ,ตามแบบทีก่ รมการปกครองกําหนด
(3) สําเนาทะเบียนบานของคนพิการ
(4) รูปถายคนพิการ ขนาด 1 น้ิว ถายมาแลวไมเกิน 6 เดือน
จาํ นวน 2 รูป
7
วิชาท่ี 3 ความรเู รอื่ งสทิ ธิคนพกิ าร ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัตสิ งเสริม
และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และท่ีแก ไขเพ่มิ เตมิ รวมท้ังกฎหมายท่ีเกีย่ วขอ ง
(5) กรณสี ภาพความพกิ ารทเี่ หน็ โดยประจกั ษ ไมต อ งมเี อกสารรบั รอง
ความพิการ ทั้งนี้ใหเจาหนาท่ีผูรับคําขอถายภาพสภาพความพิการ
ไวเปนหลกั ฐาน
(6) กรณมี คี วามพิการเพ่มิ หรือเปลีย่ นไปจากเดิม
- เอกสารรบั รองความพิการ ซ่งึ รบั รองโดยผูป ระกอบวชิ าชพี
เวชกรรมของสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานพยาบาลเอกชนท่ีอธิบดี
ประกาศกําหนด
- สภาพความพิการเปนท่ีเห็นไดโดยประจักษ ใหเจาหนาที่
ผูรับคาํ ขอถา ยสภาพความพกิ ารไวเ ปนหลกั ฐาน
5. บตั รเดมิ ชํารดุ หรือสญู หาย
หากบัตรประจําตัวคนพิการชํารุดหรือสูญหายคนพิการสามารถ
ยนื่ คาํ ขอมีบัตรประจาํ ตวั คนพิการใหมแทนบัตรเดิม พรอ มเอกสาร ดงั นี้
(1) สําเนาเอกสารประจําตัวอยางใดอยางหนึ่ง ไดแก สําเนา
บัตรประจําตัวประชาชน, สาํ เนาบัตรประจาํ ตวั ขา ราชการ, สําเนาสตู บิ ตั ร
สําหรับบคุ คลอายุตํา่ กวา 7 ป
(2) สาํ เนาทะเบียนบานของคนพกิ าร
(3) รูปถายคนพิการ ขนาด 1 นิ้ว ถายมาแลวไมเกิน 6 เดือน
จํานวน 2 รูป
(4) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาทะเบียนบาน
ของผูดูแลคนพิการ
(5) กรณีมคี วามพิการเพ่ิม หรอื เปลีย่ นไปจากเดมิ
- เอกสารรบั รองความพกิ าร ซงึ่ รบั รองโดยผูประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมของสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานพยาบาลเอกชนที่อธิบดี
ประกาศกาํ หนด
8
- สภาพความพิการท่ีเห็นไดโดยประจักษ ใหเจาหนาที่ผูรับ
คําขอถายสภาพความพิการไวเ ปนหลักฐาน
6. การขอมบี ตั รประจําตวั แทนคนพิการ
หากคนพกิ ารไมส ามารถขอมบี ตั รประจาํ ตวั คนพกิ ารไดด ว ยตนเอง
ใหมีผูอ่ืนดําเนินการขอมีบัตรประจําตัวคนพิการแทนได ท้ังน้ีผูขอ
มีบตั รประจําตวั คนพกิ ารแทนตอ งนําเอกสารมาดวย ดงั นี้
(1) เอกสารหลกั ฐานการขอมีบัตรประจําตัวคนพกิ าร
(2) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาทะเบียนบาน
ของผูย่นื คาํ ขอแทนคนพิการ พรอมรบั รองสาํ เนาถูกตอ ง
(3) ใบมอบอาํ นาจหรอื หลกั ฐานอน่ื ทแ่ี สดงใหเ หน็ วา ไดร บั มอบอาํ นาจ
จากคนพกิ ารมสี ว นเกย่ี วขอ งกบั คนพกิ าร เนอื่ งจากเปน ผปู กครอง ผพู ทิ กั ษ
ผอู นุบาล หรือผดู แู ลคนพิการ แลว แตกรณี 1 ฉบบั
* ผูดูแลคนพิการ ตองเปนผูซ่ึงมีช่ือในทะเบียนบานเดียวกัน
กบั คนพกิ าร หรอื เปน ผดู แู ลคนพกิ ารซง่ึ คนพกิ ารอาศยั อยตู ามความเปน จรงิ
ในกรณีผูดูแลคนพิการท้ังสองประเภทดังกลาว ใหระบุชื่อผูดูแลคนพิการ
ซึ่งคนพิการแจงวาไดอุปการะหรืออาศัยอยูดวยเปนสําคัญ ทั้งน้ี
กรณีคนพิการไมไดแจงหรือไมสามารถแจงได ใหมีหนังสือจากขาราชการ
ลกู จางประจํา พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกจิ สมาชกิ สภาทองถ่นิ
กาํ นนั ผใู หญบ า น หรอื ประธานชมุ ชนแหง นน้ั รบั รองวา บคุ คลนนั้ เปน ผดู แู ล
คนพกิ ารจริง
* กรณีคนพิการเปนผูเยาว คนเสมือนไรความสามารถ หรือ
คนไรความสามารถ หรือมีความพิการมาก ไมสามารถดําเนินการเองได
ผปู กครอง ผพู ิทกั ษ ผอู นุบาล หรอื ผูด แู ล ดาํ เนนิ การแทนได
9
วชิ าท่ี 3 ความรูเ ร่ืองสทิ ธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหง พระราชบญั ญัติสง เสริม
และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และท่แี ก ไขเพ่ิมเติม รวมทง้ั กฎหมายทีเ่ กย่ี วของ
7. การยกเลกิ การมีบตั รประจาํ ตวั คนพิการ
7.1 กรณีคนพิการถึงแกความตาย : แจงตอนายทะเบียน
เพอื่ จาํ หนา ยออกจากทะเบยี นบตั รประจาํ ตวั คนพิการ ดังน้ี
(1) บตั รประจําตวั คนพิการ (ถามี)
(2) บตั รประจาํ ตวั ประชาชนของคนพกิ าร
(3) ทะเบียนบา นของคนพิการ
(4) สําเนาใบมรณบัตร
7.2 กรณไี ดร บั การฟน ฟจู นไมม สี ภาพความพกิ าร /มคี วามประสงค
ยกเลกิ การมีบตั รประจาํ ตัวคนพกิ าร
(1) บตั รประจําตวั คนพิการ
(2) บตั รประจําตัวประชาชนของคนพิการ
(3) ทะเบียนบานของคนพิการ
(4) เอกสารรบั รองความพกิ าร ซงึ่ รบั รองโดยผปู ระกอบวชิ าชพี
เวชกรรมของสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานพยาบาลเอกชนที่อธิบดี
ประกาศกําหนด
(5) ย่ืนคําขอแทนใชสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือ
สําเนาทะเบียนบานของผูดําเนินการแทน และหนังสือมอบอํานาจ
(พยานตองลงนามครบถวน)
7.3 สทิ ธิการอุทธรณ
(1) กรณคี นพกิ ารไมไ ดร บั การอนมุ ตั ใิ หม บี ตั รประจาํ ตวั คนพกิ าร
อาจอทุ ธรณเ ปน หนงั สอื ตอ นายทะเบยี นแหง นน้ั ภายในสบิ หา วนั นบั แตว นั
ทไ่ี ดรบั คําสงั่ ดงั กลาว
(2) ใหนายทะเบียนพิจารณาคําอุทธรณใหแลวเสร็จ
ภายในหกสิบวัน นับแตว ันทไ่ี ดรับคําอุทธรณ แลวใหแ จง ผลการพจิ ารณา
คําอุทธรณ พรอมเหตุผลเปนหนังสือตอผูอุทธรณทราบ ภายในสิบหาวัน
นบั แตว ันท่ีพิจารณาอทุ ธรณเสร็จ คําวินิจฉัยของนายทะเบยี นใหเปนที่สุด
10
สทิ ธแิ ละการเขาถงึ สิทธขิ องคนพกิ าร
มาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และทแ่ี กไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 ไดก าํ หนด
ใหคนพิการมีสิทธิเขาถึงและใชประโยชนไดจากส่ิงอํานวยความสะดวก
อนั เปนสาธารณะ ตลอดจนสวสั ดกิ ารและความชวยเหลอื อ่นื จากรฐั ดังน้ี
1. สทิ ธกิ ารฟน้ื ฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย
- มาตรา 20 (1) การบริการฟนฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการ
ทางการแพทย และคาใชจายในการรกั ษาพยาบาล คา อปุ กรณเครอื่ งชวย
ความพิการ และสื่อสงเสริมพัฒนาการเพ่ือปรับสภาพทางรางกาย จิตใจ
อารมณ สงั คม พฤตกิ รรม สตปิ ญ ญา การเรยี นรู หรอื เสรมิ สรา งสมรรถภาพ
ใหด ขี ึ้น
- คนพิการที่มีบัตรประจําตัวคนพิการ มีสิทธิไดรับการฟนฟู
ดานการแพทย ดังตอ ไปนี้
(1) สิทธิไดรับบริการทางการแพทยในการรักษาพยาบาลและ
ฟนฟศู กั ยภาพ โดยไมเสยี คาใชจาย
(2) สิทธิไดรับอุปกรณ เคร่ืองชวยความพิการ และส่ือสงเสริม
และพัฒนาการ ปรับสภาพรางกาย จิตใจอารมณ สังคม พฤติกรรม
สติปญญา การเรียนรู หรือเสริมสรางศักยภาพ ตามท่ีรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศกาํ หนด
- กฎหมายอื่นทเ่ี กี่ยวของ ไดแก
(1) ประกาศของ สปสช. (ท.74) คนพิการมีสทิ ธิไดรับการฟนฟู
สมรรถภาพ การรักษพยาบาล กายอุปกรณ ในทุกโรงพยาบาล
โดยไมเ สยี คา ใชจา ย
11
วิชาที่ 3 ความรเู ร่ืองสิทธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหง พระราชบัญญตั สิ ง เสริม
และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และทแี่ ก ไขเพิม่ เติม รวมท้งั กฎหมายที่เก่ียวขอ ง
(2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง “การบริการฟนฟู
สมรรถภาพ โดยกระบวนการทางการแพทยและคาใชจายในการรักษา
พยาบาล คาอุปกรณเคร่ืองชวยความพิการและส่ือสงเสริมพัฒนาการ
สําหรับคนพิการ พ.ศ. 2552
2. สทิ ธทิ างการศกึ ษา
- มาตรา 20 (2) การศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษา
แหงชาติหรือแผนการศกึ ษาแหง ชาติ ตามความเหมาะสมในสถานศกึ ษา
เฉพาะหรือในสถานศึกษาท่ัวไป หรือการศึกษาทางเลือก หรือการศึกษา
นอกระบบ โดยใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับส่ิงอํานวยความสะดวก
สื่อ บริการ และความชวยเหลืออ่ืนใด ทางการศึกษาสําหรับคนพิการ
ใหการสนบั สนนุ ตามความเหมาะสม
- มาตรา 10 แหง พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแกไขเพิ่มเติม กําหนดใหการจัดการศึกษาตองจัดใหบุคคลมีสิทธิ
และโอกาสเสมอภาคกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวา 12 ป
อยางท่ัวถึงและมีคณุ ภาพโดยไมเ ก็บคา ใชจ าย
- คนพิการมสี ทิ ธิทางการศกึ ษา ตอไปน้ี
(1) สทิ ธไิ ดร บั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานไมน อ ยกวา 12 ป อยา งทวั่ ถงึ
และมีคณุ ภาพ โดยไมเ สยี คา ใชจา ย
(2) สิทธใิ นการเรยี นรวมในชั้นเรียนปกติ
(3) สิทธใิ นการเขา เรยี นในโรงเรียนเฉพาะความพิการ
(4) สิทธใิ นการศึกษานอกระบบเพ่อื คนพกิ าร
(5) สทิ ธิท่จี ะไดร ับการศกึ ษาในทุกระดับตามศักยภาพ
(6) สิทธิไดรับส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความชว ยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษา
12
3. สทิ ธดิ า นอาชพี
- มาตรา 20 (3) การฟน ฟสู มรรถภาพดา นอาชีพ การใหบริการ
ทม่ี มี าตรฐาน การคมุ ครองแรงงาน มาตรการ เพอ่ื การมงี านทาํ ตลอดจนไดร บั
การสง เสรมิ การประกอบอาชพี อสิ ระ และบรกิ ารสอื่ สง่ิ อาํ นวยความสะดวก
เทคโนโลยีหรือความชวยเหลืออื่นใด เพื่อการทํางานและประกอบอาชีพ
ของคนพกิ าร ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทร่ี ฐั มนตรวี า การกระทรวง
แรงงานประกาศกําหนด
- กฎกระทรวงแรงงาน กําหนดจํานวนคนพิการท่ีนายจางหรือ
เจาของสถานประกอบการและหนวยงานของรัฐ จะตองรับเขาทํางาน
และจาํ นวนเงนิ ทน่ี ายจางหรอื เจาของสถานประกอบการ จะตองนาํ สง เขา
กองทุนสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2554 กําหนดให
นายจางหรือเจาของสถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐ ซ่ึงมีลูกจาง
ตั้งแตหนึ่งรอยคนขึ้นไป รับคนพิการท่ีสามารถทํางานไดไมวาจะอยูใน
ตาํ แหนง ใดในอตั ราสว นลกู จา งทมี่ ใิ ชค นพกิ ารทกุ หนง่ึ รอ ยคนตอ คนพกิ ารหนงึ่ คน
เศษของหนง่ึ รอ ยคนถา เกนิ หา สบิ คนตอ งรบั คนพกิ ารเพมิ่ อกี หนง่ึ คน
- คนพกิ ารมีสทิ ธิดานอาชีพ ดงั ตอไปน้ี
(1) ไดรับบริการฝกประกอบอาชีพ จัดหางาน ประสานงาน
สงตอเขาทํางานในสถานประกอบการตางๆ และใหคําปรึกษาแนะนํา
จากหนว ยงานของกระทรวงแรงงาน
(2) สทิ ธขิ อกยู มื เงนิ ทนุ ประกอบอาชพี อสิ ระจากกองทนุ สง เสรมิ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ไมเกินคนละ 60,000 บาท รายกลุม
กลุมละไมเกิน 1 ลานบาท ผอนชําระภายในระยะเวลาไมเกิน 5 ป
โดยไมค ดิ ดอกเบยี้ ทง้ั น้ี หากมผี ปู ระสงคจ ะกยู มื เงนิ เกนิ กวา วงเงนิ ทกี่ าํ หนด
ใหมกี ารพิจารณาเปน ราย ๆ ไป โดยไมเ กิน 120,000 บาท
13
วชิ าที่ 3 ความรเู รอ่ื งสิทธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหง พระราชบัญญัติสงเสริม
และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และทีแ่ ก ไขเพิม่ เตมิ รวมทงั้ กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ ง
(3) สถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐ ที่มีลูกจางตั้งแต
100 คนขนึ้ ไป ตองรับคนพิการที่สามารถทํางานไดในอตั ราลูกจา งท้งั หมด
ในอตั ราคนพกิ าร 1 คนตอลกู จาง 100 คน
4. สทิ ธทิ างสงั คม
- มาตรา 20 (4) การยอมรบั และมีสว นรวมในกิจกรรมทางสังคม
เศรษฐกิจและการเมืองอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐาน
แหงความเทาเทียมกับบุคคลท่ัวไป ตลอดจนไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก
และบรกิ ารตาง ๆ ทจ่ี าํ เปนสาํ หรบั คนพกิ าร
- คนพิการมสี ทิ ธิทางสังคม ดังตอ ไปน้ี
(1) การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมของชุมชน เชน
ในพธิ ีกรรมทางศาสนา งานรืน่ เริง กีฬา เปนตน
(2) การมสี ว นรว มในกระบวนการทางการเมอื ง เชน การใชส ทิ ธิ
เลือกต้ัง สทิ ธลิ งสมคั รรับเลอื กต้ัง เปนตน
(3) การมโี อกาสในการทํางาน ประกอบอาชีพตามศักยภาพ
(4) การไดรบั บรกิ ารจากรัฐตามสิทธิท่คี นพิการพงึ มีพงึ ได
ท้ังนี้ การไดรับสิทธิทางสังคมตองเปนไปอยางทั่วถึง เทาเทียม
และเปนธรรม
14
5. สทิ ธิในการเขา ถงึ บริการภาครฐั
- มาตรา 20 (5) การชว ยเหลอื ใหเ ขา ถงึ นโยบาย แผนงาน โครงการ
กิจกรรม การพัฒนาและบริการอันเปนสาธารณะ ผลิตภัณฑท่ีมีความ
จําเปนตอการดํารงชีวิต การชวยเหลือทางกฎหมายและการจัดหาทนาย
ความวาตางแกตา งคดี
- สิทธิคนพิการที่กฎหมายกําหนด เพื่อใหถึงบริการท่ีรัฐจัดหาให
ไดแก
(1) การศึกษาโดยไมเสียคาใชจาย รวมทั้งบริการอุปกรณ
เทคโนโลยี สิง่ อาํ นวยความสะดวก และทุนการศกึ ษา
(2) การจดั ทาํ สง่ิ อาํ นวยความสะดวกใหแ กค นพกิ ารเขา ถงึ ไดต าม
สถานท่ีตาง ๆ
(3) สิทธิไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย ไดแก การใหคํา
ปรึกษาหารือทางกฎหมาย การใหค วามรูทางกฎหมาย การจดั ทํานติ กิ รรม
สัญญา การไกลเกล่ียหรือการประนีประนอมยอมความ การจัดหา
ทนายความ การใหค วามชวยเหลืออนื่ ๆ ในทางคดี
(4) คาใชจายในการชวยเหลือทางกฎหมายหรือจัดหาทนาย
วา ตางแกตางคดี ไดแก การวางเงนิ คาธรรมเนยี มศาล คาจางทนายความ
เพื่อวางตางแกตางในคดี การวางเงินหลักประกันในการปลอยตัวชั่วคราว
รวมทงั้ คาใชจายอืน่ ๆ ที่เกีย่ วขอ งกบั การชว ยเหลอื ทางกฎหมาย
15
วชิ าที่ 3 ความรเู ร่ืองสิทธคิ นพิการ ตามมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติสงเสรมิ
และพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และที่แก ไขเพิม่ เตมิ รวมท้ังกฎหมายทเี่ กย่ี วของ
6. สทิ ธิในการเขา ถงึ และไดร บั ขอ มลู ขา วสาร
- มาตรา 20 (6) ขอ มลู ขา วสาร การสื่อสาร บริการโทรคมนาคม
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี งิ่ อาํ นวยความสะดวก
เพ่อื การส่อื สารสําหรับคนพกิ ารทกุ ประเภทตลอดจนบริการสื่อ สาธารณะ
จากหนวยงานของรัฐหรือเอกชนที่ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ
ตามหลักเกณฑ วิธิีการ และเงื่อนไขท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัล
เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมกําหนดในกฎกระทรวง
- สิทธใิ นการเขาถงึ และไดร บั ขอมลู ขา วสาร ไดแ ก
(1) คนพิการมีสิทธิจะยื่นเรื่องเพื่อขอใชเครื่องมืออุปกรณ
ฮารด แวร ซอฟตแ วร หรือบริการทใี่ ชสําหรบั คนพกิ ารโดยเฉพาะ หรอื ทม่ี ี
การดัดแปลงหรือปรับใหตรงกับความตองการจําเปนพิเศษของคนพิการ
แตละบุคคล เพ่ือการเขาถึง และใชประโยชนจากขอมูล ขาวสาร และ
การสือ่ สาร
(2) หนวยงานของรัฐหรือเอกชนท่ีไดรับงบประมาณสนับสนุน
จากรฐั ตอ งจดั สงิ่ อาํ นวยความสะดวกเพอื่ ใหค นพกิ ารสามารถเขา ถงึ และใช
ประโยชนจ ากขอ มูลขา วสาร และการสื่อสารท่ตี นเปนผผู ลติ หรอื จัดทาํ ได
16
7. สทิ ธิในการมลี า มภาษามอื
- มาตรา 20 (7) บรกิ ารลา มภาษามอื ตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการ
กาํ หนด
- คนพิการทางการไดยินหรือส่ือความหมาย มีสิทธิไดรับบริการ
ลา มภาษามอื โดยไมเ สียคา ใชจ าย ดงั ตอไปนี้
(1) การใชบริการทางการแพทยและการสาธารณสุข
(2) การสมคั รงานหรอื การตดิ ตอ ประสานงานดา นการประกอบอาชพี
(3) การรองทุกข การกลาวโทษ หรือเปนพยานในชั้นพนักงาน
สอบสวนหรอื พนกั งานเจาหนาท่ีตามกฎหมายอื่น
(4) การเขารวมประชุม สัมมนา หรือฝกอบรม รวมท้ังเปน
ผูบรรยายโดยหนวยงานภาครัฐ หรือภาคเอกชนเปนผูจัด ซึ่งมีคนพิการ
ทางการไดย ินหรือสือ่ ความหมายเขารวมดว ย
17
วชิ าที่ 3 ความรเู รอื่ งสิทธิคนพิการ ตามมาตรา 20 แหง พระราชบัญญัติสงเสริม
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และทีแ่ ก ไขเพมิ่ เตมิ รวมทง้ั กฎหมายทีเ่ ก่ยี วของ
8. สทิ ธิไดร บั เคร่ืองชว ยความพิการ
- มาตรา 20 (8) สทิ ธทิ จ่ี ะนาํ สตั วน าํ ทาง เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณน าํ ทาง
หรอื เครอื่ งชว ยความพกิ ารใด ๆ ตดิ ตวั ไปในยานพาหนะหรอื สถานทใ่ี ด ๆ
เพอ่ื ประโยชนในการเดินทางและการไดรับส่ิงอํานวยความสะดวกอันเปน
สาธารณะ โดยไดร บั การยกเวน คา บรกิ าร คา ธรรมเนยี ม และคา เชา เพมิ่ เตมิ
สาํ หรับสัตว เคร่อื งมือ อุปกรณ หรือเครอ่ื งชวยความพกิ ารดังกลาว
- สิทธขิ องคนพกิ ารที่จะไดรับ
(1) การใชส ัตวน าํ ทาง
(2) ใชเครอื่ งมือหรอื อปุ กรณนาํ ทาง
(3) เคร่ืองชวยความพิการทนี่ ําติดตัว
(4) สง่ิ อํานวยความสะดวกอนั เปนสาธารณะ
(5) ไดร บั คายกเวน คาบริการ คา ธรรมเนียม และคา เชา
9. สทิ ธิไดร บั เบย้ี ความพิการ
- มาตรา 20 (9) การจดั สวสั ดกิ ารเบยี้ ความพกิ าร ตามหลกั เกณฑ
และวิธกี ารท่ีคณะกรรมการกาํ หนดในระเบยี บ
- เบ้ียความพิการ คือ เงินที่รัฐจัดใหคนพิการท่ีมีบัตรประจําตัว
คนพกิ ารทุกคนทุกเดือนตลอดชวี ิต
- คนพกิ ารท่มี คี ุณสมบัตติ อ ไปนี้ มสี ิทธไิ ดร บั เบ้ยี ความพิการ
(1) มสี ัญชาติไทย
(2) มบี ัตรประจาํ ตัวคนพกิ าร
(3) ไมอ ยูใ นความอุปการะของสถานสงเคราะหข องรัฐ
18
- คนพกิ ารหรอื ผแู ทนโดยชอบธรรมสามารถไปลงทะเบยี น ยน่ื คาํ รอ ง
ไดดังน้ี
(1) กรุงเทพมหานคร ใหลงทะเบียนรับเบ้ียความพิการที่
สํานักงานเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงตนเองมีชื่ออยูในทะเบียนบาน หรือ
ลงทะเบยี นท่ีหนว ยซ่งึ กรงุ เทพมหานครประกาศกําหนด
(2) ตางจังหวัด ใหลงทะเบียนรับเบี้ยความพิการท่ีองคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ (อปท.) ซง่ึ ตนเองมชี อื่ อยใู นทะเบยี นบา น หรอื ลงทะเบยี น
ทหี่ นว ยงานซงึ่ อปท. ประกาศกาํ หนด
10. สิทธดิ านการปรบั สภาพแวดลอ มที่อยอู าศยั
การมีผูช ว ยคนพกิ าร หรอื การจัดใหมีสวัสดิการอ่นื
- มาตรา 20 (10) การปรับสภาพแวดลอมทอ่ี ยูอาศัย การมผี ูชวย
คนพิการ หรือการจัดใหมีสวัสดิการอ่ืน ตามหลักเกณฑและวิธีการ
ทค่ี ณะกรรมการกาํ หนดในระเบยี บ
- คนพกิ ารมีสทิ ธิ ดังนี้
(1) การปรบั สภาพแวดลอ มทอ่ี ยอู าศยั สาํ หรบั คนพกิ าร เพอื่ ความ
สะดวกในการดํารงชีวิตและปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันในท่ีอยูอาศัย
ของคนพกิ าร เชน การปรบั ปรุงหอ งน้าํ การติดตัง้ ราวจับ การปรบั พนื้ ผิว
ทางเดิน เปนตน โดยการประยุกตใชวัสดุที่มีในทองถิ่นท่ีคนพิการอาศัย
อยูเปน หลกั ในอัตราเหมาจายรายละ ไมเ กิน 40,000 บาท ตามท่ีกฎหมาย
กาํ หนด
(2) การจดั บริการผชู วยคนพกิ าร (Personal Assistant : PA)
ใหก ับคนพิการที่มคี วามจําเปน ตอ งมีผูชว ยคนพิการ เพ่อื ใหสามารถปฏบิ ัติ
กิจวัตรทสี่ ําคญั ในการดํารงชีวติ ได หรอื คนพิการท่ีไมไดร บั ความชว ยเหลอื
19
วิชาท่ี 3 ความรูเ รอื่ งสทิ ธิคนพกิ าร ตามมาตรา 20 แหงพระราชบญั ญตั ิสง เสรมิ
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และท่ีแก ไขเพ่ิมเตมิ รวมท้ังกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ ง
อนื่ จากรฐั หรอื ไดร บั แตไ มเ พยี งพอ (คนพกิ ารทมี่ บี ตั รประจาํ ตวั คนพกิ ารแลว
มีสทิ ธิรอ งขอใหมี สวนใหญเปนคนพิการท่ีมีความพิการรนุ แรง) ท้งั นีผ้ ูชว ย
คนพิการ มีสิทธิไดรับการลดหยอนหรือยกเวนคาบริการ คาธรรมเนียม
ตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกําหนด
(3) การจดั สงิ่ อาํ นวยความสะดวกสาํ หรบั คนพกิ าร คณะรฐั มนตรี
มีมติเมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม 2552 ใหหนวยงานราชการสํารวจและ
จดั ทําสิ่งอาํ นวยความสะดวกใหคนพกิ ารเขาถึงได โดยเริม่ จากโรงพยาบาล
ตองจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับคนพิการ จากนั้น
คณะรฐั มนตรีมีมติเม่อื วันท่ี 20 พฤศจกิ ายน 2555 ใหหนวยงานราชการ
สามารถขอรับการสนับสนุนงบประมาณไปยังสํานักงบประมาณ เพ่ือเปน
คาใชจายในการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพ้ืนฐานสําหรับคนพิการ
อยางนอ ย 5 ประเภท ไดแก ทางลาด หองน้ํา ทจี่ อดรถ ปายและสญั ลกั ษณ
และบรกิ ารขอมลู ขา วสาร
- สิทธผิ ดู แู ลคนพิการ ดงั นี้
(1) มีสิทธิไดรับบริการใหคําปรึกษา แนะนํา ฝกอบรม ทักษะ
เล้ียงดู การจัดการศึกษา การสงเสริมอาชีพและการมีงานทํา ตลอดจน
ความชวยเหลืออื่นใด เพ่ือใหพึ่งพาตนเองได ตามหลักเกณฑ และวิธีการ
ทคี่ ณะกรรมการกําหนดในระเบียบ
(2) คนพิการและผูดูแลคนพิการมีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษี
หรอื ยกเวน ภาษี ตามทีก่ ฎหมายกําหนด
(3) องคกรเอกชนท่ีจัดใหคนพิการไดรับสิทธิประโยชนตาม
มาตราน้ี มีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษี หรือยกเวนภาษีเปนรอยละ
ของจํานวนเงนิ คา ใชจายที่กฎหมายกําหนด
20
'%. Ē A.'æ%B)4" 5 6 < $6" +9 æ " ò 6'
'4 '+ 6'"5 6. 5 %B)4 +6%% I5 1 % -< &Ė
ÄÄı²½´¼Áµ
1 .Ē A.'æ%.8 B8 )4.+5. 8 6' " ò 6' )Ē%< .Ē A.'%æ 1 Ė 'B)4A '1é Ē6&
âåå 16 6' Ċ '% '4 6. A '64/Ė '6 +æ 9 A '6 A +ç ' < A "%/6 '
C ',"5 Ė âãåäãã
Ē1 â