The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

_แฟ้มสะสมผลงาน นายอัศฎา สาสีรัตน์ 62100105129สาขานาฏศิลป์ไทย (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Oammy Audsada Saseerut, 2024-01-31 04:12:45

_แฟ้มสะสมผลงาน นายอัศฎา สาสีรัตน์ 62100105129สาขานาฏศิลป์ไทย (2)

_แฟ้มสะสมผลงาน นายอัศฎา สาสีรัตน์ 62100105129สาขานาฏศิลป์ไทย (2)

POFOLIORT แฟ้ฟ้ฟ้ ม ฟ้ มสะสม ผลงาน ปีการศึกษา 2566 จัจัจัจัดทำทำทำทำโดย นายอัอั อัอัศฎา สาสีสี สีสี รัรั รัรั ตน์น์ น์น์


แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล อำ เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 จัดทำ โดย นาย อัศฎา สาสีรัตน์ รหัสประจำ ตัวนักศึกษา 62100105129 นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีการศึกษา 2566


PREFACE คำ นำ แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวกับการสอน วิชาศิลปะ (นาฏศิลป์) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เกิดจากการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้คำ ปรึกษา และตรวจ สอบดูแล อย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ เป็นอย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ประกอบด้วยขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหา การสอน การวางแผนการวัดผลและประเมินผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือวัดผลและ ตัวอย่างชิ้นงาน นักเรียน ซึ่งทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจสอบแล้วเช่นเดียวกัน ขอขอบคุณ นายสุวิทูรย์ ภักดีสมัย ผู้อำ นวยการสถานศึกษาโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนร่วมในการ ให้ กำ ลังใจในการจัดทำ ทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และผล ดีต่อการ พัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป นาย อัศฎา สาสีรัตน์ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


CONTENTS สารบับั บั ญ บั ญ PART 1 ประวัวัวัติวัติติส่ติส่ส่วส่นตัตัตัวตั PART 2 ประวัวัวัติวัติติกติารศึศึศึกศึษา PART 3 ประวัวัวัติวัติติสติถานศึศึศึกศึษา PART 4 ผู้ผู้ผู้บผู้ริริริหริารทางการศึศึศึกศึษา


CONTENTS สารบับั บั ญ บั ญ PART 5 จำจำจำจำนวนผู้ผู้ผู้บผู้ริริริหริารเเละบุบุบุคบุลากรทางการศึศึศึกศึษา PART 6 จำจำจำจำนวนนันันักนัเรีรีรียรีนในสถานศึศึศึกศึษา PART 7 กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม PART 8 เกีกีกียกีรติติติเติเละคำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PROFILE ประวัวัวัติวัติติส่ติส่ส่วส่นตัตัตัวตั แนะนำ ตัว ช่องทางการติดต่อ ความสามารถพิเศษและงานอดิเรก ทักษะด้านภาษา PART 1 นาย อั อัศฎา สาสีสี สีรัสีรัตน์ น์ ภาษาไทย ดีมาก ชื่อ – สกุล : นายอัศฎา สาสีรัตน์ ชื่อเล่น : โอมฮาร์ท หมู่โลหิต : เกิดวันที่ : 24 สิงหาคม พ.ศ. 2542 มีพี่น้อง : 2 คน เป็นบุตรคนที่ 2 สัญชาติ: ไทย เชื้อชาติ: ไทย ศาสนา : พุทธ บิดาชื่อ : นายสมบัตร สาสีรัตน์ มารดาชื่อ : นางสมบูรณ์ สาสีรัตน์ ที่อยู่ปัจจุบัน : 830 หมู่ 6 บ้านท่าบ่อ ตำ บล ท่าบ่อ อำ เภอ ท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 43110 เบอร์ติดต่อ : 061-032-6153 Facebook : Oammy Audsada Saseerut ความสามารถพิเศษ; รำ เต้น แต่งหน้า ออกงานทั่วไป งานอดิเรก : ออกงานรำ ออกงานเต้น คติประจำ ใจ : จงอดทนต่อสิ่งเลวร้ายที่เกิดกับเรา เมื่อผ่านไปได้มัน จะเป็นเรื่องที่เล็ก สำ หรับเรา อาชีพที่อยากเป็นในอนาคต : ครู , ศิลปินอิสระ , อุปนิสัย : ร่าเริง , มุ่งมั่น , ช่วยเหลือผู้อื่น , รับฟังความคิดเห็น ชอบช่วยเหลือ รักทุ่มเทเต็มที่


PART 2 EDUCATION ประวัวัวัติวัติติกติารศึศึศึกศึษา ชั้ชั้ ชั้ น ชั้ นประถมศึศึศึกศึษาปีปีปีที่ปีที่ ที่ที่ 1 - 6 โรงเรีรีรียรีนอนุนุนุบนุาลดารณีณีณีท่ณีท่ท่าท่บ่บ่บ่อบ่ ชั้ชั้ ชั้ น ชั้ นมัมัมัธมัยมศึศึศึกศึษาปีปีปีที่ปีที่ ที่ที่ 1 -6 โรงเรีรีรียรีนท่ท่ท่าท่บ่บ่บ่อบ่ ระดัดัดับดัอุอุอุดอุมศึศึศึกศึษาปริริริญริญาตรีรีรีรี1-5 มหาวิวิวิทวิยาลัลัลัยลัราชภัภัภัฏภัอุอุอุดอุรธานีนีนีนี


ประวัวัวัติวัติติสติถานศึศึศึกศึษา ประวัติสถานศึกษา โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล ชื่อ "อุดรพิทยานุกูล" มีปรากฏครั้งแรกในใบบอกมณฑลอุดรที่ 121/1207 ลงวันที่ 9 ตุลาคม ร.ศ.121 ที่พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา ข้าหลวงเทศาภิบาลสำ เร็จราชการมณฑลอุดร กราบทูล สมเด็จกรมพระยาดำ รงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เรื่องขอถวายพระราชกุศลใน การ จัดสร้างโรงเรียนหนังสือไทยบ้านหมากแข้ง ช่วงที่ 1 : จากโรงเรียนหนังสือไทย สู่ โรงเรียนประจำ มณฑล โรงเรียนหนังสือไทยที่แต่เดิมพระเจ้า น้องยาเธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม (ในขณะนั้น) ทรงสร้างไว้นั้นเกิดเพลิงไหม้ การฝึกสอนนักเรียนต้องอาศัยสอนอยู่ที่เรือนพักข้าราชการ พระองค์เจ้า วัฒนาจึงได้ให้พนักงานจัดสร้างโรงเรียนขึ้นที่ด้านเหนือที่ว่าการมณฑลข้างวัดมัชฌิมาวาส เป็นอาคาร หนึ่งหลัง ยาว 10 วา 2 ศอก กว้าง 4 วา พื้นกระดาน ฝากระดานมุงแฝก ครั้นวันที่ 20 กันยายน ร.ศ.121 พระองค์ได้อาราธนาพระสงฆ์ 7 รูป เจริญพระพุทธมนต์ แล้วในวันรุ่งขึ้น ได้ ถวายอาหารบิณฑบาตเป็นการฉลองโรงเรียน โดยพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา ได้ประทานนามโรงเรียนนี้ว่า "โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล" และได้เปิด สอนนักเรียน ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน ร.ศ.121 (พุทธศักราช 2445) เป็นต้นมา ในโอกาสเดียวกัน ข้าราชการ พ่อค้า ราษฎร ได้พร้อมใจกันออกเงิน บำ รุงอุดหนุนซื้อเครื่อง เล่าเรียน วัสดุใช้สอยในโรงเรียน และเป็นค่าจ้างครูสำ หรับสอนนักเรียน รวมเงิน 1,146 บาท 24 อัฐ ผู้ที่ออกทรัพย์ได้ พร้อมใจกันขอพระราชทานถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และพระองค์ทรงอนุโมทนาในการกุศลนี้ และได้ประกาศในราช กิจจานุเบกษา เล่ม 19 หน้า 739 ฉบับวันที่ 14 ธันวาคม ร.ศ. 121 นอกจากนี้ ยังปรากฏหลักฐานที่มี การออกทรัพย์และ บริจาคทรัพย์เพื่อบำ รุงโรงเรียนเรื่อยมา ทั้งใน ร.ศ. 126 ร.ศ. 129 และใน พ.ศ. 2469 เป็นต้น ช่วงที่ 2 (พ.ศ. 2477 - 2510) : ศรีสุขสุขีแล้ว เพริศแพร้วพิทยา เวลาล่วงเลยมาจนถึงต้นปีพุทธศักราช 2477 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลได้รับอนุญาตให้เปิดสอนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 7 และ 8 ถือเป็นโรงเรียนแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เปิดสอนระดับดัง กล่าว ทั้งนี้ ก็โดยการผลักดันของ ม.ล.มานิจ ชุมสาย ศึกษาธิการภาคและครูใหญ่ในขณะนั้น เมื่อเวลาผ่านไปสถานที่เรียนเริ่มคับแคบจึงได้ย้ายมาอยู่ที่ตั้งปัจจุบันนี้เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2478 มีการสร้างอาคารเรียนหลังแรก เป็นอาคารไม้ใต้ถุนโล่ง ลักษณะเป็นรูปตัวอี สร้างอาคารไม้ 2 ชั้นจำ นวน 8 ห้องเรียน โรงฝึกพลศึกษา อาคารห้องสมุด อาคารสังคม และดนตรี หอประชุม และโรงอาหาร (ทั้งหมดนี้รื้อถอนไปหมดแล้วในช่วงต่อมา) ช่วงที่ 3 (พ.ศ. 2511 - 2520) : สู่ความทันสมัย ก้าวไกลการศึกษา พัฒนาวิชาชีพช่วงนี้โรงเรียนเริ่มใช้หลักสูตรโครงการโรงเรียน มัธยมแบบประสม - Comprehensive School(คมส.) แบบ 1 รุ่นที่ 2 (ปีการศึกษา 2511) ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตาม โครงการพัฒนาการของกระทรวงศึกษาธิการ ทำ ให้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานที่ ให้เอื้อต่อการเรียนการ สอนทางด้านวิชาชีพ มีการสร้างอาคารเพิ่ม เช่น อาคารวิทยาศาสตร์และห้องสมุด (อาคาร 5 เดิม) อาคารธุรกิจศึกษา (อาคาร 2) โรง ฝึกพลศึกษา โรงฝึกงานช่างทั่วไป ช่างเขียนแบบ ช่างไฟฟ้าวิทยุ ช่างยนต์และช่างกล (กลุ่มอาคารโรงฝึกงานในปัจจุบัน) รวมทั้งบ้านพักครูและเจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ มีการสร้างห้องสุขาเพิ่มเติม และปรับปรุงรั้ว และประตูโรงเรียนอีกด้วย มีการสร้างอาคารเรียน 4 ชั้น 24 ห้องเรียน (อาคาร 4 ในปัจจุบัน) โดยได้ดำ เนินการก่อสร้าง เป็น 2 ตอน ครึ่งแรกสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2518 ครึ่งหลังสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2520 โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2518 นี้เองโรงเรียนได้รับความกรุณาจากกระทรวงมหาดไทยยกที่ดินบริเวณบ้านพักอัยการพิเศษ ประจำ เขต 4 เนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ด้านทิศตะวันตกของโรงเรียน เพื่อขยายบริเวณที่จะปรับปรุงเป็นสนามกีฬา ระดับมาตรฐาน จากนั้น ได้ปรับปรุงและสร้างสนามบาสเก็ตบอล อัฒจันทร์เชียร์ และสร้างหลังคาสำ หรับทางเดินเชื่อม ระหว่างอาคารเรียนตามลำ ดับช่วงที่ 4 (พ.ศ. 2521 - 2542) : ยุคแห่งพระกรุณา คุณธรรมนำ หน้า วิชาตามหลัง ได้ดำ เนินการสร้างอาคารสหกรณ์โดยได้รับการอนุเคราะห์เงินบริจาคสมทบส่วนหนึ่งจากคณะครู-อาจารย์ และ ผู้ปกครอง นักเรียน รวมทั้งอาคารธรรมสถาน หลวงปู่ขาว อนาลโย ซึ่งเป็นอาคารธรรมสถานหลังแรกของประเทศไทยที่สร้างในสถาน ศึกษาตามนโยบายนำ วัดและศาสนาเข้ามาสู่โรงเรียน โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานแบบแปลนให้แก่ทางโรงเรียน และพระราชทาน นามพระพุทธรูปองค์ประธานแห่งธรรมสถานนี้ว่า "พระพุทธศรีอุดรมงคล ทศพลธรรมะประภัสสร" PART 3


ในช่วงนี้มีการสร้างอาคาร "รัตนโกสินทร์สมโภช 2525" ขึ้น และได้มีการจัดสร้างสนามหญ้าและสวน หย่อมขนาดใหญ่หน้าอาคารรัตนโกสินทร์สมโภชฯ ในบริเวณอาคารไม้รูปตัว อี ที่ถูกรื้อถอนย้ายไปปลูก สร้างใหม่ (อาคาร 3 ในปัจจุบัน) และได้จัดสร้างอาคารอเนกประสงค์เพื่อใช้ เป็นอาคารห้องสมุดและหอ ประชุม แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2531 ช่วงนี้มีการสร้างอัฒจรรย์ขนาดใหญ่ด้านทิศตะวันตก และติดตั้งหลอดไฟสปอตไลท์รอบสนามฟุตบอล สร้างทางเดินระหว่างอาคารเพิ่มเติม พ.ศ. 2533 ได้งบประมาณก่อสร้างอาคารอาคาร 6 ในปัจจุบัน ตั้ง อยู่ทางด้านตะวันออกตามแนวรั้วโรงเรียน ด้านถนนอุดรพิทย์ ท้ายที่สุดของช่วงนี้ ได้ก่อสร้างอาคารศูนย์ กีฬาแบบมาตรฐาน ในบริเวณอาคารเกษตรและอาคาร คหกรรมเดิม ช่วงที่ 5 (พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน) : ศตวรรษแห่งปัญญา อนุสรณ์แห่งประชา อุดรพิทยานุกูล พ.ศ. 2544 โรงเรียนจัดงานฉลอง "100 ปี อุดรพิทยานุกูล" อย่างยิ่งใหญ่ มีการสร้างอาคารโรงอาหาร แห่งที่สอง บริเวณหลังโรงฝึกพลศึกษา พ.ศ. 2547 ก่อสร้างอาคารเรียนสามชั้น บริเวณสนามเทนนิสด้านทิศเหนือ ให้ชื่อว่า "อาคาร 100 ปี อุดรพิทยานุกูล" โดยศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ร่วมกันสมทบทุนก่อสร้าง หลังจากนี้ ได้มีการรื้อถอนอาคาร 5 และสร้างอาคารเรียนสามชั้น เป็นอาคารวิทยาศาสตร์ เริ่มใช้ปีการศึกษา 2549 นอกจากนี้ ยังมีการ ปรับปรุงทางเดินระหว่างอาคาร ถนนทางเข้า-ออกโรงเรียน และสร้างที่จอดรถเพิ่มเติม รวมทั้งปรับปรุง ภูมิทัศน์ศาลพระภูมิประจำ โรงเรียน พ.ศ. 2550-2551 ได้ปรับปรุงโรงอาหารใหม่ให้เป็นโรงอาหารสองชั้น ปรับปรุงอัฒจรรย์เชียร์และปะรำ พิธีบริเวณสนามฟุตบอลแล้ว และล่าสุด ในปี 2552 ก็ได้จัดสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ คืออาคาร 8 (อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา) ตั้งอยู่หลังอาคาร 5 ทางประตูด้านทิศตะวันออก บนสระมรกตเดิม เพื่อรองรับจำ นวนนักเรียนที่มากขึ้นในปัจจุบัน และสร้างอาคารเพิ่มเติมข้างอาคารอเนกประสงค์ แทนที่ ร้านค้าสหกรณ์โรงเรียน เพื่อใช้เป็นสำ นักงานของสหกรณ์ออมทรัพย์เสมาธรรมจักร พ.ศ. 2556 โรงเรียนจัดงานฉลอง "111 ปี อุดรพิทยานุกูล" อย่างยิ่งใหญ่และได้จัดตั้งมูลนิธิ "111ปี อุดรพิทย์เพื่อการศึกษา"ภายใต้การนำ ของ ฯพณฯ อำ นาจ ผการัตน์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี นายประยูร ธีระพงษ์ อดีตผู้อำ นวยการโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล และนายวัชรินทร์ ศรีบุรินทร์ ผู้อำ นวย การโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลในขณะนั้น


ตราสัสัสัญสัลัลัลักลัษณ์ณ์ณ์ณ์ ตราประจำ โรงเรียน : เป็นรูปคบเพลิง ประกอบเปลวไฟฉายรัศมี ด้านล่างมี แพรอักษรคำ ขวัญประจำ โรงเรียน "นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา" คติธรรม : "นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา" (แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี : ผู้มี ปัญญาเปรียบเสมือนมีแสง สว่างส่องนำ ทางชีวิตให้ก้าวไปถึงจุดหมายปลายทางได้สำ เร็จ) คติพจน์: "อุดรพิทย์คือผืนนา ลูกศิษย์ลูกหาคือต้นกล้า มวลประชา ครู อาจารย์ ลูกจ้าง คือน้ำ และปุ๋ย" สีประจำ โรงเรียน มี 2 สีคือ สีน้ำ เงิน - สีแห่งความหนักแน่น เข้มแข็ง กล้าหาญ อดทน สีชมพู- สีแห่งความรัก สุภาพ อ่อนน้อม สื่อให้เห็นว่า "ลูกน้ำ เงินชมพู ต้องเป็นผู้มีความน่ารัก สุภาพอ่อนน้อม หนัก แน่น เข้มแข็ง กล้าหาญและอดทน" ต้นไม้และดอกไม้ประจำ โรงเรียน : ต้นตะแบก และดอกตะแบก วิสัยทัศน์ "โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล เป็นองค์กรแห่งการเรียน รู้ ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม น้อมน าหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล" พันธกิจ 1. ด้านผู้เรียน "ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะจำ เป็นตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่ดี สามารถแสวงหา ความรู้ด้วย ตนเองและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องมีจิตสาธารณะ มีคุณธรรมจริยธรรมและมีความเป็น เลิศทางวิชาการได้ มาตรฐานระดับสากล น้อมนำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ" 1.1 ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและมีความคิดเป็นเลิศทาง วิชาการ มุ่งมั่นสู่ความเป็นสากล 1.2 เร่งรัดพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ 2. ด้านการจัดการศึกษา "พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญด้านการเรียน การ สอนและมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพครู" 3. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ "สถานศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพโดยมุ่งการมีส่วนร่วม มีความรับผิดชอบ ในการดำ เนินงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน" 4. ด้านอัตลักษณ์สถานศึกษา ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตสาธารณะ 5. ด้านมาตรการส่งเสริม ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่สูงขึ้น


ผู้ผู้ผู้บผู้ ริริริหริารทางการศึศึศึกศึษา นายสุวิทูรย์ ภักดีสมัย ผู้อำ นวยการโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล 081-8726258 [email protected] นายธีรพล ทะวาปี รองผู้อำ นวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารงบประมาณ 042-212693 [email protected] นายวัฒนชัย ภูมิผักแว่น รองผู้อำ นวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารวิชาการ 086-2253384 [email protected] นายสำ เนียง พิลาโสภา รองผู้อำ นวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารทั่วไป 081-1179299 [email protected] นายสังวาลย์ โบราณกุล รองผู้อำ นวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารบุคคล 084-5107131 [email protected] PART 4


จำจำจำจำนวนผู้ผู้ผู้บผู้ ริริริหริารและบุบุบุคบุลากรทางการ ศึกษา PART 5


ข้อมูลนักเรียน ข้อมูลนักเรียน ปีการศึกษา 2562 1. จำ นวนนักเรียนทั้งหมด 4,978 2. จำ นวนนักเรียนแยกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ดังนี้ ตารางแสดงจำ นวนนักเรียน ปีการศึกษา 2562 (ข้อมูล ณ วันที่ 8 เมษายน 2566) PART 6 ข้ข้ข้อข้มูมูมูลมูนันันักนัเรีรีรียรีนในสถานศึศึศึกศึษา


สภาพการจัดการเรียนการสอน ห้องเรียน สภาพห้องเรียนเป็นห้องประจำ รายวิชา ซึ่งมีขนาดที่ค่อนข้างกว้างและมีอุปกรณ์ โทรทัศน์ ไมค์ ลำ โพง เป็นสื่อการ เรียนการสอน มีจำ นวนนักเรียนห้องละประมาณ 40 - 50 คน โดยรวมถือว่าห้องเรียนเหมาะสมกับการจัดการเรียนการ สอน แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส Covid – 19 จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการจัดการเรียน การสอนจากการเรียน ในชั้นเรียน (Onsite) เป็นรูปแบบออนไลน์ (Online) ผ่านแอพพลิเคชั่น Line และ Google Meet ตามความเหมาะสม การเรียนการสอน ด้านการเรียนการสอน ผู้สอนได้นำ เกมที่เด็กสนใจ มาปรับใช้ในการเรียนการสอน เพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก ทำ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ สามารถปฏิบัติตามได้ และเด็กส่วนใหญ่อยู่ในระดับปาน กลางขึ้นไป ถึงแม้จะเป็นชั้นเรียนที่คละ ความสามารถ แต่ก็ไม่เกิดปัญหาในการเรียนการสอน และในการปรับเปลี่ยนวิธีการ จัดการเรียนการ สอนจากรูปแบบเรียนในชั้นเรียนปกติเป็นรูปแบบออนไลน์ (Online) ตามข้อบังคับมาตรการการ ควบคุมโรคระบาดนั้น ครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถปรับตัวได้ตามปกติมีการถาม ตอบ ระหว่างทำ การ เรียนการเสมออยู่ เสมอ การวิเคราะห์สภาพปัญหาการเรียนการสอน จากสภาพการจัดการเรียนการสอนที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้พบเจอ สามารถ วิเคราะห์ปัญหาออกมา ได้ ดังนี้ 1.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4 5มีสมาธิค่อนข้างดี จดจ่อกับบทเรียน แต่บางครั้งจะมีเล่นมากเกินไป นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพจึงใช้วิธีการสอน โดยการนำ เสนอเนื้อหาสื่อมาประกอบการสอน เช่น ผลงาน คลิป และหากิจกรรม มาให้ทำ เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วม และสนใจในบทเรียน เช่น เกมการณ์เรียนรู้ การตอบคำ ถาม ใบงาน เป็นต้น 2. เมื่อมีการหยอกล้อกันระหว่างทำ การเรียนการสอน และพูดสอดแทรกขณะที่ครูกำ ลังทำ การเรียนการสอน นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จึงแก้ไขปัญหาด้วยการให้จดบันทึก และหา กิจกรรมมาให้นักเรียนทำ เพื่อให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในการทำ การเรียนการสอน เช่น เกมการณ์เรียนรู้ การตอบคำ ถาม ใบงาน เป็นต้น 3. ในบางครั้งนักเรียนอาจมีความเบื่อหน่ายจากรูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online) และในบท เรียนที่เป็นทฤษฎี เช่น ในเรื่องของการเปรียบเทียบทางนาฏศิลป์และดนตรี ซึ่งเนื้อหาค่อนข้างที่จะเยอะ นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จึงแก้ไขปัญหาด้วยการ หาสื่อมาประกอบการบรรยาย เช่น คลิปผลงานทางด้านดนตรี นาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้น องค์ประกอบเป็นต้น ตารางสอน รายวิชานาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล อำ เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่1และ2 10ชั่วโมง ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลทั่ทั่ ทั่ วทั่ วไป ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลการพัพั พัฒพั นาตนเองด้ด้ ด้ า ด้ านวิวิวิชวิาการ


กิกิ กิ จ กิ จกรรม ภาคเรีรี รี ย รี ยนที่ที่ ที่ที่ 1


PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.1 งานวัวัวันวั สุสุสุนสุทรภู่ภู่ภู่แภู่ ละวัวัวันวัภาษาไทย ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.3 นินินิเนิทศการสอน ภาคเรีรีรียรีน ที่ที่ ที่1ที่ โดยอาจารย์ย์ย์ย์จิจิจิรจิาพรรณ เอี่อี่ อี่ ย อี่ ยมแก้ก้ก้วก้ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.2 ปฐมนินินิเนิทศนันันักนั ศึศึศึกศึษาฝึฝึฝึกฝึ ประสบการณ์ณ์ณ์ณ์


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.4 มอบเกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัร รางวัวัวัลวั ชนะเลิลิลิศลิประกวดละคร สร้ร้ร้าร้งสรรค์ค์ค์ค์ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.6 นำนำนำนำนันันักนัเรีรีรียรีนออกงานวง โปงลาง ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.5 กิกิกิจกิกรรมถวายพระพร วัวัวันวัพระราชสมภพ ในหลวง ร.10 PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.7 กิกิกิจกิกรรมซ้ซ้ซ้อซ้มงานการ แสดงให้ห้ห้กัห้กักับกัคณะครูรูรูใรูนงาน เกษีษีษียษีณอายุยุยุรยุาชการครูรูรูรู ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มช่ช่ช่วช่ยราชการ 1.9 ช่ช่ช่วช่ยงานราชการแต่ต่ต่งต่หน้น้น้าน้ระบำบำบำบำ ศิศิศิปศิลหัหัหัตหัถกรรมโรงเรีรีรียรีนท่ท่ท่าท่บ่บ่บ่อบ่ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.8 จัจัจัดจัดอกไม้ม้ม้ใม้นพิพิพิธีพิธีธีต่ธีต่ต่าต่งๆ PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มช่ช่ช่วช่ยงานราชการ 1.9 แต่ต่ต่งต่หน้น้น้าน้นันันักนัเรีรีรียรีนเข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มแข่ข่ข่งข่ ศิศิศิลศิปหัหัหัตหัถกรรม “ รำรำรำรำวงมาตรฐาน “ โรงเรีรีรียรีนโนนสะอาดพิพิพิทพิยาสรรค์ค์ค์ค์ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.11 รำรำรำรำอวยพรงานเกษีษีษียษีณอายุยุยุ ราชการ ร.ร อุอุอุดอุรพิพิพิทพิยานุนุนุกูนุกูกูลกู . “ ฟ้ฟ้ฟ้อฟ้นปัปัปัญปัจมาลราชบูบูบูชบูาครูรูรูรู“ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.10 ทำทำทำทำบุบุบุญบุตัตัตักตับาตรในโรงเรีรีรียรีน อุอุอุดอุรพิพิพิทพิยานุนุนุกูนุกูกูลกู PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.12 รำรำรำรำบวงสรวง กรมหลวง พระองค์ค์ค์เค์จ้จ้จ้าจ้วัวัวัฒวันา ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.14 ปฎิฎิฎิบัฎิบับัติบัติติรติาชการออกงาน เกษีษีษียษีณที่ที่ ที่ เ ที่ เขตพื้พื้ พื้ น พื้ นที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษา สพม. ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.13 การแสดงพิพิพิธีพิธีธีเธีปิปิปิดปิงานเปิปิปิดปิ บ้บ้บ้าบ้นวิวิวิชวิาการอุอุอุดอุรพิพิพิทพิยานุนุนุกูนุกูกูลกู PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


1.15 ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติรติาชการฟ้ฟ้ฟ้อฟ้นอวยพร งานเกษีษีษียษีณอายุยุยุรยุาชการ “ ฟ้ฟ้ฟ้อฟ้นไทพวน “ PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


กิกิ กิ จ กิ จกรรม ภาคเรีรี รี ย รี ยนที่ที่ ที่ที่ 2


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่วมช่วยราชการนอกสถานที่ร่วมช่วยราชการนอกสถานที่ 1.16 ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติรติาชการงานการแสดง ของดีดีดีเดีมืมืมือมืงตรัรัรังรั ระบำบำบำบำชวา ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.18 ปฏฺิฏฺิฏฺิบัฏฺิบับัติบัติติรติาชการ นำนำนำนำเด็ด็ด็กด็ นันันักนัเรีรีรียรีน แข่ข่ข่งข่ขัขัขันขั ศิศิศิลศิปหัหัหัตหัถกรรม ครั้รั้ รั้ ง รั้ งที่ที่ ที่7ที่ 1 ระบำบำบำบำมาตรฐาน สี่สี่ สี่ บ สี่ บท พระทอง ชนะเลิลิลิศลิระดัดัดับดัม.1-3 ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.17 ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติรติาชการออกรายการ ช่ช่ช่อช่ง9 รายการ 360องศา PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.20 ปฏฺิฏฺิฏฺิบัฏฺิบับัติบัติติรติาชการ นำนำนำนำเด็ด็ด็กด็ นันันักนัเรีรีรียรีน แข่ข่ข่งข่ขัขัขันขั ศิศิศิลศิปหัหัหัตหัถกรรม ครั้รั้ รั้ ง รั้ งที่ที่ ที่7ที่ 1 ระบำบำบำบำมาตรฐาน สี่สี่ สี่ บ สี่ บท พระทอง ชนะเลิลิลิศลิระดัดัดับดัม. 4-6 ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.22 กลุ่ลุ่ลุ่มลุ่ สาระการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้หมวด ศิศิศิลศิปะ ร่ร่ร่วร่มกักักันกัถ่ถ่ถ่าถ่ยภาพอนุนุนุสนุรณ์ณ์ณ์ณ์ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมศึศึศึกศึษาดูดูดูงดูานต่ต่ต่าต่งจัจัจังจัหวัวัวัดวั 1.21 ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติรติาชการ ไปศึศึศึกศึษาดูดูดูงดูานที่ที่ ที่ที่ พิพิพิพิพิพิพิธพิภัภัภัณภัฑ์ฑ์ฑ์ฑ์เมืมืมือมืงหล่ล่ล่มล่ สัสัสักสัจ.เพชรบูบูบูรบูณ์ณ์ณ์ณ์ PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.23 ปฏิฏิฏิกฏิารงานการแสดงพิพิพิธีพิธีธีเธีปิปิปิดปิ งานปีปีปีใปีหม่ม่ม่ม่อุอุอุดอุรพิพิพิทพิยานุนุนุกูนุกูกูลกูรำรำรำรำสี่สี่ สี่ ภ สี่ ภาค ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.25 กิกิกิจกิกรรมมอบเกีกีกีรกีติติติบัติบับัตบัร การแข่ข่ข่งข่ขัขัขันขั ศิศิศิลศิปหัหัหัตหัถกรรม ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมช่ช่ช่วช่ยราชการ 1.24 ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติรติาชการงานจัจัจังจัหวัวัวัดวั อุอุอุดอุรธานีนีนี1นี31 ปีปีปีปีกรมหลวงประจัจัจักจัษ์ษ์ษ์ษ์ ศิศิศิลศิปาคม PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มช่ช่ช่วช่ยราชการ 1.26 ช่ช่ช่วช่ยราชการแต่ต่ต่งต่หน้น้น้าน้งานประเพณีณีณีณี งานดอกอ้อ้อ้อ้ยบาน โรงเรีรีรียรีนโนนสะอาด พิพิพิทพิยาสรรค์ค์ค์ค์ ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.28 จัจัจัดจัการแสดงพิพิพิธีพิธีธีมธีอบธงในงานกีกีกีฬกีา จตุตุตุรตุมิมิมิตมิร เพื่พื่ พื่ อ พื่ อให้ห้ห้อุห้อุอุดอุรพิพิพิทพิเป็ป็ป็นป็เจ้จ้จ้าจ้ภาพปีปีปีถัปีถัถัดถั ไป ได้ด้ด้เด้ข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่มกิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่โที่ รงเรีรีรียรีน 1.27 การแข่ข่ข่งข่ขัขัขันขัเชีชีชียชีร์ร์ร์หร์ลีลีลีดลีเดอร์ร์ร์กีร์กีกีฬกีา จตุตุตุรตุมิมิมิตมิร ณ โรงเรีรีรียรีนอุอุอุดอุรพิพิพิชัพิชัชัยชัรัรัรักรัษ์ษ์ษ์ษ์ พิทยา PART 7 ACTIVITIES กิกิกิจกิกรรมที่ที่ ที่ เ ที่ เข้ข้ข้าข้ร่ร่ร่วร่ม


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ ผู้ผู้ผู้ฝึผู้ฝึฝึกฝึซ้ซ้ซ้อซ้มรำรำรำรำ อศิศิศิรศิวาทครูรูรูกรูวีวีวีสุวีสุนทรภู่สุนทรภู่ กรรมการดำดำดำดำเนินินินิงานกิกิกิจกิกรรมวัวัวันวั สุสุสุนสุทรภู๋ภู๋ภู๋ภู๋


ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติหติน้น้น้าน้ที่ที่ ที่ วิ ที่ วิวิทวิยากร ครูรูรูผู้รูผู้ผู้ฝึผู้ฝึฝึกฝึซ้ซ้ซ้อซ้มการแข่ข่ข่งข่ขัขัขันขั ศิศิศิลศิปหัหัหัตหัถกรรมครั้รั้ รั้ ง รั้ งที่ที่ ที่7ที่ 1 PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ คณะกรรมการดำดำดำดำเนินินินิงานวัวัวันวั สุสุนทรภู่สุนทรภู่ ปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติหติน้น้น้าน้ที่ที่ ที่ฝึที่ฝึฝึกฝึซ้ซ้ซ้อซ้มการเเสดงวัวัวันวั สุสุนทรภู่สุนทรภู่


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


PART 8 CERTIFICATES เกีกีกียกีรติติติบัติบับัตบัรเเละ คำคำคำคำสั่สั่ สั่ ง สั่ งราชการ


ความประทัทัทับทั ใจที่ที่ ที่ มี ที่ มีมีต่มีต่ต่อต่ สถานศึศึศึกศึษา ในวันเเรกที่ได้ก้าวเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลนั้น สิ่งเเรกที่คิดอยู่ในหัวตลอดเวลาคือกลัวที่จะสอนเด็กเเละทำ งานร่วมกับบุคลาการในโรงเรียนไม่ ได้ แต่พอได้เริ่มทำ งานการสอนเเละได้ร่วมทำ งานกับครูผู้ใหญ่นั้น สิ่งที่เรากังวลก็เริ่มหายไป จนมาถึงวันสุดท้ายของการทำ งาน มันรุ้สึกใจหวิวๆ อย่างบอกไม่ถูก อาจจะเป็นเพราะที่แห่งนี้มอบ เเต่ความสุขเละความรักให้กับผม จึงทำ ให้ผมรักอุดรพิทยานุกูล เเละสุดท้ายนี้ผมจะไม่ลืมความ รักความเมตตาที่ทุกคนมอบให้ผมเสมอเเละถ้ามีโอกาสผมก็อยากที่จะกลับมาตอบเเทนอุดร พิทยานุกูลที่ดูเเลผมเป็นอย่างดีเสมอมา บันทึกนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2566 “ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล “


Click to View FlipBook Version