มาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ น
สตรกี บั การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คง
การขบั เคลอื่ นและขอ้ ทา้ ทาย
อาทติ ยท์ ่ี 20 มนี าคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น.
ดวงหทัย บรู ณเจรญิ กจิ
สถาบนั สทิ ธมิ นุษยชนและสนั ตศิ กึ ษา ม.มหดิ ล
เนอ้ื หาวันนี้
1. วาระสตรี สนั ตภิ าพและความมน่ั คง (Women, Peace and
Security (WPS) Agenda) และ มาตรการและแนวปฏบิ ตั ดิ า้ น
สตรกี บั การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คง (กรมกจิ การสตรี
และสถาบนั ครอบครวั พม.)
2. ความเชอื่ มโยง Hate speech กบั WPS
3. ประเด็นชวนคดิ ‘ผหู ้ ญงิ ’ ‘สนั ตภิ าพ’ และ ‘ความม่ันคง’
4. ความทา้ ทายของการผลกั ดนั วาระ WPS
1
วาระสตรี สนั ตภิ าพและความมนั่ คง
(Women, Peace and Security (WPS) Agenda)
เป้ าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
ไดร้ ับการพจิ ารณาในทปี่ ระชมุ สมัชชาใหญแ่ หง่ สหประชาชาติ ในการประชมุ สดุ ยอดวา่ ดว้ ยการพัฒนา
ทย่ี ่ังยนื เมอ่ื วันท่ี 25 กันยายนพ.ศ. 2558 เพอื่ วางกรอบวาระการพัฒนาทยี่ ่ังยนื ของโลกในอกี 15 ปี
ขา้ งหนา้ แทนเป้ าหมายการพัฒนาแหง่ สหัสวรรษ (MDGs) ทสี่ นิ้ สดุ ลง SDGs ตัง้ เป้าหมายทัง้ สน้ิ 17
เป้ าหมาย (Goals) 169 เป้ าประสงค์ (Targets) มุ่งหวังเพ่ือสรา้ งความสมดุลใหเ้ กดิ ข้ึนทัง้ มิติ
เศรษฐกจิ มติ ทิ างสงั คม และมติ ดิ า้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
เป้ าหมายท่ี 5: ตอ้ งการบรรลคุ วามเสมอภาคระหวา่ งเพศ การตระหนักถงึ สทิ ธิ
สตรใี นมติ ติ า่ งๆ ของทกุ เป้าหมาย รวมทงั้ การเสรมิ อานาจใหผ้ หู ้ ญงิ ไดต้ ดั สนิ ใจ
และมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื และสง่ เสรมิ สงั คมทสี่ งบสขุ (เป้าหมายท่ี 16)
ในพนื้ ทสี่ ว่ นตวั พนื้ ทสี่ าธารณะ รวมถงึ พนื้ ทที่ ม่ี คี วามขดั แยง้
เป้ าหมายที่ 16: สง่ เสรมิ สงั คมทสี่ งบสขุ และครอบคลมุ เพอ่ื การพัฒนาที่
ยงั่ ยนื ใหท้ กุ คนเขา้ ถงึ ความยตุ ธิ รรมและสรา้ งสถาบนั ทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล
รบั ผดิ ชอบและครอบคลมุ ในทกุ ระดบั
ปฎญิ ญาองคก์ ารความรว่ มมอื อสิ ลาม
The Organization of Islamic Cooperation Charter: OIC Charter
ปฏญิ ญาขององคก์ ารฯ บญั ญตั วิ า่ “จะป้ องกนั และสง่ เสรมิ สทิ ธสิ ตรแี ละการมสี ว่ น
รว่ มของผหู้ ญงิ ในทกุ พน้ื ทขี่ องชวี ติ ตามเจตนารมณข์ องกฎหมายในแตล่ ะ
ประเทศของสมาชกิ ” นอกจากปฏญิ ญาจะบญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ ยังไดม้ คี วามพยายามตอกย้า
ในเรอ่ื งน้ี โดยองคก์ ารความรว่ มมอื อสิ ลามไดจ้ ัดใหม้ กี ารประชมุ เกยี่ วกบั เรอ่ื งสทิ ธสิ ตรี
มสุ ลมิ เป็ นครัง้ แรกเนอื่ งในโอกาสวนั สตรสี ากล พ.ศ.2557 ภายใตค้ าขวญั “ความเสมอ
ภาคตอ่ ผหู้ ญงิ คอื ความกา้ วหนา้ ของทกุ คน” (Equality for women is progress
for all) เพอ่ื แสดงความชนื่ ชมบทบาทของผหู ้ ญงิ ในสงั คม และอภปิ รายถงึ ความทา้
ทายทผี่ หู ้ ญงิ มสุ ลมิ กาลงั เผชญิ ทงั้ ในบา้ น ทท่ี างานและในสงั คม ในวาระเดยี วกนั นัน้
องคก์ ารความรว่ มมอื อสิ ลามมคี าสง่ั ใหป้ ระเทศสมาชกิ ทงั้ 57 ประเทศสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ
ของผหู ้ ญงิ และเปิดโอกาสใหผ้ หู ้ ญงิ มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาสงั คมในทกุ ภาคสว่ น
สเ่ี สาของมตสิ ภาความมน่ั คงแหง่ สหประชาชาตทิ ี่ 1325 วา่ ดว้ ยผหู ้ ญงิ สนั ตภิ าพและความม่ันคง
การมสี ว่ นรว่ ม (participation)
มติ 1325 เรยี กรอ้ งใหผ้ หู ้ ญงิ มสี ว่ นรว่ มมากขน้ึ ในระดบั ตดั สนิ ใจ ทสี่ มั พันธก์ บั
สนั ตภิ าพและความมน่ั คง ในทกุ ระดบั ในกลไกการป้องกนั การจัดการ การแกไ้ ข
ความขดั แยง้ ในการเจรจาสนั ตภิ าพ ปฏบิ ตั กิ ารสนั ตภิ าพ
การปกป้ อง (protection)
มติ 1325 เรยี กรอ้ งใหป้ กป้องผหู ้ ญงิ และเด็กผหู ้ ญงิ จากความรนุ แรงทางเพศ ใน
รปู แบบตา่ งๆ
การป้ องกนั (prevention)
มติ 1325 เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารพัฒนายทุ ธศาสตรใ์ นการป้องกนั ความรนุ แรงตอ่ ผูห้ ญงิ
รวมทัง้ ดาเนนิ คดผี กู ้ ระทาผดิ ตามกฎหมาย สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการป้องกันสทิ ธิ
ผหู ้ ญงิ สนับสนุนความรเิ รม่ิ การสรา้ งสนั ตภิ าพของกลมุ่ ผหู ้ ญงิ เพอ่ื แกป้ ัญหา
การบรรเทาทกุ ขแ์ ละฟ้ื นฟู (relief and recovery)
มติ 1325 เรยี กรอ้ งใหม้ มี าตรการบรรเทาทกุ ขแ์ ละฟื้นฟเู พอ่ื รบั มอื กบั วกิ ฤตผา่ น
มมุ มองเพศภาวะ
พ.ศ. 2543 วาระผูห้ ญงิ สนั ตภิ าพ และความมั่นคง (Women, Peace
(ค.ศ. 2000) and Security Agenda หรอื WPS) ประกาศในมตขิ องคณะ
มนตรคี วามมั่นคงแห่งสหประชาชาติ 1325 เมอ่ื วันที่ 31
ตลุ าคม ค.ศ.2000
พ.ศ. 2559 ประเทศไทยจัดทามาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นสตรกี ับ
(ค.ศ. 2016) การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมนั่ คง
พ.ศ. 2560
(ค.ศ. 2017) สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ้ Association
of Southeast Asian Nations (ASEAN) รว่ มรบั รอง
พ.ศ. 2562 แถลงการณส์ ง่ เสรมิ วาระสตรี สนั ตภิ าพและความมน่ั คงใน
(ค.ศ. 2019) อาเซยี น
การจัดตงั้ ศนู ยป์ ระสานงานดา้ นเด็กและสตรใี นจังหวดั
ชายแดนภาคใต ้ (ศป.ดส.)
พ.ศ. 2559 กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว (สค.)
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
ไดน้ า UNSCR 1325 วา่ ดว้ ยผหู ้ ญงิ สนั ตภิ าพและความม่ันคง
มาใชเ้ ป็ นกรอบแนวคดิ ในการพัฒนาเป็ นเอกสารเชงิ หลกั การชอ่ื
“มาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นสตรกี บั
การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คง”
มาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นสตรกี บั การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คง ของประเทศไทย
ประกอบดว้ ย 5 มาตรการ
● มาตรการที่ 1) การป้ องกนั (Prevention) เชน่ ผนู ้ าชมุ ชนมบี ทบาทในการเฝ้ าระวงั ไมใ่ หเ้ กดิ
การละเมดิ สทิ ธสิ ตรี
● มาตรการท่ี 2) การคมุ้ ครองและพทิ กั ษส์ ทิ ธแิ ละการฟื้ นฟเู ยยี วยา (Protection and
recovery) มาตรการนมี้ สี ว่ นในการเรง่ รัดดาเนนิ คดกี บั ผกู ้ ระทาผดิ หรอื ความรนุ แรงตอ่ สตรี
สง่ เสรมิ ใหผ้ นู ้ าชมุ ชนมบี ทบาทชว่ ยเหลอื เยยี วยาผหู ้ ญงิ ทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากความรนุ แรง
● มาตรการท่ี 3) การพฒั นาศกั ยภาพ (Capacity building) ซงึ่ เป็ นมาตรการทเ่ี พม่ิ ขดี
ความสามารถใหภ้ าคประชาสงั คมและผนู ้ าชมุ ชนในการมสี ว่ นรว่ มขจัดปัญหาความขดั แยง้ และ
พัฒนาบคุ ลากรใหม้ เี จตคตทิ เ่ี ออ้ื ตอ่ การทางานและมมุ มองมติ ติ อ่ เพศสภาวะ
● มาตรการท่ี 4) การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมและ
สตรี (Empowerment and participation) เป็ นมาตรการทใ่ี หท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
กระบวนการในการลดความขดั แยง้
● มาตรการที่ 5) การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ลไกและการขบั เคลอื่ น (Mechanism and
implementation) เป็ นมาตรการเพมิ่ เจา้ หนา้ ทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ าน ใหข้ อ้ มลู ครบถว้ น และ
ทางานอยา่ งเป็ นระบบ เพอื่ ใหแ้ นวทางขบั เคลอื่ นทงั้ หา้ ในระดบั นโยบายนเี้ กดิ ขนึ้ ในทางปฏบิ ตั ิ
มาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นสตรกี บั การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความม่ันคง
การคมุ ้ ครองพทิ ักษ์สทิ ธ-ิ • การฟ้ืนฟเู ยยี วยามคี วามกา้ ว แตย่ ังมคี วามทา้ ทายเรอื่ ง
การฟื้นฟเู ยยี วยา การดแู ลจติ ใจ กฎหมายพเิ ศษ การคนื สสู่ งั คม
ป้ องกนั
การพัฒนาศกั ยภาพ • ความหว่ งใยเรอื่ งพน้ื ทป่ี ลอดภยั
การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม • การเชอ่ื มโยงระบบฐานขอ้ มลู เพอ่ื บรู ณาการนโยบาย
• ความร-ู ้ ทกั ษะสทิ ธมิ นุษยชน-กฎหมาย
กลไกและการขบั เคลอ่ื น • สง่ เสรมิ ศกั ยภาพสตรแี ละชมุ ชนในการป้องกนั และคมุ ้ ครอง
• ผหู ้ ญงิ ตนื่ ตวั แตย่ งั การมสี ว่ นรว่ มในระดบั การตดั สนิ ใจจากดั
• มคี วามรเิ รมิ่ ในเรอื่ งการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งรัฐและภาค
ประชาสงั คมในบางเรอ่ื งทส่ี าคญั
• ยังขาดการบรู ณาการกลไกการคมุ ้ ครองสทิ ธิ (ความรนุ แรง-
สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐาน)
• การมสี ว่ นรว่ มบรณู าการประเด็นเพศสภาพในระดบั นโยบาย
ความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง
2 ภาษาทส่ี รา้ งความเกลยี ดชงั
(Hate speech)
&
WPS
https://thestandard.co/what-is-war-
crime-and-will-putin-be-punish/
https://www.voicetv.co.th/read/5X_yYeXUQ
ยยุ งปลุกปัน่ ใหเ้ กดิ การฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธุ์
Incitement to Genocide
กรุณาอยา่ เผยแพรต่ ่อ
ใชใ้ นการอบรมเทา่ นนั้
กรณุ าอยา่ เผยแพรต่ อ่ ใชใ้ นการอบรมเทา่ นนั้
ภาษาสรา้ งความเกลียดชงั – ภาษาปลกุ ป่ัน สมั พนั ธก์ บั วาระ WPS
ภาษาสรา้ งความเกลียดชงั • กลา่ วโทษ • เสยี ความรูส้ กึ
(Hate speech – เฮทสปีช) • การลดทอนความ • แบง่ เขาแบง่ เรา
• สงั คมแตกแยก
เป็นมนษุ ย์
ภาษาปลกุ ป่ัน • สรา้ งความเกลียดชงั • เลือกปฏบิ ตั ิ
(incitement – อินไซตเ์ มนท)์ • ปลกุ ระดม • ความรุนแรง
• ทาใหเ้ กิด “ความไม่ม่นั คง” ในชีวติ – Security (S) • การฆา่
• ทาให้ “เส่ยี งตอ่ ความรุนแรง” ขาดสนั ตภิ าพ – Peace (P)
• ทาใหผ้ หู้ ญิง ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ กีดกนั จากการมีสว่ นร่วม ถกู ลดทอน
ศกั ดิศ์ รี เส่ยี งตอ่ ความรุนแรง – Women (W)
3 ประเด็นชวนคดิ
‘ผหู ้ ญงิ ’
‘สนั ตภิ าพ’
‘ความม่นั คง’
ผูห้ ญงิ
ความสมั พันธอ์ านาจระหวา่ งเพศ
ความเป็ นชาย กบั ความรนุ แรง
ความเป็ นหญงิ กบั สถานะความเป็ นเหยอ่ื
บทบาทของผหู ้ ญงิ กบั การ ภาคประชาสงั คม
สรา้ งสนั ตภิ าพในชายแดนใต ้ • เยยี วยา – การประสานใหเ้ ขา้ ถงึ สทิ ธิ
▪ เหยอื่ ความรนุ แรง • เชอ่ื มประสานระหวา่ งกลมุ่ คขู่ ดั แยง้ ในระดบั ชมุ ชนและสงั คม
▪ ประชาชน • สรา้ งความไวว้ างใจระหวา่ งรัฐและประชาชน
▪ นักธรุ กจิ
▪ สอื่ มวลชน เป็ นสว่ นหนงึ่ ของภาครฐั
▪ เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั • สรา้ งความไวว้ างใจระหวา่ งรัฐและประชาชน
▪ นักวชิ าการ
▪ นักพัฒนา- สนบั สนนุ และตดิ ตามกระบวนการพดู คยุ
• หลอ่ เลยี้ งใหก้ ารพดู คยุ มคี วามตอ่ เนอ่ื ง
นักกจิ กรรมทางสงั คม • เสนอวาระจากชมุ ชนสโู่ ตะ๊ เจรจา
เขา้ รว่ มอยา่ งเป็ นทางการในการแกป้ ญั หาและ
กระบวนการพดู คยุ
• หาทางออกใหก้ บั ความขดั แยง้ และสรา้ งสนั ตภิ าพ (กอส.)
• เป็ นผแู ้ ทนคณะพดู คยุ -ทมี สนับสนุนการพดู คยุ
กญั จนา ศลิ ปอาชา จริ าพร บนุ นาค จริ าพร บนุ นาค รัชดา ธนาดเิ รก
ธรี ดา สภุ ะพงษ์ วนั รพี ขาวสะอาด
นารี เจรญิ ผลพริ ยิ ะ พรนภิ า ลมิ ปพยอม
หวั หนา้ คณะพดู คยุ นา สล.3 ผหู ้ ญงิ =23.2%
พญ.เพชรดาว โตะ๊ มนี า มัรยัม สาเมา๊ ะ ผหู ้ ญงิ จากภาคประชา เลขาฯ =15.8%
สงั คม จชต.
รัตตยิ า สาและ เสาวนยี ์ จติ ตห์ มวด 4 คน พบฝ่ ายขบวนการ
กรรมการ กอส. 8 คน กอส.
อนุกรรมการ นักวจิ ยั ผชู ้ ว่ ย เลขา 10 คน
2536
2548 กอส.พนื้ ทสี่ าธารณะ การพดู คยุ
2550 เจนีวา โพรเซสทเ่ี ป็ นทางการ
2553 เจนีวา โพรเซส
2556
2558
2565
สนั ตภิ าพ-สนั ตสิ ขุ
การพดู คยุ ทางการทเี่ ป็ นความลบั
ความจาเป็ นของการมสี ว่ นรว่ มของผหู ้ ญงิ และ
การผนวกมติ เิ พศสภาพในกระบวนการสนั ตภิ าพ
● ความยง่ั ยนื ของขอ้ ตกลงสนั ตภิ าพและการสรา้ งสนั ตภิ าพในระยะยาว
● ยงั ไมเ่ คยปรากฎวา่ ผหู ้ ญงิ จะมสี ว่ นทาใหก้ ระบวนการเจรจาสนั ตภิ าพ
เสยี หาย
● กระบวนการสนั ตภิ าพนับเป็ นโอกาสสาคญั ทจ่ี ะสรา้ งความเป็ นธรรม
ทางเพศและความเป็ นธรรมทางสงั คมใหเ้ กดิ ขนึ้
● กระบวนการสนั ตภิ าพนัน้ มไิ ดม้ เี ป้าหมายเพยี งแคย่ ตุ คิ วามรนุ แรงที่
เกดิ ขนึ้ จากอาวธุ เทา่ นัน้ แตม่ เี ป้าหมายทใี่ หญไ่ ปกวา่ นัน้ นั่นคอื การ
สรา้ งสนั ตภิ าพทย่ี งั่ ยนื ใหก้ บั สงั คม
วาระการรณรงค์
ปกป้องเป้าหมายเปราะบาง กบั พน้ื ทป่ี ลอดภยั
protect soft target vs. public safety zone
● ผหู ้ ญงิ สนั ตภิ าพ และความม่นั คง (UNSCR1325) ประเด็นสาคญั อยู่
ทกี่ ารป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ สงคราม ไมใ่ ชท่ าสงครามใหผ้ หู ้ ญงิ ปลอดภยั
● “Women, peace and security is about preventing war, not about making
war safer for women.”
● Participant at the Asia-Pacific regional civil society consultation for the Global Study
ความทา้ ทายมายาคตวิ า่ ดว้ ยการปกป้ อง (Tickner & Sjoberg, 2560)
นักคดิ สตรนี ยิ มในสาขาความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ ทา้ ทายมายาคตคิ วามเป็ นชาย-
ความเป็ นหญงิ
▪ ความเป็ นชาย ทาใหผ้ ชู ้ ายเป็ น “ผปู้ กป้ อง” (protectors)
▪ ความเป็ นหญงิ ทาใหผ้ หู ้ ญงิ เป็ น “ผถู้ กู ปกป้ อง” (protected)
นักคดิ สตรนี ยิ มในสาขาการพัฒนา (Moser & Clark, 2001)
▪ ความเป็ นชาย ทาใหผ้ ชู ้ ายเป็ น “ผกู้ ระทาความรนุ แรง” (perpetrators)
▪ ความเป็ นหญงิ ทาใหผ้ หู ้ ญงิ เป็ น “เหยอื่ ” (victims)
การมองภาพแบบเหมารวมทาใหก้ ารแกป้ ัญหาไมร่ อบดา้ นและ
ละเลยกลมุ่ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ กลอ่ งทแ่ี นวคดิ กระแสหลกั มอง
ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ทงั้ หญงิ และชาย
ผหู ้ ญงิ กบั กระบวนการสนั ตภิ าพ
อะไรคอื ความสาเร็จของการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการสนั ตภิ าพ
• จานวนผหู ้ ญงิ ในพนื้ ทสี่ าธารณะ (การทางานนอกบา้ น) 30% จะทาใหค้ วามรนุ แรงและ
การคอรัปชนั่ ในสงั คมนัน้ ลดลง (ต.ย.อฟั กานสิ ถาน ผหู ้ ญงิ ในสภา 28% เด็กหญงิ กลับเขา้
ร.ร. 2.5 ลา้ นคน)
• ผหู ้ ญงิ ตอ้ งมบี ทบาทในกระบวนการสนั ตภิ าพ ในฐานะผนู ้ า-กลไกขบั เคลอ่ื น →
สนั ตภิ าพจงึ จะยง่ั ยนื
• งบประมาณอยา่ งนอ้ ย 15% สง่ เสรมิ ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ เชน่ บรรเทา
ผลกระทบจากความขดั แยง้ ทเี่ หตมุ าจากเพศ การรณรงค-์ ทางานเพอ่ื เพมิ่ จานวนผหู ้ ญงิ ใน
ตาแหน่งระดบั ตดั สนิ ใจ การทาวจิ ัย-สอื่ สาร
• ประชาชน สงั คมและสถาบนั ทางสงั คมตระหนักถงึ ความสาคญั ของ “สทิ ธสิ ตร”ี
(women’s rights) “บทบาทสตร”ี (women’s roles)
• ผหู ้ ญงิ เขา้ ถงึ อานาจการตดั สนิ ใจ และการจดั สรรการแบง่ ปนั ทรพั ยากรอยา่ งเป็ น
ธรรม
สนั ตภิ าพ
ปราศจากความรนุ แรงทางตรง
ความเป็ นธรรมทางสงั คมและ
การเคารพสทิ ธมิ นุษยชน
การอยรู่ ว่ มกนั ในขณะทคี่ วามรนุ แรงยงั ไมย่ ตุ ิ
เด็กและเยาวชนเตบิ โต-ใชช้ วี ติ ในพน้ื ทคี่ วามรนุ แรง
1,117,889 633,260 เด็ก
อายุ > 29 ปี 31% อายุ 0-19 ปี 426 ลา้ นคน
54% 15% 317,897 อาศยั อยใู่ นพนื้ ทค่ี วามรนุ แรงทั่วโลก
อายุ 20-29 ปี (Østby et al, 2020)
• การใชช้ วี ติ อยใู่ นความเสยี่ ง
• การเป็ นประจักษ์พยานความรนุ แรงซงึ่ หนา้
• การเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการใชค้ วามรนุ แรง
สนั ตภิ าพเชงิ ลบ (Negative peace)
สภาวะทป่ี ราศจากความรนุ แรง
และปราศจากความกลวั ความรนุ แรง
สนั ตภิ าพเชงิ บวก (Positive peace)
หมายถงึ ทัศนคติ สถาบนั และโครงสรา้ ง
ทท่ี าใหเ้ กอ้ื หนุนใหส้ งั คมมสี นั ตภิ าพ
และความเป็ นธรรม
ความรนุ แรง (Violence) สนั ตภิ าพ (Peace)
ทางตรง (Direct) เชงิ ลบ (negative)
ปราศจากความรนุ แรง
ปราศจากความรนุ แรง ทางตรงตอ่ บคุ คล
ทางตรงตอ่ บคุ คล และทางสถาบนั
และทางสถาบนั สนั ตภิ าพ (Peace)
เชงิ บวก (positive)
ความรนุ แรง (Violence) มสี ขุ ภาวะ
ทางออ้ ม(indirect) มคี วามยตุ ธิ รรมทางสงั คม
มคี วามเสมอภาคระหวา่ งเพศ
โครงสรา้ ง: การเหยยี ดเพศ มสี ทิ ธมิ นุษยชน
เหยยี ดผวิ การเลอื กปฏบิ ตั ิ
ความยากจน ความอดยาก
เขา้ ไมถ่ งึ ความยตุ ธิ รรมและบรกิ าร
ทางการศกึ ษาและสาธารณสขุ
กระบวนการประกอบสรา้ งความม่ันคง (Securitization) กบั
กระบวนการสนั ตภิ าพ (Peace process)
▪ การจัดการความรนุ แรงทางตรง – กระบวนการประกอบสรา้ งความม่นั คง
▪ การระบแุ ละจัดการภยั คกุ คามในภาวะทไ่ี มป่ กติ
▪ การใชก้ ระบวนการนอกการเมอื งปกตแิ ละกฎหมายพเิ ศษ
▪ การสรา้ งสนั ตภิ าพเชงิ บวก – กระบวนการทางการเมอื ง
▪ การตอบสนองความตอ้ งการของผคู ้ นทห่ี ลากหลาย
▪ การเมอื งทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและโปรง่ ใส
ความมน่ั คง
ความมนั่ คงของชาติ กบั ความม่ันคงของมนุษย์
ความตอ่ เนอ่ื งของความม่ันคง
จากพนื้ ทส่ี าธารณะสพู่ น้ื ทใี่ นบา้ น
ขอ้ เสนอของประชาชนผา่ นกลมุ่ ผหู ้ ญงิ ความหว่ งกงั วลของผหู ้ ญงิ มักถกู มองวา่
ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งการเมอื ง (apolitical) และเป็ น
พน้ื ทส่ี าธารณะปลอดภยั เรอื่ งสว่ นตวั (personal) เพราะผกู พันอยกู่ บั
สะทอ้ นอะไร ความหว่ งใยตอ่ คนครอบครัว
การแกค้ วามขดั แยง้ ความมน่ั คง = การทหาร
ยดื เยอ้ื
จาเป็ นทจี่ ะตอ้ ง ความขดั แยง้ ทาอยา่ งไรถงึ จะชนะในการสรู ้ บ
ขยายกรอบคดิ การเมอื ง-
เรอื่ ง “ความมน่ั คง” ชาตพิ ันธุ์
เพอ่ื ความย่ังยนื ในการสรา้ ง
สนั ตภิ าพ
ความมนั่ คง = ชวี ติ ประจาวนั
ทาอยา่ งไรถงึ ปลอดภยั -มน่ั ใจในอนาคต
(Ann Tickner, 1992; Laura Sjoberg, 2016; Laura J. Shepherd, 2018)
ความมัน่ คงของมนุษย์ 7 ดา้ น (1994 Human Development Report) The UN General Assembly’s definition
1. ความมั่นคงทางอาหาร (มคี วามพรอ้ มทางกายภาพ (2003) แบง่ ความม่นั คงของมนุษย์ เป็ น 3
ดา้ น
และทางเศรษฐกจิ ทที่ าใหเ้ ขา้ ถงึ อาหาร) • เสรภี าพจากความตอ้ งการ: อยใู่ น
2. ความมั่นคงทางสขุ ภาพ (เขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพ
สภาวะทไี่ ดร้ ับการคมุ ้ ครองใหเ้ ขา้ ถงึ ความ
ไดร้ ับการคมุ ้ ครองทางสขุ อนามัย) จาเป็ นพน้ื ฐาน ไดร้ ับการคมุ ้ ครองคณุ ภาพ
3. ความมั่นคงสว่ นบคุ คล (ปลอดภยั จากความขดั แยง้ ชวี ติ อาชพี และสง่ เสรมิ สวสั ดภิ าพของ
มนุษย์
รนุ แรง การละเมดิ สทิ ธิ ความรนุ แรงทางกาย) • เสรภี าพจากความกลวั : สภาวะทเี่ ออื้ ให ้
4. ความมั่นคงทางเศรษฐกจิ (การประกอบอาชพี การมี บคุ คลและกลมุ่ ไดร้ บั การคมุ้ ครองจากภยั
คกุ คามโดยตรงตอ่ ความปลอดภยั และความ
ตาขา่ ยนริ ภยั ทางสงั คม) สมบรู ณท์ างกายภาพ รวมถงึ ความรนุ แรงทงั้
5. ความมั่นคงทางสง่ิ แวดลอ้ ม (ปลอดภยั จากภัยพบิ ัติ ทางตรงและทางออ้ มในรปู แบบตา่ งๆ ไม่ว่าจะ
ดว้ ยเจตนาหรอื ไม่มเี จตนา
มที รัพยากรธรรมชาตทิ ส่ี มบรู ณ์) • เสรภี าพทจี่ ะมชี วี ติ อย่างมศี กั ดศิ์ ร:ี
6. ความม่ันคงทางชมุ ชน (ไมถ่ กู กดขจ่ี ากการปฏบิ ัตใิ น สภาวะทบี่ คุ คลและกลมุ่ ม่นั ใจวา่ จะไดร้ บั การ
ปกป้ องสทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐาน สามารถทจี่ ะเลอื กสงิ่
ชมุ ชนหรอื จากความขดั แยง้ ทางชาตพิ ันธ)ุ์ ทตี่ นตอ้ งการและไดร้ บั ประโยชนจ์ ากโอกาสใน
7. ความมัน่ คงทางการเมอื ง (มเี สรภี าพจากการกดขี่ ชวี ติ ประจาํ วนั
หรอื ละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนโดยรัฐ)
โควดิ -19 กบั คณุ ภาพชวี ติ เด็ก-เยาวชน-สตรี
● คณุ ภาพชวี ติ ทถี่ ดถอย
● กลมุ่ เปราะบางถกู ซา้ เตมิ ใหย้ ากลาบากยง่ิ ขน้ึ
○ ความยากจน-ขาดรายได ้ (ผหู ้ ญงิ และครอบครัว)
○ คณุ ภาพการดแู ลเด็ก
○ การศกึ ษา
○ ความรนุ แรงในครอบครัวและทางเพศ
ความเหลอ่ื มล้า
ความขดั แยง้ รนุ แรง ภยั คกุ คามเทคโนโลยดี จิ ติ อล
ภยั คกุ คามอน่ื ๆ ภยั คกุ คามสขุ ภาพ
วงจรเกอ้ื หนุน ผกู ้ ระทาการ (Agency) การเสรมิ อานาจ
(Empowerment) และการคมุ ้ ครอง (Protection)
ทาใหเ้ กดิ ผกู ้ ระทาการ ทาใหเ้ กดิ
การเสรมิ การคมุ ้ ครอง
อานาจ
สนับสนุน สนับสนุน
P.27
สมานฉันท์ สนับสนุน
ทาใหเ้ กดิ
ทาใหเ้ กดิ ผกู ้ ระทาการ ทาใหเ้ กดิ
การเสรมิ การคมุ ้ ครอง
อานาจ
สนับสนุน สนับสนุน
3
การขบั เคลอ่ื นและความทา้ ทาย
วาระผหู ้ ญงิ สนั ตภิ าพ และความมนั่ คง
การสรา้ งความรว่ มมอื - การขบั เคลอื่ น &
พนื้ ทปี่ ลอดภยั ของผูเ้ กยี่ วขอ้ ง ความทา้ ทาย
ภาครฐั (ความมน่ั คง-พลเรอื น)
คณะพูดคยุ สนั ตสิ ขุ - ฝ่ ายขบวนการ 1 4 การมสี ว่ นรว่ มของผูห้ ญงิ
ภาคประชาสงั คม - ภาควชิ าการ การไดร้ บั การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ
ภาคประชาชน กลไกการคมุ ้ ครองจากการถกู ละเมดิ -
23 กดี กนั การมสี ว่ นรว่ ม
การเขา้ ถงึ อานาจตดั สนิ ใจ
การเขา้ ถงึ -ควบคมุ ทรพั ยากร
ความเขา้ ใจเรอื่ ง ความเป็ นสากล vs.
ความมน่ั คงและสนั ตภิ าพ ความสอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรม
ประเด็นของผูห้ ญงิ กบั ความม่นั คง การเคารพสทิ ธมิ นุษยชนในฐานะคณุ คา่ สากล
สนั ตภิ าพทบี่ ูรณาการสทิ ธมิ นุษยชนและ การคมุ ้ ครองสทิ ธมิ นุษยชนของผูห้ ญงิ ในพนื้ ที่
สว่ นตวั เชน่ ความรนุ แรงในครอบครวั
ความม่นั คงของมนุษย ์ กฎฮกู มปากตั การมสี ว่ นรว่ มของผูห้ ญงิ ในงาน
ความมน่ั คง การเมอื งและกระบวนการสนั ตภิ าพ
ฯลฯ
https://peaceresourcecollaborative.org/wp- https://www.researchgate.net/publication/355493689_sthankarndek_yeaw
chn_laeaphuhyingnicanghwadchaydaenphakhti_The_situation_of_Childre
content/uploads/2020/04/ผหู้ ญงิ กบั กระบวนการสนั ตภิ าพ.pdf n_Youth_and_Women_in_the_Southern_Border_Provinces_of_Thailand
[email protected]