The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มุกดา,วรัญญา,นันทิยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-23 06:49:47

สุขศึกษา

มุกดา,วรัญญา,นันทิยา

ระบบประสาท

จดั ทาโดย
นางสาวมุกดา ระยบั ศรี เลขท9ี่
นางสาววรัญญา คลงั ทอง เลขท่ี17
นางสาวนันทยิ าไชยวงศ์ เลขท่ี19

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 6/2
วชิ าสุขศึกษา

เสนอ
ครูอทิ ธิพล โสภา
โรงเรียนหัวตะพานวทิ ยาคม

สพม.29

คานา

รายงานฉบบั น้ี จดั ทาข้ึนเพ่ือการศึกษาเก่ียวกบั ระบบประสาท
ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า สุขศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ โดยมีเป้าหมายเพื่อ
การศึกษาการทางานของระบบประสาทของสมอง วา่ มีการทางานอยา่ งไร
และแนวทางการปฏิบตั ิตวั เพื่อทะให้ระบบประสาททางานอยา่ งมี
ประสิทธิภาพนนั่ เอง

ความรู้เหล่าน้ีสามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง และจะก่อประโยชนต์ ่อ
สุขภาพร่างกายผปู้ ฏิบตั ิ และยงั สามารถนาความรู้ท่ีดีเหล่าน้ี ไปบอกต่อ
ใหก้ บั ผอู้ ่านไดอ้ ีกดว้ ย เพ่ือใหค้ นรอบขา้ งของเราไดม้ ีความรู้เก่ียวกบั ระบบ
ประสาทแลว้ ชีวตี จะมีรู้และเกิดประโยชน์การใชช้ ีวิต

สารบญั หนา้
1
เร่อื ง 1
2
โครงสรา้ งระบบประสาท 3
- ระบบประสาทสว่ นกลาง 4
- ระบบประสาทสว่ นปลาย 5
-ระบบประสาทอตั โนมตั ิ

หนา้ ท่ีของระบบประสาท
การสรา้ งเสรมิ และดารงประสทิ ธิภาพ

ของระบบประสาท

โครงสร้างของระบบประสาท

ระบบ เป็นระบบศูนยก์ ลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย เป็นระบบท่ีทา
หนา้ ท่ีรับความรู้สึก ควบคุมความคิด ถา้ มีอนั ตรายใดๆ เกิดข้ึนกบั สมอง กจ็ ะทาใหร้ ่างกาย
พิการหรือเสียชีวิตได้ ระบบประสาทแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบประสาทส่วนปลาย และระบบประสาทอตั โนมตั ิ

๑) ระบบประสาทส่วนกลาง ไดแ้ ก่ สมอง และไขสนั หลงั

๑. สมอง (Brain) เป็นอวยั วะท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ส่วนอ่ืนๆ อยใู่ นกะโหลกศีรษะ
เจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วในช่วงอายุ ๑-๙ ปี และเจริญเติบโตเตม็ ที่เม่ืออายุ ๑๘-๒๐ ปี
สมองแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ สมองส่วนหนา้ สมองส่วนกลาง สมองส่วนทา้ ย

สมองส่วนหน้า (Fore brain) ประกอบดว้ ย เซรีบมั (cerebrum) ทาลามสั
(thalamus) และไฮโพทาลามสั (hypothalamus)
เซรีบมั ทาหนา้ ที่ดา้ นความคิด ความจา เชาวป์ ัญญา เป็นศูนยก์ ลางควบคุมการทางานดา้ น
ต่างๆ การสมั ผสั การพดู การมองเห็น รับรส การไดย้ นิ การดมกลิ่น การทางานของ
กลา้ มเน้ือ
ทาลามสั ทาหนา้ ท่ีเป็นศูนยร์ วบรวมกระแสประสาทท่ีผา่ นเขา้ ออก และแยกกระแส
ประสาทไปยงั สมอง
ไฮโพทาลามสั เป็นศูนยค์ วบคุมกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย เช่น การเตน้ ของหวั ใจ
การทางานพ้ืนฐานของร่างกาย ไดแ้ ก่ ความหิว ความดนั เลือด ความตอ้ งการทางเพศ การ
หลง่ั ฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อและการแสดงอารมณ์ความรู้สึก

สมองส่วนกลาง (mid brain) ทาหนา้ ที่เกี่ยวกบั การมองเห็น การไดย้ นิ การสมั ผสั
สมองส่วนทา้ ย (hind brain) ประกอบดว้ ย เซรีเบลลมั (cerebellum) เมดลั ลาออ
บกองกาตา (medulla obligation)และพอนส์ (pons)
เซรีเบลลมั ทาหนา้ ที่ประสานการเคล่ือนไหวของร่างกาย และควบคุมการทรงตวั ของ
ร่างกาย
เมดลั ลาออบลองกาตาหรือ กา้ นสมอง ทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของระบบประสาท
อตั โนมตั ิ เช่น การหายใจ ความดนั เลือด การกลืน การจาม การสะอึก การอาเจียน
พอนส์ ทาหนา้ ท่ีควบคุมอาหาร การหลงั่ น้าลาย การเคล่ือนไหวของใบหนา้ ควบคุมการ
หายใจ

๒.ไขสันหลงั (spinal cord) เป็น ส่วนที่ต่อมาจากกา้ นสมองอยภู่ ายในกระดูกสนั
หลงั มีความยาวประมาณ 16-18 นิ้วสมองและไขสนั หลงั จะเป็นศูนยก์ ลางการรับรู้และการ
กระตุน้ ความรู้สึกจากสิ่งเร้าท้งั ภายในและภายนอก แลว้ ส่งผา่ นไปยงั เสน้ ประสาทที่กระจาย
ตามส่วยต่างๆของร่างกาย
๒) ระบบประสาทส่วนปลาย ไดแ้ ก่ เสน้ ประสาทสมอง และเสน้ ประสาทไขสนั หลงั ทา
หนา้ ท่ีรับและนาความรู้สึกเขา้ สู่ระบบประสาทส่วนกลาง
๑.เสน้ ประสาทสมอง หรือเสน้ ประสาทที่แยกออกจากสมอง มี ๑๒ คู่ ทาหนา้ ท่ีรับความรู้สึก
เก่ียวกบั กล่ิน การมองเห็น การเคลื่อนไหวของตา
๒.เสน้ ประสาทไขสนั หลงั มี ๓๑ คู่เป็นเสน้ ประสาทที่ออกมาจากไขสนั หลงั ไปสู่ร่างกาย
แขน ขา

๓) ระบบประสาทอตั โนมัติ ควบคุมการทางานของประสาที่อยนู่ อกเหนือการควบคุมของ
จิตใจใหเ้ ป็นไปตามปกติ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน

๑. ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve) เป็นระบบประสาทที่มกั
กระตุน้ การทางานมากกวา่ ยบั ย้งั การทางาน
๒.ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nerve) เป็นประสาทท่ี
มกั จะยบั ย้งั การทางานมากกวา่ ที่จะกระตุน้ การทางานเพ่ือปรับไม่ใหร้ ่างกายทางานมาก
เกินไป

หน้าทข่ี องระบบประสาท

ส่วนรับความรู้สึก (sensory division)
ทาหนา้ ที่ รับความรู้สึกจากภายนอกร่างกาย และตอบสนองความรู้สึกน้นั ๆ

ส่วนส่ังการ (motor division)
ทาหนา้ ท่ี การสงั่ การกบั หน่วยปฏิบตั ิงานท่ีบงั คบั ได้ เช่น กลา้ มเน้ือยดึ กระดูกจดั เป็น
ระบบประสาทโซมาติก (Somatic Nervous System : SNS) และสง่ั การ
กบั หน่วยปฏิบตั ิงานท่ีบงั คบั ไม่ได้ เช่น อวยั วะภายในต่อมต่างๆ จดั เป็นระบบประสาท
อตั โนมตั ิ (Autonomic Nervous System : ANS)

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบประสาท

๑) ดูแลสุขภาพของตนเองอยา่ งสม่าเสมอ โดยการตรวจสมรรถภาพของอวยั วะรับรู้
ความรู้สึกของระบบประสาท เช่น การตรวจวดั สายตา การตรวจการไดย้ นิ
๒) หลีกเล่ียงอาหารท่ีมีไขมนั สูง
๓) หลีกเล่ียงการด่ืมน้าอดั ลมและเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอลท์ ุกชนิด
๔) ถนอมการใชส้ ายตา เช่น เปิ ดไฟดูโทรทศั น์ ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
๕) พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอ อยา่ งนอ้ ย ๖-๘ ชว่ั โมง และทาจิตใจใหแ้ จ่มใสอยเู่ สมอ
๖) ออกกาลงั กายสม่าเสมออยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ ๓ คร้ัง แต่ละคร้ังไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ นาที จะ
ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง
๗) สงั เกตความผดิ ปกติของอวยั วะวา่ มีความผดิ ปกติหรือไม่ ถา้ มีควรไปพบแพทย์
๘) รับประทานอาหารที่บารุงสมอง เช่น อาหารที่มีโอเมกา ๓ อาหารท่ีมีเลซิติน อาหารที่มี
วิตามินบี อาหารที่มีวิตามินอี

THANK

YOU
KUB


Click to View FlipBook Version