The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanjana Jaijoy, 2020-04-13 11:38:45

บทที่ 5 ความปวด

SN 105

Keywords: pain ปวด

4/9/2020

ความปวด (Pain)

อาจารย์ ดร.กาญจนา ใจจ้อย

พบ.105 พยาธิสรีรวิทยาสาํ หรบั พยาบาล ปี การศกึ ษา 2562
คณะพยาบาลศาสตรแ์ มคคอรม์ ิค มหาวิทยาลยั พายพั

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

• อธิบายชนิดของความปวด และกลไกการเกิดความ
ปวดได้

• อธิบายทฤษฏีความปวดได้
• อธิบายผลกระทบของความปวดได้
• บอกวิธีการประเมินความปวดได้

1

4/9/2020

ความหมายของความปวด

International Association for the Study of Pain (IASP)
“ประสบการณ์ทางความร้สู ึกและอารมณ์ทีไม่สบาย ซึง
เกิดขึนร่วมกบั การทีเนือเยือถกู ทาํ ลาย หรือถกู บรรยาย
ประหนึงว่ามีศกั ยะในการทาํ ลายเนือเยอื นัน”

ความร้สู ึกตอบสนองต่อการทีเนือเยอื ถกู ทาํ ลายหรือ
เกิดการอกั เสบมี 2 แบบ

1. ความร้สู ึกเจบ็ (Epicritic pain) 2. ความร้สู ึกปวด (Protopathic pain)

• เกิดขนึ อย่างรวดเรว็ หายไป • เกิดหลงั ความร้สู ึกเจบ็ ซึงจะคงอยู่

ภายในระยะเวลาอนั สนั นาน

• สามารถบอกตาํ แหน่งได้ชดั เจน • นําโดย C-fiber*
และไมม่ ีการทาํ ลายของเนือเยอื

• เป็นกลไกป้องกนั ตวั ไมใ่ ห้เกิด
อนั ตราย

• นําโดยใยประสาท A delta*

2

4/9/2020

1. ความร้สู ึกเจบ็ (Epicritic pain)

• นําโดยใยประสาท A delta (A) ซึงเป็น myelinated fiber
– 3 ไมครอน
– นําความร้สู ึกในอตั ราเรว็ ประมาณ 6 – 30 เมตรต่อวินาที
– มตี ้นกาํ เนิดอย่ทู ี dorsal root ganglion (DRG) ของไขสนั หลงั

dorsal root ganglion วิงเขา้ ไปใน dorsal horn
dorsal horn
ไปประสานประสาทกบั
second order neuron

ข้ามไปด้านตรงขา้ ม
ขนึ ไปตาม neospino-
thalamic tract (NT)

ไปยงั ventral posterior
nucleus ของ lateral

thalamus

cerebral cortex
แปลผล “ความร้สู ึกเจบ็ ”

3

4/9/2020

2. ความร้สู ึกปวด (Protopathic pain)

• เกิดหลงั ความรสู้ ึกเจบ็ ซึงจะคงอย่นู าน
• นําโดยใยประสาท C-fiber

Unmyelinated fiber ทีมีขนาดเลก็ มาก ประมาณ 1-3 ไมครอน
– ต้นกาํ เนิดอยูท่ ี dorsal root ganglion ของไขสนั หลงั
– C-fiber นําความรสู้ ึกประมาณ 1 – 3 เมตรต่อวินาที

ระหว่างทางจะมีการ synapse วิงเข้าไปใน dorsal horn
กบั reticular formation ในก้าน และก้านสมอง
สมอง
ไปประสานประสาทกบั
dorsal root ganglion second order neuron

dorsal horn ขา้ มไปด้านตรงขา้ ม
ขนึ ไปตาม paleospino-

thalamic tract (PT)

ไปยงั medial thalamus

แปลผล “ความร้สู ึกปวด”

มกั มีอาการอืนร่วม : คลืนไส้ อาเจียน
ความรสู้ ึกทางอารมณ์ หวั ใจเต้นแรง
ความดนั โลหิตเพิมสงู ขึน และเหงือออก

4

4/9/2020

ชนิ ดของความปวด

ตามระยะเวลาทีเกิด

• ความปวดเฉียบพลนั (Acute pain)
• ความปวดเรือรงั (Chronic pain)

ความปวดเฉียบพลนั (Acute pain)

• เกิดขึนทนั ทีทนั ใด ช่วงเวลาสนั ในระยะเวลาตงั แต่วินาที
จนถึง 6 เดือน ---> ทเุ ลาภายหลงั รกั ษา หรือหายเอง โดยไม่
รกั ษาภายใน 6 เดือน

• บอกตาํ แหน่งและขอบเขตของความปวดได้ชดั เจน
• เกิดจากการทําลายเนื อเยือ : การผ่าตัด การบาดเจ็บ

บริ เวณผิวหนังชันตืนหรือชันลึก (แผลไหม้ แผลจาก
อบุ ตั ิเหต)ุ
• เกิดจากวิธีการพยาบาลต่างๆ

5

4/9/2020

ความปวดเฉียบพลนั (Acute pain)

สญั ญาณเตือนว่ามีอนั ตรายเกิดขึน
ในรา่ งกาย

ระบบประสาทซิมพาเทติค ชีพจร การหายใจ
และความดนั
หลงั epinephrine, โลหิตเพิมขึน
norepinephrine และ cortisol

ความปวดเรอื รงั (Chronic pain)

• ความปวดเริมทีละน้อย ปวดอย่เู สมอ เป็ นๆ หายๆ นาน
นับเดือนมากกว่า 6 เดือน

• ไม่สามารถหายไปได้ด้วยตวั เอง ยงั คงปวดทงั ๆ ทีแผล
หายแล้ว

• มกั เกิดจากการทีเส้นประสาทถกู ทาํ ลาย
• ไม่สามารถบอกสาเหตุและกลไกการเกิดได้แน่ นอน

ชดั เจน

6

4/9/2020

ชนิ ดของความปวด

ตามพยาธิสภาพ

• Nociceptive pain
• Inflammatory pain
• Pathological pain

7

4/9/2020

Nociceptive pain

• เป็ นความปวดทีมีสาเหตจุ ากการบาดเจบ็ และ/หรือ จาก
การทาํ ลายของเนือเยือ กล้ามเนือ กระดกู ผิวหนังหรือ
อวยั วะภายใน

• ตวั รบั ความปวด (nociceptor หรือ pain receptor) อยู่
ตามอวยั วะรบั ความร้สู ึกส่วนต่างๆ ของร่างกาย

• ตวั กระต้นุ (noxious stimuli) เป็ นได้ทงั mechanical
thermal หรือ chemical

• ส่วนใหญ่เป็ นความปวดชนิดเฉียบพลนั

Nociceptive pain

• แบง่ ได้ 2 ชนิดตามตาํ แหน่งของอวยั วะทีเป็ นต้นกาํ เนิด
• Somatic pain
– เป็ นความปวดของโครงสร้างของร่างกายทีไม่ใช่
อวยั วะภายใน (ผิวหนัง กล้ามเนือ กระดกู )
– สามารถระบตุ าํ แหน่งทีปวดได้ เช่น bone pain,
muscle pain, posttraumatic pain, postoperative
pain

8

4/9/2020

Nociceptive pain

• แบง่ ได้ 2 ชนิดตามตาํ แหน่งของอวยั วะทีเป็ นต้นกาํ เนิด

• Visceral pain

– เป็ นความปวดจากอวยั วะภายในทุกชนิด เช่น cancer

pain, bowel obstruction, myocardial infarction

– อาจเกิดอาการปวดบิด ปวดลึก ๆ หรือปวดหนัก ๆ
โดยไม่สามารถระบตุ าํ แหน่งได้ชดั เจน หรือเกิดการ
ปวดร้าวไปตามตาํ แหน่งต่างๆ เช่น ปวดไหล่ขวา
จากท่อนําดี เป็ นต้น

Inflammatory pain

• เป็ นความปวดทีเกิดจากการอกั เสบ โดยเฉพาะการ
อกั เสบแบบเรือรงั

• มกั เกิดจากเนือเยืออ่อนของกล้ามเนือและโครงกระดกู มี
ความเสียหาย

• มกั จะเกิดเฉพาะทีและสามารถระบตุ าํ แหน่งได้ชดั เจน
• ตวั รบั ความปวดจะถกู กระต้นุ จากสารเคมีสือกลางทีเกิด

จากกระบวนการอกั เสบ ได้แก่ prostaglandins (PGs)
และ bradykinin (BK)

9

4/9/2020

Pathological pain

• เป็ นอาการปวดทีเกิดจากมีพยาธิสภาพทีระบบประสาท
รบั ความร้สู ึก
–Neuropathic pain
• มีสาเหตจุ ากพยาธิสภาพของระบบประสาทกลาง
พยาธิสภาพของเส้นประสาทรบั ความร้สู ึก
เส้นประสาทสนั หลงั ถกู กดทบั
• เป็ นความปวดชนิดเรือรงั

Pathological pain

• เป็ นอาการปวดทีเกิดจากมีพยาธิสภาพทีระบบประสาท
รบั ความร้สู ึก

–Neuropathic pain
• ลกั ษณะปวดมีหลายลกั ษณะ เช่น ปวดเสียวแปลบ
เหมือนไฟซอ๊ ต (lancinating) แสบร้อน (burning)
ร้สู ึกยิบ ๆ ซ่า ๆ (tingling) คนั (itching) ชา
(paresthesia)
–อาจเกิดขึนเองหรือเกิดภายหลงั การกระต้นุ กไ็ ด้

10

4/9/2020

Pathological pain

–Dysfunction pain
• เกิดขึนเองจากความเปลียนแปลงในระบบสมอง
ส่วนกลาง (central processing plasticity) ---> เกิด
คลืนประสาทมากกว่าปกติ
• ไม่พบพยาธิสภาพของทงั เนือเยือและระบบ
ประสาท ไม่พบภาวะการอกั เสบ ไม่มีการกระต้นุ ที
ตวั รบั ความปวด

กลไกการเกิดความปวด

องคป์ ระกอบ 4 ประการ

1. สิงกระต้นุ ความปวด (Pain stimuli or Noxious stimuli)
2. ตวั รบั ความร้สู ึกปวด (Pain receptors or Nociceptors)
3. วิถีประสาทนําความร้สู ึกปวด (Pain impulse pathways)
4. การนําสญั ญาณความปวด

11

4/9/2020

1 สิงกระต้นุ ความปวด
(Pain stimuli or noxious stimuli)

1. เชิงกล (Mechanical stimuli) : ผา่ ตดั การอกั เสบ การอดุ
ตนั ของหลอดเลือด การหดเกรง็ ของกล้ามเนือ

2. อณุ หภมู ิ (Thermal stimuli) : ความร้อน ความเยน็ ไฟฟ้า
3. สารเคมี (Chemical stimuli)

 สารชีวเคมีภายในร่างกาย : Histamine, Prostaglandin,
Bradykinin, Substance P

 สารภายนอกร่างกาย : กรด ด่าง

2 ตวั รบั ความร้สู ึกปวด
(Pain receptors or Nociceptors) 3 กล่มุ

ทาํ หน้าทีในขบวนการเปลียนสญั ญาณทีได้รบั จาก
สิงเร้าให้เป็ นสญั ญาณประสาท (transduction)

ตวั รบั ความปวดเชิงกล (mechanoreceptor)

ตวั รบั ความปวดทีมาจากหลายทาง (Polymodal
nociceptor)

ตวั รบั ความร้สู ึกเฉพาะ

12

4/9/2020

ตวั รบั ความร้สู ึกปวด
(Pain receptors or Nociceptors)

ตวั รบั ความปวดเชิงกล ---> มีความทนต่อความปวดในระดบั สงู
(High threshold mechanoreceptor) : อยบู่ นผวิ หนงั

• รบั ความรสู้ กึ ปวดคลา้ ยเขม็ แทง (Pin prick)
• รบั ความรสู้ กึ ปวดจากความรอ้ น (Heat)

ตวั รบั ความปวดทีมาจากหลายทาง (Polymodal nociceptor)
: อยทู่ วั ไปทกุ เนอื เยอื ทงั ในระดบั ตนื และลกึ
• รบั สงิ กระตุน้ ทเี ป็นแรงกด แรงทบั ความรอ้ น และสารเคมี

ตวั รบั ความร้สู ึกเฉพาะ ---> เป็นตวั รบั ความปวดทีมีความทน
ต่อความปวดในระดบั ตาํ (Low threshold mechanoreceptor)

• รบั ความรสู้ กึ จากการสมั ผสั การสนั สะเทอื น

3 วิถีประสาทนําความร้สู ึกปวด (Pain impulse pathways)

• ส่งกระแสประสาทความรสู้ ึกปวดไปตามใยประสาทรบั ความรสู้ ึกนําเข้า

1) ใยประสาทเอ – เบต้า หรอื ใยประสาทใหญ่ทีมีเปลือกห้มุ (A – beta
fiber or large myelinated fiber)

2) ใยประสาทเอ – เดลต้า หรอื ใยประสาทเลก็
ทีมเี ปลือกห้มุ (A – delta fiber or small
myelinated fiber)

3) ใยประสาทซี หรอื ใยประสาทเลก็ ทีไม่
มีเปลือกห้มุ (C – fiber or small
unmyelinated fiber)

13

4/9/2020

4 การนําสญั ญาณความปวด (pain pathway)

1. การแปลงสญั ญาณ (Transduction)
2. การส่งผา่ นสญั ญาณ (Transmission)
3. การรบั รู้ (Perception)
4. การปรบั สญั ญาณ (Modulation)

การแปลงสญั ญาณ (Transduction)

ปลายประสาทรบั ความรสู้ ึกเจบ็ ปวด
(Free nerve ending)
หลงั สารเคมี

เซลลป์ ระสาทรบั รดู้ า่ นแรก
(First order neuron)

+
ถงึ ระดบั ขีดกนั ความปวด

(Pain Threshold)

แปลงสญั ญาณเป็นพลงั งานไฟฟ้า ส่งไปตามใยประสาท
A, C-fiber

14

4/9/2020

Transduction 3) การส่งผา่ นสญั ญาณไป Thalamus และ
cortex ผ่านทาง Ascending sensory pathway

Spinothalamic tract

2) กระบวนการที Dorsal horn ซงึ มจี ดุ ประสาน
ประสาทกบั Substantia gelatinosa (SG cell)

- สารพจี ะกระตุน้ SG cell ---> เกดิ พลงั งาน
ประสาทนําสง่ ไปยงั ดา้ นตรงขา้ มของไขสนั หลงั
Transmission ผ่านดา้ นขา้ งขนึ ไปส่สู มอง

1) ส่งสญั ญาณผา่ นไขสนั หลงั ที Dorsal horn

การส่งผา่ นสญั ญาณ (Transmission)

Perception การรบั รู้ (Perception)

Cortex มีหน้าทีรบั ความร้สู ึกเพือแปลผลว่า
สิงกระต้นุ คืออะไร มีความรสู้ ึกชนิดใดบ้าง

การรบั ร้ทู างกาย

Limbic system ทาํ หน้าทีรบั ความรสู้ ึกทาง
อารมณ์ จะตอบสนองการรบั ร้อู อกมาใน
ลกั ษณะต่างๆ

Transmission

สญั ญาณประสาทจะถกู ส่งไป Cerebrum

Transduction

Spinal cord

15

4/9/2020

Perception

การปรบั สญั ญาณ (Modulation)

Modulation Transmission โดยกระบวนการของระบบประสาท
Transduction ส่วนกลางทีระดบั ไขสนั หลงั ภายใต้การ
ควบคมุ ของสมอง

ปวด ? หายปวด ?

อธิบายด้วย
• ทฤษฎีควบคมุ ประตู (Gate control
theory)
• ทฤษฎีควบคมุ ความปวดภายใน
(Endogenous pain control theory)

ทฤษฏีความปวด

• ทฤษฏีควบคมุ ประตู (Gate control theory)

• ทฤษฎีควบคมุ ความปวดภายใน
(Endogenous pain control theory)

16

4/9/2020

ทฤษฏีควบคมุ ประตู (Gate control theory)

1. ระบบควบคมุ ระดบั ไขสนั หลงั

SG T SG cell เป็นเซลลป์ ระสาทยบั ยงั จะไปยบั ยงั การทาํ งานของ
เซลลป์ ระสาทส่งต่อ (Transmission cell หรือ T cell) ทาํ ให้ไม่
มีกระแสประสาทขึนไปยงั สมอง จงึ ปิ ดประตคู วามเจบ็ ปวด

SG T เมือมีการกระตุ้นเส้นประสาทขนาดใหญ่ จะไปกระตุ้นการ
ทาํ งานของ SG cell เป็นผลให้มีการยบั ยงั กระแสประสาททีจะ
มากระตุ้นการทาํ งานของ T cell จึงไม่มีการนํากระแสความ
ปวดขนึ ส่สู มอง เรียกว่าประตูปิ ด(close the gate)ทาํ ให้ไม่เกิด
ความปวด

SG T SG cell ถกู ยบั ยงั การทาํ งาน กจ็ ะไม่ยบั ยงั การทาํ งานของ T
cell กระแสประสาทก็จะถูกนําไปสู่สมอง ทําให้เปิ ดประตู
ความเจบ็ ปวด เกิดการรบั รคู้ วามเจบ็ ปวดขนึ

ทฤษฎีควบคมุ ความปวดภายใน
(Endogenous pain control theory)

=> การยบั ยงั การทาํ งานระหว่างสารเคมี 2 ชนิดคือ endogenous
opiate และ substance P

• เมอื Nociceptor ถกู กระต้นุ
– C fiber จะปล่อย substance P ที dorsal horn
– A fiber จะหลงั enkephalins ---> จะยบั ยงั การหลงั และการ
ทาํ งานของ substance P ทาํ ให้ไม่สามารถกระต้นุ T cell ให้
ส่งสญั ญาณประสาทไปยงั สมองจึงไมเ่ กิดความเจบ็ ปวด

ถา้ enkephalins ยบั ยงั การทาํ งานของ substance P ไมห่ มด ??

17

4/9/2020

Endogenous opiate*

• Enkephalins มฤี ทธใิ นการควบคุมความเจบ็ ปวดเพยี ง ¼-½
เทา่ ของมอรฟ์ ีน และออกฤทธอิ ยนู่ านเป็นระยะเวลาหลายนาที
เทา่ นนั

• Endorphins มปี ระสทิ ธภิ าพควบคมุ ความเจบ็ ปวดมากกวา่
มอรฟ์ ีนประมาณ 10 เทา่ และมรี ะยะเวลาออกฤทธอิ ยนู่ าน 2-
3 ชวั โมง

• Dynorphins มปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคุมความเจบ็ ปวดสงู
กวา่ endorphins ถงึ 50 เทา่

ผลกระทบของความปวด

• ร่างกายจะมีปฎิกิริยาตอบสนองต่อความปวดเมือเนือเยือ
ได้รบั บาดเจบ็ หรืออนั ตราย
– ด้านร่างกาย
– ด้านพฤติ กรรม
– ด้านอารมณ์

18

4/9/2020

ผลกระทบของความปวด

ด้านรา่ งกาย

การตอบสนองของรา่ งกาย ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก
หดตวั
• ขนาดรมู ่านตา ขยาย -
ลดลง
• เหงือออก เพิมขึน ลดลง
-
• อตั ราการเต้นของหวั ใจ เพิมขึน -
เพิมขนึ
• ความดนั โลหิต เพิมขึน -

• อตั ราการหายใจ ลดลง

• จาํ นวนปัสสาวะ ลดลง

• การเคลือนไหวในทางเดินอาหาร ลดลง

• การเผาผลาญของรา่ งกาย เพิมขึน

ผลกระทบของความปวด

ด้านพฤติกรรม

• ด้านการเคลือนไหว การพดู
– เคลือนไหวรา่ งกายมากขึน ผดุ ลกุ ผดุ นัง สีหน้าแสยะ พดู มาก
หรือ
– จํากัดการเคลือนไหวของตนเอง นอนนิ ง ไม่ขยับเขยือน
รา่ งกาย กล้ามเนือบริเวณทีบาดเจบ็ หดเกรง็
• เป็นกลไกทีปกป้องไม่ให้มกี ารบาดเจบ็ เพิมมากขึน

ทีพบมาก ---> พยายามอย่นู ิงๆ แสดงสีหน้าเจบ็ ปวด
ทีพบได้บ้าง ---> ดินไปมาและโวยวาย มกั พบควบค่กู บั ความปวด

19

4/9/2020

อาการและอาการแสดงของความปวด

ด้านอารมณ์

• ความเครียด และความวิตกกงั วลต่อความปวด
• อาจมีอารมณ์ซึมเศร้า ถดถอย การรบั ร้สู ิงแวดล้อม

ต่างๆเปลียนแปลงไป ทาํ ให้หงดุ หงิด อารมณ์เสียได้
ง่าย

•ปัญหาปฏิสมั พนั ธก์ บั บคุ คลรอบข้าง --->ไมย่ อมมีปฏิสมั พนั ธ์
กบั บคุ คลอืนเลย

ผลกระทบของความปวด

เพศและการเจริญพนั ธ์ุ
• ความปวดเรือรงั ในระดบั ปานกลางและรนุ แรง

• ความสามารถในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางเพศลดลงหรือ
ไม่ได้เลย ---> ส่งผลกระทบต่อสมั พนั ธภาพกบั ค่สู มรส

20

4/9/2020

ปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อความปวด

1. เพศ : หญิงมรี ะดบั ขีดกนั และความทนของความเจบ็ ปวด < ชาย
2. อายุ

- สงู อายจุ ะมีความทนต่อความเจบ็ ปวดทีเพิมขึน
- มีการเปลียนแปลงทาํ หน้าทีของอวยั วะส่วนต่าง ๆ ของ

ร่างกายไปในทางทีเสือมลง
- เพิกเฉยต่อความเจบ็ ปวดและคิดว่าความเจบ็ ปวดเป็ น

เรืองปกติ
- มปี ระสบการณ์การเรยี นร้แู ละมกี ารปรบั ตวั ตลอดเวลา

- เดก็ ไมส่ ามารถอธิบายและไม่รวู้ ิธีการจดั การความเจบ็ ปวด

ปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อความปวด

3. การศึกษา
- มีระดบั สติปัญญาดีและมีการศึกษาสงู ----> มีความอดทน
ต่อความเจบ็ ปวดค่อนข้างสงู

แต่
- บคุ คลทีมีการศึกษาสงู ---> อาจล้มเหลวในการหาวิธีลด
ความเจบ็ ปวด
- บคุ คลทีมีการศึกษาตาํ ---> อาจมีประสบการณ์ในการลด
ความเจบ็ ปวดได้ดีกว่า

21

4/9/2020

ปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อความปวด

4. ตาํ แหน่งและชนิดของการผา่ ตดั
- เนือเยือและอวยั วะต่างๆ ของร่างกายจะมี ใยประสาทรบั
ความรสู้ ึกเจบ็ ปวดทีต่างกนั ---> ความไวต่อความเจบ็ ปวด
หลงั ผา่ ตดั ไมเ่ ท่ากนั
 การผา่ ตดั ตามแนวเฉียงหรอื แนวตงั จะมีความเจบ็ ปวด
มากกว่าแนวขวางของลาํ ตวั
 การผา่ ตดั ส่วนทีมีการเคลือนไหว (ช่องท้อง ช่องอก) จะมี
ความเจบ็ ปวดมากกว่าการผ่าตดั ส่วนทีไม่มกี าร
เคลือนไหว (กะโหลกศีรษะ)

ปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อความปวด

5. สภาวะทางอารมณ์ เช่น ความกลวั ความวิตกกงั วล
ความเครียด มีผลต่อความทนและการตอบสนองของแต่
ละบคุ คล

 ความเจบ็ ปวดหลงั ผา่ ตดั จะส่งผลให้ผปู้ ่ วยมีความ
วิตกกงั วลและความกลวั เพิมขึน

---> ทาํ ให้ระดบั ขีดกนั (pain threshold) และความทน
ของความเจบ็ ปวดลดลง ---> ความร้สู ึกเจบ็ ปวดรนุ แรง

มากขึน

22

4/9/2020

ปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อความปวด

6. การรบั ร้ขู ้อมลู
- การเตรียมพร้อมก่อนผา่ ตดั ---> การให้ข้อมลู ต่างๆ

เช่น ความเจบ็ ปวดหลงั ผา่ ตดั ปัจจยั และสาเหตสุ ่งเสริม
วิธีการจดั การความเจบ็ ปวด

ลดความเจบ็ ปวดหลงั ผา่ ตดั และความวิตกกงั วล

การประเมินความปวด

ขนั ตอนของการประเมินความปวด
• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรือการประเมินจากคาํ

บอกเล่าของผปู้ ่ วย (self report, subjective
measurement)
• การตรวจร่างกาย (physical examination)

23

4/9/2020

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรอื การประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
1. การเริมต้นของอาการปวด (onset) คอื เวลาทผี ปู้ ่วยรบั รวู้ า่ มี
อาการปวด และ/หรอื การบาดเจบ็
2. ตาํ แหน่งทีมอี าการปวดและขอบเขต (location)
• ผปู้ ่วยชบี อกตาํ แหน่งจากรปู ภาพของร่างกาย
---> บอกตําแหน่งและพยาธสิ ภาพได้

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรือการประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
3. ลกั ษณะของความปวด (characters of pain)
• ช่วยบอกกลไกความปวดได้
–ปวดตือ ปวดหนัก ปวดเมือยปวดล้า --> somatic pain
–ปวดเสียว ปวดชา ปวดแล่น ปวดไปตามเส้น ปวด
แสบปวดรอ้ น แสบ ๆ คนั ๆ ---> neuropathic pain

24

4/9/2020

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรอื การประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
4. ความรนุ แรงของอาการปวด (pain severity)
• ใช้เครืองมือในการวดั ปริมาณความปวด

–มาตรวดั ความปวดทีเป็นตวั เลข (numeric rating scale; NRS)
–มาตรวดั ความปวดด้วยวาจา (verbal rating scale; VRS)
–มาตรวดั ความปวดด้วยสายตา (visual analogue scale; VAS)
–มาตรวดั ความปวดจากการแสดงออกของสีหน้า (Face pain

assessment scale)

การประเมินความปวด

• เครืองมือในการวดั ปริมาณความปวด

25

4/9/2020

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรือการประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
5. ระยะเวลาและรอบของความปวด (duration and frequency
or temporal pattern of pain)
- ช่วยให้เกิดความเข้าใจอาการปวดได้ดีขึน เช่น
- somatic pain : ปวดตลอดเวลา
- neuropathic pain : ปวดแบบเสียวแปลบ๊ เป็นช่วงสนั ๆ
ไม่แน่นอน

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรอื การประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
6. ปัจจยั ทีทาํ ให้อาการปวดมากขึน (aggravating factors)
- เพือหลีกเลียงและป้องกนั ไม่ให้มเี หตุการณ์ทีทาํ ให้ปวด
มากขึน
7. ปัจจยั ทีทาํ ให้ปวดน้อยลง (relieving factors) : การนวด
ประคบร้อน / เยน็ และการใช้ยาระงบั ปวด
8. ประวตั ิทางด้านจิตใจ อารมณ์ สงั คม คณุ ภาพชีวิต การทาํ
กิจวตั รประจาํ วนั และอาการอืนๆ ทีพบรว่ ม

26

4/9/2020

การประเมินความปวด

• การตรวจรา่ งกาย (Physical examination หรือ PE)
– เป็นขนั ตอนพืนฐานทีต้องทาํ ภายหลงั การซกั ประวตั ิ
• การดู คลาํ เคาะ ฟัง
• ตรวจจดุ ทีมคี วามปวดก่อนเสมอ ---> เพือเป็นการสือให้
ผปู้ ่ วยเหน็ ว่าปัญหาความปวดกาํ ลงั ได้รบั การดแู ล

การประเมินความปวด

• การซกั ประวตั ิ (history taking) หรือการประเมินจากคาํ บอกเล่า
ของผปู้ ่ วย (self report, subjective measurement)
4. ประวตั ิทางด้านจิตใจ อารมณ์ สงั คม คณุ ภาพชีวิต การทาํ
กิจวตั รประจาํ วนั และอาการอืนๆ ทีพบร่วม เช่น คลืนไส้
อาเจียน นอนไมห่ ลบั การชา เบืออาหาร และอืนๆ

27

4/9/2020

ทบทวน

......1. A-delta fiber และ C-delta fiber เป็นใยประสาทนําความรสู้ กึ ปวด
......2. ในผสู้ งู อายจุ ะมคี วามทนต่อความเจบ็ ปวดทเี พมิ ขนึ เนอื งจากระบบ
ประสาทเสอื มลง รบั รคู้ วามปวดไดน้ ้อยลง
…..3. ความปวดเรอื รงั ในระดบั ปานกลางและรนุ แรง ผปู้ ่วยมคี วามสามารถ
ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางเพศลดลงหรอื ไมไ่ ดเ้ ลย
…...4. จากทฤษฎคี วบคุมความปวดภายใน สารเอนดอรฟ์ ินสแ์ ละเอนเคฟา
ลนิ สจ์ ะขดั ขวางการสง่ ผ่านสญั ญาณประสาททตี าํ แหน่งเชอื มต่อระหวา่ ง
เซลลป์ ระสาท (synapse) ปรบั สญั ญาณประสาทความเจบ็ ปวดภายใน
กลไกประตูทาํ ใหป้ ระตูปิด

28

4/9/2020

…….5. การตอบสนองทางดา้ นรา่ งกาย จากการกระตุน้ ระบบประสาท
อตั โนมตั ิ จะทาํ ใหก้ ารเคลอื นไหวในทางเดนิ อาหารเพมิ ขนึ การเผาผลาญ
ของรา่ งกายเพมิ ขนึ และจาํ นวนปัสสาวะเพมิ ขนึ
…….6. ระดบั ขดี กนั และความทนของความเจบ็ ปวดในเพศหญงิ จะเท่ากบั
เพศชาย
…….7. เอนเคฟาลนิ สม์ ปี ระสทิ ธภิ าพควบคุมความเจบ็ ปวดมากกว่ามอรฟ์ ีน
ประมาณ 10 เทา่ และมรี ะยะเวลาออกฤทธอิ ยนู่ าน 2-3 ชวั โมง

…….8. SG cell จะไปยบั ยงั การทาํ งานของ Transmission cell หรอื T
cell ทาํ ใหไ้ มม่ กี ระแสประสาทขนึ ไปยงั สมอง จงึ ปิดประตูความเจบ็ ปวด
……..9. เมอื SG cell ถูกยบั ยงั การทาํ งาน กจ็ ะไมย่ บั ยงั การทาํ งานของ T
cell กระแสประสาทกจ็ ะถูกนําไปสู่สมอง ทาํ ใหเ้ ปิดประตคู วามเจบ็ ปวด เกดิ
การรบั รคู้ วามเจบ็ ปวด
…….10. จากทฤษฏคี วบคุมประตู นอกจากการนํากระแสประสาทผ่านไข
สนั หลงั แลว้ ยงั มกี ารถ่ายทอดกระแสประสาทลงจากระบบประสาทส่วนกลาง
มายงั ไขสนั หลงั บรเิ วณ dorsal horn เพอื ควบคุมความปวด

29


Click to View FlipBook Version