The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“ตำนานพระธาตุแช่โหว้และ พญาลิ้นก่าน” เล่มนี้ จัดพิมพ์ขึ้นโดยมูลนิธิ หลวงปู่ก้ำ กลฺยาณธมฺโม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการถวายมุทิตาสักการะและเป็นอนุสรณ์เนื่อง ในงานฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๑๐๐ ปี ของ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ หลวงปู่พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผ่นดิน ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kruchart Martmool, 2020-05-31 10:32:55

ตำนานพระธาตุแช่โหว้และพญาลิ้นก่าน

“ตำนานพระธาตุแช่โหว้และ พญาลิ้นก่าน” เล่มนี้ จัดพิมพ์ขึ้นโดยมูลนิธิ หลวงปู่ก้ำ กลฺยาณธมฺโม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการถวายมุทิตาสักการะและเป็นอนุสรณ์เนื่อง ในงานฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๑๐๐ ปี ของ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ หลวงปู่พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผ่นดิน ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓

Keywords: ดอกคำใต้,ประวัติศาสตร์ดอกคำใต้.น้ำร่องช้าง, พญาลิ้นก่าน,หลวงปู่ก้ำ,วัดบุญเกิด

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถร ๕ แผน ดิน ๔๓

๑. หนังสือบันทึกตํานาน หมายถึง คัมภีร
ใบลานและพับสา ซ่ึงคนลานนาสมัยกอนได
จารหรือเขียนบันทึกเร่ืองราวตาง ๆ ไวดวย
ตัวอักษรลานนาหรือตัวเมือง ปกติถาเปนคัมภีร
ใบลานจะใชบันทึกเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
เชน พระไตรปฎก ชาดก บทสวด ตํานาน สวน
พับสานิยมใชบันทึกเร่ืองทั่วไป เชน โหราศาสตร
เลขยันต คาถา วรรณกรรม

พบั สา

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาล้นิ กาน ๔๔

คมั ภรี ใบลาน
๒. ผอบทองคํา หมายถึง ตลับหรือภาชนะ
มีเชิง ฝาครอบมียอด ทําดวยทองคํา สรางขึ้น
สําหรับใสพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัม
พุทธเจา

ผอบทองคํา

พระราชมงคลวสิ ุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผน ดนิ ๔๕

๓. ปราสาททองคํา หมายถึง เรือนมียอดเปน
ชั้น ๆ ทําดวยทองคํา ใชสําหรับเปนท่ีประดิษฐาน
ผ อ บ ท อ ง คํ า ที่ บ ร ร จุ พ ร ะ บ ร ม ส า รี ริ ก ธ า ตุ ข อ ง
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา

๔. โปน้ํา หมายถึง ถังน้ําสังกะสี ใชสําหรับ
ตักนาํ้ หรอื บรรจนุ ้าํ ไปใชอุปโภคบรโิ ภค

ชาวบานใช “โปนํ้า” รองเอานาํ้ บาดาล
วัดบุญเกดิ พ.ศ. ๒๕๑๒

♦♦♦♦♦

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๔๖

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์

( ก้าํ กลฺยาณธมโฺ ม )

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกา น ๔๗

บทที่ ๒

ตาํ นานพญาลน้ิ กาน
ตาํ ¢�ฯ ฯาลฯกิ า่ ฯ

พญาล้นิ กาน เจาเมอื งเวียงหาว

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๔๘

ตาํ นานพญาล้ินกา น

ตามตํานานกลาวไววา ในสมัยกอนนานมา
แลว ยังมีเมืองที่ตั้งอยูบนเนินดอยและมีกําแพง
ลอมรอบอยูเมืองหน่ึง ช่ือวา “เวียงหาว” ซ่ึง
ปจจุบันน้ีตั้งอยูบริเวณเขตบานปาง ต.คือเวียง
อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

เวียงหา ว

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวและพญาล้ินกาน ๔๙

เวียงหาว เปนเมืองท่ีมีความอุดมสมบูรณ
ฝนตกตองตามฤดูกาล ในน้ํามีปลาในนามีขาว
และมีหมูบานอยูภายในเวียง มีช่ือวา “บานปาสกั
หลวง” มเี จา เมืองปกครอง ชอ่ื วา “พญาล้ินกา น”
(ล้นิ มีแถบพาดดาํ ) มีนิสัยหาวหาญ

พญาลิน้ กาน เจา เมอื งเวียงหาว
พระองคไดทําบุญโดยการสรางวัดซ่ึงตั้งอยู
บนยอดดอยในเมืองแหงน้ี ไดถวายปจจัยและ
ควบคมุ ดูแลทัง้ การสรา งกุฏิ ศาลา วหิ ารและเจดีย

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผนดิน ๕๐

องคใหญครอบเจดียองคเล็กที่มีแตเดิมจนเสร็จ
สมบูรณแ ละไดต งั้ ช่ือวา “วัดพระธาตุแชโ หว”

วดั พระธาตุแชโ หว
พญาลิ้นกานไดปกครองดูแลทุกขสุขของ
ชาวบานทั้งท่ีอยูในเมืองและนอกเมืองอยางท่ัวถึง
ตางก็ อยูดวยกันอยางมีความสุข บานเมืองมี
ความเจรญิ รุงเรืองตลอดมา
ณ ชายปาใกลเวียงหาว มีชางปาขนาดใหญ
ตัวหนึ่งหากินอยูในบริเวณนั้น มันมีพละกําลังเปน
อันมาก มีชื่อวา “ชางปูกํ่างาเขียว” ลําตัวมันยาว

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกาน ๕๑

ถึง ๑๒ ศอก ผิวหนังสีดํากํ่า (ดํามวง) มีงาสีเขียว
ดั่งนิลผักตบชวา (ดําเขียวเปนเงา) จากลักษณะ
ของชาง คนทั้งหลายจึงพากัน เรียกวา “ชางปูกํ่า
งาเขียว”

ชางปูกาํ่ งาเขยี ว
ในเวลาตอมา ชางตัวนี้ก็เกิดการตกมัน
มีอาการดุราย ทําลายทุกส่ิงที่ขวางหนา แลวมันก็
ออกจากปามา เขามาในหมูบานรอบเมือง มันว่ิง
ไลทํารายผูคนจนลมตายเปนจํานวนมาก สวน

พระราชมงคลวสิ ุทธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผน ดิน ๕๒

บานเรือน ขาวของ พืชสวน ไรนาก็ถูกชางปูก่ํา
งาเขียวทําลายจนเกิดความเสียหายเปน อนั มาก

ชา งปกู ํา่ งาเขยี วตกมันอาละวาท
ชาวบานตางก็แตกตื่นตกใจ จะอยูไหนก็ไมได
จึงพากันหอบลูกหอบหลาน ขนขาวขนของ
หนตี ายเขา ไปอยใู นตัวเมอื งเวียงหาว ทบ่ี า นปา สัก
หลวงที่พญาลน้ิ กา นอาศัยอยนู ั้น

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวและพญาล้ินกา น ๕๓

ชาวบานพากนั หนีเขาไปอยูใ นตัวเมืองเวยี งหา ว
เพ่ือปองกันไมใหชางปูกํ่างาเขียวเขามาใน

ตัวเมืองเวียงหาว พญาลิ้นกานจึงเกณฑคน
ท้ังหลายใหชวยกันขุดคูนํ้า (คือ) และทําคันดิน
ลอมรอบเวียงหาว ชาวบานตางก็ชวยกันขุด
ท้งั กลางวันกลางคืน อยา งรบี เรง ไมมกี ารหยุด

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดิน ๕๔

พญาลนิ้ กา นเกณฑคนขุดคูเมืองปองกนั ชาง
เมือ่ คนกลุม ใดเหนอ่ื ยออ นกใ็ หคนกลุมใหมเ ขา

มาขุดแทน ผลัดเปลี่ยนกลุมกันขุดอยางขยัน
ขันแข็งทั้งกลางวันกลางคืน ขณะขุดตางคนตางก็
ยัดเยียดเบียดเสียดกัน จนทําใหจอบและเสียมที่
ใชข ดุ ดนิ ถกู มือถูกตีน ทาํ ใหน้ิวมือนว้ิ ตนี ขาดหลุด

ตํานานพระธาตุแชโ หวและพญาล้ินกาน ๕๕

ตกอยูท่ัวบริเวณน้ัน เมื่อเก็บน้ิวมือน้ิวตีนมา
รวมกัน จะไดเต็มกระบุงทุกวัน จากการบังคับ
บัญชาการขุดคูเมืองอยางหาวหาญและรีบเรง
ของพญาลิ้นกานในคร้ังนี้ คนทั้งหลายจึงพากัน
เรยี กทา นวา “พญาเวียงหา ว”

เ มื่ อ ช า ว บ า น ช ว ย กั น ขุ ด คู เ มื อ ง ล อ ม ร อ บ
เวียงหาวเสร็จเรียบรอยแลว ชางปูก่ํางาเขียว
ก็มาถึง มันก็พยายามปนปายข้ึนคือเวียงแตก็ข้ึน
ไมได มันจึงเดินไปรอบ ๆ คูเมือง หลายรอบ
หลายวัน หลายคืน ปนปายขึ้นคร้ังใดก็ข้ึนไมได
ทําใหมันโกรธเปนอยางมากเลยเอางาแทงพื้นดิน
และตนไม ทําใหพังทลายไปท่ัวบริเวณ คนท่ีอยใู น
เมืองตางก็กลัววาวันหนึ่งชางปูกํ่างาเขียวจะเขา
มาในเมืองได จึงพากันเขาไปเฝาพญาเวียงหาว
แลวถามวาจะกระทําฉันใด พญาเวียงหาวก็
บอกใหชาวบานทั้งหลายชวยกันตกแตงเคร่ือง
บูชาแลวพากนั ไปสักการะบูชา “พระธาตุแชโ หว”
พรอมใจกันสมาทานศีลหาหรือศีลแปด แลว

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๕๖

อาราธนาเอาบารมีอานุภาพแหงพระธาตุเจา
(เสนผมและกระดูกปลายจมูกของพระพุทธเจา)
และเทวบตุ รเทวดาชว ยปกปก รกั ษาใหชาวบานได
พน จากภัยรา ยทจ่ี ะเกิดข้ึนในคร้ังนี้

ตอจากน้ันไมนาน ชางปูก่ํางาเขียวก็เหนื่อย
และหิว มันจึงหนีเขาไปในปาและไปนอนอยูริม
หนองนํ้าแหงหนึ่ง ซ่ึงหนองน้ําแหงน้ีจะมีน้ําผุด
ข้ึนมาจากปลองถ้ํากนหนองน้ําอยูตลอดเวลา
น้ําที่ลนจากหนองน้ําก็จะไหลลงไปตามหวย
ดินแดง นํ้านี้จะเย็นใสสะอาด มีฝูงปลานอยใหญ
จํานวนมากตางก็แหวกวายไปมา สวนรอบ ๆ
บริเวณหนองนํ้าก็เต็มไปดวยตนไมเขียวชะอุม
ตอมาชาวบาน ไดเรียกชื่อหนองน้ําแหงนี้วา
“หนองหลม” อันปรากฏอยูท่ี หัวบานหนองหลม
ตําบลหนองหลม อ.ดอกคําใต จ.พะเยา ตราบจน
ทุกวันน้ี

ตํานานพระธาตุแชโ หวและพญาลิ้นกา น ๕๗

ชางปูกาํ่ งาเขียวหนมี านอนที่หนองหลม
ขาวลือเร่ืองชางปูกํ่างาเขียวไลฆาคนที่เมือง
เวียงหาว กระจายไปยังเมืองตาง ๆ ดวยเดชะบุญ
ที่พญาล้ินกานและชาวเมืองเวียงหาวไดรวมกัน
กราบไหวบูชาพระธาตุแชโหว ถือศีลภาวนา และ
อาราธนาขอส่ิงศักดิส์ ทิ ธ์ิมาชวยปกปก รักษาใหพน

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๕๘

ภัยจากชางรายนั้น ก็ไดสงผลใหเทวดาเขาไปดล
จิตดลใจธิดาเจาเมืองนันทบุรี (เมืองนาน) ใหมีใจ
อยากจะนั่งเส่ือ (สาด) ที่ทําจากงาชางปูกํ่า
งาเขียว นางจึงนําความในใจไปบอกใหพระบิดา
ทรงทราบ พญานันทบุรีซ่ึงรักและเอาใจธิดาของ
ตนอยูแ ลว จงึ ไดเรยี กพรานปา ทั้งหลายมาถามวา

พญานนั ทบุรีเรียกพรานปา ท้ังหลายมาถาม

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๕๙

“ใครจะอาสาไปเอางาชางปูก่ํางาเขียวที่
เวียงหาว เมืองพะเยามาใหขาไดบาง หากใครเอา
มาใหขาได ขาจะประทานเงินพัน คํารอยใหแกผู
น้ัน”

นายพรานลอดถา้ํ มาโผลออกท่หี นองหลม
เมื่อน้ันก็มีพรานปาคนหน่ึงซ่ึงมีคาถาอาคม
แกกลา ไดรับอาสาจะไปเอางาชางปูก่ํางาเขียวท่ี
เวียงหาวมาถวาย ตอจากนั้นพรานปาคนน้ัน

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผน ดิน ๖๐

พรอมดวยของใชประจําตัวก็ออกเดินทาง จนถึง
ริมฝงแมน้ํายมก็ดํานํ้าลงไป พอถึงปากถ้ําใตน้ํา
แหงหน่ึงก็เดินเขาไปตามถ้ําจนมาโผลอ อกทปี่ ลอง
ถ้ําใตน้ําหนองหลม พอขึ้นบนฝงก็เห็นชางปูกํ่า
งาเขียวนอนอยู พรานปาจึงเอาปนขึ้นมาเล็งไปที่
ชางตัวนั้นแลวก็ล่ันไกยิงออกไป ลูกกระสุนปนพุง
เขาใตสะดือของชางทะลุออกสันหลัง ชางปูก่ํา
งาเขียวก็สะดุงสุดตัวและขาดใจตายในที่สุด
ตอจากนั้นพรานปาก็เล่ือยเอางาสีเขียวทั้งสอง
ขาง ไปถวายพญานันทบุรี ฝายพญาก็เอาเงินพัน
คํารอยประทานใหแกพรานปาตามท่ีไดสัญญาไว
แลวพญานันทบุรีก็เรียกใหชาง (สลา) มาเลื่อย
งาชางนําไปจักสานทําเปนเส่ือ เมื่อเสื่องาชาง
เสร็จแลวก็มอบใหธิดาของตนไดนั่งนอนตามใจ
ปรารถนา คร้ันเมื่อนางไดนอนอยูเหนือเส่ืองาชาง
ปูก่ํางาเขียวแลวก็ทําใหหัวใจของนางชื่นบาน
ยินดีปรีดาเปนยิ่งนักและในเวลาเดียวกันนั้นฝาย

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาล้ินกาน ๖๑

ซากชางปูกํ่างาเขียวตัวน้ัน ก็เนาเปอย เบงพอง
มีกล่ินเหม็นคลุงกระจายไปท่ัวดงหนองหลม
ในขณะน้ันก็เกิดฝนตกฟาคะนองนานติดตอกัน
๗ วัน ๗ คืน ฝนหาใหญทําใหเกิดน้ําทว มไหลนอง
ไปทุกหนทุกแหง นํ้าที่ไหลเช่ียวกรากไดพัดพาเอา
ซากชางตัวน้ันไหลลองไปตามลําหวยดินแดงลง
ไปสูน้ําแมอิง ตอมาคนทั้งหลายก็เรียกช่ือหวย
ดนิ แดง แหง นี้วา “รอ งชาง” มาจนถงึ ทุกวนั น้ี

น้ํารอ งชา ง

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๖๒

น้ําไดพัดเอาช้ินสวนตาง ๆ ของซากชางท่ี
เปอยรวนใหแยกออกจากกัน แลวไหลไปตาม
ลําน้ํารองชาง สวนของหัวชางไดหลุดออกจาก
ลําตัว ไหลไปคางอยูท่ีบริเวณหนองนํ้า (บวก)
แหงหนงึ่ ตอมาคนทงั้ หลายจงึ เรยี กหนองนาํ้ แหง นี้
วา “บวกหัวชาง”

บวกหัวชาง
สวน “ไต” ของชางซ่ึงภาษาเมืองเหนือ
เรียกวา “มะแกว” ก็ไหลไปคางอยูที่รองนํ้าอีก

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกาน ๖๓

แหงหน่ึง คนท้ังหลายจึงเรียกวา “รองมะแกว”
ยังมชี อ่ื ปรากฏอยูต ราบเทา ทุกวันนเี้ ชนกัน

รอ งมะแกว
ครั้นชางปูก่ํางาเขียวตายไปแลว คนท้ังหลาย
ในเวียงหาว เมืองพะเยา ตางก็ดําเนินชีวิตดวย
ความสงบสขุ รมเยน็ กันทว่ั หนา

♦♦♦♦♦

พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผน ดิน ๖๔

บทวเิ คราะห

ในการวิเคราะหตํานานพญาล้ินกานในครั้งนี้
ไดทําการวิเคราะหเก่ียวกับวัฒนธรรม โดยยึด
หลักการวิเคราะหแ บบสหวิทยาการ ๔ ดาน ไดแก
ด า น ค ติ ธ ร ร ม ( Moral) เ น ติ ธ ร ร ม ( Legal)
สหธรรม (Social) และวัตถุธรรม (Material) ซึ่ง
มรี ายละเอียดแตล ะดาน ดงั น้ี

การวเิ คราะหค ตธิ รรม

คติธรรม คือวัฒนธรรมทางจิตใจท่ีไดจาก
ศาสนาที่ยึดถือเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต
จากเร่ืองตํานานพญาล้ินกาน สะทอนใหเห็น
คตธิ รรมท่สี าํ คญั ดังน้ี

๑. ทศพธิ ราชธรรม ๑๐
ทศพิธราชธรรม ๑๐ คือจริยวัตร ๑๐

ประการ ของพระราชาหรือผูบริหารระดับสูงที่
ปกครองบานเมืองควรยึดเปนหลัก เพื่อประโยชน
สขุ ของประชาชนหรอื ผูใตบ ังคับบัญชา ไดแก

ตํานานพระธาตุแชโ หวและพญาลิ้นกา น ๖๕

ประการท่ี ๑ ทาน (ทานํ) คือ การให
ประการที่ ๒ ศีล (สีลํ) คือ ความประพฤติ
ทดี่ ีงาม ทง้ั กาย วาจา และใจ
ประการที่ ๓ บริจาค (ปริจาคํ) คือ การ
เสยี สละความสขุ สวนตน เพ่ือความสุขสวนรวม
ประการท่ี ๔ ความซื่อตรง (อาชฺชวํ) คือ
การสุจริตตอหนาท่ีการงานของตน ตอมิตรสหาย
ตอองคก รหรอื หลักการของตน
ประการท่ี ๕ ความออนโยน (มทฺทวํ) คือ
การมีอัธยาศัยออนโยน
ประการท่ี ๖ ความเพียร (ตป) คือ ความ
เพียรพยายามในการทําความสุขเพื่อสว นรวม
ประการที่ ๗ ความไมโกรธ (อกฺโกธํ) คือ
การไมแ สดงอาการโกรธ
ประการที่ ๘ ความไมเบียดเบียน (อวิหิง-
สา) คือ การดําเนินชีวิตไปตามทางสายกลาง
ไมเ ห็นประโยชนสว นตน
ประการที่ ๙ ความอดทน (ขนตฺ )ิ คอื การ

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดิน ๖๖

รักษาปกติภาวะของตนไวได มีความหนักแนนไม
หว่นั ไหว

ประการท่ี ๑๐ ความเท่ยี งธรรม (อวโิ รธน)ํ
คือการถอื ความถูกตอ ง เที่ยงธรรมเปนหลกั

๒. ศลี ๕ และ ศลี ๘
ศีล ๕ หมายถึง การปฏิบัติตามปกติของ

ความเปนมนุษยหรือธรรมที่ทําใหเปนมนุษย
มี ๕ ขอ ไดแ ก

ศลี ขอที่ ๑ ปาณาตปิ าตา เวรมณี หมายถงึ
การละเวน จากการฆา ชีวิตสัตวทุกชนิด

ศลี ขอ ท่ี ๒ อทนิ นาทานา เวรมณี หมายถึง
การเวนจากการลักทรัพย หรือทรัพยท่ีเจาของ
เขาไมไ ดให

ศีลขอที่ ๓ กาเมสุมิสฉาจารา เวรมณี
หมายถึง การละเวนจากการประพฤติผดิ ในกาม
การประพฤติผิดลูกผิดเมียคนอ่นื

ศีลขอที่ ๔ มุสาวาทา เวรมณี หมายถึง
การละเวนจากการพดู ปดมดเท็จ พดู จาโกหก

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวและพญาลิ้นกาน ๖๗

พูดไมอยกู บั รอ งกับรอย
ศีลขอท่ี ๕ สุราเมรยมัฌชปะมาทัตถานา

เวรมณี หมายถึง การละเวนจากการด่ืมสุรา
เมรยั และเคร่ืองดองของมนื เมาทุกชนิด

สวนศีล ๘ หรือ อุโบสถศีล เปนศีลของ
คฤหัสถ หมายถึง อุบาสกอุบาสิกาทั่วไป มิใช
สงฆ (ซ่ึงมีศีลเฉพาะตนอยูแลว) โดยมักจะรับ
ศลี ๘ ในวนั พระ นยิ มรักษาศีล ๘ เปน เวลา ๑ วนั
หรือ ๓ วัน ซึ่งศีล ๘ จะตางกับศีล ๕ ในศีล
ขอท่ี ๓ โดยศีลขอที่ ๓ ของศีล ๘ คือ

ศีลขอท่ี ๓ อพรัมจริยา เวรมณี หมายถึง
การละเวนจากการประพฤติผิดพรหมจรรย
(ผูชายกับผูหญิงอยูใกลกันไมได แตศีล ๕ อยู
ใกลกนั ได)

ศีล ๘ มีเพ่มิ จาก ศลี ๕ อีก ๓ ขอ ดงั นี้
ศีลขอที่ ๖ วิกาลโภชนา เวรมณี หมายถึง
การละเวนจากการบริโภคอาหารในยามวิกาล
(หลังเทยี่ งวนั ถงึ รุง เชา ของวันใหม)

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผนดิน ๖๘

ศีลขอที่ ๗ นัจจคีตวาทิตวิสูกทัสสนา
มาลาคันธวิเลปนธารณมัณฑนวิภูสนัฏฐานา
เวรมณี หมายถึง การละเวนจากการฟอนรํา
ขับรอง ประโคมดนตรี และประดับรางกายดวย
ดอกไมข องหอม เครื่องประดบั เครอื่ งทา เครือ่ ง
ยอ ม

ศีลขอที่ ๘ อุจจาสยนมหาสยนา เวรมณี
หมายถึง การละเวนจากการน่ังนอนเหนือ
เตยี งตัง่ ท่ีเทาสูงเกิน ภายในมนี ุนหรือสําลี

จากเร่ืองตํานานพญาล้ินกาน สะทอนใหเห็น
พฤติกรรมท่ีแสดงออกท่ีเกี่ยวกับทศพิธราชธรรม
และศีล ทเ่ี ห็นไดชดั เจน ดังน้ี

๑) “พระองคไดทําบุญโดยการสรางวดั ซ่ึง
ตั้งอยูบนยอดดอยในเมืองแหงน้ี ไดถวายปจจัย
และควบคุมดูแลท้ังการสรางกุฏิ ศาลา วิหารและ
เจดียองคใหญครอบเจดียองคเล็กที่มีแตเดิมจน
เสร็จสมบูรณและไดต้ังชื่อวา วัดพระธาตุแชโหว”
ตรงกับทศพธิ ราชธรรม ๓ ประการ คือ

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๖๙

ประการที่ ๑ ทาน คอื การให และ
ประการท่ี ๓ บริจาค คือ การเสียสละ
ความสขุ สวนตน เพื่อความสุขสวนรวม
ประการท่ี ๖ ความเพียร คือความเพียร
พยายามในการทาํ ความสขุ เพื่อสวนรวม
การท่ีพญาล้ินกานไดใหทานและบริจาค
เสียสละทรัพยสินของพระองคเองตลอดจนมี
ความเพียรพยายามในการควบคุมดูแลการสราง
วัดพระธาตุแชโหวจนสําเร็จ แสดงใหเห็นวาทาน
เปนผูมีความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาอยางแรง
กลาและตองการสืบทอดพระพุทธศาสนาใหคงอยู
สบื ตอไป
๒) “ชาวบานตางก็แตกต่ืนตกใจ จะอยู
ไหนก็ไมไดจึงพากันหอบลูกหอบหลาน ขนขาว
ขนของหนีตายเขาไปอยูในตัวเมืองเวียงหาว”
ตรงกับทศพิธราชธรรม ๒ ประการ คอื

ประการที่ ๓ บริจาค คือการเสียสละ
ความสขุ สว นตน เพอื่ ความสขุ สวนรวม และ

พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๗๐

ประการที่ ๑๐ ความเท่ียงธรรม คือการถอื
ความถกู ตอ ง เท่ยี งธรรมเปน หลกั

การท่ีพญาล้ินกานไดเสียสละสถานที่ ท่ีมี
ความปลอดภัยของตนใหคนอื่นเขามาอยูดวย
แสดงใหเห็นวา ทานยึดถือความถูกตอง มีความ
เที่ยงธรรมตอชาวบานทง้ั คนที่อยูในเมอื งและนอก
เมืองเสมอเทา เทียมกัน

๓) “พญาล้ินกานจึงเกณฑคนท้ังหลายให
ชวยกันขุดคูน้ํา (คือ) และทําคันดินลอมรอบเวียง
หาว ชาวบานตางก็ชวยกันขุด” ตรงกับทศพิธ
ราชธรรม ๕ ประการ และศีลขอ ที่ ๑ คือ

ประการท่ี ๒ ศลี คือความประพฤตทิ ดี่ งี าม
ท้ังกาย วาจาและใจ

ประการท่ี ๖ ความเพียร คือความเพียร
พยายามในการทําความสขุ เพ่อื สว นรวม

ประการท่ี ๗ ความไมโกรธ คือการไม
แสดงอาการโกรธ

ประการที่ ๘ ความไมเ บียดเบยี น คือการ

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาลิ้นกาน ๗๑

ดาํ เนนิ ชวี ิตไปตามทางสายกลางไมเห็นประโยชน
สวนตน

ประการที่ ๙ ความอดทน คือการรักษา
ปกติภาวะของตนไวได มีความหนักแนนไม
หวั่นไหว

ศีลขอท่ี ๑ ปาณาตปิ าตา เวรมณี หมายถึง
การละเวนจากการฆา ชีวติ สตั วทกุ ชนดิ

การท่ีพญาล้ินกานไมไดสั่งใหใครไปฆาชาง
รายตัวนั้นท้ัง ๆ ท่ีทําไดแสดงวาทานไมไดโกรธ
แคนชางแตอยางใด แตกลับสอนใหชาวบานได
รูจักวิธีปองกันตัวเองใหมีชีวิตรอดปลอดภัย โดย
ไมจําเปนตองไปเบียดเบียนชีวิตผูอ่ืน เสียสละ
ความสุขสวนตน มีความเพียรพยายามและความ
อดทนในการบังคับบัญชาการขุดคือน้ํารอบเวียง
จนสําเร็จและใชประโยชนไดดี แสดงใหเห็นวา
พญาล้ินกานไดยึดหลักของศีลธรรมควบคูไปกับ
หลักการปกครอง จึงทําใหชาวบานอยูดวยกัน
อยา งมีความสขุ บานเมืองเจริญรงุ เรืองตลอดมา

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๗๒

๔) “พญาเวียงหาวก็บอกใหชาวบาน
ทั้งหลายชวยกันตกแตงเครื่องบูชาแลวพากันไป
สักการะบชู าพระธาตแุ ชโหว พรอมใจกันสมาทาน
ศีลหาหรือศีลแปด” ตรงกับทศพิธราชธรรม ๗
ประการ คอื

ประการท่ี ๑ ทาน คือการให
ประการที่ ๒ ศีล คอื ความประพฤติทดี่ งี าม
ท้งั กาย วาจา และใจ
ประการที่ ๕ ความออนโยน คือการมี
อัธยาศยั ออนโยน
ประการท่ี ๖ ความเพียร คือความเพียร
พยายามในการทาํ ความสุขเพื่อสวนรวม
ประการที่ ๗ ความไมโกรธ คือการไม
แสดงอาการโกรธ
ประการที่ ๘ ความไมเบียดเบียน คือการ
ดําเนินชีวิตไปตามทางสายกลางไมเห็นประโยชน
สว นตน
ประการท่ี ๙ ความอดทน (ขนตฺ )ิ คอื การ

ตํานานพระธาตุแชโ หวและพญาล้ินกา น ๗๓

รักษาปกติภาวะของตนไวได มีความหนักแนนไม
หวน่ั ไหว

หลังจากขุดคูนํ้ารอบเวียงพึ่งเสร็จลงชาวบาน
ตางก็พากันไปเขาเฝาและถามหาวิธีการแกไข
แบบอื่นอีก พญาลิ้นกานก็ไมไดแสดงความโกรธ
แตอยางใด ซ้ํายังแนะนําวิธีแกไขอยางออนโยน
ใหชาวบานนําเครื่องสักการะบูชาถวายเปนทาน
พระธาตุแชโหว และรวมกันถือศีล ๕ ศีล ๘ ดวย
ความเพียรพยายามและอดทน ตลอดจนความ
เสียสละเพื่อสวนรวมในการปฏิบัติ แสดงใหเห็น
วานอกจากพญาล้ินกานจะเปนผูมีศีลธรรมอันดี
ในการดําเนินชีวิตแลว ชาวเมืองเวียงหาวตางก็
เปน ผทู ี่อยใู นศลี ในธรรมดวยเชน กัน

การวิเคราะหเนติธรรม

เนติธรรม คือวัฒนธรรมทางกฎหมายและ
ระเบียบประเพณีปฏิบัติท่ยี อมรับกัน เพ่ือใหค นอยู
รวมกันในสังคมอยางมีความสุข จากเร่ืองตํานาน
พญาล้นิ กา นสะทอนใหเห็นเนติธรรมท่สี ําคัญ ดงั น้ี

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๗๔

๑. “พญาลิ้นกานจึงเกณฑคนทั้งหลายให
ชว ยกนั ขดุ คนู ้ําและทาํ คนั ดนิ ลอ มรอบเวยี งหาว”

๒. “พญานันทบุรีก็เรียกใหชาง (สลา) มา
เล่อื ยงาชา งนาํ ไปจกั สานทําเปนเสอื่ ”

จะเห็นวาในสมัยโบราณนั้น “กฎหมาย”
ก็คือคําสั่งของพระเจาแผนดินที่ไดโปรดใหกดไว
และหมายไว เพ่ือใชบังคับควบคุมทุกส่ิงทุกอยาง
ในเมืองภายใตก ารปกครองเปน การถาวร

วิเคราะหส หธรรม

สหธรรม คือวัฒนธรรมทางสังคม ท้ังดาน
ภาษา ความเชื่อถือ มารยาท และกิจกรรมตาง ๆ
ในสังคม จากเร่ืองตํานานพญาลิ้นกาน สะทอนให
เหน็ สหธรรมท่สี ําคัญ ดังนี้

๑. “เวียงหาว” เชื่อวาคงเปนเวียงท่ีมีความ
เจริญรุงเรืองอยูจริง เพราะยังคงมีหลักฐานจนถึง
ทุกวันนี้ คือมีคูคันดินเปนแนวยาวรอบเนินดอย
ของบานปาง (บานปาสัก) นอกจากน้ัน ยังมีเนิน
อิฐโบราณอยหู ลายที่ ซึง่ แสดงวา บรเิ วณน้นั เคย

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวและพญาลิ้นกา น ๗๕

เนินอิฐวิหาร-เจดียว ดั รา ง เวยี งหา ว
เ ป น ท่ี ตั้ ง ข อ ง เ จ ดี ย แ ล ะ วิ ห า ร โ บ ร า ณ ม า ก อ น
นักแสวงโชคคนหนึ่งเคยเลาใหฟงวา ในอดีตท่ี
เวียงหาวมีกองเนินเจดียเกาของวัดรางเปน
จํานวนมาก เคยไปขุดหาของมีคากับพรรคพวก
เดียวกันท่ีวัดรางเวียงหาวหลายคร้ัง สวนใหญก็
จะไดพ ระพิมพเ นอื้ ดินยอดขนุ พล สว นของโบราณ
ท่ีมีคาอื่น ๆ ไมคอยเจอ อาจเปนเพราะนักแสวง
โชครนุ กอ น ๆ ไดของมคี าเหลา นัน้ ไปหมดแลว

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๗๖

๒. “ชางปูกํ่างาเขียว” ก็เช่ือวานาจะมีจริง
เพราะปจจุบันยังปรากฏงาชางดํา ของคูบาน
คูเมอื ง จังหวดั นาน เหลอื อยอู กี ขางหนึง่ ซึง่ ถูกเก็บ
ไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาตินาน เขาใจวาตอน
นั้นพญานันทบุรี เจาเมืองนานสมัยนั้นคงจะใช
งาชางทําเปนเส่ือใหธิดาเพียงขางเดียว อีกขาง
หน่ึงก็เก็บรักษาไว สวนสีของงาชางปูกํ่างาเขียว
น้ัน ท่ีจริงแลวเปนสีเขียวนิลผักตบ คือมีสีนิลดํา
ปนกับสีเขียวผักตบชวานั่นเอง เมื่อกาลเวลา
ผา นไป ยอ มทําใหส ขี องงาชางซดี จางลงได

งาชางดํา ในพิพธิ ภนั ฑสถานแหง ชาตินา น

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๗๗

๓. “หวยดินแดง” นั้น ก็เช่ือวามีการเรียก
เชนนั้นจรงิ เพราะเมอ่ื ถงึ ฤดูฝนมวลนา้ํ จะมากและ
ไหลเชี่ยว สีของน้ําท่ีไหลมาตามลํานํ้าแหงน้ีก็
ยังคงเปนสีแดงลูกรังอยูจนถึงปจจุบันน้ี สวนมา
เปลี่ยนเปนช่ือเปน “รองชาง” คงเนื่องมาจาก
สมัยนั้นชาวบานเห็นซากชางปูกํางาเขียวเนา
เหม็นไหลมาตามลําน้ําผานหมูบานไปหรือไม
เชนนั้นอาจเนื่องมาจากบริเวณตนน้ําเปนปาอุดม
สมบูรณเปนที่อาศัยของโขลงชางปาจํานวนมาก
สองฝงลําหวยบริเวณน้ันเปนทางเดินหาอาหาร
ของโขลงชาง มีบอยคร้ังท่ีเดินเบียดเสียด ดันกัน
จนตกลงมาไปในลําหวยทําใหเสียชีวิต กระแสนํ้า
ก็จะพัดพาซากชางไปตามลํานํ้า ไหลผานหมูบาน
เมื่อชาวบานไดเห็นบอย ๆ ก็เลยเรียกหวยดินแดง
เสยี ใหมว า “รอ งชาง” กอ็ าจเปน ได

อําเภอดอกคําใตเปนท่ีราบ พ้ืนท่ีทางทิศใตจะ
อยูสูงกวาทางทิศเหนือ ดังน้ัน “น้ํารองชาง” จะ
ไหลจากทิศใตผานตัวอําเภอลงไปทางทิศเหนือ

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๗๘

แลวลงสูแมน้ําอิง เน่ืองจากคนดอกคําใตใชทิศ
ทางการไหลของน้ํารองชางเปนหลักในการเรียก
ช่ือทศิ “ทิศเหนือ” หมายถงึ ทศิ เหนือของนาํ้ และ
“ทิศใต” หมายถึง ทิศใตของนา้ํ มาแตโบราณ ซ่ึง
จะตรงขามกับทิศของทางภูมิศาสตรโลกปจจุบัน
ทําใหลูกหลานท่ีเกิดมาภายหลังเกิดความสับสน
ร ะ ห ว า ง ทิ ศ เ ห นื อ กั บ ทิ ศ ใ ต แ ล ะ ป จ จุ บั น ค น
ดอกคําใตก็ยังใชทิศตามการไหลของน้ํารองชาง
อยูเชนเดิม เชน ถาเรายืนอยูท่ีถนนขางสถานี
ตํารวจภูธรดอกคําใต บานเหนือ ก็หมายถึง บาน
บุญเกิด บานบุญเรือง (อยูทางทิศใต) และบานใต
ก็หมายถึง บานสันชางหิน บานดอนเหล็ก บาน
สนั กลาง บานศรีชมุ (อยูทางทศิ เหนือ) เปนตน

ในฤดฝู นน้ําจะไหลหลากมาตามลํานํา้ รอ งชาง
เร่ิมจากตําบลหนองหลม ลงมายังตําบลบานปน
ตําบลคือเวียง ตําบลบานถ้ํา ตําบลดอนศรีชุม
ตําบลบุญเกิด ตําบลดอกคําใต และเขามาในเขต
ตําบลสุดทายคอื ตาํ บลสวา งอารมณ เริ่มจากบาน

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกาน ๗๙

ศรีชุมไปยังบานบุญโยชน น้ําจะไหลไปตามลํานํ้า
ร อ ง ช า ง ซึ่ ง อ ยู ท า ง ด า น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก ข อ ง บ า น
บุญโยชนและกอนถึงหมูบานสุดทายมวลนํ้าสวน
ใหญก็จะจวา (แผกระจาย) ออกไปยังกลางทุงนา
ตลอดแนวฝงน้ํารองชางทางดานทิศตะวันตก ซึ่ง
เปนพ้ืนท่ีตํ่ากวา แลวคอย ๆ ไหลไปรวมกันท่ี
ค ล อ ง ห น อ ง ข ว า ง ซึ่ ง อ ยู ไ ก ล อ อ ก ไ ป ท า ง ทิ ศ
ตะวันตกของหมูบานแหงนี้ สวนมวลน้ําท่ีไมได
จวาไปตามทุงนาก็ยังคงไหลไปตามลําน้ํารองชาง
แคบ ๆ ผานเขาไปในหมูบานแหงน้ี เมื่อพน
หมบู านไปแลวกก็ ลบั มารวมกบั ลาํ น้ําทไ่ี หลมาจาก
คลองหนองขวางอีกคร้ังกอนท่ีจะไหลลงแมน้ําอิง
ตอไป ตอมาไดเรียกช่ือหมูบานที่อยูปลายนํ้าแหง
น้ีวา “บานรองจวา” ซึ่งหมายถึง หมูบานท่ีนํ้า
รองชางไหลจวา (แผกระจาย) ออกไปตามทุงนา
นน้ั เอง

“ช่ฯา” เปนตัวเมือง คําเมืองอานวา “จวา”
หมายถึง การแผกระจายออกไป มี “ช”ฯ คือ “จว”

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๘๐

เปนพัญชนะควบกล้ําแท จะตองออกเสียงพรอม
กันทั้ง “จ” และ “ว” เมื่อประสมกับสระอาและ
ไมเอก ก็จะอานออกเปนคําเมืองวา “จวา” แต
เน่ืองจากคนเมืองลานนาจะอานออกเสียงคํา
ควบกล้ําที่ประสมกับสระ –า ไมได สวนใหญจะ
ออกเสียง สระ -า เปน สระ –วั แทน เชน

“กวา” ก็อานวา “ก่ัว” ที่ถูกควรอานออก
เสียงวา “กวุ า” เรว็ ๆ จะออกเสียงเปน “กวา ” ได

“จวา” ก็อานวา “จั้ว” ท่ีถูกควรอานออก
เสียงวา “จวุ า ”เรว็ ๆ กจ็ ะออกเสียงเปน “จวา ”ได

ดังน้ันเราควรออกเสียงสําเนียงคําเมืองให
ถูกตอ ง

สุดทายนี้ ขอญาติโยมทั้งหลายจงชวยกัน
อนุรักษลํานํ้ารองชาง อยาไดถมที่สองฝงน้ํา
อยาทิง้ ส่ิงสกปรก ขยะมูลฝอยลงไปในนํ้า อยา
สรางบานเรือนลุกล้ําเขาไปในลํานํ้า อยาสราง
สวมติดหอยตามลําน้ําจะเปนบาป ขอชวยกันขุด
ลอกรองนํ้าใหลึก ใหมีน้ําอยูตลอดป จะไดใชนํ้า

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวและพญาลิ้นกา น ๘๑

เมื่อเกิดไฟไหมไตลาม ใชเปนที่พักผอนหยอนใจ
ชวยกันอนุรักษเพาะพันธสัตวน้ํา ปูปลาและสัตว
น้ํ า ทั้ ง ห ล า ย จ ะ ไ ด มี ใ ห ลู ก ห ล า น ไ ด เ ห็ น บ า ง
คนโบราณก็อาศัยสายนํ้ารองชาง เปนสายนํ้า
แหงชีวิตจิตใจ ทานพากันอพยพจากเมืองอ่ืน
มาต้ังบานเรือนอยูที่น่ี ก็เพราะตองการอาศัย
สายนํ้ารองชางแหงนี้ไวทําไรไถนาหลอเล้ียงชีวิต
ทําให “ในนํ้ามีปลาในนามีขาว” ถาเราไมชวยกัน
อนุรักษลูกหลานของเราจะอยูอยางทุกขยาก
ลําบากตอไปและเมื่อตัวเราเสียชีวิตไปแลว
กลับมาเกิดอีกคร้ังก็จะไดรับกรรมตามที่เราเอง
ทําเอาไวในชาตินี้ ดังนั้นจงชวยกันอนุรักษไวเถิด
จะไดบุญมาก

๔. ในสวนของช่ือของสถานที่ ท่ีปรากฏอยูใน
ตํานานตามลําน้ํารองชาง เชน พระธาตุแชโหว
หนองหลม (ตนน้ํารองชาง) บวกหัวชาง และรอง
มะแกว ก็ยังใชเรียกกันอยูในปจจุบันนี้ นอกจาก
น้ันหากเราไดไปสํารวจชื่อสถานท่ีตามลํานํ้ารอง

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๘๒

ชางท่ีไหลผาน เราจะพบช่ือสถานท่ี ท่ีสอดคลอง
กันอีก ๓ แหง คือ “หนองขวาง” ซ่ึงเช่ือวาเปน
สถานที่ซากชา งไหลมาขวางทางนํ้าอยู “บวกสาม
ขา” เชื่อวาขาชา งสามขาไดมาหยดุ คางอยูบรเิ วณ
บวกแหงน้ี และ “หนองถุ” ก็เชือ่ วา ณ หนองแหง
นี้ ช้ินสวนตาง ๆ ของซากชางไดไหลไปรวมกัน
ท่ีทายหนองน้ํา และตอมาก็ถูกนํ้าพัดพาให
ชิ้นสวนเหลานั้นฟุงกระจาย (ทะลุถุถาก) ไปกับ
สายนํ้าจนไมเหลืออะไรใหเห็นอีก คนท้ังหลายจึง
เรียกช่อื หนองน้าํ แหงน้วี า “หนองถ”ุ จนทุกวันน้ี

๕. “คาถาอาคม” หรอื “เวทมนตรคาถา” ซง่ึ
หมายถึง อักขระหรือขอความที่เช่ือวา ทองบน
หรือเสกเปาแลวศักด์ิสิทธ์ิ ในตํานานพญาลิ้นกาน
ไดกลาวถึงความสามารถของพรานปาซ่ึงเปนผูมี
คาถาอาคมจนทํางานไดส าํ เร็จ คาถาอาคมนนั้ เปน
ของลัทธิไสยศาสตรมาแตเดิม ตอมาโบราณจารย
ไดด ังแปลงแกไขมาเปน “พทุ ธมนต” คนลา นนามี
ความเช่ือเร่ืองคาถาอาคมมาแตโบราณ เชน พระ

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๘๓

คาถาไจยะเบ็งชร (ชินบัญชร) คาถาแผเมตตา
คาถาเมตตามหานิยม คาถาคงกระพนั ชาตรี คาถา
แคลวคลาด คาถาแผกุศล หัวใจพระคาถาตาง ๆ
คาถาบูชาพระพุทธรูปตาง ๆ คาถาบูชาเทพเจา
คาถากันของไมดี การทองจําพระคาถาใหจํา
ไดง าย มขี นั้ ตอน ดงั นี้

๑) มคี วามต้ังใจมน่ั ทาํ ใจใหบ รสิ ุทธิ์
๒) อาบน้ําชาํ ระรางกายใหสะอาด
๓) นําดอกไม ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
ขอพรบุญบารมใี หทอ งจําได จาํ ไดแมน แลว กราบ
ตาํ ราหรอื หนงั สอื นน้ั ๓ ครง้ั
๔) เปดข้ึนมาทอ งจาํ หนังสอื นน้ั อยาเหยีบ
อยาขาม อยาน่ังอยานอนทับ ขณะทองอยานอน
หลับใหหนังสือทับอก เพราะจะทาํ ใหปญญาเสอื่ ม
เม่ือจะใชพระคาถา ใหป ฏบิ ตั ิ ดงั นี้
๑) ต้งั นะโมตสั สะฯ ๓ จบ อยา งมีสติ
๒) โนมนา วจิตใจตามวัตถปุ ระสงค

พระราชมงคลวิสุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๘๔

๓) ต้ังจิตใหม่ันแลวภาวนาคาถาตาม
ตองการ

พระคาถาจะศักด์ิสิทธ์ิประสบผลสําเร็จได
ตองมีองคป ระกอบ ดงั น้ี

๑) ผูทองคาถาจะตองเปนผูคิดดี ทําดี
ละเวน ความชว่ั ไมเบยี ดเบยี นผูอ ื่น

๒) ผูทองคาถาจะตองมีความเช่ือศรัทธา
ความตงั้ ใจมัน่ และมีสจั จะความจรงิ ใจเปนสาํ คัญ

๓) ตัวบทพระคาถา ไมวาจะบันทึกเปน
ตัวอักษรภาษาใดก็ตาม ไมวาสําเนียงการออก
เสียงจะผิดเพ้ียนแตกตางกัน พระคาถาน้ันก็ยังคง
ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิในตัวเองเสมอ

ตัวอยาง พระคาถาเมตตามหานิยมและ
แคลวคลาดปลอดภัยของหลวงปูกํ้า กลั ยาณธัมโม
มีดงั น้ี

“สะทะปะโต อัตถะวสี ะติ พทุ ธะจะ ชิตังเม
พทุ โธ ชัยโย ชัยยะ ชัยชนะ ตลอดปลอดภัย
ไชโย ไชโย ไชโย...”

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกา น ๘๕

๖. “การอาราธนา” หรือ “การออนวอนขอ
สิ่งศักดิ์สิทธ์ิใหมาชวยเหลือ” คนลานนาเชื่อวา
การออนวอนสิ่งศักดิ์สิทธ์ิไมวาจะเปนพระธาตุ
เจดียก็ดี พระพุทธรูปก็ดี เทวดาอารักษก็ดี
จะประสบความสําเร็จตามใจปรารถนาไดน้ัน
ผูออนวอนจะตองถือศีล ๕ หรือศีล ๘ ใหบริสุทธ์ิ
เสียกอน แลวจึงน่ังสมาธิภาวนาและแผเมตตา
เมือ่ ครบขั้นตอนแลว จงึ จะมพี ลงั มากพอที่จะทําให
สิ่งศักด์ิสิทธิ์ไดรับรูและชวยเหลือได เชน การที่
พญาล้ินกา นและชาวเมืองเวยี งหาวไดร วมกนั ถือ
ศีล ภาวนา และอาราธนาขอส่ิงศักด์ิสิทธ์ิมาชวย
ปกปกรักษาใหพนภัยจากชางราย ก็สงผลให
เทวดาไดมาชวยเหลอื จนสําเรจ็

การวิเคราะหว ตั ถุธรรม

วัตถุธรรม คือวัฒนธรรมทางวัตถุส่ิงของที่ได
สรางขึ้นเพ่ือนําไปใชประโยชน จากเร่ืองตํานาน
พญาล้ินกาน สะทอนใหเห็นวัตถุธรรมท่ีสําคัญ
ดงั น้ี

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผน ดิน ๘๖

๑. เวียงหาว หมายถึง เมืองปาสักหรือปาสัก
หลวงซึ่งเปนเมืองท่ีมีความเจริญรุงเรืองมีกําแพง
ลอมรอบเมือง เวียงหาวมีพญาเจาเมืองช่ือวา
พญาล้ินกาน ซึ่งเปนผูสรางเมืองแหงนี้ขึ้น เพื่อให
ชาวบานไดมาอาศัยอยูดวยกันและทํามาหากิน
อยางมีความสุข

๒. พระธาตุแชโหว หมายถึง พระธาตุเจดียที่
บรรจุพระบรมเกศาธาตแุ ละกระดูกปลายจมูกของ
พระสัมมาสัมพุทธเจาไวภายใน เพ่ือใหพุทธศาส-
นิกชนไดกราบไหวส กั การบชู า

๓. กําแพงเมือง หมายถึง สิ่งกอสรางท่ที ําเปน
เคร่ืองก้ันซ่ึงอาจจะกอดวยอิฐ หิน หรือดินก็ได
โดยสรา งลอ มรอบเมอื งเอาไวด านใน เพือ่ ชว ยปอง
กนั ไมใ หศตั รูบุกโจมตีเขามาในเมือง

๔. คูเมือง หรือ คูเมือง หมายถึง รองน้ําหรือ
คลองน้ํารอบเมือง โดยการขุดดินขึ้นมาแลวทํา
เปนคันดินไวดานในติดกับกําแพงเมือง เพื่อชวย
ปองกันศัตรูหรอื ชา งเขามาในเมอื งกอ นถึงกาํ แพง

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวและพญาลิ้นกา น ๘๗

๕. พระยอดขุนพล กรุเวียงหาว หมายถึง
พระเนื้อดิน พิมพตาง ๆ ที่คนสมัยกอนไดจัดทํา
ข้ึนแลวบรรจุไวในหองใตฐานเจดียและฐานใต
แทนบูชาของพระประธานในพระวิหาร เพื่อสืบ
ทอดพระพทุ ธศาสนา

พระยอดขุนพล
พมิ พซุมปกโพธิ์ใบเม็ด ฐานตาราง กรุเวียงหาว

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถระ ๕ แผน ดนิ ๘๘

ตอมาบานเมืองเกิดการเปล่ียนแปลง ผูคน
อพยพไปอยูท่ีอ่ืน ทําใหกลายเปนวัดรา ง เมืองรา ง
คนรุนตอมาก็ไปขุดหาสมบัติตามวัดรางตาง ๆ ใน
เวียงหาว และไดพบพระเนื้อดินดังกลาว บางก็
นําไปขาย บางก็่นําไปเก็บไวบูชา

พระยอดขุนพล
พมิ พซมุ กลด ตาลปตร ฐานสูงตาราง กรเุ วยี งหาว

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๘๙

พระยอดขุนพล
พมิ พซุมเถาวัลย ฐานตาราง กรเุ วยี งหา ว

๖. งาชาง หมายถึง ฟนเข้ียวคูหนาแถวบน
ของชาง ซึ่งงอกออกมาจากขากรรไกรบนของชาง
ขางละอัน งาชางมีลักษณะนามเปน “ก่ิง” คนมัก
นํางาชางไปประดับตามโตะหมูบูชา หองรับแขก
หรือไมก็นําไปแกะสลักทําเปนเคร่ืองประดับ หรือ

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๙๐

เครื่องรางของขลัง เพ่ือสวมใสหรือพกไวติดตัว
เพราะถือวางาชางเปนสัญลักษณของความ
บริสุทธิ์และเปนมงคล ผูท่ีไดครอบครองจะมีพลัง
อํานาจเพิ่มข้ึน ชวยใหสามารถฟนฝาอุปสรรค
และมีชัยเหนอื ศตั รูได

ป จ จุ บั น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
งาชาง พ.ศ.2558 เปนกฎหมายควบคุมการคา
การครอบครอง นําเขา สงออก และการนําผาน
ซึ่งงาชาง หรือผลิตภัณฑที่ทําจากงาชาง การมี
ง า ช า ง ห รื อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ท่ี ทํ า จ า ก ง า ช า ง ไ ว ใ น
ครอบครอง กําหนดใหตองแจงการครอบครองตอ
เจา หนา ท่ี ผใู ดฝา ฝนมีโทษปรับไมเ กนิ 3 ลา นบาท

๗. เสื่อ หรือ สาด หมายถึง เคร่ืองสานชนิด
หน่ึง โดยท่ัวไปทํามาจากตนกก ตนธูปฤาษี ไมไผ
ใชสาํ หรับปนู ง่ั และปูนอน

♦♦♦♦♦

บทที่ ๓

ภาษาลานนา
( ภาษาลา้ ฯ¢ )

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดนิ ๙๒

ภาษาลา นนา

ความเปน มา

บ ริ เ ว ณ ท า ง ภ า ค เ ห นื อ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
สมัยกอนเคยเปนรัฐอิสระ ท่ีเรียกวา “อาณาจักร
ลานนา” มีหัวเมืองใหญนอยมากถึง ๕๗ เมือง
มีความเจริญรุงเรืองสืบเน่ืองกันมาอยางยาวนาน
จนถึง ป พ.ศ. ๒๑๐๑ ก็ตกเปนเมืองขึ้นอยูภายใต
การปกครองของกรุงหงสาวดี (พมา) นานถึง
๒๑๖ ป ตอจากน้ันก็ตกไปเปนเมืองประเทศราช
ของกรงุ ธนบรุ ีและกรุงรัตนโกสนิ ทรต ามลาํ ดับ

บริเวณภาคกลางเปนที่ต้ังของ อาณาจักร
อยุธยา อาณาจักรธนบุรีและอาณาจักรรัตน
โกสินทรสบื ทีส่ บื ตอกันมา อาณาจักรรัตนโกสินทร
มีกรุงรัตนโกสินทรหรือกรุงสยามเปนราชธานี
มีความเจริญรุงเรืองกวาลานนาเปนอันมาก
มีภาษาไทยใชในการสื่อสาร คือมีทั้งภาษาพูด
(คําไทย) และภาษาเขียน (ตัวอักษรไทย) มี
โรงเรยี นเปน สถานที่ใหก ารศกึ ษาแกน กั เรียน


Click to View FlipBook Version