The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“ตำนานพระธาตุแช่โหว้และ พญาลิ้นก่าน” เล่มนี้ จัดพิมพ์ขึ้นโดยมูลนิธิ หลวงปู่ก้ำ กลฺยาณธมฺโม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการถวายมุทิตาสักการะและเป็นอนุสรณ์เนื่อง ในงานฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๑๐๐ ปี ของ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ หลวงปู่พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผ่นดิน ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kruchart Martmool, 2020-05-31 10:32:55

ตำนานพระธาตุแช่โหว้และพญาลิ้นก่าน

“ตำนานพระธาตุแช่โหว้และ พญาลิ้นก่าน” เล่มนี้ จัดพิมพ์ขึ้นโดยมูลนิธิ หลวงปู่ก้ำ กลฺยาณธมฺโม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการถวายมุทิตาสักการะและเป็นอนุสรณ์เนื่อง ในงานฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๑๐๐ ปี ของ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ หลวงปู่พระราชมงคลวิสุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผ่นดิน ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓

Keywords: ดอกคำใต้,ประวัติศาสตร์ดอกคำใต้.น้ำร่องช้าง, พญาลิ้นก่าน,หลวงปู่ก้ำ,วัดบุญเกิด

หนังสือท่ีระลกึ เน่อื งในโอกาสงานฉลองอายุวฒั นมงคลครบ ๑๐๐ ป

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถระ ๕ แผนดิน
๑๙ กนั ยายน ๒๕๖๓

ตํานานพระธาตแุ ชโหวแ ละพญาลน้ิ กาน

ผูเลา และเขียน : พระราชมงคลวิสทุ ธิ์
ผูเรยี บเรยี ง : อภิชาติ มาตรมูล
ผตู รวจทาน : พระมหารุงวกิ รยั ชัยวร

ชาํ นาญ วงศประสิทธ์ิ
กรรณิการ มาตรมลู

ผจู ัดพมิ พ: มลู นิธหิ ลวงปกู าํ้ กลยฺ าณธมโฺ ม
ต.บุญเกิด อ.ดอกคาํ ใต จ.พะเยา ๕๖๑๒๐

พิมพค รั้งท่ี ๑ : สงิ หาคม ๒๕๖๓
จํานวน : ๕๐๐ เลม

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์

ท่ปี รึกษาเจา คณะภาค ๖ เจา อาวาสวดั บญุ เกิด
อําเภอดอกคําใต จงั หวัดพะเยา

คํานาํ

หนังสือ “ตํานานพระธาตุแชโหวและ
พญาล้ินกาน” เลมน้ี จัดพิมพข้ึนโดยมูลนิธิหลวง
ปูก้ํา กลฺยาณธมฺโม มีวัตถุประสงค เพื่อเปนการ
ถวายมุทิตาสักการะและเปนอนุสรณเนื่องในงาน
ฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๑๐๐ ป ของพระเดช
พระคุณทานเจาคุณ หลวงปูพระราชมงคลวิสุทธิ์
พระมหาเถร ๕ แผนดิน ในวันที่ ๑๙ กันยายน
๒๕๖๓ สวนความเปนมาของการจัดทําหนังสือ
เลมน้ีก็เน่ืองมาจากลกู ศิษยล ูกหาเคยไดยนิ หลวงปู
ปรารภอยูบอย ๆ วาอยากรวบรวมงานเขียนของ
ทานทั้งท่ีเปนหนังสือและเอกสารโรเนียวท่ีเคยทํา
เอาไวต ง้ั แตใ นอดตี มาเรยี บเรยี งปรบั ปรุงเน้อื หาให
ทันสมัยขึ้นและจัดทาํ เปนรูปเสมหนังสือที่สมบูรณ
สวยงาม เพื่อเผยแพรความรูและประสบการณ
อันมีคาของทาน ใหแพรหลายไปยังอนุชนคนรุน
หลังและผูท่ีสนใจสืบตอไป หนังสือเรื่องตํานาน



พระธาตุแชโหวและพญาลิ้นกาน เปนหน่ึงใน
จํานวนหลายเลมท่ีคณะศิษยานุศิษยไดรวบรวม
และเรียบเรียงขึ้น โดยเนื้อหาของหนังสือเลมน้ี
แบงออกเปน ๕ บท เริ่มจาก บทที่ ๑ ตํานานพระ
ธาตุแชโหว ไดกลาวถึงคําไหวพระธาตุ การไดมา
ของหนังสือตํานาน ตํานานของพระธาตุและบท
วิเคราะห บทที่ ๒ ตํานานพญาลิ้นกาน กลาวถึง
เวียงหาว ชางปูกํ่างาเขียว แมน้ํารองชางและบท
วิเคราะห บทท่ี ๓ ภาษาลานนา เปนความรู
เกีย่ วกับตัวเมืองและการปรวิ รรต บทท่ี ๔ ฝก อา น
ตวั เมอื ง เรื่องตาํ นานพระธาตแุ ชโ หว และ บทท่ี ๕
ฝกอานตัวเมือง เรอ่ื งตาํ นานพญาลนิ้ กา น

ขอกราบขอบพระคุณผูมีสวนรวมในการ
เรียบเรียง ตรวจทานและขออนโุ มทนากับผูใจบุญ
ทุกทานที่ไดชวยกันจัดพิมพหนังสือเลมนี้เพื่อเปน
ธรรมทานจนสําเรจ็ ลงไดด วยดี

หวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปน
ประโยชนตอผูท่ีสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร



ทองถิ่นของอําเภอดอกคําใตท่ีผานบทวิเคราะห
ของภูมิปญญาทองถ่ิน ตลอดจนผูท่ีสนใจภาษา
ลานนา โดยเฉพาะในวงการของคณะสงฆ วงการ
สถาบันการศกึ ษาและผสู นใจทัว่ ไป

ถึงแมจะมีการตรวจทานเปนอยางดีแลว
ก็ตาม ผูเรียบเรียงก็เช่ือวายังขาดความสมบูรณ
อยูดี หากผูอานพบขอบกพรองประการใดใน
หนังสือเลม นี้ ผูเรยี บเรียงตอ งขออภัยไวใ นทีน่ ้ีดวย
และยินดีที่จะปรับปรุงแกไขในการจัดพิมพคร้ัง
ตอ ไป

อภชิ าติ มาตรมูล
ผเู รยี บเรียง



สารบญั

เรอ่ื ง หนา

คาํ นํา................................................................................... ก
สารบญั .............................................................................. ง
บทที่ ๑ ตํานานพระธาตุแชโ หว. ..................... ฉ

คาํ ไหวบ ูชาพระธาต.ุ ............................ ๑
ทม่ี าของบันทกึ ตํานาน...................... ๒
ตํานาน......................................................... ๓
บทวเิ คราะห. ............................................ ๖
การวเิ คราะหค ติธรรม........................ ๒๕
การวิเคราะหเนติธรรม...................... ๒๕
การวิเคราะหส หธรรม........................ ๓๑
การวเิ คราะหวตั ถุธรรม..................... ๓๓
บทท่ี ๒ ตาํ นานพญาลิน้ กาน............................ ๔๒
บทวเิ คราะห. ............................................ ๔๗
การวิเคราะหค ติธรรม........................ ๖๔
การวเิ คราะหเ นติธรรม...................... ๖๔

๗๓



สารบัญ (ตอ )

เร่ือง หนา

การวิเคราะหส หธรรม........................ ๗๔
การวิเคราะหวตั ถุธรรม..................... ๘๕
บทท่ี ๓ ภาษาลานนา............................................ ๙๑
ความเปน มา............................................. ๙๒
ความสาํ คัญ.............................................. ๙๘
ตัวอกั ษรลานนา (ตัวเมอื ง)............ ๑๐๑
หลกั การผสมกาํ เมือง.......................... ๑๐๕
การปรวิ รรตภาษาลานนา-ไทย.... ๑๑๓
ตวั เลข........................................................... ๑๒๖
บทที่ ๔ ฝก อานตวั เมอื งจากคัมภรี ใบลาน
เรือ่ งตํานานพระธาตแุ ชโ หว.......... ๑๓๕
บทที่ ๕ ฝกอานตวั เมืองจากคมั ภรี ใบลาน
เรือ่ งตาํ นานพญาล้นิ กาน................ ๑๗๑
บรรณานุกรม................................................................. ๑๘๖
รายนามผูรว มทําบญุ จัดพิมพห นังสือ........... ๑๘๘

บทที่ ๑

ตาํ นานพระธาตุแชโหว

ตํา¢ฯ� ธาแฯ ชโ่ ห้ฯ

พระธาตุแชโ หว

บานปาง ต.คอื เวียง อ.ดอกคาํ ใต จ.พะเยา

ตาํ นานพระธาตแุ ชโหวแ ละพญาลิน้ กา น ๒

ตาํ นานพระธาตแุ ชโหว

คาํ ไหวบ ูชาพระธาตุ

คําไหวพระธาตุแชโหว เวียงหาว เมืองพะเยา
ขอเสนอไว ๒ แบบ ดงั นี้

๑. แบบออกเสยี งเปนคาํ ไทยกลาง
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา
สัมพุทธสั สะ (๓ จบ)
“อะหังวันทามิ สิละสา เทวะเกศาธาตุ ปะติ
ภันตุ เสละปพพตั ตา อะหังวนั ทามิ สลิ ะสา”
(กราบ ๓ คร้ัง แลว ตั้งจติ อธษิ ฐาน)
๒. แบบออกเสยี งเปนคาํ เมอื ง
นะโมต๋ัสสะ ภะกะวะโต อะระหะโต สัมมา
สัมปตุ ธสั สะ (๓ จบ)
“อะหังวันตามิ สิละสา เตวะเกศาธาตุ ปะต๋ิ
ภนั ตุ เสละปพ ปตตา อะหงั วนั ตามิ สลิ ะสา”
(กราบ ๓ ครั้ง แลวต้ังจติ อธษิ ฐาน)

พระราชมงคลวสิ ุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๓

คําไหวพระธาตแุ ชโ หวแ ปลได ดังนี้
“ขา พเจาขอนอบนอ มกราบไหวพ ระเกศาธาตุ

และยอดพระนาสิกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจา
ท่ี ส ถิ ต อ ยู ใ น เ จ ดี ย บ น ด อ ย แ ช โ ห ว แ ห ง นี้ ด ว ย
เศยี รเกลา”

ทม่ี าของบันทึกตํานาน

พระธาตุแชโหว ต้ังอยูทางทิศตะวันออกเฉียง
ใตของเมืองพะเยา ตํานานน้ีไดมาจากพระมหา
เถระทานหนง่ึ ช่ือวา “พระมหากาลวิชา” ทานได
ไปพบตํานานพระธาตุเจดียของเมืองพะเยาซึ่งยัง
ไมเคยปรากฏท่ีใดมากอน จํานวน ๓ เลม ท่ีเมือง
ลังกาทวีป ทานจึงไดเขียนบันทึกเก็บเอาไว ตอมา
ในปรวายไก (ปกุน) จุลศักราชได ๘๘ ตัว
(พ.ศ.๑๒๖๙) เดือน ๗ ออก ๕ คํ่า พระมหากาล-
วิชา ไดเดินทางมาถึงเมืองพะเยา แลวก็ไดเขาไป
พาํ นกั อยทู ี่วดั หลวงราชสัณฐาน กลางเวยี งพะเยา
ไดเขาไปกราบพระสงั ฆราช มหาอนิ ตาธิราชเจา

ตํานานพระธาตแุ ชโหวแ ละพญาลิ้นกาน ๔

วัดหลวงราชสณั ฐาน

แหลง ท่ีมา : https://www.facebook.com/raksinthai

หลังจากไดสนทนากันพักหนึ่ง พระมหากาลวิชา
ไดเ อยถามพระสังฆราชขนึ้ วา

“ทานผูเจริญ พระธาตุเจดียท้ังหลายที่ต้ังอยู
ในเมืองพะเยาแหงนี้ มีหนังสือบันทึกตํานานไว
ทุกท่ที กุ แหง แลวหรอื ยัง”

เมื่อน้ันพระสังฆราช มหาอินตาธิราชเจา จึง
ตอบขนึ้ วา

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๕

“ดูกอน อาวุโส อันวาพระธาตุเจดียท้ังหลาย
อันสถิตตั้งอยูในเมืองพะเยาแหงนี้ ที่ยังไมปรากฏ
เปนหนงั สอื ทีบ่ ันทกึ ตํานานไว มอี ยู ๓ แหง ดวยกัน
คอื

๑) พระธาตุดอยนอย บานบวกเหงือก (บาน
จําปาหวาย อ.เมอื ง จ.พะเยา ปจจุบัน)

๒) พระธาตุแชโหว ดอยบานปาสัก ในเวียง
หา ว (บานปาง อ.ดอกคาํ ใต จ.พะเยา ปจจบุ นั )

๓) พระธาตุจอมศีล ดอยถ้ํา บานถํ้า (บานถํ้า
อ.ดอกคําใต จ.พะเยา ปจ จุบนั )”

พระมหากาลวิชา จงึ กลาววา
“ทานผูเจริญ ขาแดพระสังฆราชเจา ท่ี
ขาพเจาไดเขามาพบทานในวันน้ี ก็เพื่อนําบันทึก
ตํานานท้งั ๓ แหง ซ่งึ ไดมาจากเมอื งลงั กาทวปี มา
ถวายทาน เพื่อเปนอานิสงสแกคนรุนหลังสืบ
ตอ ไป”

ตาํ นานพระธาตุแชโหวแ ละพญาลิ้นกา น ๖

ตํานาน

ตํ า น า น ไ ด ก ล า ว ย อ น ไ ป ยั ง ส มั ย พุ ท ธ ก า ล
ครั้งเมื่อพระพุทธเจาไดเสด็จเผยแผพระสัทธรรม
แกช าวโลก คร้นั เสดจ็ มาถงึ เมอื งพะเยาไดแบงเสน
เกศาธาตุ (เสนผม) ไวท่ีดอยจอมทอง เสร็จแลวก็
ฉันภัตตาหารเชา ณ ที่บนดอยจอมทองแหงน้ี
เมื่อฉันเสร็จพระองคยังไมไดฉันน้ํา จึงใชให
พระอานนทลงไปตักน้ําท่ีตีนดอย เรียกกันวา
หนองเอี้ยง (กวานพะเยา) ฝายพญานาคเจาของ
หนองเอ้ียง ช่ือวาธุมมสิกขี ไมยอมใหน้ําแก
พระอานนท โดยใชหงอนพนควันปดหนองนํ้าไว
ดังนั้นพระพุทธเจาจึงลงจากดอยจอมทองไปที่
หนองเอ้ียง เม่ือไปถึงก็ไดแสดงอภินิหารเนรมิต
พระวรกายสูง ๓๒ ศอก แลวแสดงอิทธิฤทธ์ิ
สั่งสอนพญานาค เม่ือพระองคไดฉันน้ําแลว ก็ได
ทํานายหนองเอ้ียงไววาในภายภาคหนาจะมีตา
ยายสองผัวเมียมาสรางพระพุทธรูปองคใหญ
(พระเจา ตนหลวง) ไวใกลก ับหนองเอย้ี งแหง นี้

พระราชมงคลวสิ ุทธิ์ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๗

พระพุทธเจาสง่ั สอนพญานาคธมุ มสิกขี
ตอจากน้ันก็เสด็จไปที่วัดปาแดงหลวงและ
วัดบุญนาคซึ่งอยูเหนือเวียงพะเยา จากนั้นก็เสด็จ
ไปท่ีวัดลีเจดียหลวงกลางเวียงพะเยา พระองคได
แบงเกศาธาตุไวในพระธาตุเจดียท่ีวัดเหลาน้ี
ตามลําดับ เสร็จแลวไดเสด็จไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใตของเมืองพะเยา จนไปถึงตีนดอย
บานปาสัก (บานปาง) ขณะหยุดพักอยูท่ีน่ีก็มอง
ไปในอนาคต แลว ก็รําพึงอยูในใจวา

ตํานานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาล้ินกาน ๘

“ตอไปในภายภาคหนาเม่ือพระตถาคต ได
ปรินิพพานไปแลว บริเวณในท่ีแหงนี้จะเกิดเปน
บานเปน เมืองทเ่ี จริญรงุ เรืองขึน้ มา”

คิดดังนั้นแลวพระพุทธเจาก็เสด็จขึ้นไปสูบน
ยอดดอยบานปาสักแหง นัน้ ตอจากนั้นกไ็ ดท อด พระ
เนตรดูโลกท้ังมวลและไดทอดพระเนตรไปยัง ทิศ
นอยใหญโดยรอบ ก็ไดแลเห็นเปนบานเมืองกวาง
ใหญเจริญรุงเรืองอยูเบ้ืองลาง ลอมรอบดวยดอย
๘ ลูก ตอเนื่องกันตามลําดับ คือ ดอยปาสักแหงน้ี
ดอยนอย ดอยจอมทอง ดอยหยุก (จุก) ดอยปูขวาง
ดอยจอมไคร ดอยจอมแจง จาํ ไก และดอยถ้าํ

แผนทีต่ ั้ง ดอย ๘ ลูก เมืองพะเยา

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๙

พระธาตุจอมทอง บนดอยจอมทอง
ต.บานตอม อ.เมือง จ.พะเยา
พระธาตุดอยนอย บนดอยนอย
ต.จําปาหวาย อ.เมือง จ.พะเยา

ตาํ นานพระธาตุแชโหวแ ละพญาลิ้นกา น ๑๐

พระธาตุแชโ หว บนดอยปา สัก
ต.คือเวียง อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

พระธาตุจอมศีล บนดอยถํา้
ต.บานถํา้ อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๑๑

พระธาตุดอยหนอย บนดอยจอมแจง จําไก
ต.สนั โคง อ.ดอกคาํ ใต จ.พะเยา
พระธาตจุ อมไคร บนดอยจอมไคร
ต.หว ยลาน อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลิ้นกา น ๑๒

พระธาตุภูขวาง บนดอยปูขวาง
ต.หวยแกว อ.ภูกามยาว จ.พะเยา

พระธาตุดอยจุก บนดอยหยกุ
ต.ดงเจน อ.ภกู ามยาว จ.พะเยา

พระราชมงคลวิสุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๑๓

ในขณะท่ีพระพุทธเจากําลังทอดพระเนตรอยู
น้ัน ก็เกิดแผนดินสั่นไหวขึ้น มีเสียงดังกองสนั่น
เปนอยางมาก และพรอมกันนั้นพระวรกายของ
พระพุทธเจาก็เปลงฉัพพรรณรังสี คือสีมงคล ๖ สี
ไดแก สีขาว สีนํ้าเงิน สีเหลือง สีแดง สีสม และ
สีหมน (สีท้ัง ๕ รวมกัน มีวรรณะเหมือนดั่งแกว
วิฑูรยน้ําคาง) เกิดความสวางไสวไปทั่วบนดอย
และปาไม แสงตกกระทบกับตนไมและใบไม
สะทอ นเปนสีเหลอื งเหมือนดง่ั ทองคาํ

ฉพั พรรณรงั สี

แหลงที่มา : http://forums.apinya.com/

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาล้นิ กาน ๑๔

นิมิตอัศจรรยเชนนี้ บอกใหทราบวาพุทธ
ศาสนาและพระมหาเจดียธาตุจะมาเจริญรุงเรือง
อยใู นท่แี หงน้ี ตลอด ๕ พันป

ขณะน้ันสองเฒาผวั เมีย ซ่ึงไดมาทําไรทําสวน
อยูที่บริเวณตีนดอยบานปาสักแหงนี้ ก็มองเห็น
แสงสวางอันเจิดจาไปท่ัวบนดอย ฝายเมียเห็น
กอน จงึ รอ งบอกตอผเู ปน ผวั วา

“พอเฒา เหย สูจงรีบข้ึนไปดูยงั บนดอยวา เปน
อะไร ทําไมจึงมีแสงสวา งอยูบนดอยมากนัก สวาง
จนเห็นไปถึงช้ันฟาชั้นพรหม แตกอนไมพบเคย
เหน็ สกั คร้ังเดยี ว”

เม่ือน้ันชายเฒาผูเปนผัวก็รีบว่ิงข้ึนไปดูที่
บนดอย เห็นเปนบุคคลกลุมหน่ึง ซึ่งมีผิวพรรณ
งามสงาเหมือนกับเทวดา (พระพุทธเจาอยูพรอม
กับพระอานนท พระอินทร และพระเจาอโศก)
จึงเขา ไปนอมตัวลงกราบไหวแ ลว ถามข้ึนวา

“ทานผูเจริญ ทานมีชื่อเสียงเรียงนามใด
ทา นเปน พระยาอนิ ทร พญาพรหม หรอื วาเปน

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผน ดิน ๑๕

เทวดาบตุ รเทวดาองคใ ด”
พระผูมีพระภาคเจา ผทู รงมหากรณุ า ตอบวา
“ดูกอนอุบาสก เราน้ีช่ือวาพระพุทธเจา

ผูเปนทีต่ ง้ั และเปน ที่พ่งึ แกโ ลกท้ัง ๓”
ตอจากน้ัน พระพุทธองคก็ไดเทศนาส่ังสอน

ธรรมะใหก ับชายเฒาผูผวั ใหไดรูรักษาศลี ใหทาน
บําเพ็ญบุญ เมื่อเทศนาจบลงแลวชายเฒาก็
นอมตัวลงกราบไหวพระพุทธเจา แลวก็กลับ
ลงดอยไป พอถึงไรสวนของตน ก็บอกใหหญงิ เฒา
ผูเปนเมียฟงวาเปนสัพพัญูพระพุทธเจาและได
เลาเรื่องใหผูเปนเมียฟงท้ังหมด ฝายชายแกผูเปน
ผัวจึงกลาวข้นึ วา

“เราทั้งสองจะเอาอะไรไปถวายเปนทานแก
พระพทุ ธเจา กันด”ี หญงิ แกผ ูเปน เมยี กต็ อบวา

“เราเอานาํ้ ผงึ้ กบั ลูกสมอไปถวายกนั เถอะ”
วันตอมาสองเฒาผัวเมียก็นําเอานํ้าผึ้งและ
ลูกสมอขึ้นดอยไปถวายทานแกพระพุทธเจา และ
พระพุทธเจา กไ็ ดร บั เอาของทานของเขาท้งั สอง

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาลิ้นกาน ๑๖

นาํ้ ผึง้

แหลง ท่ีมา : https://htgetrid.com/

ลกู สมอ

แหลงที่มา : https://amprohealth.com/herb/chebulic-myrobalans/

ตอจากน้ันพระพุทธเจาก็ไดเล็งเหน็ วาสถานที่
แหงน้ีในภายภาคหนา เม่ือพุทธศาสนาเจริญ

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๑๗

รุงเรืองข้ึนแลว คนท้งั หลายกจ็ ะพากนั เขา มาสราง
บานเรือนอยูรอบ ๆ บริเวณตีนดอยแหงน้ีเปน
จํานวนมาก ตางก็จะมาทําไร ทําสวนและทํานา
อยูทุกหนทุกแหง เม่ือใดพระองคไดปรินิพพานไป
แลว กระดูกปลายจมูกของพระองคก็จะไดมา
บรรจุไวอยูที่นี่และจะมีความเจริญรุงเรืองเปน
อยางมาก คนและเทวดาท้ังหลายตางก็จะไดมา
รักษาศีล ใหทาน เมตตาภาวนา บําเพ็ญบุญกุศล
ในสถานทแ่ี หงนี้ กจ็ ะไดถ ึงมรรค ผลธรรมอนั วเิ ศษ
เปนอยางมาก คร้ันเม่ือพุทธศาสนารวงโรยพน
ศตวรรษท่ี ๓ ไปแลว พุทธศาสนาก็จะมีแตความ
เจริญรุงเรืองไมขาดสายจนสิ้นสุดลง เมื่อถึง
๕๐๐๐ ป

เม่ือพระพุทธเจาไดรําลึกนึกดูเชนนี้เสร็จแลว
พระอานนทจึงทูลขอเกศาธาตุของพระพุทธเจา
ดังนั้นพระพุทธเจาจึงใชมือขวาข้ึนลูบศีรษะ
ของพระองค ไดเสนเกศาติดมือออกมา ๒ เสน
ยาว ๘ น้ิวมือขวาง แลวก็ยื่นใหพระอานนทและ

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกา น ๑๘

พระอินทร สวนพระเจาอโศกก็ไดควา เอากระบอก
ไมไผรวกขนาดยาว ๓ กํามือ ไดเนรมิตทําเปน
ผอบทองคําใสเกศาของพระพทุ ธเจาเอาไว

พระบรมเกศาธาตุบรรจุในผอบทองคํา

แหลง ท่ีมา : https://www.thansettakij.com/content/wow/418046

ตอจากน้ันพระพุทธเจาไดเอยถามสองเฒา
ผัวเมียวา

“บนดอยแหง นมี้ ถี าํ้ อยหู รือไม”
สองเฒา จึงกลา วตอบวา
“มีพระเจาขา มีถํ้าอยูกลางดอยท่ีน่ี ขาเหน็
ปลองมันที่กลางดอยและท่ีริมปากปลองถํ้าน้ัน
ยังมีกอไผรวกกอหนึ่ง ใบมันหลนปลิวตกลงถม
ปากปลองถํ้าเอาไว”
ทราบดังนั้นแลว พระพทุ ธเจา จงึ กลา ววา

พระราชมงคลวิสุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๑๙

“พระอินทร ทานจงเอาเกศาธาตุแหง
ตถาคตไปไวท ีก่ ลางถํา้ น้นั เถอะ”

เม่ือน้ันพระอินทรจึงเนรมิตปราสาททองคํา
ข้ึนหลังหนึ่งประดบั ประดาอยางวจิ ิตรพิศดารดวย
แกวอันมีวรรณะ ๗ สี มีรัศมีรุงเรืองสวยงามเปน
อยางมาก และไดนําเอาผอบทองคําที่บรรจุ
พระเกศาธาตุของพระพุทธเจาเขาสถิตไวในกลาง
ปราสาททองคําหลังนั้น ตอจากนั้นไดนําปราสาท
ไปวางไวในพ้ืนถํ้าซ่ึงลึกถึง ๑๐๐ วา พรอมกับใส
ขาวของตา ง ๆ ๓ ลาน ๓ แสนอัน ลงไปดวย แลว
พระอินทรไดลงยันตไวโดยรอบท้ัง ๘ ดาน เพ่ือ
ไมใหเปนที่รบกวนแกพระธาตุเจา แลวก็ปดดวย
แผนหิน ๑๒ ชั้น กอทับดวยดินและอิฐอีก ๕๒ ช้ัน
ตอจากน้ันไดกอเจดียครอบทับไวดานบน สูง ๓
ศอก เม่ือเสร็จเรียบรอยแลวพระพุทธเจา จึงส่ัง
พระอานนท พระอนิ ทร และพระเจาอโศกวา

“เมื่อใดที่ตถาคตปรินิพพานไปแลว ขอให
ทานไดเ อากระดกู ยอดจมกู ของตถาคต มาบรรจุ

ตาํ นานพระธาตแุ ชโหวแ ละพญาลิ้นกา น ๒๐

รวมไวกบั พระเกศาธาตใุ นทีแ่ หงน้ีดวย”
ตอจากนั้นพระพุทธเจาก็พูดกับพระอานนท

ขึน้ อกี วา
“ในภายภาคหนาสองเฒาผัวเมียผูไดถวาย

นํ้าผึ้งและลูกสมอเปนทานนี้ จะไดมาเกิดเปน
พญาคนหน่ึง ในเมืองท่ีน่ี มีช่ือวา “ทาวลิ้นกาน”
จะไดมาสรางเวียงรอบดอยลูกน้ี จะมาสรางวิหาร
ใหเจริญรุงเรืองสวยงามเปนอยางย่ิงและจะไดมา
สรางมหาเจดียหลังใหญครอบเจดียหลังนี้จะ
ปรากฏชื่อวา “พระธาตุดอยแชโหว” เวียงหาว
บานปาสัก ตามช่ือของอุบาสก อุบาสิกา สองเฒา
ผวั เมยี ซง่ึ ผผู ัวชอ่ื วา ปแู ช เมยี ช่ือวา ยา โป”

พระพทุ ธเจาไดกลาวตอไปวา
“ในภายภาคหนาคนทั้งหลายท่ีอยูในบานใน
เมืองแหงน้ี จะไดมาสรางบุญกุศล บําเพ็ญบารมี
ธรรม ๓๐ ทศั ณ พระธาตุเจดียแหง น”้ี
หลังจากที่พระพุทธเจาไดทํานายไวแลว
จงึ กลา วกบั พระอานนท ตออกี วา

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๒๑

พระธาตุแชโ หว

แหลงท่ีมา : ศูนยว ัฒนธรรมพ้ืนบา นบา นถ้ํา

“ดูกอนพระอานนท ไมวาจะเปนคนท้ังหลาย
เปนคฤหัสถและนักบวช ท่ีมีความศรัทธาและ
ไดมารว มกันสรางวดั แหง นี้ ไมว า จะมาทาํ บุญกุศล
สรางพระธาตุเจดีย วิหาร กุฏิ ศาลา กําแพง หรือ

ตาํ นานพระธาตุแชโหวแ ละพญาลิ้นกาน ๒๒

ถนนหนทางข้ึนไปยังพระธาตุเจดียเจาแหงนี้ก็ดี
ก็จะเกิดอานิสงสผลบุญแกผูนั้นมากมายจนนับ
ไมถ วน”

“ดูกอนพระอานนท อันวาบุคคลใดมีบุญกุศล
ก็จะไดมาชวยกันสรางวัดแหงนี้ บุคคลใดไมมีบุญ
หาบุญไมไ ดกจ็ ะไมไ ดมาสรา ง ไมไดม าไหวส กั การะ
บูชาพระธาตุเจดียเ จา ที่น่ี”

“ดูกอนพระอานนท ไมวาจะเปนคนทั้งหลาย
เปนคฤหัสถและนักบวช ที่ไดมารวมกันสรางวัด
ก็ดี ไดมาเยี่ยมชมกราบไหวก็ดี ไดมาใหทานก็ดี
ไดมาสักการะบูชาดวยจุดประทีปดวงหน่ึงก็ดี
ดวยดอกไมดอกหนึ่งก็ดี ดวยเทียนเลมหน่ึงก็ดี
ดวยขาวกอนหนึ่งก็ดี ไดยกมือขึ้นไหวดวยมือ
สิบนิ้วก็ดี ก็เสมอดั่งไดไหวบูชาใหทานกับตัวองค
ตถาคตเชนกนั ”

“ดูกอนพระอานนท ไมวาจะเปนคนท้ังหลาย
เปนคฤหัสถและนักบวชคนใดองคใด มีเจตนา
ศรัทธาอุตสาหะบันทึกเขียนธรรมตํานานนี้ไว

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๒๓

ไมวาจะเอาไวกราบไหวบูชา ไมวาจะใหเปนทาน
เผยแผแกคนทั้งหลายเพ่ือไวค้ําชูพระศาสนา
นับเปนธรรมทาน ก็จักไดเสวยผลบุญมากนัก
จะไดถึงความสุข ๓ ประการ คือความสุขในเมือง
มนุษย ความสุขบนสวรรค และความสุขแหง
นิพพานเปนที่สุด หมดสิ้นจากบาปและวิบาก
กรรมเวรทง้ั มวล”

ตอจากน้ันพระพุทธเจาไดกลาวกับสองเฒา
ผัวเมียวา

“ขอใหทา นทง้ั สอง ไดอุปฐากรักษาและกราบ
ไหวบูชายังเกศาธาตุแหงพระตถาคตที่นี่ตอไป
ภายหนา จนหมดอายุไขของทา นทั้งสองเถอะ”

พระองคไ ดก ลาวตอไปวา
“หากแมนวาเมื่อไปเขาไร ไถสวน ทํานา
ปลูกขาว น้ําฟาสายฝนไมตกตองตามฤดูกาล
ดินไมดี พืชผลเห่ียวแหงไมงอกงาม เมื่อถึง
เทศกาลปใหม ในวันพญาวัน ใหนําขาวตอก
ดอกไม ธูปเทียน และน้ําอบนํ้าหอมไปสรงน้ํา

ตํานานพระธาตุแชโหวแ ละพญาลิน้ กา น ๒๔

พระธาตุเจา แลวต้ังจิตอธิษฐานขอน้ําฟาสายฝน
และขอใหดินอุดมสมบูรณพืชผลเจริญงอกงามกบั
พระธาตุเจาทุก ๆ ป ก็จะสมดังคําปรารถนา
ทุกประการ”

คร้ันเมื่อพระพุทธเจาไดกลาวแกสองเฒา
ผัวเมียเสร็จแลว ก็พาพระอานนท พระอนิ ทร และ
พระเจาอโศกเสดจ็ ไปยังดอยถา้ํ ทางทิศตะวนั ออก
ในวนั นน้ั เอง

สุดทายน้ีตํานานพระธาตุแชโหว ดอยเวียง
หาว บานปาสัก เมืองพะเยา ก็ไดจบลงเรียบรอย
แตเพยี งเทา นี้แล

♦♦♦♦♦

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๒๕

บทวิเคราะห

ในการวเิ คราะหตํานานพระธาตุแชโ หวใ นครั้ง
นี้ไดทําการวิเคราะหเกี่ยวกับวัฒนธรรม โดยยึด
หลักการวเิ คราะหแบบสหวิทยาการ ๔ ดาน ไดแ ก
ด า น ค ติ ธ ร ร ม ( Moral) เ น ติ ธ ร ร ม ( Legal)
สหธรรม (Social) และวัตถุธรรม (Material) ซึ่ง
มรี ายละเอยี ดแตล ะดา น ดงั นี้

การวเิ คราะหค ตธิ รรม

คติธรรม คือวัฒนธรรมทางจิตใจที่ไดจาก
ศาสนาที่ยึดถือเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต
จากเรื่องตํานานพญาล้ินกาน สะทอนใหเห็น
คตธิ รรมที่สําคัญ ดงั นี้

๑. สัจธรรม หรืออริยสัจ ๔ ซ่ึงเปนหลัก
คําสอนหนึ่งของพระพุทธเจา แปลวา ความจริง
อันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือ
ความจริงที่ทําใหผูเขาถึงกลายเปนอริยะ มีอยูสี่
ประการ คือ

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาลน้ิ กาน ๒๖

๑) ทุกข คอื สภาพท่ที นไดย าก ภาวะท่ที น
อยูในสภาพเดิมไมได สภาพท่ีบีบค้ัน ไดแก ชาติ
(การเกดิ ) ชรา (การแก การเกา ) มรณะ (การตาย
การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอัน
ไมเปนที่รัก การพลัดพรากจากส่ิงอันเปนที่รัก
ก า ร ป ร า ร ถ น า สิ่ ง ใ ด แ ล ว ไ ม ส ม ห วั ง ใ น ส่ิ ง นั้ น
กลาวโดยยอ ทกุ ขก ็คืออปุ าทานขันธ หรือขันธ ๕

๒) สมุทัย คือ สาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกข
ไดแก ตัณหา ๓ คือ กามตัณหา-ความทะยาน
อยากในกาม ความอยากไดทางกามารมณ,
ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความอยาก
เปนโนน เปน น่ี และวิภวตัณหา-ความทะยานอยาก
ในความปราศจากภพ อยากไมเปน โนน เปนน่ี

๓) นิโรธ คือ ความดับทุกข ไดแก ดับ
สาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกข กลาวคือ ดับตัณหาทั้ง ๓
ไดอ ยางส้ินเชิง

๔) มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นําไปสูหรือ
นําไปถึงความดับทุกข มีองคประกอบอยู ๘

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผน ดิน ๒๗

ประการ หรือมรรคมีองค ๘ ไดแก สัมมาทิฏฐิ-
ความเห็นชอบ, สัมมาสังกัปปะ-ความดําริชอบ,
สัมมาวาจา-เจรจาชอบ, สัมมากัมมันตะ-ทําการ
งานชอบ, สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ, สัมมา
วายามะ-พยายามชอบ, สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ
สัมมาสมาธิ-ต้ังใจชอบ ซ่ึงรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได
วา "มัชฌมิ าปฏิปทา" หรือทางสายกลาง

๒. บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ หมายถึง การกระทําท่ี
เกิดเปนบญุ เปน กุศลแกผกู ระทาํ ๑๐ อยาง ไดแ ก

๑) บุญสําเร็จไดดวยการบริจาคทาน
(ทานมยั )

๒) บญุ สําเรจ็ ไดด ว ยการรักษาศลี (สลี มยั )
๓) บุญสําเร็จไดดวยการภาวนา (ภาวนา
มยั )
๔) บุญสําเร็จไดดวยการประพฤติออน
นอมถอมตนตอผใู หญ (อปจายนมัย)
๕) บุญสําเร็จไดดวยการขวนขวายใน
กิจการทชี่ อบ (เวยยาวัจจมัย)

ตาํ นานพระธาตุแชโ หวแ ละพญาล้นิ กาน ๒๘

๖) บุญสาํ เรจ็ ไดดวยการใหสว นบญุ (ปต ติ
ทานมัย)

๗) บุญสําเร็จไดดวยการอนุโมทนา
(ปต ตานโุ มทนามยั )

๘) บุญสําเร็จไดด ว ยการฟง ธรรม (ธมั มัสส
วนมยั )

๙) บุญสําเร็จดวยการแสดงธรรม (ธัมม
เทสนามัย)

๑๐) บุญสําเร็จไดดวยการทําความเห็นให
ตรง (ทิฏฐชุกัมม)

บญุ กิริยาวัตถทุ ั้ง ๑๐ ประการนี้ ผใู ดไดป ฏบิ ัติ
อยา งใดอยา งหนึ่งหรอื ย่งิ มากจนครบ ๑๐ ประการ
แลว อานิสงสหรือผลบุญยอมเกิดแกผูไดกระทํา
มากตามบุญที่ไดกระทํา ย่ิงไดมีการเตรียมกาย
วาจา ใจ ใหสะอาดบริสุทธ์ิ แลวก็ย่ิงไดรับบุญ
มหาศาลตามความละเอียดประณีตท่ีเขาถึงย่ิง ๆ
ข้นึ ไป ซึง่ ผลบญุ ท่ไี ดร บั นน้ั จะมากหรอื นอยขนึ้ อยู
กบั ปจ จยั หลัก ๔ อยาง คือ

พระราชมงคลวิสทุ ธิ์ พระมหาเถร ๕ แผน ดนิ ๒๙

๑) ผูใหท านถอื ศีลบริสุทธ์ิ
๒) วัตถทุ านไดมาโดยบริสุทธิ์
๓) ผูใหท านมีเจตนาบรสิ ทุ ธ์ิ
๔) ผรู ับทานถือศลี บรสิ ทุ ธิ์
ดังน้ันการใหทานจะไดบุญมากหรือนอยนั้น
นอกจากจะข้ึนอยูกับตัวผูใหทานและวัตถุทาน
แลว ยังขึ้นอยูกับผูรับทานดวยวามีศีลบริสุทธ์ิ
แคไหน หรือเราอาจเคยไดยินเร่ือง “เนื้อนาบุญ”
มาบาง เน้ือนาบุญ เปรียบไดกับ การหวานเมล็ด
ขาว หากหวานลงบนพื้นนาดี ยอมไดผลผลิตมาก
แตหากหวานลงไปบนพื้นนาไมดีหรือบนคอนกรีต
ก็คงไมไดอะไร จากตํานานจะเห็นวาสองเฒา
ผัวเมียชาวไรชาวนาไดทําบุญถวายน้ําผึ้งและ
ลูกสมอแกพระพุทธเจาซึ่งเปนเน้ือนาบุญอยางหา
ท่ีเปรียบไมได อานิสงสผลบุญจึงสงใหมาเกิดเปน
ถึงพญาลน้ิ กาน เจาเมืองเวียงหา วในชาตติ อมา
ตัวอยาง ๑๐ อานิสงสผลบุญจากการทําบุญ
ที่เรามักทาํ กันบอย ๆ มีดงั น้ี

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้ินกา น ๓๐

๑) การบริจาคยารักษาโรค ขาวและ
อาหาร จะสงผลใหผูน้ันมีชีวิตอุดมสมบูรณ
สขุ ภาพแขง็ แรง

๒) การบริจาคเงินชวยเหลือเด็กกําพรา
จะสงผลให กิจการคา รงุ เรือง ครอบครัวอบอนุ

๓) การบริจาคเครื่องนุงหม จะสงผลให
ชาตหิ นา จะมเี ส้ือผา สวย ๆ สวมใสตลอดไป

๔) การบริจาคเงินรวมสรางถนน สะพาน
ศาลาริมทาง จะสงผลใหชีวิตความเปนอยูสะดวก
สมบรู ณ มผี อู ุปถัมภคาํ้ ชู

๕) การบริจาคหนังสือ จะสงผลใหเพ่ิม
วาสนา บารมี สติปญญา เปนที่นับหนาถือตาใน
สังคม

๖) การบริจาคทรัพยสินบานหรือที่ดิน
จะสงผลใหช าติหนาจะไดเปนเศรษฐี มฐี านะมงั่ ค่ัง
รํา่ รวย

๗) ทําบุญสรางโบถส วิหาร หลังคาวัด
จะสงผลให เสรมิ ดวงชวี ติ ใหด ขี นึ้ การงานมั่นคง

พระราชมงคลวิสุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดนิ ๓๑

มีวาสนาสงู สง
๘) ทําบุญสรางพระพุทธรูป จะสงผลให

เสริมอํานาจวาสนาในชาตินี้ จะไดเปนผูบุญหนัก
ศักดิ์ใหญในชาตหิ นา

๙) ทําบุญทอดกฐิน ผาปา จะสงผลให
เสริมดวงชีวติ ใหม ีความสุข มคี วามเจริญรงุ เรอื ง

๑๑) ทําบุญตักบาตร ถวายดอกไม ธูป
เทียน น้ํามันตะเกียง จะสงผลให เสริมดวงชะตา
อุดมความสุข ความเจริญ ชื่อเสียง ลาภยศ
รปู กายงามสมบูรณ

แตสุดทายแลวไมวาเราจะทําบุญดวย
วิธีการใด ถาทําดวยความเต็มใจ ไมหวัง
ผลตอบแทน อานิสงสผลบุญที่ไดก็สงกลับมา
เชนเดยี วกนั

การวเิ คราะหเ นติธรรม

เนติธรรม คือวัฒนธรรมทางกฎหมายและ
ระเบียบประเพณปี ฏบิ ัตทิ ่ียอมรบั กนั เพอ่ื ใหค นอยู

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาลน้ิ กา น ๓๒

รวมกันในสังคมอยางมีความสุข จากเร่ืองตํานาน
พระธาตุแชโหว สะทอนใหเห็นเนติธรรมท่ีสําคัญ
ดังนี้

๑. “พระอินทร ทานจงเอาเกศาธาตุแหง
ตถาคตไปไวทก่ี ลางถา้ํ นัน้ เถอะ”

๒. “เม่ือใดท่ีตถาคตปรินิพพานไปแลว ขอให
ทานไดเอากระดูกยอดจมูกของตถาคต มาบรรจุ
รวมไวก บั พระเกศาธาตใุ นทแี่ หงนี้ดว ย”

๓. “ตอไปในภายภาคหนาเมื่อพระตถาคต ได
ปรินิพพานไปแลว บริเวณในท่ีแหงนี้จะเกิดเปน
บานเปนเมืองท่เี จรญิ รงุ เรอื งขึ้นมา”

จากคํากลาวขางบน ในสวนของประเด็นที่ ๑
และ ๒ เปนคําส่ังของพระพุทธเจา ท่ีส่ังพระ
อานนท พระอินทรและพระเจาอโศกเอาไว ซึ่งผูที่
ไดรับคําสั่งจะตองปฏิบัติตามคําสั่งอยางเครงครัด
สวนประเด็นท่ี ๓ เปนคําทํานายของพระพุทธเจา
ซ่ึงเปนที่ยอมรับของพุทธศาสนิกชนทุกคนวา
จะตองเกิดขน้ึ จรงิ ๆ อยา งไมมขี อโตแยง ขอ สงสยั

พระราชมงคลวิสทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๓๓

ใด ๆ เพราะพระพทุ ธเจา เปนพระสัพพัญตุ ญาณ
หมายถึงพระญาณที่รูสิ่งท้ังปวง พระญาณนี้ไมมี
แกบุคคลทั่วไป นอกจากพระอรหันตสัมมาสัม
พทุ ธเจาเทา นน้ั

วเิ คราะหสหธรรม

สหธรรม คือวัฒนธรรมทางสังคม ท้ังดาน
ภาษา ความเชื่อถือ มารยาท และกิจกรรมตาง ๆ
ในสังคม จากเร่ืองตาํ นานพระธาตุแชโหว สะทอ น
ใหเหน็ สหธรรมท่สี ําคัญ ดงั นี้

๑. คําไหวพระธาตุแชโหว แมวาจะออกเสียง
เปนคําไทยหรือเปนคําเมืองก็ตาม สําเนียงแมจะ
ผิดเพี้ยนแตกตางกันไปบางก็ตาม แตคําไหวบูชา
พระธาตุน้ันก็ยังคงความศักด์ิสิทธิ์ในตัวเองเสมอ
ทั้งนี้ผมู าสกั การะบูชาตองมีความเชอ่ื ความศรัทธา
และตั้งจิตใหม น่ั กอนกลาวคําไหวพระธาตุและเม่ือ
อธษิ ฐานแลวก็จะสมความมุงมาดปรารถนา

ตํานานพระธาตุแชโหวแ ละพญาล้ินกา น ๓๔

๒. ชื่อของพระธาตุแชโหว มาจากชื่อของ
อุบาสก อุบาสิกา สองเฒาผัวเมีย ท่ีนํานํ้าผ้ึงและ
ลูกสมอมาถวายแกพระพุทธเจา ซ่ึงผูผัวชื่อวา
“ปแู ช” เมียช่ือวา “ยาโป”

ช่อื วา “ปูแช” เมยี ชื่อวา “ยาโป”

“แช่” คนเมือง อานวา “แจ” สวนคนไทย
อานวา “แช” คําวา “แจ” กับ “แช” นั้นถึงแม
รูปพยัญชนะกับวรรณยุกตไมเหมือนกันแตจะมี
เสียงวรรณยุกตโทเหมือนกันและความหมายก็
เหมอื นกัน

“โบ้” จะอานวา “โบ” หรือ “โป” ก็ได เม่ือ
พิจารณาดู คําวา “โบ” นั้นจะไมมีความหมายแต
อยางใด สวนคาํ วา “โป” นนั้ คนเมืองจะหมายถงึ
ถังนา้ํ สงั กะสีสําหรบั ใสน ้ํา กค็ ือ “โปน ํา้ ” นนั้ เอง

พระราชมงคลวสิ ทุ ธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๓๕

โปน้ํา

เขาใจวา คําวา “โป”ตอมา สําเนียงเสียง
เรียกก็เพี้ยนเปลย นไปเปน “โหว” ตรงกับตัวเมือง
คือ “โหฯ้” ซึ่งหมายถึง ชอง รู ปลอง เชน คําวา
“ปลองถํ้ากลางดอย” เมื่อนําคําทั้งสองมาประสม
กันก็จะไดคําวา“แช่โหฯ้” ตรงกับคําในธรรม
คัมภรี ใบลาน ดงั น้ี

พระธาตุเจา “แชโหว” ดอยบานปาสัก

ตาํ นานพระธาตุแชโหวแ ละพญาลิ้นกา น ๓๖

ดังนั้นชื่อของ “วัดพระธาตุแชโหว” ก็
สามารถอา นได ๒ แบบ คือ

๑) อานแบบคนไทย จะออกเสียง
สาํ เนียงไทย ตองอานวา “วดั พระธาตแุ ชโหว”

๒) อานแบบคนเมือง จะออกเสียง
สําเนียงเมอื ง ตอ งอา นวา “วัดพระธาตแุ จโ หว”

สวนการเขียนปายน้ันก็ควรเขียนทั้งตัวไทย
กลางและตัวเมือง ใหถูกตองตามหลักวิชาการ
ดังน้ี

วดั พระธาตแุ ชโหว

วฯ� ธาแฯ ชโ่ ห้ฯ

๓. “ฉัพพรรณรังสี”คือสีท่ีแผออกจาก
พระวรกายขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจา มี ๖ สี คือ

๑) สีนีละ - สีเขียวเหมือนดอกอัญชัน คือ
สีนาํ้ เงินนั่นเอง

๒) สีปตะ - สเี หลอื งเหมอื นหรดาลทอง

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถร ๕ แผน ดนิ ๓๗

๓) สโี รหิตะ - สแี ดงเหมือนแสงตะวันออน
๔) สีโอทาตะ - สขี าวเงินยวง
๕) สีมญั เชฏฐะ - สแี สดเหมือนหงอนไก
๖) สีประภัสสร – สีเลื่อมพรายเหมือน
แกว ผลกึ (คือสที งั้ 5 ขางตนรวมกนั )
แสงเหลานี้เรียกอีกอยางวา “วรรณรังสี”
ซงึ่ ท้ัง ๖ สนี ีถ้ ือวา เปนสีมงคลของพุทธศาสนิกชน
ฉัพพรรณรังสีนยี้ งั ใชในธงฉพั พรรณรังสอี กี ดว ย
ธงฉัพพรรณรังสี เปนธงของศาสนาพุทธ
ท่ีใชท่ัวไปเปนสากล ประกาศใหธงนี้เปน
“ธงพุทธศาสนาสากล” เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๒

ธงฉพั พรรณรังสี

ตาํ นานพระธาตุแชโหวแ ละพญาล้ินกาน ๓๘

ธงสัญลักษณของพระพุทธศาสนาท่ีใชใน
ประเทศไทย โดยทั่วไปคือ “ธงธรรมจักร” อัน
หมายถึง ธรรมะที่นําไปสอนในที่ตางๆ แลวยัง
ความสันติสุขใหเกิดข้ึนในที่น้ัน ๆ ลักษณะของ
ธงเปนรูปสี่เหล่ยี มผนื ผาสีเหลอื งแก ตรงกลางเปน
รูปพระธรรมจักรสีแดง คณะสงฆไทยไดประกาศ
ใชธงธรรมจกั รอยางเปน ทางการเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑

ธงธรรมจักร
ในประเทศไทยน้ัน เมื่อมีการประกอบพิธี
สําคัญหรืออยูในวาระสําคัญทางพระพุทธศาสนา

พระราชมงคลวสิ ุทธ์ิ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๓๙

เชน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา ก็จะมีการประดับ
ธงธรรมจกั รรว มกบั ธงชาตไิ ทยอยเู สมอ

๔. การทําบุญท่ีวัดพระธาตุแชโหว มีประเด็น
ที่นาสนใจ ดงั น้ี

๑) “บุคคลใดไมมีบุญ หาบุญไมไดก็จะไมมี
โอกาสไดไปทาํ บญุ ท่วี ัดพระธาตุเจดียแ หง นี้”

ดังน้ันใครก็ตามท่ีเกิดมาแลวแตยังหาบุญ
ไมไดก ็ควรไปทําบญุ ท่วี ัดพระธาตแุ ชโหวแ หง นี้
สกั คร้ังหนึ่งก็จะไดพบบุญและไดช ่อื วาเปนผมู บี ญุ

๒) “บุคคลใดท่ีไดไปรวมกันทําบุญสรา งวัด
แหงนี้ ไมวาจะเปนพระธาตเุ จดีย วิหาร กุฏิ ศาลา
กาํ แพง หรอื ถนนหนทางข้นึ ไปยังพระธาตเุ จดียก็ดี
ก็จะเกิดอานิสงสผลบุญแกผูน้ันมากมายจนนับ
ไมถ ว น”

ดังน้ันหลังจากท่ีเราไดไปทําบุญสรางวัด
แหงน้ีแลว อยาลืมตั้งจิตอธิษฐานขอผลบุญกุศลท่ี
เราไดรับ ชวยดลบันดาลตามที่เราปรารถนา ก็จะ
ประสบแตค วามสาํ เร็จ ความสมหวังทกุ ประการ

ตํานานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้นิ กา น ๔๐

๓) “บุคคลใด ท่ีไดมาเย่ียมชมก็ดี ไดมาให
ทานก็ดี ไดม าสกั การะบูชาพระธาตดุ ว ยจุดประทปี
ดวงหนึ่งก็ดี ดวยดอกไมดอกหน่ึงก็ดี ดวยเทียน
เลมหน่ึงก็ดี ดวยขาวกอนหน่ึงก็ดี ไดยกมือขึ้นไหว
ดวยมือสิบนิ้วก็ดี ก็เสมอด่ังไดไหวบูชาใหทานกับ
ตวั องคต ถาคตเชนกนั ”

เน่ืองจากพระธาตุแชโหวเปนที่ประดิษฐาน
ของพระบรมเกศาธาตุ (เสนผม) และพระบรม
สารีริกธาตุ(กระดูกปลายจมูก) ของพระพุทธเจา
ดังนั้นพระธาตุแชโหวก็เปรียบเสมือนเปนตัวองค
ของพระสัมมาสัมพุทธเจาเอง เพราะฉะน้ันหาก
ใครอยากจะทําบุญถวายทานกับองคสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจาผูเปนเน้ือนาบุญโดยตรง
ก็ใหไปทําบุญถวายทานกับองคพระธาตุแชโหว
ก็จะไดอ านิสงสผ ลบุญมากท่ีสดุ เชน กัน

อีกประการหนึ่งสําหรับนักปฏิบัติธรรม
ท้ังหลาย ที่เจริญอานาปานสติ กําหนดลมหายใจ
เขาออก หากไดมาปฏิบัติธรรมอยูใกลพระธาตุ

พระราชมงคลวสิ ทุ ธิ์ พระมหาเถร ๕ แผนดิน ๔๑

ธาตุเจดียแหงนี้ซ่ึงเปนท่ีบรรจุสวนของกระดูก
ปลายจมูกของพระพุทธเจาเอาไว ก็เปรียบเสมอื น
ตัวทานไดมาปฏิบัติธรรมเจริญอานาปนสติอยู
ใกลชิดกับองคสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจานัน้ เอง

๔) “บุคคลใดมีเจตนาศรัทธาอุตสาหะ
บันทึกเขียนธรรมตํานานนี้ไว ไมวาจะเอาไว
กราบไหวบูชา ไมวาจะใหเปนทานเผยแผแกคน
ทั้งหลายเพ่ือค้ําชูพระศาสนา นับเปนธรรมทาน
ก็จักไดเสวยผลบุญมากมาย จะไดถึงความสุข ๓
ประการ คือความสุขในเมืองมนุษย ความสุข
บนสวรรค และความสุขแหงนิพพานเปนท่ีสุด
หมดสนิ้ จากบาปและวิบากกรรมเวรท้งั มวล”

ดังน้ันญาติโยมทั้งหลายที่ไดมารวมกัน
จัดทําและพิมพเผยแพรหนังสือเรื่องตํานาน
พญาลิ้นกานเลมนี้ ไมวาจะเปนการถวาย
ในรูปของปจจัยเงินทอง แรงกาย แรงใจและ
แรงสติปญญา เพ่ือถวายเปนธรรมทานในคร้ังนี้
ก็จะไดเสวยผลบุญกุศลมากมายท้ังชาตินี้และ

ตาํ นานพระธาตแุ ชโ หวแ ละพญาล้นิ กาน ๔๒

ชาติหนา ทานจะพบแตความสุขความเจริญ
ลูกหลานที่เกิดมาก็จะเปนคนมีวาสนาบารมี
มีสติปญญาดี เชื่อฟงในถอยคําท่ีพร่ําสอน
หอมลอมดวยกัลยาณมิตรและเปนคนดี เปนที่
นบั หนา ถือตาในสงั คม

สวนใครที่เคยทําบาปกรรมไวไมวาในท่ีลับ
หรือท่ีแจง ไมวาชาตินี้หรือชาติไหน เปนคนมี
วิบากกรรมติดตัว มีเจากรรมนายเวรคอยติดตาม
เลนงาน คือมีแตเรื่องเจ็บไขไดปวย เรื่องทุกขอก
ทุกขใจ มีแตเรื่องราวไมดีไมงามเขามาในชีวิต
หาความสุขไมได หากไดมาชวยจัดทําหรือพิมพ
หนังสือเผยแพร เพื่อเปนธรรมทาน ก็นับวาเปน
การ “แกกรรม” อีกรูปแบบท่ีจะชวยเหลือคนให
หมดสน้ิ จากบาปและวิบากกรรมเวรทงั้ มวลได

การวเิ คราะหวัตถุธรรม

วัตถุธรรม คือวัฒนธรรมทางวัตถุและสิ่งท่ีมี
ประโยชนที่ไดสรางขึ้น จากเรื่องตํานานพระธาตุ
แชโหว สะทอนใหเ ห็นวตั ถุธรรมทีส่ าํ คัญ ดงั นี้


Click to View FlipBook Version