คานา
หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เลม่ นีจ้ ดั ทาขึ้นเพ่อื เปน็ หนังสอื เกีย่ วกับการเรียนรู้ประเพณตี า่ งๆของภาคต่างๆ
ในประเทศไทย รวมท้งั ยงั สามารถทราบว่าประเพณีน้เี ปน็ ของภาคอะไรและและมีประวตั ิความเป็นมาอยา่ งไร
และจัดขนึ้ เพื่ออะไรเพื่อให้คนทอี่ า่ นหนงั สอื เล่มน้ไี ด้อา่ นและสบื ทอดไปยังรุ่นตอ่ ๆไปเกยี่ วกบั หลงั สือเลม่ น้ี
รวมทงั้ ยงั สามารถไปปรับใชไ้ ด้อีกดว้ ย
นายธวัชชัย บุญสง่
ผจู้ ัดทาหนงั สือเล่มน้ี
ประเพณขี องภาคต่างๆ
ประเพณปี ระจาภาคเหนือ
1. ประเพณีย่เี ปง็
ประเพณียี่เป็ง หรือ ประเพณีเดือนย่ี คอื ประเพณลี อยกระทงแบบลา้ นนาโดยคาวา่ ยี่ แปลว่า สอง
สว่ น เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรอื คืนพระจันทร์เต็มดวง ซ่ึงหมายถงึ ประเพณใี นวนั เพญ็ เดอื นสองของชาวลา้ นนา ซงึ่
ตรงกับเดือนสบิ สองของไทย
งานประเพณีจะมีสามวนั คอื
วนั ขน้ึ สบิ สามค่า หรอื วันดา เปน็ วนั ซื้อของเตรยี มไปทาบุญทว่ี ัด
วันข้นึ สิบส่คี า่ จะไปทาบญุ กันท่ีวัด พรอ้ มทากระทงใหญ่ไวท้ ่วี ดั และนาของกนิ มาใส่กระทงเพอื่ ทาทาน
ใหแ้ ก่คนยากจน
วนั ข้ึนสิบหา้ ค่า จะนากระทงใหญ่ท่ีวดั และกระทงเล็กส่วนตัวไปลอยในลานา้
ในชว่ งวันย่เี ป็งจะมกี ารประดับตกแต่งวัด บ้านเรอื น ทาประตปู า่ ดว้ ยต้นกล้วย ต้นออ้ ย ทางมะพร้าว
ดอกไม้ ตุง ช่อประทปี และชกั โคมยเี่ ป็งแบบต่าง ๆ ข้ึนเป็นพทุ ธบูชา และมกี ารจุดถว้ ยประทีป(การจดุ ผาง
ปะต๊บี ) เพื่อบูชาพระรัตนตรยั และมีการจุดโคมลอยปล่อยขึ้นส่ทู ้องฟา้ เพ่ือบชู าพระเกตแุ ก้วจฬุ ามณบี นสรวง
สวรรค์ช้ันดาวดึงส์
ความสาคญั ของประเพณียีเ่ ป็ง ตามวัฒนธรรมของล้านนาจะแบง่ โคมไฟออกเป็น 4 แบบ คอื
แบบแรกเรยี ก "โคมติ้ว" หรอื โคมไฟเล็กทหี่ อ้ ยอย่กู บั ซีกไม้ไผซ่ ่ึงผคู้ นจะถอื ไปในขบวนแหแ่ ละนาไป
แขวนไวท้ ีว่ ดั
แบบท่ีสองเรยี ก "โคมแขวน" ที่ใช้แขวนบูชาพระพุทธรูปแบบดว้ ยกนั เช่น รูปดาว รปู ตะกร้า โดยปกติ
จะใชแ้ ขวนตามวัดหรือตามห้งิ พระกไ็ ด้
แบบที่สามเรียก "โคมพัด" ทาดว้ ยกระดาษสาเปน็ รูปกรวยสองอนั พันรองแกนเดียวกันดา้ นนอกจะไมม่ ี
ลวดลายอะไรสว่ นด้านในจะตดั แต่งเปน็ รูปทรงตา่ งๆ ในทางพทุ ธศาสนา
เมือ่ จดุ โคมดา้ นใน แสงสว่างจะทาให้เกิดเงาบนกรวย ดา้ นนอกก็จะเคล่อื นไหวคล้ายตัวหนังตะลุง
แบบสุดทา้ ยเรียก "โคมลอย" เป็นโคมใหญม่ ีรปู รา่ งคล้ายบอลลูน ตัวโครงทาจากซีกไมไ้ ผ่หุ้มดว้ ย
กระดาษสา เมื่อจดุ โคม ความร้อนจากเปลวไฟ จะทาให้โคมลอยตวั ขน้ึ
การปลอ่ ยโคมลอยนจี้ ะ ทากันท่ีวดั หรือตามบา้ นคน โดยเชือ่ กนั ว่าโชคร้ายทงั้ หลายจะลอยไปกับโคม
2. ประเพณีอมุ้ พระดาน้า
ประเพณอี มุ้ พระดาน้า เปน็ ประเพณีท่ชี าวจงั หวดั เพชรบูรณ์ ได้รว่ มมอื กนั จดั ขนึ้ ในวันแรมสบิ หา้ ค่า
เดือนสบิ ซ่งึ ประวัตคิ วามเปน็ มาของประเพณอี ุ้มพระดาน้ากค็ ือ เม่อื ประมาณ 400 ปที ผ่ี า่ นมามีชาวบา้ นกลุ่ม
หนง่ึ มอี าชพี หาปลาขาย และได้ไปหาปลาท่แี มน่ า้ ป่าสกั เปน็ ประจาทกุ วนั อยู่มาวนั หนง่ึ ก็ได้เกิดเร่อื งทีไ่ มม่ ใี คร
ใหค้ าตอบไดว้ ่า เกดิ อะไรขึน้ เพราะวันนนั้ ไม่มใี ครจับปลาได้สักตวั จากน้ันกเ็ กิดเหตกุ ารณป์ ระหลาดข้นึ ตรง
บริเวณ วงั มะขามแฟบ (ไมร้ ะกา) ซึง่ ปกติบรเิ วณนน้ี ้าจะไหลเชยี่ วมาก จู่ ๆ นา้ ก็หยุดไหล และมีพรายน้าผุด
ข้นึ มาพร้อมกบั พระพุทธรปู ชาวบา้ นจึงอัญเชิญพระพทุ ธรปู องค์ดังกล่าว ขึ้นจากน้าและนาไปประดิษฐานไว้ท่ี
วัดไตรภูมิ เป็นพระพุทธรปู คบู่ า้ นคู่เมืองของจังหวัดเพชรบรู ณ์ จนกระทง่ั ถึงวนั สารทไทยหรือ วนั แรม 15 คา่
เดอื นสบิ พระพุทธรูปองค์ดงั กล่าว (พระพทุ ธมหาธรรมราชา) ก็ไดห้ ายไปจากวัด ชาวบ้านจงึ ช่วยกันตามหา
และเจอพระพทุ ธรปู อย่บู รเิ วณวังมะขามแฟบ จากนน้ั เปน็ ต้นมา พอถงึ วันแรม 15 ค่าเดอื น 10 ชาวจังหวดั
เพชรบรู ณ์ กจ็ ะจัดงานซึง่ เรยี กว่า “อุ้มพระดาน้า” ตั้งแตว่ นั ท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2522 เปน็ ต้นมา
3. ประเพณีทานขันข้าว
ความเปน็ มา
ประเพณี ทานขนั ข้าวน้ี เปน็ ประเพณีการทาบญุ เพอ่ื อทุ ิศสว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ู้วายชนมไ์ ปแลว้ ซ่ึงมี
มาแต่โบราณกาล ซ่ึงบรรพบรุ ษุ ของเราทา่ นทากนั สืบๆมาจนถึงปัจจุบนั นี้ นบั เปน็ เวลาหลายรอ้ ยปที เี ดยี ว
เป็นวฒั นธรรมทีแ่ สดงถงึ ความกตญั ญูอกี แบบหนึ่งของชาวไทย โดยนาสารบั กับขา้ วไปถวายวัดในวันเทศกาล
สาคญั เช่น สงกรานต์ เขา้ พรรษาและออกพรรษา หรอื ทาบุญอุทศิ ส่วนกศุ ลในโอกาสอืน่ ๆ
พธิ ีทานขันขา้ วนี้ คอื เป็นการทาบุญอทุ ิศไปใหผ้ ทู้ ตี่ ายไปแลว้ นั่นเอง เริม่ ตน้ ดว้ ยการจดั หาข้าว
ปลาอาหารคาวหวาน น้าเปลา่ ดอกไม้ ธูป เทียน ไปหาพระคณุ เจา้ ท่วี ดั ท่ที ่านเปน็ ผ้ทู าพิธนี ีไ้ ด้เป็นอยา่ ง
ดี ทา่ นจะเปน็ ผกู้ ล่าวคาอุทศิ ไปหาผ้ตู ายใชเ้ วลาทาพิธีนร้ี ายละประมาณ ๑๕ นาที บางทีจะมผี มู้ าทานขวญั
ข้าวนถ้ี งึ ๑๐-๒๐ รายพรอ้ มกนั พิธนี ีจ้ ะมีแต่เฉพาะถนิ่ ไท-ยวน เทา่ น้นั โดยมากจะทากนั ในวันพระ
เทา่ น้นั เพราะเช่ือกนั ว่าญาตทิ ต่ี ายไปแลว้ นน้ั จะมารอรบั ข้าวปลาอาหารในวนั พระเทา่ นน้ั และจะทากันใน
เทศกาล เชน่ เทศกาลวันขน้ึ ปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ เทศกาลเข้าพรรษา เทศกาลทาบญุ สราท (กระยาส
ราท) และถิ่นไท-ยวน ยังเชอื่ กันอีกวา่ ถา้ ญาติทต่ี ายไปแล้วนน้ั มาแล้ว แตไ่ มม่ ใี ครทาทานขวญั ข้าวไปให้ ผู้ท่ี
ตายหรือญาตทิ ่ตี ายเหล่านี้ กลับไปจะพากันรอ้ งไห้ร้องห่มเพราะความหวิ แต่ไม่ได้กนิ ระหวา่ งร้องไห้นั้นเขากจ็ ะ
แชง่ ด่าไปด้วยให้ผู้ทย่ี งั อยู่มอี นั เป็นไปต่างๆประเพณี ทานขวัญขา้ วนี้จงึ ถือวา่ มีความสาคญั ต่อชวี ิตการเป็นอยู่
เหมือนกนั
ความเชือ่
นอกจากการทาบญุ ทานขนั ขา้ วแก่ผู้ลว่ งลับตามเทศกาลสาคัญดงั กลา่ วแล้ว ตามความเช่อื ของของคน
โบราณยงั นยิ มทานขนั ขา้ วอีกลกั ษณะหนึ่ง ได้แก่ หลังจากมีผู้เสยี ชีวิต ไมว่ า่ จะเปน็ พอ่ แม่ญาตพิ ่ีน้อง กจ็ ะ
เตรยี มขันขา้ ว (อาหารคาว หวาน) นาไปถวายแด่พระสงฆใ์ นวดั ท้งั ตอนเช้าและตอนกลางวัน พระสงฆจ์ ะกล่าว
อุทิศสว่ นกุศลทีญ่ าตทิ าให้แกผ่ ูต้ ายพร้อมกับหยาดน้า (กรวดนา้ ) ความเชือ่ เร่ืองการทานขันขา้ วอุทศิ แก่ผูต้ าย
น้ันไดร้ ับอิทธิพลมาจากเร่อื งราวในคมั ภีร์ทางพุทธศาสนา เชน่ ในเรื่องพระมาลยั ได้กล่าวถึงพระมาลัยเถระไป
พบกับพระยายมราชในนรก พระยายมราชสง่ั มาบอกแก่ประชาชนในชมพูทวปี ขออุทิศกุศลให้ญาติพี่นอ้ งที่มา
ทุกขท์ รมานในนรก
นอกจากนี้ ชาวไท-ยวนยงั มคี วามเชอ่ื นับถอื เทพยดาทีค่ อยปกปักรกั ษาตนและครอบครัว จึงมี
ประเพณกี ารทานขนั ขา้ วแก่เทพยดาทั้งหลายดว้ ย เชน่ ขอพรจากพระแม่ธรณใี หค้ ้มุ ครองเวลาเดินทาง ให้ตน
ประสบความสาเร็จในสงิ่ ทห่ี วงั อาจเปน็ การสอบเรยี นต่อ การทางานหรอื ขอใหพ้ ระแมโ่ พสพคุ้มครองพืชผล
ใน
เรอื กสวนไรน่ าใหเ้ จริญงอกงาม ปราศจากภยั รบกวน เม่อื ถึงเทศกาลสาคญั โดยเฉพาะวนั สงกรานต์ ก็จะจดั
สาหรบั ไปถวายพระสงฆเ์ พ่อื อุทศิ ไปยงั สิ่งศกั ด์ิสิทธท์ิ ีต่ นนับถือ บางครงั้ ชาวบ้านยงั นิยมนาขนั ขา้ วไปวางไว้ยัง
สถานทีอ่ ยขู่ องพระแมธ่ รณีดว้ ย (ชาวบ้านจะขุดหลุมลึกประมาณ ๑ ศอก กว้างพอประมาณ นาแผน่ ไม้
กระดานปิดไว้ เวลาตอ้ งการสิ่งใดกจ็ ะไปขอพรจากพระแมธ่ รณี ณ ทีต่ รงนนั้ )
อตั ลักษณท์ โ่ี ดดเด่น
การทานขนั ข้าว กอ่ นวันทาบุญ มีการจดั เตรยี มอาหาร หวาน คาว นาเอาใบตองมาเยบ็ ทาสวย
(กรวย) สาหรบั ใส่ดอกไม้ ธปู และเตรยี มขวดน้าหยาด (สาหรบั กรวดน้า) รงุ่ ขนึ้ อนั เป็นวนั ทาบญุ เวลา
ประมาณ ๖.๓๐-๘.๐๐ น. ทกุ ครวั เรอื นเตรียมอ่นุ อาหารและบรรจุใส่ปนิ่ โต พร้อมทงั้ สวยดอกไม้และนา้ หยาด
บางบา้ นอาจเขียนช่ือผทู้ ีต่ นตอ้ งการจะ ทานไปหา (อุทศิ ส่วนกุศลไปให้) ลงในกระดาษ จากนัน้ คนในครอบครัว
จะช่วยกันหิ้วปิ่นโตไปวัด สาหรับวัดจะจดั สถานท่ีสาหรบั ให้ศรทั ธาชาวบา้ นนาปิน่ โตมาถวาย การประเคน
ปิน่ โต มกั จะเอาสวยดอกไม้เสียบไปพร้อมกับปิน่ โต บา้ นที่มีกระดาษจดรายชือ่ ผทู้ ่จี ะทาบุญไปใหก้ จ็ ะเอา
กระดาษเหน็บติดไปกบั ปิน่ โตด้วย พรอ้ มกนั น้นั ก็เทนา้ หยาดจากขวดใส่ลงในขันทว่ี างอยหู่ น้าพระสงฆ์ เม่อื
ศรัทธาชาวบ้านมากนั พอสมควรแล้ว พระสงฆก์ ็จะมโี วหารกล่าวนาการทาบญุ และใหพ้ ร ซงึ่ เป็นการแสดง
ความชืน่ ชมทีศ่ รทั ธาชาวบา้ นไดช้ ว่ ยกนั รักษาจารีตแต่โบราณ กลา่ วถงึ ผู้รับของทาน พระสงฆ์อ่านชอ่ื ผ้ลู ่วงลบั
ตามทศ่ี รัทธาเขียนมาในแผ่นกระดาษ ส่วนบางคนทีไ่ ม่ไดเ้ ขยี นมา กจ็ ะเอ่ยว่าการทานครง้ั นี้มไี ปถงึ บรรพบรุ ษุ
เจา้ กรรมนายเวร เทวบตุ ร เทวดา แมพ่ ระธรณี เจา้ ทีเ่ จ้าทาง สรรพสตั ว์ ฯลฯ กล่าวให้มารับของทาน มารับ
เอาทานคร้ังนี้ หากมารับไมไ่ ด้ ใหผ้ ใู้ ดผู้หนึ่งเปน็ ผ้นู าไปให้ อวยพรให้แก่ผมู้ าทาบญุ ทานขันขา้ วกลา่ วยถา สพั
พี ในการให้พรนัน้ หลังจากจบคาว่า อายุ วัณโณ สุขัง พลงั ศรทั ธาชาวบ้านจะกล่าวสาธุพรอ้ มกัน จากนน้ั
จงึ รบั เอาป่นิ โตไปให้สามเณรหรอื เจ้าหน้าที่จดั การเทอาหารออก เป็นอนั เสร็จพิธที าน
ความสาคัญและคณุ คา่ ทางสงั คม จิตใจ วิธกี ารดาเนินชีวติ ของชุมชน
การทานขันขา้ ว นอกจากจะเปน็ การทาบุญ ทแี่ สดงถงึ ความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษแลว้
การประกอบอาหารกด็ ี การไปทาบุญร่วมกนั ท่ีวดั กด็ ี เป็นกิจกรรมทที่ าใหค้ รอบครัวเกดิ ความรกั ความอบอนุ่
ประการสาคญั การพาเด็ก ๆ ไปทานขนั ขา้ วทว่ี ัด นอกจากจะเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมการทาบญุ
แล้ว ยังเป็นการสืบทอดในเรื่องความกตัญญูตอ่ บรรพบุรุษ โดยไมต่ ้องใชว้ ิธอี บรมสัง่ สอน แต่เป็นวธิ ีท่ีผูใ้ หญไ่ ด้
ปฏิบัตติ นให้ลูกหลานไดเ้ ห็นเปน็ ตัวอย่าง ซ่งึ เปน็ วิธสี ืบทอดหรอื การสอนท่ดี ที ส่ี ดุ วธิ หี น่งึ โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งมีการ
พูดแตอ่ ย่างใด
การทานขนั ขา้ วยงั ใช้เพื่อการแทนคุณผู้เฒา่ ผแู้ กท่ ่นี ับถอื ชาวบา้ นเรียกว่า ทานขันข้าวใหค้ นเฒ่าคน
แก่ มีวธิ ีการอย่างเดียวกบั การถวายพระ กลา่ วคอื ผ้ใู หห้ รอื ลูกหลานนาอาหารไปประเคนให้ผรู้ ับ หรอื ปู่ ยา่
ตา ยาย จากน้ันผู้เฒ่าผแู้ กก่ ็ให้พร ต่างจากการถวายพระสงฆค์ ือ ไม่อุทศิ แก่ผู้ลว่ งลับ
การจัดเตรยี มอาหารสาหรบั การทานขนั ขา้ วในเทศกาลต่าง ๆ เป็นสง่ิ ท่ชี าวบา้ นทุกคนเตรยี มพรอ้ ม
และเต็มใจอยา่ งยิ่ง โดยชาวบ้านจะหยุดงานภารกิจสาคญั ตา่ ง ๆ ของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นงานในเรือกสวน ไร่
นา มกี ารจัดเตรียมอาหารเพื่อไปทาบุญในวันร่งุ ข้ึน ผชู้ ายกจ็ ะเป็นผ้ชู ว่ ย ผู้หญิงจะเป็นผู้ทาอาหารคาว
หวาน เดก็ ๆ กว็ ่งิ เลน่ และรอกนิ ขนมอรอ่ ย หลังจากทาอาหารอร่อยเสรจ็ แลว้ ก็จะแบ่งส่วนหนง่ึ ไว้สาหรับ
นาไปทานขนั ขา้ ว สว่ นท่ีเหลือกก็ นิ กันในครอบครวั และแบง่ ปันญาติมติ ร บ้านใกลเ้ รอื นเคียง ทุกบ้านกจ็ ะทา
อยา่ งน้ี จึงทาให้ไดล้ ม้ิ รสอาหารหลากฝีมือทง้ั จากของตนเองและผูอ้ ืน่
ประเพณปี ระจาภาคกลาง
1. ประเพณตี ักบาตรดอกไม้
ประเพณีตักบาตรดอกไมม้ ตี านานมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยมีเรอื่ งเลา่ ว่า นายสมุ นมาลาการ เปน็ ชาวเมืองรา
ชคฤห์ เขามหี นา้ ทนี่ าดอกมะลิไปถวายพระเจา้ พิมพสิ ารวนั ละ 8 ทะนาน ทกุ วัน และจะได้ทรัพยว์ นั ละ 8
กหาปณะ ตอ่ มาเชา้ วันหนงึ่ ขณะทเ่ี ขากาลงั ถอื ดอกไม้จะเข้าประตเู มือง เปน็ เวลาทพี่ ระพุทธเจ้าเสด็จออก
บิณฑบาตพร้อมด้วยภกิ ษุสงฆ์ เขาเหน็ พระพทุ ธเจา้ แลว้ เกดิ ความเล่อื มใส จึงถวายดอกไมด้ ้วยดอกไมท้ จี่ ะนาไป
ถวายพระราชาโดยมคี วามคิดว่า แม้จะตอ้ งตายดว้ ยโทษประหารกย็ อม ชาวเมืองทราบดังนัน้ จงึ พาการโหร่ ้อง
สรรเสรญิ เป็นอนั มาก มีเพยี งภรรยาของเขาทไี่ ม่พอใจ ภรรยาจึงนาความน้นั ไปกราบทูลพระเจ้าพมิ พิสาร แต่
พระเจา้ พมิ พิสารเป็นพระโสดาบัน นอกจากจะไม่โกรธแล้ว ยังนาความนีก้ ราบทูลพระพุทธเจ้าอกี ที
พระพทุ ธเจ้าไดก้ ล่าวสรรเสรญิ นายสุมนมาลาการ ทาให้นายสุมนมาลาการได้รบั ของพระราชทานจากพระ
เจา้ พิมพิสารถงึ 8 ชนดิ คอื ชา้ ง มา้ ทาส ทาสี เครือ่ งประดบั นารี อย่างละแปด ทรพั ย์อีก 8 พนั กหาปณะ และ
บ้านสว่ ยอกี 8 ตาบล ครน้ั กลับถึงวดั พระอานนทไ์ ด้กราบทลู ผลบุญที่นายสุมนมาลาการจะพึงได้รับ พระพุทธ
องค์ตรสั ว่า นายสุมนมาลาการไดส้ ละชีวิตบูชาพระองคใ์ นครง้ั น้ีจกั ไม่ไดไ้ ปเกดิ ในนรกตลอดแสนกลั ป์
2. ประเพณีตักบาตรเทโว
การตักบาตรเทโวเปน็ ประเพณที ่ีสบื ทอดกันมาอย่างยาวนาน ตักบาตรเทโว หรือเรยี กวา่ การตกั บาตร
เทโวโรหณะ ซง่ึ คาวา่ "เทโว” ยอ่ มาจาก "เทโวโรหณะ” แปลว่า การเสดจ็ จากเทวโลก การตกั บาตรเทโวจึงเป็น
การระลึกถึงวันทพ่ี ระพทุ ธองคเ์ สด็จกลบั จากการโปรดพระพทุ ธมารดาในเทวโลก ประเพณีการทาบุญกุศลเนื่อง
ในวันออกพรรษานี้ ทกุ วดั ในประเทศไทย ก็จะมกี ารจดพิธีการตกั บาตรเทโวน้ี
ตกั บาตรเทโว หรือตกั บาตรเทโวโรหณะ เปน็ วันท่พี ระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ ช้ันดาวดึงสใ์ นเวลา
เช้าวันแรม 1 ค่า เดือน 11 หลังจากทีพ่ ระองคท์ รงจาพรรษาทีน่ ั้นเปน็ เวลา 3 เดอื น ความสาคญั ของวันเทโว
โรหณะ เปน็ วันทีม่ กี ารทาบญุ ตักบาตรทพี่ ิเศษวนั หนงึ่ กล่าวคือ ในพรรษาหนงึ่ พระพทุ ธเจ้าไดเ้ สด็จไปยงั สวรรค์
ช้ันดาวดึงส์แสดงพระอภิธรรมโปรด พระมารดา และทรงจาพรรษาท่ีนัน้ พอออกพรรษาก็เสด็จลงจากเทวโลก
นั้นมายงั โลกมนษุ ย์ โดยเสด็จลงทเี่ มืองสังกสั ส์ ใกลเ้ มืองพาราณสี ชาวบ้านชาวเมอื งทราบขา่ วก็พากันไปทาบญุ
ตักบาตรพระพทุ ธองค์ท่ีน้ัน และเปน็ การรบั เสด็จพระพุทธองค์ด้วย กลา่ วกันว่า ในวันนีไ้ ด้เกิดเหตุอัศจรรย์ คอื
เทวดา มนุษย์ และสัตวน์ รก ตา่ งมองเหน็ ซึ่งกนั และกัน จึงเรียกวนั นอี้ กี ช่อื หนึ่งวา่ "วันพระเจา้ เปิดโลก” คอื
เปดิ ให้เห็น กนั ทง้ั 3 โลกนน้ั เอง
การตักบาตรรับเสด็จพระพุทธเจ้าไดป้ ฏิบัตสิ บื เนอ่ื ง ตอ่ กนั มาเป็นประเพณี จนถึงเมอื งไทย จงึ เรยี ก
ประเพณีนี้ ว่า การตกั บาตรเทโวโรหณะ เพ่ือให้สะดวกในการส่ือความหมายนยิ มสนั้ ๆ วา่ การตกั บาตรเทโว
ดว้ ยเหตุนี้ วนั เทโวโรหณะจงึ เรยี กอกี ช่อื หนง่ึ วา่ วันตกั บาตรเทโว และเม่อื ถงึ วนั ตักบาตรเทโว พทุ ธศาสนิกชน
นิยมไปทาบุญตักบาตรกนั ท่ีวัด โดยแต่ละทีจ่ ะเตรยี มของไปทาบญุ ในแบบท่ีอาจตะแตกต่างกันไปข้ึนอยกู่ ับท่ี
สดั ในแตล่ ะท่ี เช่น เตรียมอาหารในตอนเช้า อาหารทีเ่ ตรียมเพอื่ ตักบาตรเป็นพเิ ศษในวันน้ี คอื ขา้ วต้มมัด และ
ข้าวตม้ ลูกโยน วัดบางวดั อาจจะจาลองสถานการณว์ ันที่ พระพุทธเจ้าเสดจ็ ลงจากเทวโลกชน้ั ดาวดงึ ส์ คอื
ประชาชนจะนง่ั หรอื ยืนสองฝง่ั ทางลงจากอโุ บสถ หรอื ศาลา ใหพ้ ระสงฆ์เดนิ เขา้ แถวเรยี งลาดับรับบาตรตรง
กลาง โดยมมี ัคนายก เดินอัญเชิญพระพทุ ธรปู นาหน้าแถวพระสงฆ์ หลกั จากตกั บาตรแล้ว มีการอาราธนาศีล
สมาทานศลี และรักษาศลี ฟังธรรมและทาสมาธติ ามโอกาส เพอื่ ทาใหจ้ ติ ใจบรสิ ุทธิ์ผอ่ งใส แผ่เมตตา และ
กรวดนา้ อุทศิ สว่ นกุศลให้กบั ญาติ ผู้ลว่ งลบั และสรรพสัตว์
โดยในปนี ้ไี ดม้ ีการจัดงานตักบาตรเทโว ที่ วดั สังกัสรตั นคีรี เขาสะแกกรงั อ.เมอื ง จ.อุทยั ธานี โดย
ภายในงานมี การแสดงแสง สี เสยี ง พร้อมรับประทานอาหารสารบั คาว-หวาน พธิ ีตักบาตรเทโว ขา้ วสาร
อาหารแหง้ ข้าวต้มลูกโยน การแสดงโตะ๊ หมบู่ ูชาประดับงาชา้ ง ประเพณตี ักบาตรเทโวทีว่ ัดสังกสั รัตนครี ี
จงั หวัดอุทัยธานี เปน็ งานประเพณี ทเ่ี ปน็ เอกลักษณส์ าคัญของจังหวดั และจดั ได้สอดคล้องกับตานานมาก โดย
สมมติ ให้มณฑปที่ประดษิ ฐานรอยพระพุทธบาทจาลอง ซ่ึงตง้ั อย่บู นยอดเขาสะแกกรงั เป็น "สริ ิมหามายากุฎา
คาร” มบี ันไดทอดยาวจากมณฑปลงสู่บริเวณลานวดั สังกัสรัตนครี ี ซ่ึงอยเู่ ชงิ เขาสะแกกรัง เปรยี บเสมือนบันได
ทพิ ย์ที่ทอดยาวจากสวรรคด์ าวดึงส์ สู่เมืองสังกัสนคร
3. ประเพณเี ผาเทียนเลน่ ไฟ
ประวตั คิ วามเป็นมา เดมิ เช่ือกนั ว่าประเพณลี อยกระทง เริ่มมมี าแต่ สมัยสุโขทัย ในรชั สมัยพอ่ ขนุ รามคาแหง
โดยมีนางนพมาศหรือท้าว ศรจี ฬุ าลกั ษณ์ เป็นผปู้ ระดษิ ฐก์ ระทงขน้ึ ครงั้ แรก โดยแตเ่ ดิมเรียกว่า พธิ จี องเปรยี ง
ที่ลอยเทยี นประทปี และนางนพมาศไดน้ าดอกโคทม ซ่ึงเปน็ ดอกบัวทบี่ านเฉพาะวนั เพ็ญเดือนสิบสอง มาใชใ้ ส่
เทยี นประ ทปี แตป่ ัจจบุ นั มีหลักฐานวา่ ไม่นา่ จะเกา่ กวา่ สมยั รัตนโกสินทรต์ อน ตน้ โดยอ้างองิ หลักฐานจากภาพ
จิตรกรรมการสรา้ งกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลท่ี 1 ปัจจุบันวันลอยกระทงเปน็ เทศกาลทส่ี าคญั ของ ไทย ท่ี
มนี ักท่องเท่ียวท้งั ชาวไทยและตา่ งประเทศมาเที่ยวปีละมากๆ ทัง้ น้ใี นชว่ งเวลาดงั กล่าวมักจะเปน็ ช่วงต้นฤดู
หนาว และมอี ากาศดี ในวันลอยกระทง ยงั นยิ มจดั ประกวดนางงาม เรยี กวา่ "นางนพมาศ" ประเพณีลอย
กระทงน้ันมมี าแต่โบราณ โดยมีคตคิ วามเชือ่ หลายอย่าง เช่น เชอื่ ว่าเป็นการบชู าและขอขมา แม่พระคงคาเปน็
การสะเดาะเคราะห์ เป็น การบชู าพระเจ้าในศาสนาพราหมณ์ หรือเปน็ การบูชารอยพระพุทธบาท เป็นตน้ การ
ลอยกระทงนิยมทากนั ในวนั เพญ็ เดอื น 12 ของทกุ ๆ ปี อันเปน็ ช่วงทนี่ ้าในแมน่ ้าลาคลองขึ้นสูง
ความเช่อื เกยี่ วกับวันลอยกระทง
เป็นการขอขมาพระแม่คงคาทีม่ นษุ ย์ได้ใชน้ า้ ได้ดืม่ กนิ นา้ รวมไปถึงการท้งิ ส่ิงปฏกิ ลู ต่างๆ ลงในแม่ นา้
เปน็ การสักการะรอยพระพุทธบาท ทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงไดป้ ระทับรอยพระบาทไวห้ าดทรายแม่น้า
นมั มทานที ในประเทศอนิ เดีย
เปน็ การลอยความทุกข์ ความโศกรวมถงึ โรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแมน่ ้า
ชาวไทยในภาคเหนอื มีความเช่อื ว่า การลอยกระทงเปน็ การบูชาพระอปุ คตุ ตามตานานเล่าวา่ พระอปุ
คุตทรงสามารถปราบพระยามารได้
ประวตั ิความเป็นมาประเพณลี อยกระทง
ลอยกระทง (Loi Krathong Day) เปน็ ประเพณขี องไทยทีป่ ฏิบตั สิ บื ตอ่ กันมาแต่โบราณ งานลอย
กระทง เร่มิ ทาตงั้ แต่ กลางเดอื น 11 ถึง กลางเดอื น 12 ซ่งึ เป็นฤดนู ้าหลาก นา้ จะเต็มสองฝ่ังแมน่ า้ ที่นิยมมาก
คอื ชว่ งวันเพญ็ เดอื น 12 เพราะพระจันทร์เตม็ ดวง ทาให้แมน่ า้ ใสสะ อาดแสงจนั ทร์สอ่ งเวลากลางคืนเป็น
บรรยากาศทส่ี วยงาม เหมาะแก่ การลอยกระทง
เดิมพธิ ลี อยกระทง เรยี กว่า พระราชพธิ จี องเปรียงชกั โคมลอยโคม ซง่ึ เป็นพิธีของพราหมณ์เพื่อบชู า
พระเป็นเจ้าทั้งสาม คอื พระอิศวร พระ นารายณ์ และพระพรหม ครัน้ คนไทยรับนบั ถือพระพทุ ธศาสนา กท็ า
พิธยี กโคมเพื่อบูชาพระบรมสารรี ิกธาตุ พระจฬุ ามณี ณ สวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ ลอยโคมบูชาพระพุทธบาท ณ หาด
ทรายแมน่ ้านัมมทานที ประเทศอิน เดีย
ปัจจุบนั ประเพณีลอยกระทง มกี ารจดั งานกันแทบทุกจงั หวัด ถอื เป็นงานประจาปีทสี่ าคัญ โดยเฉพาะ
ทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่ มกี ารจัดขบวนแห่กระทงใหญ่ กระทงเลก็ มกี ารประกวดกระทง และประกวดธิดางาม ประ
จากระทงด้วย
การลอยกระทงในปจั จบุ ัน ยังคงรกั ษารปู แบบเดิมเอาไวไ้ ด้ตามสมควร เมอ่ื ถงึ วันเพญ็ พระจนั ทร์เตม็ ดวง ใน
เดือน 12 ชาวบ้านจะจัดเตรยี มทากระทงจากวัสดุท่หี าง่ายตามธรรมชาติ เชน่ หยวกกล้วยและดอกบัว นามา
ประดิษฐเ์ ป็นกระทงสวยงาม ปักธปู เทยี นและดอกไมเ้ ครอื่ งสกั การบชู า กอ่ นทาการลอยในแมน่ า้ กจ็ ะ อธิษฐาน
ในสิง่ ที่มุ่งหวงั พรอ้ มขอขมาตอ่ พระแม่คงคาตามคมุ้ วดั หรอื สถานที่จดั งานหลายแหง่ มีการประกวด กระทง
ประกวดนางนพมาศ และมมี หรสพสมโภชในตอนกลางคนื นอกจากนั้นยังมกี ารจดุ ดอกไม้ไฟ พลุ ตะไล ซึง่ ใน
การเลน่ ต้องระมดั ระวังเปน็ พิเศษ วสั ดทุ ี่นามาใชก้ ระทงควรเปน็ ของทส่ี ามารถย่อยสลายไดง้ ่าย ตามธรรมชาติ
ประเพณีประจาภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอสี าน
1. ประเพณแี หผ่ ีตาโขน
ประเพณีแห่ผตี าโขนจดั เป็นสว่ นหนึ่งในงานบุญประเพณีใหญห่ รือที่เรียกว่า "งานบญุ หลวง" หรอื "บญุ ผะ
เหวด" ซง่ึ ตรงกับเดอื น 7 มขี น้ึ ที่อาเภอด่านซา้ ย จงั หวัดเลย และจัดเป็นการละเล่นทีถ่ อื เป็นประเพณีทกุ ปี
เกยี่ วโยงกับงานบญุ พระเวสหรือเทศน์ มหาชาติ ประจาปีกับพระธาตศุ รสี องรกั ปชู นียสถานสาคญั ของชาวดา่ น
ซ้าย เป็นอีกหนึ่งประเพณีทีม่ ชี ่ือเสยี งและข้นึ ชื่อของจงั หวัดเลย โดยมกี ระบวนแห่ผตี าโขนโดยแต่งกายคล้ายผี
และปีศาจใสห่ น้ากากขนาดใหญ่ท่ีเป็นเอกลกั ษณม์ ลี วดลายท่ีงดงามแตกตา่ งกันไป แสดงการละเลน่ เต้นรากนั
อย่างสนกุ สนานในขบวนแห่งท่ีแห่ยาวไปตามทอ้ งถนน
ตน้ กาเนดิ ผีตาโขน
กล่าวกนั วา่ การแห่ผีตาโขนเกดิ ขน้ึ เม่อื ครง้ั ท่ีพระเวสสนั ดรและนางมทั รจี ะเดนิ ทางออกจากป่ากลบั สู่เมือง
บรรดา ผปี า่ หลายตน และสัตวน์ านาชนิดอาลยั รกั จึงพาแห่แหนแฝงตวั แฝงตน มากับชาวบ้านเพ่อื มาส่งท้ังสอง
พระองค์ กลับ เมือง "ผีตามคน" หรอื "ผตี าขน" จนกลายมาเปน็ "ผตี าโขน" อย่างในปัจจุบัน
ชนิดของผีตาโขน
ผตี าโขน ในขบวนแห่จะแยกเปน็ 2 ชนิดคอื ผตี าโขนใหญแ่ ละผตี าโขนเลก็
- ผตี าโขนใหญ่ ทาเป็นหนุ่ รูปผีทาจากไม้ไผ่สานมีขนาดใหญ่กว่าคนธรรมดาประมาณ 2 เทา่ ประดบั ตกแต่ง
รูปรา่ ง
- ผีตาโขนเล็ก ผีตาโขนเลก็ เป็นการละเลน่ ของเดก็ ไม่ว่าเด็กเลก็ เดก็ วัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ ท้งั ผู้หญงิ ชาย มสี ิทธ์ิทา
และเขา้ รว่ มสนุก ไดท้ กุ คน แต่ผู้หญงิ ไม่คอ่ ยเข้ารว่ มเพราะเปน็ การเลน่ ค่อนขา้ งผาดโผนและซกุ ซน
การแตง่ กายผตี าโขน
ผูเ้ ขา้ ร่วมในพธิ นี ้จี ะแต่งกายคล้ายผแี ละปีศาจใสห่ นา้ กากขนาดใหญ่ ทาจากกาบมะพร้าวแกะสลกั และสวม
ศีรษะดว้ ย
การละเลน่ ผีตาโขน
เนือ่ งจากงานประเพณผี ีตาโขนเป็นงานบญุ ใหญ่ซึ่งเรยี กกันวา่ งานบุญหลวง จัดขึ้นทว่ี ัดโพนชยั อ.ด่านซา้ ย โดย
มี การละเล่นผีตาโขน มีการเทศน์มหาชาตมิ ีการทาบุญพระธาตศุ รสี องรักและงานบญุ ตา่ งๆเขา้ มาผสมอยู่
รวมๆกนั จึงมีการจัดงานกนั 3 วัน
- วันแรก เริม่ พิธตี อนเช้า 04.00-05.00 น. คณะแสนหรอื ข้าทาสบริวารของเจา้ พ่อกวนจะนาอุปกรณ์ มีด ดาบ
หอก ฉัตร พานดอกไม้ ธปู เทยี น ขนั หา้ ขนั แปด(พานดอกไม้ 5 คู่ หรือ 8 ค)ู่ ถือเดินนาขบวนไปท่รี มิ แม่น้าหมัน
เพ่อื นมิ นต์พระอปุ คุตต์ พระผู้มีฤทธานุภาพมาก และมกั เนรมติ กายอยู่ในมหาสมุทร เพือ่ ป้องกนั ภยั อันตราย
และให้ เกิดความสขุ สวัสดี เมือ่ ถงึ แลว้ ผูอ้ ันเชิญต้องกล่าวพระคาถา และใหอ้ ีกคนลงไปในนา้ งมกอ้ นหนิ ใตน้ า้
ขึน้ มาถาม วา่ "ใช่พระอปุ คุตตห์ รือไม่" ผทู้ ่ียืนอยูบ่ นฝง่ั ตอบวา่ "ไมใ่ ช่" พอก้อนหนิ กอ้ นท่ี 3 ให้ตอบวา่ "ใช่ น่นั
แหละ พระอปุ คุตตท์ แ่ี ท้จริง" เมอ่ื ไดพ้ ระอุปคุตตม์ าแลว้ กน็ าใสพ่ านแล้วนาขบวนกลบั ทหี่ อพระอุปคตุ ต์ ทาการ
ทกั ขิณาวฏั 3 รอบ มกี ารยิงปนื และจดุ ประทัดซ่ึงช่วงเวลานน้ั บรรดาผีตาโขนที่นอนหลบั หรือ อยู่ตามท่ตี ่างๆก็
จะมาร่วมขบวนด้วย ความยนิ ดีปรดี า เตน้ รา เขา้ จงั หวะกับเสียงหมากกระแร่ง ซ่งึ เป็นกระด่งิ ผูกคอวัวหรือ
กระดิ่งให้เสียงดงั
- วันทีส่ อง เปน็ พธิ ีแห่พระเวส ในขบวนประกอบดว้ ย พระพุทธรปู 1 องค์ พระสงฆ์ 4 รปู น่ังบนแคร่หามตาม
ด้วย เจา้ พอ่ กวนนงั่ อยบู่ น กระบอกบ้งั ไฟ ทา้ ยขบวนเปน็ เจ้าแมน่ างเทยี ม กบั บริวาร ชาวบ้าน และเหล่าผตี า
โขน เดินตามเสด็จไปรอบ เมอื ง กอ่ นตะวันตกดิน สาหรับคนที่เลน่ เป็นผตี าโขนใหญ่ ต้องถอดเคร่ืองแต่งกายผี
ตาโขนใหญอ่ อก ให้หมดและนาไปท้ิงในแม่น้าหมัน หา้ มนาเขา้ บ้าน เป็นการทง้ิ ความทุกขย์ ากและส่ิงเลวรา้ ยไป
รอจนปีหนา้ ฟ้าใหม่ แล้วคอ่ ยทาเล่นกนั ใหม่
- วนั ทสี่ าม เปน็ การรวมเอางานบญุ ประเพณีประจาเดอื นตา่ งๆของปีมารวมกนั จดั ในงานบุญหลวง ประชาชน
จะมาน่ังฟงั เทศน์ มหาชาติ 13 กณั ฑ์ ท่ีวดั โพนชัยเพอื่ เป็นการสรา้ งกศุ ลและเปน็ มงคลแกช่ วี ติ แกช่ วี ติ
การเดินทางไปชมเทศกาลผตี าโขน
1. โดยรถยนต์ส่วนตัว
จากกรุงเทพฯ มุ่งหน้าสจู่ งั หวดั สระบุรี ประมาณ 75 กิโลเมตร จะถงึ ตวั เมืองสระบุรจี ากนนั้ ขบั ตรงไปมุ่งหน้าสู่
จงั หวัดลพบุรี ประมาณ 16 กโิ ลเมตร จากน้ันเลี้ยวขวาไปทางจังหวัดเพชรบูรณ์ ( ทางหลวงหมายเลข 21 ) เมอื่
เลยี้ วขวาแล้วขบั ตรงไปมุ่งหน้า อาเภอหลม่ สัก จงั หวัดเพชรบูรณ์ ประมาณ 269.4 กิโลเมตร จากนน้ั เล้ยี วซ้าย
เข้าถนนสาย 203 ขบั ตรงไป ประมาณ 55.8 กโิ ลเมตร เลี้ยวซ้าย เข้าถนน สาย 2014 ขับตรงไปประมาณ 10.6
กิโลเมตร จากนน้ั เลีย้ วขวา ไปทางอาเภอดา่ นซา้ ย แล้วขับตรงไปประมาณ 800 เมตร ทางดา้ นซ้ายมือ คอื งาน
ผีตาโขน
2. ประเพณีแหน่ างแมว
ประเพณแี หน่ างแมว การแหน่ างแมว เป็นพธิ อี ้อนวอนขอฝน ซ่ึงจาจัดทาขน้ึ ในปใี ดทท่ี อ้ งถิน่ แห่งแล้ง
ฝน ไมต่ กต้องตามฤดกู าล สาเหตทุ ฝี่ นไม่ตก ท่านผรู้ ูก้ ลา่ วไว้ว่า น้าฝนน้ันเปน็ น้าของเทวดา ดังมศี ัพทบ์ าลวี ่า เท
โว ซ่ึงแปลว่า นา้ ฝน เป็นเอกลักษณข์ องความดี ความบริสุทธิ์ สิง่ แวดล้อมเป็นพิษมากๆ ควนั และละอองเขมา่
น้ามนั ห่อห้มุ โลกทาใหเ้ ปน็ ภัยแก่มนุษย์ ผู้ทีจ่ ะลา้ งอากาศไดท้ าใหล้ ะอองพิษพวกนน้ั ตกลงดิน ทาให้อากาศ
สะอาดคือ
อตั ลักษณ์ (ทโ่ี ดดเด่น)
พธิ ีแหน่ างแมวเป็นประเพณีของชาวอีสาน โดยเฉพาะประชาชนบ้านสนาย บ้านสนายน้อย บา้ น สนา
ยกลาง ตาบลพิมาย อาเภอปรางคก์ ู่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ เพราะเช่ือวา่ เหตุท่ีฝนไม่ตกมเี หตผุ ลหลายประการ เชน่
เกดิ จากดินฟ้าอากาศเปลีย่ นแปลง ประชาชนหยอ่ นในศีลธรรม เจ้าเมืองหรือเจ้าแผ่นดิน ไมท่ รงอย่ใู น
ทศพิธราชธรรม เปน็ ต้น ดงั นั้น ถา้ มนุษย์อยากใหเ้ ทวะคือน้าฝนทด่ี ี ไมใ่ ชด่ เี ปรสช่นั มาเยี่ยมตามกาลเวลา
มนุษยก์ ็ควรต้งั อยู่ในศีลในธรรม เพราะคนทมี่ ศี ลี มธี รรมท่านจงึ เรยี กว่า
ความสาคญั และคุณค่าทางสังคมและทางจติ ใจทมี่ ีในวถิ กี ารดาเนินชีวิตของชมุ ชน นนั้ ๆ
การแห่นางแมว เปน็ พธิ ีออ้ นวอนขอฝน ซ่ึงจาจัดทาขน้ึ ในปีใดทที่ อ้ งถิ่นแหง่ แลง้ ฝน ไม่ตกต้องตาม
ฤดูกาล สาเหตทุ ีฝ่ นไมต่ ก ท่านผรู้ ู้กล่าวไวว้ า่ น้าฝนนน้ั เป็นนา้ ของเทวดา ดงั มีศพั ทบ์ าลีว่า เทโว ซ่ึงแปลว่า
นา้ ฝน เปน็ เอกลกั ษณ์ของความดี ความบริสุทธิ์ สง่ิ แวดล้อมเปน็ พษิ มากๆ ควนั และละอองเขม่านา้ มัน หอ่ หมุ้
โลกทาใหเ้ ป็นภยั แกม่ นษุ ย์ ผูท้ ี่จะลา้ งอากาศไดท้ าให้ละอองพษิ พวกน้นั ตกลงดิน ทาใหอ้ ากาศสะอาดคอื
3. ประเพณีบญุ บงั้ ไฟ
บญุ บ้งั ไฟ เป็นประเพณีหน่ึงของภาคอสี านของประเทศไทย ตลอดจนประเทศลาว[ต้องการอา้ งองิ ] โดยมี
ทม่ี าจากนทิ านพ้ืนบ้านเรอื่ งพระยาคันคาก เร่ืองผาแดงนางไอ่ ซ่ึงในนทิ านพืน้ บา้ นดงั กล่าวได้กล่าวถึง การท่ี
ชาวบ้านได้จดั งานบุญบงั้ ไฟข้ึนเพื่อเป็นการบูชา พญาแถน หรือเทพวสั สกาลเทพบุตร ซงึ่ ชาวบา้ นมคี วามเชอ่ื
ว่า พระยาแถนมหี นา้ ทีค่ อยดูแลใหฝ้ นตกถกู ตอ้ งตามฤดูกาล และมีความชน่ื ชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมูบ่ ้าน
ใดไม่จดั ทาการจัดงานบุญบง้ั ไฟบูชา ฝนก็จะไมต่ กถูกต้องตามฤดูกาล อาจกอ่ ให้เกดิ ภยั พบิ ตั กิ ับหม่บู ้านได้ โดย
ทั้งนีก้ ารจัดงานประเพณีบุญบง้ั ไฟ ของ จงั หวัดยโสธร ไดร้ บั การสนับสนนุ จากการท่องเทีย่ วแห่งประเทศ
ไทย ในการประชาสมั พนั ธง์ านประเพณี เปน็ ท่รี ู้จักแกช่ าวไทย และต่างประเทศ นบั แต่ ปี 2523 ซ่ึง งาน
ประเพณีบญุ บัง้ ไฟจังหวดั ยโสธร จะจัดขึ้นในวันเสาร์ อาทติ ย์ สัปดาหท์ ่ีสอง ของเดอื นพฤษภาคม ในทุกปี โดย
ทั้งนี้ ในงานทีจ่ ัดของจังหวัดยโสธร ยงั มีความโดดเดน่ ในวนั กอ่ นแห่ มีการประกวดกองเชยี ร์ จานวนมาก
รวมท้ัง วนั แห่บ้ังไฟ จะมีขบวนบ้งั ไฟแบบโบราณ และการราเซิง้ แบบโบราณ จาก ท้ัง 9 อาเภอของจังหวดั
ยโสธร เข้ารว่ มดว้ ย
นอกจากนย้ี งั พบว่า การจดั งานบง้ั ไฟในอดีต และปจั จบุ ัน ในพ้ืนทีจ่ ังหวดั ร้อยเอด็ มีความโดดเดน่ และ
เกา่ แก่ มานาน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะท่ี อาเภอสุวรรณภูมิ ทม่ี ีการจัดงานในทกุ วนั เสาร์ และวนั
อาทิตย์ในสัปดาห์แรกของเดือนมถิ ุนายนในทกุ ปี ซง่ึ เปน็ งานทมี่ ีบงั้ ไฟเอส้ วยงามขนาดใหญม่ ากทส่ี ดุ (ลายศรีภมู ิ
หรือ ลายกรรไกรตดั ) รวมทัง้ ขบวนราสวยงามมากท่สี ุดของประเทศ , อาเภอพนมไพร ทม่ี ีการจดั งานในทกุ วัน
ขน้ึ 15 ค่า เดือน 7 ของทุกปี ตามรูปแบบประเพณดี ัง้ เดิมตามฮตี สองสองคองสิบสี่ โดยมกี ารจุดบ้งั ไฟถวาย
มากท่ีสดุ ในประเทศ โดยในแต่ละปีจะมบี ัง้ ไฟหมื่น บงั้ ไฟแสน บัง้ ไฟล้าน รวมกันกว่า 1,000 บั้ง
และอีกหนึ่งทที่ ่นี า่ สนใจ คอื งานบุญบ้งั ไฟตะไลลา้ น บ้านกดุ หว้า ตาบลกุดหว้า อาเภอกุฉิ
นารายณ์ จงั หวดั กาฬสินธุ์ เป็นชมุ ชนภไู ทขาวเก่าแก่ ก่อต้ังหมูบ่ ้านมาประมาณ 150 ปี เป็นบั้งไฟท่ีขน้ึ ใน
แนวนอนท่ีเรียกวา่ ตะไล เป็นตน้ แบบตะไลแหง่ แรกของไทย ซ่ึงเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวของบุญบงั้ ไฟของบา้ น
กุดหวา้ แหง่ นี้ เทศกาลจุดตะไลนี้ จะจัดขน้ึ ในวันเสาร์-อาทติ ย์สปั ดาหท์ ่ี 3 ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึง่
ไดร้ บั การสนบั สนุนจากการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยเช่นเดียวกนั [1]
ทัง้ นจี้ ากขอ้ มลู ในปัจจุบัน แหล่งทม่ี ีช่างในการจดั ทา บ้ังไฟเอ้ ตกแตง่ สวยงามมากที่สุด คอื จังหวดั
ร้อยเอ็ด โดยเฉพาะ อาเภอสวุ รรณภมู ิ, อาเภอธวัชบุรี, อาเภออาจสามารถ, อาเภอเสลภูมิ, อาเภอจตรุ พักตร์
พมิ าน เป็นต้น, ส่วนคา่ ยบ้ังไฟ ท่ีมกี ารทาบงั้ ไฟจดุ พบได้จานวนมาก ในเขตอาเภอมหาชนะชัย จงั หวัดยโสธร,
อาเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด และเขตจังหวัดอื่น ๆ ทางอีสานเหนือ ได้แก่ กาฬสินธ์ุ โดยเฉพาะอาเภอทา่ คัน
โท, อุดรธานี, หนองคาย เปน็ ตน้
ดา้ นมิติทางวฒั นธรรม พบว่า งานประเพณีบุญบงั้ ไฟลายศรภี ูมิ (การตกแต่งบง้ั ไฟ ประเภท ลายกรรไกร
ตดั ) ของ ชาวอาเภอสุวรรณภมู ิ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด มีมิตเิ ชงิ อนุรกั ษ์ และมีความโดดเด่น ดา้ นการสบื สานผ่าน
ชา่ งฝีมอื และเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม สะท้อนวถิ ี "เมืองศรีภูมิ หรือ สวุ รรณภูมิ" โดยในปี 2561 สานักงาน
เทศบาลตาบลสวุ รรณภูมิ จังหวดั รอ้ ยเอ็ด และนายสมศักด์ิ เศรษโฐ นายกเทศมนตรตี าบลสวุ รรณภมู ิ ได้รบั
รางวลั "วัฒนคุณาธร" จากการเป็นองคก์ ร และบุคคล ผู้ส่งเสริม สนบั สนนุ ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณบี ญุ บ้งั ไฟ
ลายศรีภมู ิ ระดับประเทศ จากกระทรวงวัฒนธรรม ด้วย
นอกจากนแ้ี ล้วในพน้ื ท่ีภาคเหนอื มีการจัดงานประเพณีบุญบ้ังไฟ ของ ตาบลพเุ ตย อาเภอวเิ ชียรบรุ ี
จงั หวดั เพชรบรู ณ์ จัดงานประเพณบี ุญบ้งั ไฟทีย่ ง่ิ ใหญ่ โดยการสนบั สนนุ ของ องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด
เพชรบูรณ์ เชน่ กนั ท้ังน้ี เน่อื งจากประชากรในเขตพืน้ ที่ ส่วนใหญ่ อพยพมาจาก เขตภาคอีสาน ในหลายสิบปี
ก่อนหนา้ สว่ นภาคใต้ ยังสามารถพบการจดั งานบุญบง้ั ไฟ ในเขตอาเภอสคุ ิริน จังหวัดนราธิวาส โดยเปน็
การละเลน่ ของชาวอีสานทยี่ ้ายถนิ่ ฐานมาปักหลักทนี ่ตี งั้ แตป่ ี พ.ศ. 2518 โดยถือเปน็ เพยี งพืน้ ทเี่ ดยี วในภาคใต้
ของไทย นอกจากภาคอสี านท่ีมีการเล่นประเพณนี ี้
ยังมีงานประเพณีบญุ บ้ังไฟในภาคกลางของไทยอกี ท่ีหนึ่ง ในพื้นที่ อาเภอแมเ่ ปิน จังหวดั นครสวรรค์
และอาเภอลานสัก จังหวดั อุทยั ธานี เน่อื งจากชาวบ้านในพ้นื ทด่ี งั กลา่ วรอ้ ยละ 85 เป็นชาวอีสานที่ได้ย้ายถิน่
ฐานมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม และได้นาวฒั นธรรมประเพณบี ุญบัง้ ไฟท่ีถือเป็นความเชอื่ ว่า พระยาแถนมี
หน้าที่คอยดแู ลใหฝ้ นตกต้องตามฤดูกาล จึงทาใหป้ ระเพณบี ญุ บั้งไฟใน อ.แม่เปิน เกดิ ข้ึน และได้อนุรกั ษ์ไว้ เม่อื
ปี พ.ศ. 2532 อาเภอลานสัก จงั หวดั อุทัยธานี ครง้ั แรกในปี 2521 จนกลายเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมาจนถงึ
ปัจจุบัน โดยมกี ารจัดประเพณเี ปน็ ประจาในช่วงเดือน 6-7 หรือประมาณสัปดาหท์ ี่สองของเดอื นพฤษภาคม-
เดอื นมถิ ุนายนของทุกปี ซ่ึงที่ผา่ นมา ได้รบั ความสนใจจากประชาชนในพ้นื ที่ และจังหวดั ใกลเ้ คียง เขา้ ร่วมงาน
กนั เปน็ จานวนมาก และนอกจากนใี้ นพืน้ ที่ภาคเหนอื กม็ ีการละเลน่ ประเพณีบญุ บ้ังไฟเช่นเดยี วกนั โดยเปน็
หนง่ึ ในประเพณีของล้านนา โดยมคี วามเชอื่ คล้ายกบั ภาคอีสาน คอื เป็นการถวายเป็นพุทธบชู าและขอฝน
ประเพณปี ระจาภาคใต้
1. ประเพณีสารทเดือนสิบ
ประเพณีสารทเดอื นสบิ เป็นงานบุญประเพณขี องคนภาคใต้ ของประเทศไทย โดยเฉพาะ ชาว
นครศรีธรรมราช ท่ไี ด้รบั อิทธพิ ลดา้ นความเชื่อ ซ่งึ มาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมีการผสมผสาน
กบั ความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา ซ่งึ เข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุง่ หมายสาคัญ เพอ่ื เปน็ การอุทศิ
สว่ นกุศล ใหแ้ กด่ วงวญิ ญาณของบรรพชนและญาตทิ ล่ี ่วงลบั ซง่ึ ไดร้ ับการปลอ่ ยตวั มาจากนรก ทตี่ น
ต้องจองจาอยู่ เนื่องจากผลกรรมท่ีตนได้เคยทาไว้ตอนท่ียงั มชี วี ติ อยู่ โดยจะเร่มิ ปลอ่ ยตัวจากนรกใน
ทกุ วนั แรม 1 ค่าเดือน 10 เพ่ือมายังโลกมนษุ ย์ โดยมีจดุ ประสงคใ์ นการมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน
ญาติพนี่ ้อง ท่ีไดเ้ ตรยี มการอทุ ศิ ไว้ใหเ้ ปน็ การแสดงความกตัญญูกตเวทตี ่อผู้ล่วงลับ หลังจากน้นั กจ็ ะ
กลับไปยังนรก ในวันแรม 15 ค่า เดือน 10
ชว่ งระยะเวลาในการประกอบพธิ กี รรม ของประเพณีสารทเดอื นสบิ จะมขี ึ้นในวนั แรม 1 ค่า ถงึ แรม
15 ค่าเดือนสบิ ของทุกปี แตส่ าหรับวันท่ชี าวใต้มักจะนยิ มทาบุญกนั มากคือ วันแรม 13-15 ค่า
ประเพณวี ันสารทเดอื นสิบโดยในสว่ นใหญ่แลว้ จะตรงกบั เดือนกันยายน
ความเป็นมาของงานเทศกาลเดือนสิบ เมอื งนครศรธี รรมราช
"งานเทศกาลเดือนสบิ ” จดั ขนึ้ ครัง้ แรกเมอ่ื พ.ศ. 2466 ท่ีสนามหนา้ เมอื ง นครศรธี รรมราช โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อหาเงินสรา้ งสโมสรขา้ ราชการซงึ่ ชารดุ มากแล้ว โดยในชว่ งนน้ั พระภทั รนาวิก
จารญู (เอื้อน ภทั รนาวิก) ซง่ึ เปน็ นายกศรธี รรมราชสโมสร และพระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐ์ ผู้ว่าราชการ
จงั หวัด ได้รว่ มกันจดั งานประจาปีข้นึ พรอ้ มทง้ั มีการออกรา้ น และมหรสพต่างๆ โดยมรี ะยะเวลาใน
การจดั งาน 3 วัน 3 คืน จนกระทง่ั ถงึ ปี พ.ศ. 2535 ทางจังหวดั ไดย้ ้ายสถานทจ่ี ัดงาน จากสนาม
หนา้ เิมอื ง ไปยังสวนสมเด็จพระศรนี ครินทร์ 84 (ทงุ่ ท่าลาด) ซงึ่ มีบรเิ วณกว้าง และได้มีการจดั
ตกแต่งสถานที่ ไว้อย่างสวยงาม
การจดั เทศการงานเดอื นสิบ ถือเปน็ ความพยายามของมนุษย์ ท่ีมุ่งทดแทน พระคุณบรรพบรุ ุษ
แม้ว่าจะลว่ งลับไปแล้วก็ตาม ซึง่ เป็นส่ิงทีช่ าวไทยทุกคน ควรต้องยึดถือปฏิบัติ รวมทั้งปลูกฝังให้
อนุชนรุ่นหลงั ได้ปฏิบัตสิ ืบทอดตอ่ ๆไป อยา่ งนอ้ ย หากมนษุ ยร์ ะลกึ ถงึ เร่ืองเปรต กจ็ ะสานึกถงึ บาป
บญุ คณุ โทษ รวมทงั้ การแสดงออก ซ่ึงความกตัญญกู ตเวที ท่ีเปน็ หวั ใจสาคัญ ในการอยูร่ ว่ มกันใน
สังคม อย่างสงบสุข ตลอดไป
ความเชื่อของพุทธศาสนิกชน ชาวนครศรีธรรมราช เชอื่ ว่าบรรพบุรุษ อนั ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และ
ญาตพิ น่ี ้อง ท่ลี ่วงลับไปแล้ว หากทาความดไี ว้ เมื่อคร้ังทีย่ งั มีชวี ิตอยู่ จะได้ไปเกิดในสรวงสวรรค์ แต่
หากทาความชัว่ จะตกนรก กลายเปน็ เปรต ตอ้ งทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบญุ ที่
ลูกหลานอทุ ศิ ส่วนกุศลให้ในแต่ละปี มายงั ชพี ดังน้นั ในวนั แรม 1 ค่าเดอื นสบิ คนบาปทั้งหลาย ที่
เรยี กวา่ เปรต จึงถูกปลอ่ ยตวั กลบั มายงั โลกมนุษย์ เพื่อมาขอสว่ นบุญ จากลูกหลาน ญาติพ่นี ้อง
และจะกลบั ไปนรกดงั เดมิ กอ่ นพระอาทติ ยข์ ้ึน ในวันแรม 15 ค่าเดือนสบิ โอกาสน้เี องลกู หลาน
และผูท้ ีย่ ังมีชีวิตอยู่ จึงนาอาหารไปทาบญุ ที่วัด เพื่ออุทศิ ส่วนกศุ ล ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว เป็นการ
แสดงความกตัญญูกตเวที
วนั สารท เปน็ วนั ท่ถี อื เป็นคติ และเชื่อสบื กนั มาว่า ญาติทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ จะมีโอกาส ไดก้ ลับมารับ
สว่ นบุญ จากญาตพิ ี่นอ้ งท่ยี ังมชี วี ิตอยู่ ดงั น้นั จึงมกี ารทาบุญอุทศิ ส่วนกุศล ไปให้ญาติในวันน้ี และ
เชอ่ื วา่ หากทาบุญในวันนีไ้ ปให้ญาติแล้ว ญาตจิ ะได้รบั สว่ นบญุ ไดเ้ ต็มท่ี และมโี อกาสหมดหนีก้ รรม
และไดไ้ ปเกดิ หรือมคี วามสขุ
อกี ประการหนึง่ สังคมไทยเป็นสงั คมเกษตรกรรม ทานาเปน็ อาชีพหลัก ในช่วงเดือนสบิ นี้ ไดป้ ักดา
ขา้ วกล้าลงในนาหมดแลว้ กาลงั งอกงาม และรอเกบ็ เก่ยี วเมอื่ สุก จงึ มีเวลาว่างพอที่จะทาบญุ เพือ่
เลีย้ งตอบแทน และขอบคณุ สง่ิ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือแมพ่ ระโพสพ หรอื ผีไร่ ผนี า ที่ชว่ ยรักษาข้าวกล้าใน
นาให้เจรญิ งอกงามดี และออกรวงจนสุกให้เกบ็ เกีย่ วได้ผลผลิตมาก
ความสาคัญของประเพณสี ารทเดอื นสบิ ของชาวนครศรีธรรมราช
การทาบญุ สารทเดือนสิบ เป็นประเพณีทีช่ าวเมอื งนครศรธี รรมราช ไดถ้ ือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยศรทั ธาแตด่ กึ
ดาบรรพ์ โดยถือเป็นคติว่า ปลายเดอื นสิบของแต่ละปี เปน็ ระยะทพ่ี ชื พนั ธธุ์ ัญญาหารในท้องถน่ิ ออก
ผล เป็นช่วงที่ชาวเมอื งซงึ่ สว่ นใหญ่ ยังชีพด้วยการเกษตร ชนื่ ชมยินดีในพชื ของตน ประกอบดว้ ยเชอ่ื
กันว่า ในระยะเดียวกนั น้เี ปรตท่มี ีชอ่ื วา่ "ปรทัตตปู ชวี เี ปรต” จะถกู ปลอ่ ยใหขั น้ึ มาจากนรก เพ่ือมา
รอ้ งขอส่วนบญุ ต่อลกู หลาน ญาตพิ นี่ อ้ ง เหตุน้ี ณ โลกมนุษย์ จงึ ได้มกี ารทาบุญอทุ ิศสว่ นกศุ ล ไปไห้
พอ่ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย พ่นี ้อง ลกู หลาน ท่ลี ว่ งลับไป โดยการจดั อาหารคาวหวาน วางไว้ทีบ่ ริเวณวัด
เรยี กวา่ "ต้ังเปรต” ตามพิธีไสยเวทอีกทางหนง่ึ ดว้ ย ซ่ึงเรอ่ื งนี้ก็ไดพ้ ัฒนามาเป็น "การชิงเปรต” ใน
เวลาต่อมา
ความมงุ่ หมายของประเพณีสารทเดอื นสบิ
ประเพณสี ารทเดือนสิบ มีความมงุ่ หมายสาคญั อย่ทู ี่ การทาบญุ อทุ ศิ ส่วนกุศลให้ กับ พอ่ แม่ ปู่ ยา่
ตา ยาย และญาติพี่น้อง ผ้ลู ว่ งลับไปแล้ว แตด่ ้วยเหตทุ ่วี ถิ ีชวี ติ ของชาวนครศรธี รรมราช เปน็ วถิ ีชวี ติ
แห่งพระพทุ ธศาสนา ในสงั คมเกษตรกรรม จงึ มีความมุ่งหมายอื่นร่วมอยู่ดว้ ย
1) เปน็ การทาบุญอุทิศส่วนกุศล ให้กับ พอ่ แม่ ปู่า ตา ยาย ญาตพิ ี่นอ้ ง หรือบุคคลอน่ื ผูล้ ่วงลับไป
แล้ว
2) เป็นการทาบุญ ดว้ ยการเอาผลผลติ ทางการเกษตร แปรรปู เปน็ อาหารถวายพระสงฆ์ รวมถึง การ
จดั หมฺ รบั ถวายพระ ในลกั ษณะของ "สลากภตั ” นอกจากน้ี ยังถวายพระ ในรปู ของผลผลติ ท่ียงั ไม่
แปรสภาพ เพือ่ เปน็ เสบียงแก่พระสงฆ์ ในชว่ งเข้าพรรษาในฤดูฝน ทัง้ นี้เพื่อความเป็นสิรมิ งคล แก่
ตนเอง ครอบครวั และเพ่ือผลในการประกอบอาชีตอ่ ไป
3) เพ่อื เปน็ การแสดงออกถึงความสนกุ สนานรน่ื เรงิ ประจาปี เปน็ สง่ิ ที่มอี ยู่ในทกุ ประเพณี ของชาว
นคร แต่ประเพณีนี้มีชื่อเสียงมากทสี่ ุด ได้จัดขน้ึ อยา่ งย่ิงใหญ่ทกุ ๆ ปี เรียกวา่ "งานเดือนสิบ” ซง่ึ งาน
เดอื นสบิ น้ี ไดจ้ ัดควบคกู่ ับประเพณสี ารทเดือนสิบ มาต้ังแต่ พ.ศ. 2466 จนถึงปัจจบุ นั
กิจกรรม
การทาบญุ วันสารทเดอื นสิบ หรอื ภาษาท้องถ่นิ เรยี กวา่ วันชิงเปรตนั้น ในเดือนสบิ )กันยายน) มีการ
ทาบุญทวี่ ดั 2 คร้งั
ครง้ั แรก วันแรม 1 คา่ เดอื นสบิ เรยี กว่า วันรับเปรต
ครง้ั ท่สี อง วนั แรม 15 คา่ เดอื นสบิ เรยี กว่า วนั สง่ เปรต
การทาบุญท้งั สองครั้ง เป็นการทาบุญทแี่ สดงถงึ ความกตัญญูต่อบุพการผี ้ลู ่วงลบั ไปแลว้ โดยอุทศิ
สว่ นกศุ ล ไปใหว้ ญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ทีต่ กอยู่ในเปรตภูมิ เปน็ คติของศาสนาพราหมณ์ ทผ่ี สมใน
ประเพณขี องพทุ ธศาสนา พทุ ธศาสนิกชน นิยมไปทาบุญ ณ วดั ทเี่ ป็นภมู ิลาเนาของตน เพือ่ ร่วมพธิ ี
ตั้งเปรต และชงิ เปรตอาจสบั เปลยี่ นกนั ไปทาบุญ ณ ภมู ลิ าเนาของฝา่ ยบดิ าครั้งหน่งึ ฝ่ายมารดาครั้ง
หนงึ่ จึงทาใหผ้ ทู้ ไี่ ปประกอบ อาชพี จากถนิ่ ห่างไกลจากบ้านเกดิ ได้มโี อกาสไดก้ ลบั มาพบปะ
สังสรรค์ และร้จู กั วงศาคณาญาติเพม่ิ ข้นึ
ประเพณปี ฏบิ ัติ
กอ่ นวนั งาน ชาวบา้ นจะทาขนมทเ่ี รียกว่า กระยาสารท และขนมอ่ืนๆ แลว้ แต่ความนยิ มของแตล่ ะ
ท้องถ่ิน ในวนั งานชาวบ้านจดั แจงนาขา้ วปลาอาหารและขา้ วกระยาสารทไปทาบญุ ตกั บาตรทว่ี ดั
ประจาหมบู่ ้าน ทายก ทายกิ าไปถอื ศีล เขา้ วดั ฟังธรรม และรกั ษาอโุ บสถศลี นาขา้ วกระยาสารท
หรอื ขนมอ่ืน ไปฝากซึง่ กันและกนั ยงั บา้ นใกลเ้ รือนเคียง หรอื หมู่ญาตมิ ติ รที่อยู่บ้านไกล หรอื ถาม
ข่าวคราวเยี่ยมเยือนกัน บางทอ้ งถน่ิ ทาขนม สาหรับบชู า สิง่ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ แม่พระโพสพ ผนี า ผไี รด่ ว้ ย
เม่ือถวายพระสงฆ์เสรจ็ แลว้ กน็ าไปบชู าตามไร่นา โดยวางตามกิ่งไมต้ ้นไม้ หรอื ทจ่ี ดั ไว้เพอื่ การนัน้
โดยเฉพาะ
ระยะเวลา
ระยะเวลาของการประกอบพิธีประเพณีสารทเดือนสิบ มีขึ้นในวนั แรม 1 คา่ ิเดอื นสิบ แตว่ ันที่ชาว
นครนิยมทาบุญคือ วนั แรม 13-15 ค่า
พธิ ีกรรม
การปฏบิ ัติพิธกี รรมการทาบุญสารทเดือนสอบ มี 3 ข้นั ตอน คอื
1) การจัดหมฺรบั และยกหมฺรบั
2) การฉลองหมรฺ ับและการบังสุกลุ
3) การตัง้ เปรตและการชิงเปรต
การจัดหมรฺ ับและยกหมฺรับ
การจดั เตรยี มส่งิ ของท่ใี ชจ้ ัดหมรฺ ับ เรม่ิ ขน้ึ ในวันแรม 13 ค่า วนั น้เี รียกกันว่า "วนั จา่ ย" ตลาดตา่ งๆ
จงึ คึกคักและคลาคลา่ ไปด้วยฝูงชนชาวบ้าน จะซ้ืออาหารแหง้ พชื ผักทีเ่ กบ็ ไว้ไดน้ าน ขา้ วของ
เครื่องใช้ ในชีวิตประจาวัน และขนมที่เป็นสญั ลกั ษณข์ องสารทเดือนสิบ จัดเตรียมไว้สาหรบั ใส่
หมรฺ ับ และ สาหรบั นาไปมอบิให้ผใู้ หญ่ ทตี่ นเคารพนบั ถอื
การจัดหัมรฺ ับ
การจัดหมรฺ บั มักจะจัดเฉพาะครอบครวั หรือจัดรวมกนั ในหมูญ่ าติ และจดั เป็นกลุ่ม ภาชนะทีใ่ ช้จดั
หมรฺ ับ ใช้กระบงุ หรอื เขง่ สานดว้ ยดว้ ยตอกไมไ้ ผ่ ขนาดเลก็ หรอื ใหญ่ขน้ึ อยู่กบั ความประสงคข์ อง
เจา้ ของหมฺรบั ปัจจุบนั ใช้ภาชนะทปี่ ระดษิ ฐ์ขนึ้ มาเป็นกรณพี ิเศษ การจดั หมฺรับ คือการบรรจแุ ละ
ประดบั ด้วยสง่ิ ของ อาหาร ขนมเดือนสบิ ฯลฯ ลงภายในภาชนะทีเ่ ตรียมไว้
ลักษณะของการจดั
1) ช้ันล่างสุด จดั บรรจสุ ิง่ ของประเภทอาหารแหง้ ลงไว้ทก่ี ้นภาชนะ ได้แก่ ขา้ วสาร แลว้ ใสพ่ รกิ
เกลือ หอม กระเทียม กะปิ นา้ ปลา นา้ ตาล มะขามิเปยี ก รวมท้ังบรรดาปลาเคม็ เน้อื เค็ม หมเู คม็
กุ้งแห้ง เคร่อื งปรงุ อาหารทจี่ าเปน็
2) ขน้ั ทส่ี อง จดั บรรจอุ าหารประเภทพืชผกั ท่เี กบ็ ไว้ได้นาน ใส่ข้ึนมาจากชน้ั แรก ได้แก่ มะพร้าว ขี้
พร้า หวั มันทุกชนดิ กลว้ ยแก่ ข้าวโพด ออ้ ย ตะไคร้ ลูกเนียง สะตอ รวมท้ังพชื ผักอน่ื ที่มใี นเวลาน้นั
3) ข้ันิทสี่ าม จัดบรรจุส่ิงของประเภทของใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้แก่ น้ามันพชื น้ามันมะพรา้ ว
น้ามนั ก๊าด ไต้ ไิมข้ ีดไฟ หม้อ กระทะ ถ้วย ชาม เขม็ ด้าย หมาก พลู กานพลู การบูน พมิ เสน
สีเสยี ด ปูน ยาเสน้ บุหรี่ ยาสามัญประจาบา้ น ธปู เทียน
4) ขน้ั บนสุด ใช้บรรจแุ ละประดบั ประดาด้วยขนมอนั เปน็ สัญลกั ษณ์ของสารทเดือนสิบ เป็นสิง่
สาคัญของหมรฺ บั ไดแ้ ก่ ขนมพอง ขนมลา ขนมกง (ขนมไข่ปลา) ขนมบ้า ขนมดซี า ขนมที่บรรพ
บรุ ษุ และญาตทิ ่ีลว่ งลบั ไดน้ าไปใช้ประโยชน์
ขนมเดือนสบิ
ขนมพอง เป็นสญั ลกั ษณแ์ ทน เรือ แพ ทีบ่ รรพบรุ ุษใชข้ ้ามห้วงมหรรณพ เหตเุ พราะขนมพองน้นั
แผด่ งั แพ มีนา้ หนักเบา ยอ่ มลอยน้า และข่ีข้ามได้
ขนมลา เปน็ สัญลกั ษณแ์ ทน แพรพรรณ เคร่ืองนุง่ หม่ เหตุเพราะขนมลา มีรปู ทรงดงั ผ้าถกั ทอ พับ
แผ่ เป็นผืนได้
ขนมบา้ เปน็ สัญลักษณแ์ ทน ลกู สะบ้า สาหรบั ใช้เล่น ตอ้ นรบั สงกรานต์ เหตุเพราะขนมบ้า มีรูปทรง
คล้ายลกู สะบา้ การละเล่นทนี่ ิยมในสมัยกอ่ น
ขนมดซี า เป็นสัญลกั ษณแ์ ทน เงนิ เบี้ย สาหรบั ใชสั อย เหตุเพราะรปู ทรงของขนม คลา้ ยเบยี้ หอย
ขนมกง (ไข่ปลา) เปน็ สญั ลกั ษณ์แทน เครื่องประดบั เหตุเพราะรปู ทรงมีลักษณะ คลา้ ยกาไล
แหวน
เหตผุ ลของการจดั หมฺ ฺรบั
ปลายเดอื นสบิ อนั เป็นระยะเริม่ ฤดูฝน "การอิงศาสภิกษุ” ด้วยพชื ผล ท่ยี ังไมไ่ ด้ปรุงเป็นอาหารคาว
หวาน สาหรบั ขบฉันในทนั ทีท่ขี บั ประเคนนั้น ชาวเมอื งมงุ่ หมาย จะใหเ้ สบียงเลีย้ งสงฆ์ในฤดูกาล อนั
ยากตอ่ การบณิ ฑบาต และเพือ่ มใิ หฉ้ ันทาคติบงั เกิดแก่ทงั้ สองฝา่ ย คอื สงฆ์ และศรทั ธาถวายพชื ผกั
สดแกส่ งฆ์ จงึ ใช้วธิ ี "สลากภตั ” คอื จัดใสภ่ าชนะตกแตง่ เรยี กวา่ "สารับ” หรอื "หมฺ รฺ ับ”
"หฺมรฺ บั ” หวั ใจของการทาบุญเดอื นสิบ
การจัดหฺมรฺ บั เป็นการเตรยี มเสบยี งอาหารบรรจุในภาชนะ เพื่อนาไปถวายพระสงฆ์ ในช่วง
เทศกาลเดอื นสบิ เป็นการอทุ ิศสว่ นกศุ ล ให้แกบ่ รรพชน หรือญาติพน่ี อ้ ง ทลี่ ่วงลับไปแลว้ ไดน้ า
กลับไปใชส้ อยในนรกภูมิ หลงั จากถกู ปลอ่ ยตัวมาอยู่ในเมอื งมนุษย์ช่วงเวลาหนึง่ และตอ้ งถงึ เวลา
กลบั ไปใช้กรรมตามเดมิ ฉะน้ัน บรรดาลูกหลาน กจ็ ะตอ้ งจัดเตรยี ม สิ่งของเคร่ืองใช้ อาหาร ฯลฯ มิ
ให้ขาดตกบกพร่อง แลว้ บรรจงจดั ลงภาชนะ ตกแตง่ ประดบั ประดา ด้วยดอกไมใ้ ห้สวยงาม เพือ่ ทา
ในสิ่งทด่ี ีทีส่ ุด ให้บรรพบุรษุ ดว้ ยใจที่เปี่ยมไปด้วยความรัก ความผกู พัน และความกตัญญู
การปฎบิ ตั ิตามประเพณสี ารทเดอื นสิบ
ชอ่ งของการทาบญุ เดอื นสบิ จะมวี นั ท่ถี กู กาหนดเพอ่ื ดาเนนิ การเร่อื ง "หมฺ รฺ บั ” อยหู่ ลายวนั และจะ
มีช่ือเรยี กแตกต่างกนั กล่าวคอื วนั หฺมรฺ ับเล็ก ตรงกับวันแรม 1 คา่ เดือนสบิ เชอ่ื กนั ว่าเปน็ วนั แรกที่
วญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ท่ีล่วงลับไปแล้ว ได้รับอนญุ าต ใหก้ ลับมาเยย่ี มลูกหลาน ซ่ึงลูกหลานจะจัด
สารบั อาหารคาวหวาน ไปทาบุญท่ีวดั เปน็ การต้อนรบั บางท้องถ่นิ เรียกวันนี้วา่ "วนั รับตายาย”
วนั จ่าย
ตรงกับวันแรม 13 ค่าเดือนสบิ เปน็ วันทค่ี นนคร ตอ้ งตระเตรยี มข้าวของสาหรบั จัดหมฺ รฺ บั โดยไป
ตลาดเพ่ือจดั จ่ายข้าวของเปน็ การพิเศษกว่าวนั อน่ื ๆ
วันยกหมฺ ฺรับ
ตรงกับวนั แรม 14 คา่ เดือนสิบ เป็นวนั ที่ลูกหลานรว่ มกันแบกหาม หรือ ทูนหฺมฺรบั ท่ีจัดเตรยี ม
เรียบรอ้ ยแลว้ ไปถวายพระท่วี ัด อาจจะรวมกลมุ่ คน บา้ นไกลเ้ รือนเคียง ไปเป็นกล่มุ ตามธรรมชาติ
หรือบางทีอาจจะจัดเปน็ ขบวนแห่เพือ่ ความคึกคกั สนกุ สนานกไ็ ด้
วันหฺมรฺ ับใหญ่ หรือวันหลองหมฺ รฺ บั
ตรงกับวนั แรม 15 ค่าเดอื นสิบ เปน็ วันท่นี าอาหารคาวหวานไปทาบญุ เลยี้ งพระที่วัดครัง้ ใหญ่ ทาพิธี
บงั สกุ ลุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลให้บรรพชน และตัง้ เปรตเพ่ืออุทิศสว่ นกุศล ให้วิญญาณทไ่ี ม่มีลูกหลานมา
ทาบุญให้ ขณะเดียวกัน กท็ าพธิ ีฉลองสมโภชหมฺ ฺรับท่ียกมา
การยกหมรฺ บั
วนั แรม 14 คา่ ชาวบา้ นจะจาหมฺรบั ทจ่ี ดั เตรยี มไว้ ไปทาบุญอุทศิ ส่วนกศุ ลที่วัด โดยเลอื กวัดทีอ่ ยใู่ กล้
บ้าน หรือวัดทีบ่ รรพบุรษุ ของตนนิยม วันนเ้ี รยี กว่า "วันยกหมรฺ ับ" การยกหมรฺ บั ไปวัดเปน็ ขบวนแห่
หรอื ไมม่ ขี บวนแหก่ ็ได้ โดยนาหมรฺ ับและภัตตาหารไปถวายพระด้วย
การฉลองหมรฺ ับและการบงั สกุ ุล
วนั แรม 15 ค่า ซ่ึงเป็นวันสารทเรียกว่า "วันหลองหมรฺ บั " มีการทาบุญเล้ยี งพระและบงั ิสุกลุ การ
ทาบญุ วันนเ้ี ป็นการส่งบรรพบรุ ษุ และญาติพน่ี อ้ งใหก้ ลบั ไปยังเมอื งนรก นับเปน็ วันสาคญั วนั หนง่ึ ซ่ึง
เชอ่ื กนั วา่ หากไม่ได้กระทาพิธีกรรมในวันินี้ บรรพบุรุษพน่ี อ้ งท่ีล่วงลับไปแล้วจะไม่ไดร้ บั สว่ นกุศล ทา
ใหิเ้ กดิ ทุขเวทนาด้วยความอดอยาก ลูกหลานทย่ี งั มชี ีวติ อยูก่ จ็ ะกลายเปน็ คนอกตัญญไู ป
การตง้ั เปรตและการชิงเปรต
เสรจ็ จากการฉลองหมรฺ ับและถวายภตั ตาหารแลว้ กกน็ ยิ มนาขนมอีกสว่ นหนึง่ ไปวางไว้ ตามบรเิ วณ
วัด โคนไม้ใหญ่ หรอื กาแพงวดั เรียกวา่ "ตง้ั เปรต" เปน็ การแผ่สว่ นกศุ ลิใหเ้ ปน็ สาธารณะทาน แก่ผู้
ล่วงลับที่ไมม่ ีญาติหรือญาติไม่ได้มารว่ มทาบุญไิด้ บางวัดนิยมสรา้ งร้านขน้ึ เพ่ือสะดวกแกต่ ั้งเปรต
เรยี กวา่ "หลาเปรต" (ศาลาเปรต) เม่อื งตัง้ ขนม ผลไม้ และและเงนิ ทาบุญเสรจ็ แลว้ กจ็ ะนา
สายสญิ จน์ท่ีได้บังสกุ ลุ แลว้ มาผกู เพื่อแผส่ ว่ นกศุ ลด้วย เม่ือเสรจ็ พธิ ีสงฆ์ กจ็ ะเกบ็ สายสญิ จน์ การชิง
เปรตจะเร่มิ หลงั จากตัง้ เปรตเสร็จแล้ว ชว่ งน้ีเปน็ ชว่ งท่ีเรียกว่า "ชิงเปรต" ทั้งผ้ใู หญ่และเด็กจะวิ่งกนั
เข้าไปแยง่ ขนมกันอย่างคกึ คัก เพราะความเชอื่ วา่ ของทเี่ หลอื จากการเซ่นไหว้บรรพบรุ ุษ ถา้ ใครได้
ไปกินกจ็ ะไดก้ ุศลแรง เป็นสิรมิ งคลแกต่ นเอง และครอบครวั วดั บางแหง่ สร้างหลาเปรตไวส้ งู โดยมี
เสาเพยี งเสาเดยี ว เสานีเ้ กลาจนลนื่ และชะโลมด้วยน้ามัน เม่อื ถึงเวลาชิงเปรต เดก็ ๆ แย่งกันปีนขึน้
ไป หลายคนตกลงมาเพราะเสาล่ืน และอาจถกู คนอ่นื ดึงขาพลัดตกลงมา กวา่ จะมผี ู้ชนะการปนี ไป
ถึงหลาเปรต ก็ต้องใช้ความพยายามอย่างมาก จงึ มีท้ังความสนกุ สนาน และความและความต่นื เตน้
ในการทาบุญสารทเดือนสิบ ลูกหลานจะทาขนม หรืออาหารนาไปวางในท่ีต่างๆของวดั ต้งั ที่ศาลา
ซงึ่ เปน็ ศาลาสาหรบั เปรตทว่ั ไป และริมกาแพงวดั หรอื ใต้ตน้ ไม้ สาหรับเปรตท่ีปราศจากญาติ หรือ
ญาตไิ มไ่ ด้ทาบญุ อทุ ศิ ให้ รือมกี รรมไมส่ ามารถเขา้ ในวดั ได้ พิธีกรรมทาบุญอทุ ิศสว่ นกุศลทาได้โดย
การแผ่สว่ นกศุ ล และกรวดน้าอุทิศให้ เม่อื เสรจ็ ลกู หลานจะมกี ารแยง่ ชิงขนม และอาหารกันที่
เรียกว่า "ชิงเปรต” การชงิ เปรต เปน็ ขั้นตอนท่ีเกิดข้นึ หลังจากการอุทศิ ส่วนกุศลแก่เปรต โดยมี
พระสงฆส์ วดบงั สุกลุ พอพระชกั สายสิญจนท์ ่พี าดโยงไปยงั อาหารที่ต้ังเปรต ลกู หลานก็จะเขา้ ไปแยง่
เอามากิน ซงึ่ ของทแี่ ยง่ มาได้ถอื เปน็ ของเดนชาน การได้กินเดนชานจากวิญญาณบรรพบุรษุ เป็น
ความเช่อื ทถ่ี ือกันวา่ เปน็ การแสดงความรัก เปน็ สริ มิ งคล และเป็นกศุ ลสาหรบั ลกู หลาน
2. ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณแี หผ่ ้าข้นึ ธาตุ หมายถงึ การนาผ้าผืนยาวขึน้ ไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดียใ์ นวันสาคัญทาง
ศาสนา ชาวนครไดร้ ่วมมือรว่ มใจกนั บรจิ าคเงนิ ตามกาลงั ศรทั ธานาเงินท่ไี ด้ไปซื้อผ้ามาเยบ็ ตอ่ กนั เปน็ แถวยาว
นับพนั หลา แลว้ จัดเป็นขบวนแหผ่ า้ ขนึ้ หม่ พระบรมธาตเุ จดยี ์ ผา้ ท่ีขึน้ ไปหม่ องคพ์ ระบรมธาตเุ จดียเ์ รยี กว่า “ผา้
พระบฎ” (หรือ พระบต) นยิ มใช้สีขาว สีเหลือง สแี ดง สาหรบั ผ้าสขี าวนิยมเขยี นภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพทุ ธ
ประวตั ิตง้ั แต่ประสูติ เสด็จออกบรรพชา ตรสั รู้ ปฐมเทศนา และปรนิ พิ พาน ประเพณีแห่ผา้ ข้นึ ธาตเุ ป็น
เอกลักษณ์ประจาเมอื งนครศรีธรรมราช แก่นแทอ้ ยู่ท่ีการบชู าพระพทุ ธเจา้ อยา่ งใกล้ชดิ โดยใชอ้ งค์พระบรมธาตุ
เจดีย์เป็นตัวแทน
ตามตานานประเพณีแห่ผา้ ขนึ้ ธาตมุ ีว่า ในสมัยทพี่ ระเจ้าสามพน่ี อ้ ง คือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระ
เจา้ จนั ทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสรุ ะ กาลงั ดาเนนิ การสมโภชพระบรมธาตุอยนู่ นั้ คล่ืนได้ซัดผ้าแถบยาวช้นิ
หนึ่ง ซึ่งมีลายเขียนเรอ่ื งราวพทุ ธประวตั ิ (เรยี กวา่ พระบฎ หรือ พระบต) ขนึ้ ทช่ี ายหาดปากพนัง จงึ นาผา้ ผนื
น้ันไปถวายพระเจา้ ศรธี รรมโศกราช พระองคจ์ งึ รับส่ังให้ซกั จนสะอาด แตล่ ายเขียนพทุ ธประวตั ิก็ไมล่ บเลอื น
ยังคงสมบรู ณด์ ีทกุ ประการ จงึ รบั สง่ั ใหป้ ระกาศหาเจา้ ของ ได้ความว่าชาวพทุ ธกล่มุ หน่งึ จะเดนิ ทางไปลงั กา
เพือ่ นาพระบฎไปถวายเป็นพทุ ธบชู าพระทนั ตธาตุ คอื พระเขย้ี วแก้ว แต่เรือถูกมรสมุ ซัดแตกท่ชี ายฝ่งั เมืองนคร
มรี อดชวี ิต 10 คน สว่ นพระบฏถูกคลื่นซดั ขน้ึ ฝงั่ ปากพนัง พระเจา้ ศรีธรรมโศกราชทรงพิจารณาเหน็ วา่ ควรจะ
นาขน้ึ ไปหม่ พระบรมธาตุเจดยี ์เน่ืองในโอกาสสมโภชพระบรมธาตุ เจา้ ของพระบฎทรี่ อดชวี ติ กย็ นิ ดดี ้วย จึงโปรด
ใหช้ าวเมืองนครจดั เคร่อื งประโคมแห่แหนผ้าห่มโอบฐานพระบรมธาตเุ จดีย์ จงึ เปน็ ประเพณปี ระจาเมืองนครสบื
มาจนทุกวันนี้
ในสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้มีการแห่ผ้าข้ึนธาตุในวนั ข้นึ 15 ค่า เดือน 6 คือ วัน
วสิ าขบูชา เรยี กว่า “แห่พระบฎขนึ้ ธาตุ” มกี ารเวียนเทยี นรอบองคพ์ ระบรมธาตุ ตอ่ มาในสมยั พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ไดโ้ ปรดใหม้ กี ารแห่ผ้าขึน้ ธาตุ ในวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 คอื วันมาฆบูชา เพ่ือให้
พุทธศาสนกิ ชนท่อี ยู่หา่ งไกลหรอื ไมม่ ีโอกาสกระทาพทุ ธบชู าในวนั วิสาขบชู าไดม้ ีโอกาสแหผ่ ้าขน้ึ ธาตุในวนั
มาฆบชู าตามศรทั ธาดว้ ย ประเพณีแหผ่ า้ ขึน้ ธาตขุ องเมอื งนครจึงมีปลี ะ 2 ครงั้ คอื ในวันเพญ็ เดือน 3 (วัน
มาฆบูชา) และในวนั เพญ็ เดือน 6 (วันวสิ าขบชู า) สืบมาจนทกุ วันนี้
เดิมการแหผ่ ้าขึน้ ธาตกุ ระทากนั โดยพร้อมเพรียงเปน็ ขบวนทเ่ี อกิ เกรกิ เพียงขบวนเดียว ต่อมา ประชาชน
มาจากหลายทศิ หลายทาง แตล่ ะคนต่างเตรยี มผา้ มาเองทาให้การแหผ่ า้ ขึ้นธาตไุ มพ่ ร้อมเพรยี งเป็นขบวน
เดยี วกนั เพราะใครจะแห่ผ้าขึ้นธาตใุ นเวลาใดกไ็ ดต้ ามสะดวกตลอดท้ังวนั เมือ่ ขบวนแหม่ าถงึ วดั พระบรมธาตุ
วรมหาวหิ าร กแ็ ห่ทกั ษณิ าวตั รรอบองคพ์ ระบรมธาตุเจดยี ์ 3 รอบ แลว้ นาผ้าเขา้ สวู่ หิ ารมา้ ซึ่งมบี ันไดขึ้นสลู่ าน
ภายในกาแพงแก้วลอ้ มฐานพระบรมธาตุเจดีย์ เพ่ือนาผา้ ขนึ้ ห่มโอบฐานพระบรมธาตุเจดยี ์ซึง่ บรรจุพระบรม
สารีรกิ ธาตุ ถือวา่ เป็นการบชู าพระพุทธเจา้ อย่างใกลช้ ดิ
3. ประเพณลี ากพระ
ประเพณีชักพระ
ประเพณชี กั พระเป็นประเพณที อ้ งถ่ินของชาวใต้ ซึ่งเป็นประเพณที าบุญในวนั ออกพรรษา ซึ่งตรงกับ วนั
แรม 1 ค่าเดือน 11 ซ่งึ เชือ่ กันวา่ เมือ่ ครง้ั ทพี่ ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปจาพรรษา ณ สวรรคช์ ัน้ ดาวดึงสเ์ พื่อโปรดพระ
มารดา เมอ่ื ครบพรรษาจึงเสด็จมายงั โลกมนุษย์ พุทธศาสนกิ ชนจงึ มารอรบั เสด็จ แลว้ อญั เชญิ พระพุทธ เจ้าขึ้น
ประทับบน บษุ บกแลว้ แห่ไปรอบเมอื ง
ประวัตคิ วามเป็นมา
ประเพณชี ักพระเปน็ ประเพณที พราหมณ์ศาสนิกชนและพุทธศาสนิกชนปฏิบตั สิ บื ต่อกันมา สันนษิ ฐาน
วา่ ประเพณีน้ีเกิดข้ึนครงั้ แรกในประเทศอนิ เดยี ท่ีนิยมเอา เทวรูปออกแห่ในโอกาสต่าง ๆ ต่อมา
พุทธศาสนกิ ชนไดน้ าเอาคตคิ วามเชื่อดังกลา่ วมาปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกับความเชือ่ ทางพุทธศาสนา ประเพณี
ชกั พระเล่ากนั เป็นเชิงพทุ ธตานาน วา่ หลังจากพระพทุ ธองค์ทรงกระทายมกปาฏิหารย์ปราบเดียรถยี ์ ณ ปา่
มะม่วง กรงุ สาวัตถี แลว้ ไดเ้ สรจ็ ไปจาพรรษา ณ ดาวดึงสเ์ พอ่ื โปรดพุทธมารดา ซ่ึงขณะน้ันทรงจตุ ิเปน็ มหามายา
เทพ สถติ อยู่ ณ ดสุ ิตเทพพภิ พตลอดพรรษา พระพทุ ธองค์ทรงประกาศพระคณุ ของมารดาแก่เทวสมาคมและ
แสดงพระอภิธรรมโปรดพทุ ธมารดา 7 คัมภีร์ จนพระมหามายาเทพและเทพยดา ในเทวสมาคมบรรลโุ สดาบัน
หมด ถึงวันขึน้ 15 ค่า เดือน 11 อันเปน็ วันสุดท้ายของพรรษา พระพุทธองค์ได้เสดจ็ กลับมนษุ ยโลกทางบันได
ทพิ ย์ท่พี ระอนิ ทร์นิมิตถวาย บนั ไดน้ที อดจากภเู ขาสเิ นนุราชทต่ี ัง้ สวรรค์ ช้ันดสุ ิตมายงั ประตนู ครสังกสั สะ
ประกอบด้วยบนั ไดทอง บนั ไดเงนิ และบันไดแกว้ บันไดทองน้ันสาหรับเทพยดา มาส่งเสดจ็ อยู่เบือ้ งขวาของ
พระพุทธองค์ บนั ไดเงนิ สาหรบั พรหมมาส่งเสด็จอยเู่ บอ้ื งซา้ ยของพระพทุ ธองค์ และบนั ไดแกว้ สาหรบั พระพทุ ธ
องคอ์ ยู่ตรงกลาง เมอ่ื พระพุทธองค์เสดจ็ มาถึง ประตนู ครสงั กสั สะตอนเช้าตร่ขู องวนั แรม 1 คา่ เดือน 11 ซง่ึ
เปน็ วนั ออกพรรษาน้ัน พุทธศาสนิกชนทท่ี ราบกาหนดการเสด็จกลบั ของพระพทุ ธองค์จากพระโมคคัลลานได้มา
รอรบั เสดจ็ อยา่ งเนอื งแนน่ พรอ้ มกบั เตรียมภตั ตาหารไปถวายดว้ ย แต่เนอื่ งจากพุทธศาสนิกชนที่มารอรับเสด็จ
มีเป็นจานวนมากจงึ ไมส่ ามารถจะเขา้ ไปถวายภัตตาหารถึงพระพทุ ธองคไ์ ด้ทว่ั ทุกคน จงึ จาเปน็ ท่ตี ้องเอา
ภตั ตาหารหอ่ ใบไม้สง่ ตอ่ ๆ กันเขา้ ไปถวายสว่ นคนทีอ่ ยไู่ กลออกไปมาก ๆ จะส่งต่อ ๆ กนั ก็ไม่ทันใจ จึงใชว้ ธิ ีหอ่
ภตั ตาหารดว้ ยใบไมโ้ ยนไปบา้ ง ปาบา้ ง ข้าไปถวายเป็น ทโี่ กลาหล โดยถือว่าเป็นการถวายทีต่ งั้ ใจด้วยความ
บริสทุ ธิ์ด้วยแรงอธษิ ฐานและอภนิ หิ ารแห่งพระพทุ ธองค์ ภัตตาหารเหลา่ น้นั ไปตกในบาตรของพระพุทธองค์
ทั้งสนิ้ เหตุนจ้ี ึงเกิด ประเพณี "ห่อต้ม" "ห่อปัด" ข้ึน เพ่อื เปน็ การแสดงถึงความปิตยิ ินดที ่พี ระพุทธองค์เสด็จกลบั
จากดาวดงึ ส์ พทุ ธศาสนิกชน ได้อัญเชิญพระพุทธองค์ข้นึ ประทบั บนบุษบกท่เี ตรยี มไว้ แล้วแห่แหนกนั ไปยงั ที่
ประทับของพระพุทธองค์ คร้นั เลยพทุ ธกาลมาแล้วและเม่ือมีพระพทุ ธรูปขน้ึ พุทธศาสนิกชนจึงนาเอา
พระพุทธรปู ยกแห่แหนสมมตแิ ทนพระพุทธองค์
เรอื พระ
เรอื พระ คอื รถหรือล้อเลอื่ นทีป่ ระดับตกแต่งใหเ้ ป็นรปู เรือแลว้ วางบุษบก ซ่ึงภาษาพืน้ เมืองของภาคใต้
เรียกว่า "นม" หรือ "นมพระ" ยอดบษุ บก เรยี กว่า "ยอดนม" ใชส้ าหรบั อาราธนาพระพุทธรปู ขน้ึ ประดิษฐาน
แล้วลากในวนั ออกพรรษา ลากพระทางนา้ เรียกว่า "เรอื พระนา้ " สว่ นลากพระทางบก เรียกว่า "เรอื พระบก"
สมัยกอ่ นจะทาเปน็ รปู เรือ ให้คล้ายเรือจรงิ ๆ และต้องทาให้มีน้าหนักนอ้ ยท่สี ุด จงึ ใชไ้ ม้ไผส่ านมาตกแตง่ สว่ นที่
เป็นแคมเรอื และหวั ท้ายเรอื คงทาใหแ้ น่นหนา ทางดา้ นหัวและทา้ ยทางอนคล้ายหัวและท้ายเรือ แล้วตกแตง่
เปน็ รปู พญานาค ใช้กระดาษสีเงินสที องทาเป็นเกล็ดนาค กลางลาตัวพญานาคทาเปน็ รา้ นสูงราว 1.50 เมตร
เรยี กวา่ "ร้านม้า" สว่ นท่สี าคัญท่ีสดุ คอื บุษบก ซึ่งแต่ละทจ่ี ะมีเทคนิคการออกแบบบุษบก มีการประดษิ
ประดอยอย่างมาก หลังคาบษุ บกนิยมทาเป็นรูปจตรุ มุข ตกแตง่ ด้วยหางหงส์ ช่อฟา้ ใบระกา และทกุ
ครอบครวั ต้องเตรียม "แทงตม้ " เตรยี มหาในกระพ้อ และขา้ วสารขา้ วเหนยี วเพื่อนาไปทาขนมต้ม "แขวนเรอื
พระ"
การอญั เชญิ พระลากข้นึ ประดิษฐานบนบษุ บก
พระลาก คอื พระพทุ ธรูปยืน แต่ทนี่ ยิ ม คอื พระพุทธรูปปางอมุ้ บาตร เม่อื ถึงวนั ขึน้ 15 คา่ เดอื น 11 พทุ ธ
บรษิ ทั จะสรงน้าพระและเปลี่ยนจวี ร แล้วอญั เชิญขนึ้ บนบุษบก แลว้ พระสงฆ์จะ เทศนา เรอื่ ง การเสด็จไป
ดาวดึงสข์ องพระพทุ ธเจ้า ในวันแรม 1 คา่ เดือน 11 ในตอนเช้ามดื ชาวบ้านจะมาตกั บาตรหนา้ นมพระ
เรียกว่า "ตกั บาตรหนา้ ลอ้ " แล้วอัญเชิญข้นึ ประดิษฐาน บนนมพระ
ลากพระบก
ใช้เชือกแบง่ ผกู เป็น 2 สาย เป็นสายผ้หู ญงิ และสายผู้ชาย ใช้โพน ฆอ้ ง ระฆงั เปน็ เคร่ืองตใี หจ้ งั หวะในการ
ลากพระ คนลากจะเบยี ดเสียดกันสนกุ สนานและประสาน เสียงร้องบทลากพระเพอ่ื ผ่อนแรง ตวั อยา่ งบทร้อง
ทใี่ ช้ลากพระ คอื อ้ีสาระพา เฮโล เฮโล ไอไ้ หรกลมกลม หัวนมสาวสาว ไอไ้ หรยาวยาว สาวสาวชอบใจ