The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mediapbn1, 2022-06-07 02:22:22

การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1

PBN1

การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า

ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2564

การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหนา้
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ.2564

ประกาศคณุ ูปการ

การบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา
2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ฉบับนี้ ประสบ
ความสำเร็จได้ด้วยความเมตตากรุณาจาก นายบรรเจิด กลิ่นจันทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 นายวิทยา เกษาอาจ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 นางนลิ ยา ทองศรี ศึกษานิเทศก์ ท่ไี ดใ้ หค้ ำปรกึ ษาพร้อมกับ
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดจนให้การสนับสนุนและช่วยเหลือการ
ดำเนินงานของคณะวิจัยอย่างดียิ่ง มาโดยตลอด จนการวิจัยฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ คณะวิจัย
ขอขอบพระคุณมา ณ ท่ีน้ี

ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 ที่ให้แนวทางในการการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ซึง่ เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยคร้ังน้ี

ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้กรุณาให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบความ
เหมาะสมของการการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ขอขอบคณุ ผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู ทอ่ี นเุ คราะห์ประเมนิ ความพงึ พอใจแนวทาง
ในการบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

เหนือส่งิ อ่นื ใดขอกราบขอบพระคุณ ขอขอบพระคณุ ครู อาจารย์ท่ีให้ความรู้ทุกท่านที่มีส่วน
ให้วจิ ัยฉบบั นี้บรรลผุ ลสำเรจ็ จนทำใหผ้ วู้ ิจยั ประสบความสำเร็จในวันน้ี

คุณคา่ และคุณประโยชนอ์ ันพึงจะมีจากวิจัยฉบับน้ี ผู้วิจยั ขอมอบและอุทิศแดผ่ ู้มพี ระคุณทุก ๆ
ทา่ น ผวู้ จิ ยั หวังเปน็ อย่างย่งิ ว่า งานวจิ ัยนจี้ ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสำนักงานเขตพน้ื ท่ี ตอ่ ไป

สพป.พช. 1
กันยายน 2564

บทคัดย่อ

การวจิ ัยเร่ือง การบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพื่อพฒั นาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1
การศกึ ษาแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทาง การ
บริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 การ
ประเมนิ การบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) กลุ่มตัวอยา่ ง คือ ได้แก่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา จำนวน 31 คน และข้าราชการ
ครู จำนวน 251 คน รวม 282 คน โดยใชว้ ธิ กี ารส่มุ อย่างงา่ ย วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยหาค่าเฉลี่ยและส่วน
เบยี่ งเบนมาตราฐาน

ผลการวิจัย พบว่า แนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบด้วย 3 รายการ ได้แก่ (1) การ
กำหนดนโยบายด้านการบริการ การติดต่อราชการ การอำนวยความสะดวก แนะนำ ช่วยเหลือ และ
ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ผู้มาติดต่อราชการ จำนวน 9 เรื่อง (2) การบริการที่เป็นเลิศตาม
มาตรฐานสำนักงานโดยตั้งศูนย์อำนวยความสะดวกผู้ติดต่อราชการ แต่งตั้งบุคลากรปฏิบัติหน้าท่ี
เพิ่มเติมเพือ่ ให้เกิดความสำคัญในการปฏิบัตริ าชการในวันทำการ ตั้งแตเ่ วลา 07.30 – 16.30 น. และ
(3) การจัดตัง้ ห้องรับรอง Coffee PBN1 เพ่ือเปน็ ทีบ่ ริการสำหรบั ผู้ตดิ ตอ่ ราชการและสำหรับประชุม
กลุ่มย่อย ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของแนวทางจากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมากที่สุด เม่ือ
นำไปประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ แนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวมอยู่ในระดับ
มากท่สี ุด

สารบัญ

บทท่ี หนา้

1 บทนำ……………………………………………………………….................................................……..….1
ที่มาและความสำคญั ของปัญหา........................................................................ 1
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย.............................................................................................. 3
ขอบเขตของการวิจยั ..................................................................................................... 3
นยิ ามศัพท์เฉพาะ........................................................................................................ 4

2 แนวคดิ และทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง.......................................................................................... 5
แนวคดิ เกย่ี วกบั การบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม.............................................................. 5
แนวคิดเกย่ี วกบั การบริการ..................................................................................... 8
แนวคดิ คา่ นิยมองค์กร............................................................................................ 11
โครงการชวนเปน็ ผอ.เขตด้วยกัน.......................................................................... 18
งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง.................................................................................................. 23

3 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย...............................................................................................................2. 6
ข้นั ตอนท่ี 1 การศกึ ษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)……………………………………………………………………………... 27
ขนั้ ตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)……………………………………………………………………………. 28
ขัน้ ตอนท่ี 3 การประเมนิ แนวทางการบริหารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)………………………………………………………………………………. 30

สารบญั (ตอ่ )

บทท่ี หนา้

4 ผลการวิจยั ......................................................................................................................... 32
ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)……………………………………………………………………….……….. 32
ตอนท่ี 2 ผลการตรวจสอบแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)......................................................................................... 33
ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ แนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)........................................................................................... 35

5 บทสรุป................................................................................................................................3. 7
สรปุ ผลการวิจยั .............................................................................................................38
อภิปรายผลการวิจัย......................................................................................................3. 8
ขอ้ เสนอแนะ.................................................................................................................4. 1

บรรณานุกรม.......................................................................................................................................4.2

ภาคผนวก............................................................................................................................................4.5

คณะผวู้ จิ ยั ......................................................................................................................................... 54

สารบญั ตาราง

ตาราง หนา้

1 แสดงข้ันตอนการดำเนนิ การวจิ ัย……………………………................................................. 26
2 แสดงวัน เวลา การประชมุ เพอ่ื สอบถามแนวทางการบริหารจดั การ สพป.ส่วนหน้า…….. 28
3 แสดงผลตรวจสอบแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19).................................. 34
4 แสดงจำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมินความพึงพอใจแนวทางการบรหิ าร

จดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)..................................................................... 35
5 แสดงผลการประเมินความพงึ พอใจแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

(COVID-19)……………………………………………………………………................... 36

บทที่ 1
บทนำ

ทีม่ าและความสำคญั ของปญั หา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและ

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ม่งุ ผลสัมฤทธ์ิ มีความโปร่งใสยืดหยนุ่ และคลอ่ งตวั นำนวตั กรรมเทคโนโลยี ข้อมลู
ขนาดใหญ่ ระบบ การทำงานทเ่ี ป็นดจิ ิทัล มาใช้ในการบรหิ ารและการตัดสนิ ใจ มกี ารพัฒนาข้อมลู เปิดภาครัฐ
ให้ทกุ ภาคสว่ นสามารถเข้าถึง แบง่ ปนั และใชป้ ระโยชน์ใด้อย่างเหมาะสมสะดวก รวมทง้ั นำองค์ความรู้ ใน
แบบสหสาขาวิชาเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าและแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศในการตอบสนองกับ
สถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งทนั เวลา พรอ้ มท้งั มกี ารจัดการความรู้และถ่ายทอดความร้อู ย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา
ภาครัฐให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการเสริมสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจ การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร
เพือ่ ส่งเสริมการพฒั นาระบบบริการและการบริหารจัดการภาครัฐอยา่ งเต็มศักยภาพ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ตระหนักในเร่ืองการพฒั นาการ
ดำเนินงานของบุคลากรในสำนักงานให้มคี ุณภาพและเตม็ ศักยภาพตามความตอ้ งการของผู้รับบรกิ าร
ดงั นน้ั จงึ จดั ประชุมสัมมนาขา้ ราชการทุกคนระดมความคดิ เพื่อกำหนดค่านยิ มเปน็ กลุ่มตามโครงสร้าง
การบริหารงานสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และนำลักษณะรว่ มจากกลุ่มอื่น ๆ มาบูรณาการกับกลุ่ม
ต่างๆ โดยได้กำหนดค่านิยมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ดังนี้
"บรกิ ารเดน่ เนน้ ทีมงาน สรรสร้างคณุ ภาพ" (คมู่ อื แนวปฏบิ ตั ิตามค่านยิ ม สพป.พช.1, 2564)

“บริการเด่น” หมายถึง การให้บริการด้านอาคารสถานที่ ด้านบุคลากร และด้าน
กระบวนการการปฏิบัติงานที่ส่งผลให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อรับบริการ
ให้บรกิ ารแบบกัลยาณมิตรและตระหนกั ว่าผู้รบั บรกิ ารเป็นบุคคลที่สำคัญท่ีสดุ กระบวนการให้บริการ
มีประสิทธิภาพ ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวก รวดเร็วในการรับบริการมีช่องทางการให้บริการท่ี
หลากหลายทันสมัยสื่อสารเข้าใจง่าย บุคลากรสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ประสบความสำเร็จและ
และมคี วามสุขบุคลากรมีความรักสามัคคีระหว่างสมาชกิ ในทมี

“เน้นทีมงาน” หมายถงึ บุคลากรมคี วามสามารถในการปฏิบัตงิ านทมี่ ีคุณภาพ ยึดม่ันศรัทธา
และมีคุณธรรมจริยธรรม ให้ความร่วมมีอช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การให้เกียรตยิ กย่องซ่ึงกันและกัน
การประสานและเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและมีความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ร่วมมือกัน
ปฏิบัติงานจนไดม้ าตรฐาน

“สรรสรา้ งคุณภาพ” หมายถงึ การปฏบิ ตั ิตามภารกจิ อำนาจหนา้ ที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายให้สำเร็จ
บรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ เต็มใจ เกิด
ประโยชน์สูงสดุ ต่อผ้เู รียน สถานศึกษา และสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

2

เนื่องจากสภาพปัจจุบันเป็นเหตุให้การดำเนินชีวิตของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาเข้าสู่ชีวิตวิถีใหม่ (New normal) ซึ่งการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ขยาย
วงกว้างและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงทำให้จังหวัดเพชรบูรณ์โดยคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อ
มปี ระกาศใหห้ น่วยงานราชการเฝา้ ระวงั และปฏิบัติตามมาตรการของสาธรณะสขุ จงั หวัดอย่างเคร่งครัด
พรอ้ มทงั้ สพฐ.หนว่ ยงานต้นสงั กดั ไดป้ ระกาศใหป้ ิดภาคเรยี นแบบ onsite ทัง้ ประเทศแต่ภารกิจหลัก
ของ สพป.เพชบูรณ์ เขต 1 ด้าน การบริการ การสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนของครู
และบุคลากรทางการศึกษาใหก้ ับผ้เู รียน ที่ไม่สามารถหยุดได้ การเรียนรตู้ ้องเป็นไปอย่างต่อเนื่องด้วย
วิธีที่หลากหลาย ด้วย On-demand On-Air On-site Online และ On-hand ตามที่ปฏิบัติกัน
อยู่แล้ว ส่วนสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เป็นหน่วยงานที่ต้องให้ความชว่ ยเหลอื
ส่งเสรมิ และสนับสนุนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตลอดจนผู้ปกครองนักเรียน ประชาชน
ทว่ั ไป และประสานงานใหค้ วามรว่ มมือกบั บคุ คล หนว่ ยงานอน่ื กอร์ปกบั มีบุคคลมาติดต่อราชการกับ
สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1`เป็นจำนวนมาก ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ จำเป็นต้อง
หาวิธีป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้บุคลากรมีความปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ใน
สำนกั งานอยา่ งมีประสิทธภิ าพดังเหตุผล

1. เพ่อื ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้กบั บุคลากรทางการศกึ ษา
2. เพอื่ อำนวยความสะดวกและบรกิ ารขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา บคุ คล และ
หนว่ ยงานอื่น
3. เพอื่ ความรวดเรว็ ในการติดต่อราชการ และสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ ับผมู้ ารับบริการทุกคน
4. เพ่อื ประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั หิ น้าท่ขี องบุคลกรของสำนักงาน เช่น หากข้าราชการครู
บุคคล ที่ไม่สามารถติดต่อราชการให้เสร็จสิ้นในวันเดียวได้ให้สามารถติดต่อโดยการนัดหมายก่อง
ล่วงหนา้ ได้
5. เพื่อเป็นการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการ
จากเหตผุ ลท่กี ล่าวมาขา้ งต้นจงึ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
ดำเนนิ การวิจัยเพ่อื หาแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหน้า ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขน้ึ

วัตถุประสงคข์ องการวิจยั
วัตถปุ ระสงค์หลกั
เพ่ือพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

3

วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ
1. เพอ่ื ศึกษาแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. เพื่อตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3. เพ่ือประเมนิ การบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ขอบเขตของการวิจยั
ขอบเขตของการวจิ ัยแบ่งเป็น 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้
ข้นั ตอนท่ี 1 การศึกษาแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใตส้ ถานการณก์ าร
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
การศกึ ษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสัมภาษณ์ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
1.1.1 ประชากร
ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน
1.1.2 ตัวแปรทศี่ ึกษา
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา คือ แนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ขัน้ ตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1. กลุม่ ผใู้ ห้ขอ้ มูล
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ข้าราชการบำนาญ จำนวน 3 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3
คน และ ขา้ ราชการครู จำนวน 3 คน ท่เี คยใช้บริการ สพป.สว่ นหน้า
2. ตัวแปรทศี่ กึ ษา
ตวั แปรท่ีศกึ ษา คอื แนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

4

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง

ประชากร ได้แก่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จำนวน 126 คน และ ขา้ ราชการครู จำนวน 1,036
คน รวม 1,162 คน

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 31 คน และ ข้าราชการครู จำนวน 251
คน รวม 282 คน ซึ่งการกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางเครซี่และมอร์แกน (Krejcie &
Morgan) (บญุ ชม ศรสี ะอาด (2554, น.43) โดยใช้วิธกี ารสมุ่ อย่างง่าย

2. ตวั แปรท่ีศกึ ษา
ตัวแปรท่ีศกึ ษา คือ ความพึงพอใจการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
นยิ ามศัพท์เฉพาะ

1. สพป.สว่ นหนา้ หมายถงึ หนว่ ยงานย่อยเพื่ออำนวยความสะดวกผมู้ าติดต่อราชการของ
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

2. แนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ หมายถงึ การกำหนดนโยบายด้านการบริการ
การตดิ ตอ่ ราชการ การอำนวยความสะดวก แนะนำ ช่วยเหลือ และให้บรกิ ารด้านขอ้ มูลขา่ วสาร ให้แก่
ผู้มาตดิ ตอ่ ราชการ การบริการท่ีเปน็ เลิศตามมาตรฐานสำนกั งานโดยตงั้ ศนู ยอ์ ำนวยความสะดวก
ผู้ตดิ ต่อราชการ และ การจดั ต้ังหอ้ งรับรอง Coffee PBN1 เพ่ือเป็นทีบ่ รกิ ารสำหรบั ผู้ติดตอ่ ราชการ
และสำหรบั ประชมุ กลุ่มยอ่ ย

3. ความพงึ พอใจ หมายถึง ความร้สู ึกนกึ คิดหรอื ทศั นคตขิ องบุคคลท่มี ีตอ่ สิ่งใดสง่ิ หน่ึงในห่วง
เวลา หน่ึง สามารถเปน็ ไปในทางท่ดี ีหรือไม่ดีหรอื ในด้านบวกและด้านลบ ซึง่ จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่งน้ัน
สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการแก่บคุ คลน้นั อย่างไร ในงานวิจยั ฉบับนี้ หมายถงึ ความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการต่อการให้บรกิ าร ของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

4. ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้รักษาการในตำแหน่ง
ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

5. ข้าราชการครู หมายถึง ข้าราชการครผู ูป้ ฏิบัตหิ น้าที่ในสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขต
พ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

บทท่ี 2
แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ ก่ียวขอ้ ง
การวิจยั เรอื่ ง การบริหารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ
เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
คณะผู้วจิ ยั ไดน้ ำเสนอแนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กยี่ วข้องตามลำดับ ดงั นี้
1. แนวคดิ เก่ียวกบั การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม

2. แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ

3. แนวคิดค่านยิ มองคก์ ร

4. โครงการชวนเปน็ ผอ.เขตดว้ ยกนั

5. งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง

แนวคิดเก่ยี วกับการบริหารแบบมีส่วนรว่ ม
1. ความหมายการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม
อำไพ นงค์เยาว์ (2559) สรปุ วา่ การบริหารแบบมสี ว่ นร่วม หมายถึง การให้ผู้รว่ มงาน

หรอื ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชา เขา้ มามีส่วนรว่ มในการกำหนดเป้าหมายในกระบวนการตัดสนิ ใจอันเป็นการให้
ความสำคัญต่อบคุ คล และเปน็ การตอบสนองความตอ้ งการพ้นื ฐานของมนุษย์ทต่ี อ้ งการให้ความสำคัญ
ต่อบคุ คล และเปน็ การตอบสนองความตอ้ งการข้ันพ้ืนฐานท่มี นษุ ย์ตอ้ งการไดม้ ีส่วนร่วม

ธีระ รญุ เจริญ (2557) สรุปแนวคิดเก่ยี วกบั การบริหารแบบมีส่วนร่วม คอื การท่ผี บู้ รหิ าร
เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานเข้ามามีบทบาทในการพิจารณาปัญหาและตัดสินใจรว่ มกัน ร่วมรับผิดชอบใน
การบริหารงานบางอย่าง เพอื่ ประโยชน์ในการระดมกำลงั ความคดิ และแบง่ ภาระหน้าทข่ี องผ้บู ริหาร

จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556) ให้ความหมายเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมว่า เป็น
การเปิดโอกาสให้บุคลากรมคี วามเชื่อมโยงใกล้ชิดกับการดำเนินกิจการและการตัดสินใจ ซึ่งกอ่ ใหเ้ กดิ
ผลดีต่อการขับเคล่ือนองคก์ รหรือเครือขา่ ย เพราะมีผลในทางจิตวทิ ยาเปน็ อย่างยิ่ง กลา่ วคอื ผู้ที่เข้ามา
มีส่วนร่วมย่อมเกิดความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร ความคิดเห็นถูกรับฟังและนำ
ปฏิบัติเพื่อการพัฒนา และที่สำคัญผู้ที่มีส่วนร่วมจะมีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการหรือองค์การ
ความรู้สกึ เป็นเจา้ ของจะเปน็ พลงั ในการขับเคล่อื นองค์การและหนว่ ยงานทีด่ ีท่ีสดุ

จนั ทรานี สงวนนาม (2551) กล่าววา่ การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคล
ไดม้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งในการปฏบิ ตั ิงาน ทง้ั ในดา้ นการแสดงความคิดเหน็ การตัดสินใจ และการปฏิบัติงาน
ตลอดจนการประเมนิ ผล

6

สรุปได้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคคลที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงาน
หรือกจิ กรรมทุกขัน้ ตอน

2. ลกั ษณะการบริหารแบบมีส่วนร่วม
จรุณี เก้าเอี้ยน (2557) กล่าวถึง การบริหารสมัยใหม่ ได้นำแนวคิดเชิงมนุษย์สัมพันธ์มา

บริหารและตดั สินใจ โดยการยดึ หลักด้านจิตใจของการทำงาน ซ่งึ เปน็ การใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ านมีส่วนร่วมใน
การบริหาร ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความรู้สึกเกี่ยวข้องผูกพันกับงานหรือองค์การ ด้วยเหตุนี้การ
บรหิ ารโดยการมีสว่ นร่วมมีลักษณะ ดังน้ี

1. การบริหารแบบมสี ่วนรว่ มเป็นกระบวนการของการใหผ้ ้ใู ต้บังคับบญั ชามีสว่ น
เกี่ยวข้องในกระบวนการตดั สินใจ

2. เปน็ การมีส่วนร่วมอย่างแขง็ ขนั ของบคุ คล
3. ใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ และความเช่ียวชาญในการแกป้ ญั หาของการบริหาร
4. การบรหิ ารโดยการมีสว่ นร่วมตัง้ อยบู่ นพ้นื ฐานของแนวคิดของการแบง่ อำนาจ
หน้าทีท่ ผ่ี ูบ้ รหิ ารมิใหก้ ับผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา
5. ต้องการให้ผ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชามสี ว่ นร่วมเก่ียวขอ้ งอยา่ งแทจ้ ริงในกระบวนการ
ตดั สนิ ใจทส่ี ำคัญขององค์กร มใิ ช่เพยี งแต่ห่วงใยหรอื สัมผสั ปญั หาเท่าน้นั
อนึ่งการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วมมีความจำเป็นในการบริหารงานในยุคปัจจบุ ัน ด้วยเหตุผล
ดงั น้ี
1. ความเปน็ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล เหตเุ พราะ ความมปี ระสิทธผิ ล
เกี่ยวข้องกับความเหมาะสมและความสำเร็จของเป้าหมาย ส่วนความมีประสิทธิภาพเกี่ยวข้องกับ
ค่าใช้จ่ายของความสำเร็จตามเป้าหมาย อาจกล่าวได้ว่า ประสิทธิภาพ คือ อัตราส่วนระหว่างผลผลติ
และปัจจัยการผลิต การบริหารแบบมีส่วนร่วมช่วยให้ผู้บริหารและหน่วยงานมีประสิทธิผลและ
ประสทิ ธภิ าพ เชิงความคาดหวงั ท่ีวา่

1.1) เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพของการตัดสินใจทางการบริหารใหด้ ีขึ้น
1.2) เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทำงานของลูกจา้ งใหด้ ขี น้ึ
1.3) เพือ่ เพิ่มขวัญและความพอใจในงานของลูกจา้ งให้ดีขึน้
1.4) เพ่อื ช่วยใหอ้ งค์กรตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสภาพแวดล้อมไดด้ ขี น้ึ
2. สง่ ผลใหพ้ ฤติกรรมของบคุ คลสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ขององค์กร กลา่ วคือ
การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมช่วยในการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทำงานขององคก์ ร โดยการปฏิบัติงานและ
ขวัญของแต่ละบุคคล เพราะบุคคลและความคาดหวังขององค์กรมคี วามขัดแย้ง สร้างความคบั ขอ้ งใจ

7

และเป็นผลเสียแก่ทุกฝ่าย แต่การบริหารโดยการมีส่วนร่วมสามารถคลี่คลายข้อขัดแย้งดังกล่าว ได้
เพราะการทีใ่ ห้โอกาสแกบ่ ุคคลในการมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจขององค์กรพวกเขา สามารถควบคุมการ
ทำงานของพวกเขาเองในการใชค้ วามสามารถและสร้างความสำเรจ็ ใหเ้ กดิ ขึน้ ได้

3. เป็นการช่วยสร้างแรงจูงใจ การบริหารแบบมีส่วนร่วมสนองความต้องการทาง
จิตใจตามทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ (Needs Hierarchy Theory) และทฤษฎีการจูงใจของเฮอร์ช
เบอร์ก (Motivation Hygiene Theory) เพราะการตอบสนองโดยวิธีการต่าง ๆ นั้น ยังขาดการ
ตอบสนอง "การมสี ว่ นรว่ ม" ซ่ึงเปน็ ส่งิ จงู ใจ ที่แทจ้ รงิ ไป

ดงั น้นั ลักษณะการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม จึงควรเปน็ การปฏบิ ัติงานทร่ี ่วมกันระหว่าง
ผบู้ รหิ ารองคก์ รและผมู้ สี ว่ นได้เสียในการปฏิบัตงิ านต่าง ๆ เพอ่ื การพฒั นาองคก์ รให้ประสบความสำเร็จ
ตามเปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้

3. ความสำคัญของการบริหารแบบมสี ่วนร่วม
จรณุ ี เก้าเอ้ยี น (2557) กล่าวว่า การบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม มีความสำคญั ดังน้ี
1. ทำใหเ้ กิดความคดิ ได้มากกว่า เพราะเป็นการเปิดโอกาสใหส้ มาชกิ ไดร้ ะดมความคิด

และอภิปรายร่วมกัน ดังน้นั การทจ่ี ะไดค้ วามคิดดี ๆ ในการปฏบิ ัตงิ านจึงมีความเป็นไปได้มากกว่าการ
คิดเพยี งคนเดียว

2. ในการบรหิ ารมีผลในชงิ จิตวิทยา คือ ทำใหก้ ารต่อตา้ นลดน้อยลงใน
ขณะเดียวกันก็จะเกดิ การยอมรับมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเป็นวิธีที่ผู้บริหารสามารถใช้ทดสอบดูว่าสิง่ ท่ี
ตนเองรตู้ รงกบั ส่ิงทีผ่ ้รู ่วมงานหรอื ผู้ใต้บังคบั บญั ชารู้หรือไม่

3. เปิดโอกาสให้มีส่ือสารแบบเปดิ สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มูลและประสบการณใ์ น
การทำงานรว่ มกนั ตลอดจนการเสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธท์ ดี่ ตี ่อกัน

4. ผู้รว่ มงานจะมโี อกาสไดใ้ ช้ความสามารถและทกั ษะในการทำงานรว่ มกัน เกดิ
ความมีน้ำใจ(Team spirit) และความจงรักภักดีตอ่ องค์กร (Loyalty) มากขน้ึ

5. ทำให้ผลการปฏบิ ัติงานดขี ้นึ การตดั สินใจมคี ุณภาพมากข้ึน สง่ เสรมิ ใหก้ าร
ปรับปรุงงานมีความเป็นไปได้สูงขึ้น ตลอดจนผู้ร่วมงานความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้นด้วย
รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม

จนั ทรานี สงวนนาม (2551) กลา่ ววา่ การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม มีความสำคัญ ดงั นี้
1. กอ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคครี ะหว่างผู้บรหิ ารและผูร้ ว่ มงานทุกระดบั ในองค์การ
2. ลดความขดั แย้งในการทำงาน และเพมิ่ ความไว้วางใจซ่ึงกันและกันมากข้นึ
3. สร้างบรรยากาศท่ีดีในการทำงาน
4. ช่วยใหผ้ ้รู ว่ มงานมีสขุ ภาพจติ ดี ทุกคนมงี านทำ
5. สร้างความเป็นประชาธิปไตยในองค์การ

8

6. ลดคา่ ใชจ้ ่าย และใช้ทรพั ยากรอย่างทะนุถนอม
7. ชว่ ยให้การใชง้ บประมาณเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8. ช่วยใหพ้ นกั งานเกดิ ความรู้สึกว่าเขาเป็นสว่ นหนึ่งขององคก์ าร
นอกจากน้ี เทคนคิ ทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม ไดแ้ ก่
1. ใชก้ ับกลุ่มงานเฉพาะกิจและในรปู แบบคณะกรรมการ (Special Task Forces
and Committee)
2. ใช้ในรปู แบบของกรรมการให้คำแนะนำ (Consulting)
3. การนำแนวความคิดของหมุดเชื่อมโยง (Linking Pin) มาใช้
4. ใช้การตดิ ตอ่ ส่ือสารแบบเปิดประตู (Open Door)
5. ใชก้ ารระดมความคิด (Brain Storming)
6. ใชก้ บั การฝึกอบรมแบบตา่ ง ๆ (Training)
7. ใช้การบรหิ ารโดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ (MBO)
แนวคดิ เกีย่ วกับการบรกิ าร
1. ความหมายของการใหบ้ ริการ
สมิต สัชฌุกร (2542 อ้างถึงใน อัญชลี ดุสิตสุทธิรัตน, 2559) ให้ความหมายว่า การบริการ
เป็นการปฏิบัติงานที่กระทำหรือติดต่อเกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการ การให้บุคคลต่าง ๆ ได้ใช้ ประโยชน์
ในทางใดทางหนง่ึ ท้ังด้วยความพยายามใด ๆ ก็ตามดว้ ยวิธีการหลากหลายในการทำให้ บุคคลต่างๆ ท่ี
เกี่ยวข้องได้รับความช่วยเหลือ จัดได้ว่าเป็นการให้บริการทั้งสิ้น การอํานวยความสะดวก การสนอง
ความตอ้ งการของผู้ใช้บริการเปน็ การให้บริการ การให้บริการจึงสามารถดำเนนิ การได้ หลากหลายวิธี
จดุ สำคัญคือ เป็นการชว่ ยเหลอื และมีประโยชน์แก่ผใู้ ช้บรกิ าร
สุนนั ทา ทวีผล (2550) กล่าวถึงลกั ษณะ การให้บริการทมี่ ีคุณภาพ โดยมตี วั แปรทจ่ี ะนำมาใช้
ในการกำหนดคณุ ภาพของบรกิ าร ดงั นี้
1. ความถกู ต้องตามกฎหมาย หมายถงึ บรกิ ารที่จัดให้มีขน้ึ ตามกฎหมาย โดยเฉพาะบริการท่ี
บังคบั ใหป้ ระชาชนตอ้ งมาใช้บริการ
2. ความเพียงพอ หมายถึง บริการที่มีจำนวนและคุณภาพเพียงพอกับความต้องการของ
ผรู้ ับบรกิ าร ไมม่ ีการรอคอยหรือเข้าคิวเพ่ือขอรบั บรกิ าร
3. ความทั่วถึง เท่าเทียม ไม่มีข้อยกเว้น ไม่มีอภิสิทธิ์ หมายถึง บริการที่ดีต้องเปิดโอกาสให้
ประชาชนในทกุ พน้ื ท่ี กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ได้ใชบ้ รกิ ารประเภทเดยี วกนั คณุ ภาพเดียวกันได้อย่างท่ัวถึง
เท่าเทยี มกัน โดยไม่มขี อ้ ยกเวน้
4. ความสะดวก รวมเร็ว เชื่อถือได้ หมายถึง การให้บริการที่ดีมีคุณภาพนั้นจะต้องมลี ักษณะ
ท่ีสำคัญ ได้แก่

9

4.1 ผู้ใชบ้ รกิ ารจะตอ้ งได้รบั ความสะดวก คอื สามารถใช้บรกิ ารได้ ณ ทตี่ า่ ง ๆ และ
สามารถเลอื กใชว้ ิธกี ารไดห้ ลายแบบตามสภาพของผู้ใชบ้ ริการ นอกจากน้ันความสะดวกอาจพิจารณา
ได้จากกระบวนการใหบ้ ริการ เช่น การจดั ให้มีจดุ ให้ -รับบรกิ ารเพยี งจุดเดยี ว (One -Stop Service)

4.2 ความรวดเรว็ หมายถึง ประชาชนตอ้ งได้รับการบริการทันที โดยไม่ตอ้ งรอควิ
คอยรบั บรกิ ารนานเกินสมควร

4.3 ความน่าเช่ือถอื ไดข้ องระบบบรกิ าร หมายถงึ บริการท่ีมีคณุ ภาพจะต้องมคี วาม
ต่อเนื่องสม่ำเสมอ มีระเบียบแบบแผนการให้บริการที่แน่นอน คาดการณ์ล่วงหน้าได้แน่นอนเป็นที่
พ่ึงพาของผ้รู บั บริการได้เสมอ และมีโอกาสเกดิ ความผิดพลาดนอ้ ยที่สดุ

5. ความได้มาตรฐานทางเทคนคิ หรือมาตรฐานทางวชิ าการ หมายถงึ การให้บรกิ ารประเภทที่
ต้องอาศยั ความรูค้ วามชาํ นาญทางเทคนคิ หรอื ทางวิชาการ

6. การเรียกเกบ็ ค่าบริการท่ีเหมาะสม ตน้ ทุนการให้บรกิ ารต่าง ๆ หมายถึง การให้บริการของ
รัฐประเภทท่ีมกี ารเรียกเก็บคา่ บริการจากผู้รับบรกิ ารตอ้ งมีค่าบริการที่เหมาะสมและต้องมรี ะบบการ
จัดบริการที่มีประสิทธิภาพ มีต้นทุนการดําเนินงานต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพดี
และมคี ่าบริการท่ีไม่สูงเกนิ ไป

ดังนั้น การบริการ หมายถึง การที่ผู้ให้บริการการอํานวยความสะดวก การสนองความ
ต้องการของผู้รบั บริการ โดยสามารถดำเนินการได้ หลากหลายวิธี จดุ สำคญั คือ เป็นการช่วยเหลือและ
มีประโยชนแ์ กผ่ ูร้ ับบริการ โดยบรกิ ารอย่างความท่ัวถงึ เท่าเทยี ม ความสะดวก รวมเร็ว และเชื่อถอื ได้

2. การบริการสาธารณะและการให้บริการประชาชนภาครฐั
การสร้างความพึงพอใจในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนมีหลักและแนวทาง คือ การ
ให้บริการอย่างเสมอภาค หมายถึง ความยุติธรรมในการบรหิ ารงานภาครัฐที่มีฐานคติที่ว่า คนทุกคน
เท่าเทียมกัน ดังนั้นประชาชนทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันในแง่มุมของ กฎหมายไม่มี
การแบ่งแยกกีดกันในการให้บริการประชาชนจะได้รับการปฏิบัติในฐานะที่เป็นปัจเจก บุคคลที่ใช้
มาตรฐานในการใหบ้ รกิ ารเดียวกนั การใหบ้ ริการทตี่ รงเวลา หมายถึง ในการบรกิ าร จะต้องมองว่า การ
ให้บริการสาธารณะจะต้องตรงต่อเวลา ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐจะถือว่าไม่มี
ประสิทธิผลเลยถ้าไม่มีการตรงต่อเวลา ซึ่งจะต้องสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชน การให้บริการ
อย่างเพียงพอ การให้บริการสาธารณะต้องมีลักษณะ มีจำนวนการให้บริการและสถานที่ ให้บริการ
อยา่ งเหมาะสม
Millet (1954) ได้ให้ทัศนะว่า ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริการของหน่วยงาน
ภาครัฐนั้น โดยได้สรุปประเด็นว่า เป้าหมายที่เป็นที่นิยมมากที่สุดที่ผู้ปฏิบัติต้องยึดถือไว้เสมอใน
หลักการ 5 ประการ คือ

10

1. การให้บริการอย่างเสมอภาค (Equitable Service) หมายถึง ความยุติธรรมในการ
บริหารงานภาครัฐที่มีฐานของความคิดว่าทุกคนเท่าเทียมกัน ดังนั้นประชาชนทุกคนจะได้รับการ
ปฏบิ ตั ิอย่างเทา่ เทยี มกันในทุกแง่มมุ ของกฎหมายไมม่ กี ารแบ่งแยกกดี กันในการให้บรกิ ารประชาชนจะ
ไดร้ ับการปฏบิ ัติในฐานะทีเ่ ป็นปจั เจกบคุ คลทีใ่ ชม้ าตรฐานการให้บรกิ ารเดยี วกนั

2. การให้บริการที่ตรงเวลา (Timely Service) หมายถึง ในการให้บริการจะต้องมองว่าการ
ให้บริการจะต้องตรงเวลา ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐจะถือว่าไมม่ ีประสิทธิผลเลยถ้าไม่มี
การตรงเวลาซง่ึ จะสร้างความพึงพอใจใหแ้ ก่ประชาชน

3. การให้บรกิ ารอยา่ งเพียงพอ (Ample Service) หมายถงึ การใหบ้ รกิ ารจะตอ้ งมลี กั ษณะท่ีมี
จาํ นวนการใหบ้ รกิ ารและสถานทใ่ี ห้บริการอยา่ งเหมาะสม

4. การให้บริการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Service) คือ การให้บริการที่เป็นไปอย่าง
สมำ่ เสมอ โดยยดึ ประโยชน์ของสาธารณชนเปน็ หลักไม่ใช่ยึดตามความพอใจของหนว่ ยงานที่ให้บริการ
วา่ จะใหห้ รอื หยดุ บริการเมอื่ ใดกไ็ ด้

5. การให้บริการอย่างก้าวหน้า (Progressive Service) คือ การให้บริการที่มีการปรับปรุง
คุณภาพและผลการปฏิบัติงาน กล่าวอีกนัยหนึง่ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพหรือความสามารถที่จะทํา
หน้าทไี่ ดม้ ากขน้ึ โดยใช้ทรัพยากรเทา่ เดิม

เลื่อมใส ใจแจ้ง (2546) ได้เสนอแนวความคิด ในการบริการประชาชนที่ดีและมีคุณภาพตอ้ ง
อาศัยเทคนิค กลยุทธ์ ทักษะที่จะทำให้ชนะใจ ผู้รับบริการ ซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งก่อนการติดต่อ
ระหว่างการติดต่อและหลักการติดต่อโดยได้รับการ บริการจากตัวบุคคลทุกระดับในองค์กร รวมทั้ง
ผู้บริหารขององค์กรนั้น ๆ ทั้งนี้การบริการที่ดี จะเป็น เครื่องมือช่วยให้ผู้ติดต่อรับบริการเกิดความ
เชื่อถือ ศรัทธาและสร้างภาพลักษณ์ ซึ่งจะมีผลในการใช้ บริการต่าง ๆ ในโอกาสหน้าต่อไป ซึ่งมี
แนวคดิ ดังน้ี

การปรบั มมุ มองว่าประชาชน คือ ลูกคา้ คนสำคัญ ได้แก่
1. เราจะต้องกระตอื รือรน้ ที่จะบรกิ ารประชาชน
2. มจี ติ สํานึกในการใหบ้ ริการทด่ี ีต่อประชาชน (Service Mind)
3. เราจะต้องเปดิ โอกาสให้ประชาชนเสนอแนะให้แกเ่ รา
4. เราจะต้องสรา้ งค่านยิ มใหม่วา่ ความพึงพอใจของประชาชน คือ ความสำเรจ็ ของเรา
การสรา้ งวฒั นธรรมใหม่ในการบรกิ าร
1. มวี ิสยั ทัศน์ทม่ี ่งุ ตอบสนองความต้องการของประชาชน
2. ปรบั ตวั ให้ทนั สมัยพรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลง
3. คำนึงถึงผลลพั ธ์มากกวา่ วิธกี าร
4. ลดความเปน็ ทางการในการประสานงาน

11

5. ใช้กฎระเบยี บอยา่ งมดี ลุ ยพนิ จิ
6. มีความรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
เทคนิคในการต้อนรับประชาชน
1. ต้อนรับด้วยความคนุ้ เคย เป็นกนั เอง
2. ต้อนรบั ดว้ ยความสุภาพอ่อนโยนให้เกยี รติอยเู่ สมอ
3. ตอ้ นรับดว้ ยความยิม้ แยม้ แจ่มใส
4. ต้อนรับดว้ ยความอบอุ่น
5. ตอ้ นรบั ด้วยความเอาใจใส่
6. ตอ้ นรบั ดว้ ยความปฏิบัติหน้าที่ใหท้ นั ใจ
7. ตอ้ นรับดว้ ยความอดทน
8. ต้อนรบั ด้วยความเพียร
9. ต้อนรบั ด้วยความจริงใจ
10. ต้อนรับด้วยการให้บรกิ ารเสมอ
Weber (1966) ใหท้ ศั นคติเก่ียวกับการใช้บริการว่าการจะให้บริการมีประสิทธภิ าพ และเป็น
ประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด คือ การให้บริการที่ไม่คำนึงถึงตัวบุคคลหรือเป็นการบริการท่ี
ปราศจากอารมณ์ ไมม่ คี วามชอบพอสนใจเปน็ พิเศษทกุ คนไดร้ ับการปฏิบตั ิเท่าเทียมกนั ตามเกณฑ์เม่ือ
อยู่ในสภาพท่ีเหมอื นกัน

แนวคิดค่านยิ มองคก์ ร
1. ความหมายของค่านิยม
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 (2564) กลา่ วว่า ค่านิยม

คือ เจตคติความคิด ความชอบ ความเชื่อ พฤติกรรม และสิ่งอื่นที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่า มี
ความสำคัญ จึงยอมรับยึดถือมาเป็นแนวทางประพฤติอย่างสม่ำเสมอหรืออย่างน้อยก็ชั่วระยะหนึ่ง
เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายของตนเองหรอื สังคม โดยค่านิยมของสังคมก็คอื ค่านิยมร่วมของกลุ่มบุคคลใน
สงั คมน้ัน ๆ ซึง่ แฝงอยภู่ ายในความคิด อารมณ์ ความร้สู ึก และเจตคติของแตล่ ะบุคคล

2. ความหมายของค่านยิ มองคก์ ร
สำนักงาน ก.พ. (2557) กล่าวว่า ค่านิยมหลักหรือ Core Value เป็นหลักการและ

พฤติกรรมชี้นำ ที่สื่อถึงความคาดหวังใหอ้ งค์กร และบุคลากรปฏิบัตติ าม ค่านิยมหลักของ องค์กรจะ
สะท้อนและเสริมสร้างวัฒนธรรมทีพ่ ึงประสงค์ตลอดจนเป็น แนวทางชีน้ ำและสนบั สนุนการตัดสินใจ
ของบคุ ลากรทกุ คน เพอื่ ชว่ ยให้ องค์กรบรรลุวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจดว้ ยวธิ ีการที่เหมาะสม

12

กติ ติพทั ธ์ จิรวัสวงศ์ (2559) ค่านิยมองคก์ ร คือ หลกั การและพฤตกิ รรมชน้ี ำทส่ี ่ือถงึ
ความ คาดหวังให้องค์กรและบุคลากรปฏิบัติซึ่งสะท้อนและหนุนเสริมวัฒนธรรม ที่พึงประสงค์ของ
องค์กร รวมทั้งสนับสนนุ และชนี้ ำการตัดสินใจของ บุคลากรทุกคนและชว่ ยใหอ้ งค์กรบรรลุพันธกิจและ
วิสยั ทัศนด์ ้วยวิธกี าร ท่ีเหมาะสม

ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง (2556) คา่ นิยมองค์กร หมายถึง เกณฑ์ที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคล
ใชใ้ นการ ตดั สินวา่ อะไรควรทำ และอะไรไม่ควรทำ เพ่อื ให้ได้ผลอนั พึงปรารถนาร่วมกัน ซง่ึ คา่ นิยมเป็น
สิ่งที่กำหนดถึงพฤติกรรมและผลที่ติดตามมา นอกจาก ค่านิยมจะเป็นบรรทัดฐาน (Basic) ของการ
สร้างวัฒนธรรมองค์กรแล้ว ค่านิยมยังมีประโยชน์อื่นอีก คือ ทำให้รู้ว่าองค์กรคาดหวังอะไร ผลงาน
แบบใด ดว้ ยวิธีการใด ช่วยสรา้ งบรรยากาศท่ีกลมเกลยี วและกลมกลืน ในการทำงาน และช่วยทำให้มี
แนวทางในการปรบั ตัวเพอ่ื ให้เกดิ Organizational fit

ภานุวัฒน์ จาโรทก (2551) คา่ นิยมองค์กร คอื คา่ นิยมหลักขององค์กรท่ีทกุ คนเขา้ ใจ
ตรงกัน ต้องปฏิบัติและบรรลุเป้าหมายได้ซึ่งค่านิยมหลักนีต้ ้องสอดคล้องกับ พันธกิจขององค์กร เช่น
ค่านิยมหลกั ของธนาคาร คือ ความซื่อสัตยเ์ ป็นต้น

พงศ์ศรันย์ พลศรีเลศิ (2554) คา่ นิยมองคก์ ร เปรียบเสมือนเสาหลกั ทย่ี ดึ โยงให้
พนักงาน ประพฤตแิ ละปฏบิ ตั ติ นให้สมกับพันธกิจขององคก์ ร เกดิ จากการฝังลึกของ ความศรัทธาและ
พัฒนาจนกลายเปน็ คณุ ค่าฝังลึกในจติ วญิ ญาณของ พนักงานทุกคน ทุกระดบั ในองคก์ ร

กลา่ วโดยสรุป ค่านิยมองคก์ ร หมายถงึ หลกั การและพฤตกิ รรม ชี้นำทส่ี ่อื ถงึ ความ
คาดหวงั ขององค์กร เปรียบเสมือนเสาหลกั ท่ียึดโยงให้ องค์กรและบุคลากรปฏิบัติตาม เพือ่ สะทอ้ นและ
หนนุ เสรมิ วฒั นธรรมท่ี พงึ ประสงคข์ ององคก์ ร ชีน้ ำการตดั สินใจของบคุ ลากรว่าอะไรควรทำ และ อะไร
ไม่ควรทำ เพื่อช่วยให้องค์กรบรรลุพันธกจิ และวิสัยทัศน์ด้วยวิธีการ 7 ที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วย
สร้างบรรยากาศที่กลมเกลียวและกลมกลืน ในการทำงาน และแนวทางในการปรับตัวเพื่อให้เกิด
Organizational fit ดว้ ย

3. การสรา้ งคา่ นิยมองค์กร
การสร้างคา่ นิยมองค์กร มี 5 ข้ัน ดังน้ี (แนวทางการสรา้ งคา่ นิยม, ม.ป.ป.)
ขน้ั ที่ 1 ระดมความคิดของผ้ทู ่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องเกีย่ วกับการบริหาร องคก์ รที่ต้องการใหเ้ ป็น โดย
การรวมพลงั กนั เอง
ขั้นที่ 2 คัดเลือกค่านิยมทสี่ ะท้อนถงึ ตัวตนทแ่ี ท้จรงิ ขององค์กรให้ ได้มากท่ีสุด (อย่างนอ้ ย 20 คำ)
ขั้นที่ 3 หาความสัมพันธ์ท่ีเชื่อมโยงกันระหว่างแต่ละคำเพื่อจัด เป็นหมวดหมู่ที่น่าสนใจ และ
ไม่ทับซอ้ นระหว่างกล่มุ

13

ขั้นที่ 4 อธิบายความหมายของแต่ละกลุ่มให้ครอบคลุมหลากหลาย แง่มุมเพื่อสะท้อนถึง
ลักษณะองค์กรที่ต้องการให้เป็น หากไม่สามารถ อธิบายได้เต็มที่ แสดงว่าคำ ๆ นั้นอาจไม่ใช่ค่านิยม
ขององค์กร

ข้ันที่ 5 จัดเรียงรปู แบบของค่านยิ มหลกั ทค่ี ดั เลือกไวเ้ พ่อื ให้ บุคลากรทุกคนเขา้ ใจได้ง่าย จดจำ
ไดเ้ รว็ และสามารถนำไปปรับใชใ้ นการ ทำงานได้ทนั ที

4. การเชอ่ื มโยง “ค่านิยมองค์กร” สู่ “วัฒนธรรมองค์กร”
เพื่อให้องค์กรสามารถแปลงค่านิยมองค์กร (Core Value) สู่ วัฒนธรรมองค์กรได้อย่างเป็น
รูปธรรม โดย “ค่านิยมองค์กร” นั้น ช่วย สร้างคุณคา่ องคก์ รผ่านกระบวนการ “เปลี่ยนความเชื่อและ
ทัศนคติ” “ปรบั ความคดิ ” และ “ปรบั ปรงุ พฤติกรรม” ในการอยแู่ ละทำงานร่วมกัน ของคนในองค์กร
ได้อย่างมีประสิทธิผล มีขั้นตอนพร้อมแนวทางในการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรจาก Core Value
ดงั ต่อไปนี้
● กำหนดภาพวัฒนธรรมองคก์ รที่อยากเห็นในอนาคต ควรกำหนดภาพของวัฒนธรรมองค์กร
ที่สะท้อนผ่าน พฤติกรรมคนออกมาให้ชัดเจน และเฉพาะเจาะจงว่า ในแต่ละเหตุการณ์อยากเห็น
วัฒนธรรมองคก์ รที่สอดคล้อง กับ Core Value แต่ละเรอ่ื งเปน็ อย่างไร ถอื เปน็ จดุ เร่ิมตน้ ท่ี สำคัญมาก
เพราะถ้ากำหนดได้ชัดเจน ละเอียด และ ครอบคลุมมากเท่าใด โอกาสจะนำไปปฏิบัติจริงก็มีมากขึ้น
เทา่ นนั้
● กำหนดหวั ขอ้ การประเมินความสำเร็จของภาพวฒั นธรรม องคก์ ร เมอ่ื สรุปได้แล้วว่ามีภาพ
อะไรบ้างทีต่ ้องการสร้างให้เปน็ วฒั นธรรมองคก์ ร ข้นั ตอนต่อไปคอื จะตอ้ งกำหนดหัวข้อ และแนวทาง
ในการประเมนิ ความคืบหนา้ หรือความสำเร็จที่ สามารถนำไปใชไ้ ด้จริง
● กำหนดแนวทางและจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนคน สู่วัฒนธรรมองค์กรที่ต้องการ เม่ือ
กำหนดชัดเจนแล้ววา่ ภาพวฒั นธรรมองค์กรมีอะไรบ้าง จะวดั ประเมนิ ความคืบหน้าหรอื วัดความสำเร็จ
จากอะไร ข้นั ตอนตอ่ ไปคอื การกำหนดแนวทาง แผนการสรา้ ง วัฒนธรรมองคก์ ร พร้อมทง้ั รายละเอยี ด
ของแต่ละแผนงาน ว่าจะทำเมือ่ ไหร่ ใครเป็นผูร้ บั ผิดชอบ และต้องใช้ งบประมาณเท่าใด หลังจากนั้น
ให้รวบรวมแผนงานท้งั หมดมา จดั ทำเปน็ แผนหลกั (Master Plan) ในการสร้างวัฒนธรรม องค์กร เพอ่ื
แสดงใหเ้ ห็นวา่ แต่ละช่วงเวลาองค์กรจะเนน้ เรอ่ื งอะไรบ้าง ต้องใชเ้ วลากี่ปีจึงสามารถดำเนนิ การ แล้ว
เสรจ็ ตามแผน จะเหน็ การเปล่ียนแปลง หรอื เร่ิมเหน็ ผล แหง่ ความสำเรจ็ ในการสร้างวฒั นธรรมองค์กร
ไดเ้ มือ่ ใด เปน็ ตน้
การเสริมสรา้ งและปลูกฝังค่านยิ มองค์กร
การเสรมิ สรา้ งค่านิยมองค์กร การเสริมสร้างค่านิยมให้เกิดกับพนักงานอย่างสม่ำเสมอ ข้ึนอยู่
กบั องค์ประกอบ ๓ ประการ คอื

14

● Value คือ ระดับของการรบั รแู้ ละความเหน็ ของสมาชิกใน องคก์ รว่า การปฏบิ ตั พิ ฤตกิ รรม
ทพ่ี ึงประสงค์ (ท่เี ปน็ คา่ นยิ ม องค์กร) นั้นเปน็ ส่ิงท่ีพงึ กระทำ

● Skills คือ ระดับของทักษะ ความสามารถของบุคลากรในการ ปฏิบัติพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ (ที่เป็นค่านิยมองค์กร) ซึ่งจะทำได้มาก-น้อย ขึ้นอยู่กับโอกาส ปัจจัยเอื้อ และความสามารถ
ขององค์กรในการปรับเงือ่ นไขและอุปสรรคต่าง ๆ

● Motives คือ แรงขับดันเบื้องลึกที่ทำให้บุคคลปรารถนาจะ แสดงพฤติกรรมต่าง ๆ โดย
ธรรมชาติอนั เปน็ ปรกตวิ สิ ัยของ บุคคล

5. การสรา้ งวัฒนธรรมองค์กร
สำนักงาน ก.พ. (2557) กลา่ วว่า การสรา้ งวฒั นธรรมองค์กรใหไ้ ด้ผล ตอ้ งอาศัยองค์ประกอบ
สำคัญตอ่ ไปน้ี
1) ผบู้ ริหารองคก์ ร

● จะต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ตลอดจนสนับสนนุ และเป็น แรงผลกั ดนั ในการสร้าง
วฒั นธรรมองค์กร

● ตอ้ งสนใจ ใส่ใจ และแสดงออกในเชิงพฤตกิ รรม หรือใน ลักษณะ Walk to Talk
เพื่อเปน็ แบบอย่างทด่ี ี(Role Model) ในการผลกั ดนั และสง่ เสรมิ ใหข้ ้าราชการปฏิบตั ิตาม

2) ต้องมที ีมงานและใหท้ มี งานช่วยกันขยายผลตอ่ ไป
3) ต้องใหบ้ คุ ลากรทกุ คนมีสว่ นรว่ มอยา่ งมากท่ีสุดเทา่ ท่ีเปน็ ไปได้
4) ต้องเรมิ่ ตน้ จากคนท่เี ห็นด้วยกอ่ น อยา่ เริ่มต้นจากคนที่ ไม่เห็นดว้ ย เพราะจะทำให้
ผลสำเรจ็ เกิดขึ้นไดช้ ้าและ อาจทอ้ แทห้ มดกำลงั ใจไปก่อน
5) ต้องใช้การปลกู ฝังผา่ นการพูดคยุ กนั บ่อย ๆ ในหลากหลาย ช่องทาง ทง้ั ที่เป็นทางการและ
ไมเ่ ปน็ ทางการ (ไมใ่ ชก่ ารอบรม)
6) ต้องมีการสื่อสาร (Communicate) โดยเลือกเครื่องมือ การสื่อสารที่สามารถเข้าถึง และ
เหมาะสมกบั บรบิ ท เชน่ การจดั กจิ กรรม การอบรม หรือสมั มนา เปน็ ต้น ตลอดจน มีการสื่อสารอย่าง
ต่อเน่ือง ให้ขา้ ราชการทุกคนรับทราบและ ปฏบิ ตั ไิ ด้
7) ต้องสง่ เสรมิ ให้เกิดการปฏิบัตจิ ริง และพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง
8) ตอ้ งมีกจิ กรรมเพือ่ กระตุ้นเตอื น ตอ่ เนอ่ื ง พร้อมแนวทาง การติดตามและประเมินผลท่ีเป็น
รูปธรรม ควรกำหนดใหค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กร ถูกนำไปเป็นส่วนหนึ่งของ การประเมินผลการ
ปฏิบัตริ าชการ เพอื่ ให้สามารถวัดและ ใหผ้ ลตอบแทน ความดีความชอบ ได้อย่างเหมาะสม
9) มจี ุดเร่ิมต้นแตไ่ ม่มีวนั สิ้นสุด

15

10) ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้เกิดวัฒนธรรมองค์กร คือ ผู้บริหารระดับสูง (Top
Executives) ผู้บริหารของ สายงานต่าง ๆ (Line Managers) ทีมงานผลักดันวัฒนธรรม องค์กร
(Change Agents) โดยมีกลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) และ
สนบั สนนุ (Support)

สำหรับข้ันตอนในการสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร มีดงั น้ี
1) นำค่านยิ มองค์กรทค่ี ดั เลอื กไวม้ ารอ้ ยเรยี งให้จดจำง่าย
2) นำค่านยิ มองค์กรแตล่ ะตัวมากำหนดพฤตกิ รรมให้ชัดเจน เขา้ ใจง่าย ท้งั พฤติกรรมที่ควรทำ
(Do) และพฤตกิ รรมที่ ไม่ควรทำ (Don’t)
3) สรรหาทีมงาน (Change Agent) ที่หน่วยก้านดีมีทัศนคติดี และที่สำคัญมีพฤติกรรม
สอดคลอ้ งกับวัฒนธรรมองค์กร มาประมาณ 30 คน เพอ่ื ให้เปน็ กำลงั ในการผลกั ดนั วัฒนธรรมใหม่ใน
องค์กร โดยต้องกำหนดบทบาท หน้าท่ี ให้ชัดเจน และจัดอบรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้าง
วัฒนธรรมองคก์ ร
4) จัดให้มีกิจกรรมเปิดตัว “ค่านิยมองค์กร” โดยเน้นสร้าง การรับรู้และจดจำได้ควรเป็น
กิจกรรมทสี่ นกุ แตส่ อดแทรก วัฒนธรรมแต่ละตวั เข้าไปในกิจกรรมน้ัน ๆ
5) ให้ทีม Change Agent ช่วยกันคิดกิจกรรมที่จะกระตุ้น การรับรู้และความเข้าใจใน
วัฒนธรรมองค์กร โดยวางแผน จัดทำอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละคร้ัง เป็นเวลา ประมาณ 12-
18 เดอื น
6) จดั อบรม สมั มนา ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับวฒั นธรรมองคก์ ร โดยวิทยากรท้งั ภายในและภายนอก
ให้กับผู้บรหิ าร หัวหนา้ งานและพนกั งานทกุ ระดับ เป็นประจำสม่ำเสมอ
7) สอดแทรกวัฒนธรรมองค์กรเข้าไปในกระบวนการบริหาร จัดการคนในทุก ๆ ขั้นตอน
ตง้ั แต่การสรรหาบคุ ลากร ตอ้ งกำหนด คณุ ลักษณะท่ีตรงกบั วัฒนธรรมองคก์ ร หรือการปฐมนเิ ทศ ควร
มีการกล่าวถงึ วฒั นธรรมองคก์ รหรือคา่ นิยมด้วย
8) สำรวจการรบั รูแ้ ละความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมองค์กรจาก บคุ ลากรทุกคนเปน็ ระยะ อย่าง
นอ้ ย 6 เดอื นครั้ง เพ่อื ดูวา่ คะแนนการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจเพ่ิมขึ้นหรอื ไม่
9) ขอความรว่ มมือจากผบู้ รหิ ารในการกลา่ วถึงวัฒนธรรมองค์กร สัน้ ๆ ในทุกโอกาส
10) จัดให้มกี ารศึกษาดูงานองคก์ รท่ีประสบความสำเรจ็
ข้อคิดสำหรบั การสรา้ งวัฒนธรรมองคก์ ร
● วัฒนธรรมองค์กรเปน็ ท้ัง “ของร้อน” และ”ของเยน็ ”
การปรับเปล่ียนวัฒนธรรมองค์กรท่ีตั้งมานานและมวี ฒั นธรรม ขององค์กรไม่ค่อยดีอาจถือวา่
เปน็ “ของรอ้ น” เพราะการ เปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมองค์กรจากท่ีคนุ้ เคยไปสวู่ ฒั นธรรมองค์กรใหม่น้ัน

16

อาจจะสรา้ งความลำบากใจใหก้ ับคนในองค์กรได้ โดยเฉพาะกรณีที่มกี ลุม่ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ต้อง
เพ่ิม ความระมัดระวงั และใช้มาตรฐานแบบค่อยเป็นค่อยไป หรอื เปล่ยี นเฉพาะเร่ืองเล็กนอ้ ยกอ่ น หรือ
สลายวัฒนธรรมองค์กรเกา่ โดยการรับคนใหม่เข้ามาจำนวนหนึ่ง แล้วค่อยๆ สร้างวัฒนธรรม องค์กร
จากคนกลุ่มใหม่ สำหรบั องค์กรใหมก่ ารสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รอาจเปน็ “ของเยน็ ” ทีต่ อ้ งใช้เวลาอย่าง
ตอ่ เน่อื งในการทำให้เกิดความอบอนุ่ ผูกพนั ฝงั ลึกของความศรัทธา และพฒั นาจนกลายเป็นคุณค่าฝัง
ลึกใน จิตวิญญาณของพนักงานทุกคน ทุกระดับในองค์กร ดังนั้น องค์กรใดที่วัฒนธรรมองค์กรยังไม่
เข้มแข็งพอ จำเป็นต้อง มีการดำเนินการกระตุ้นเพื่อสร้างและรักษาระดับวัฒนธรรม องค์กรอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง
● การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมคน ต้องเร่มิ ต้นจากข้างใน

เนื่องจากวัฒนธรรมองค์กร คือ พฤติกรรมคนที่สะท้อนถึง ความเชื่อ ทัศนคติและความคิด
ดังนน้ั ถา้ ต้องการให้คนมี พฤติกรรมแบบใด ส่งิ แรกทตี่ ้องทำคือ หากระบวนการในการ เข้าไปเปล่ียน
ความเชื่อ ทัศนคติและความคิดของคนก่อน เป็นอันดับแรก เพราะถ้ามัวแต่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
อาจจะ เปน็ พฤติกรรมทเี่ กิดขึน้ เพียงช่ัวคราว หรือเป็นพฤติกรรมท่ี แสดงออกเพราะถูกบังคับมากกว่า
เกิดจากการกำหนดจากภายใน
● พฤตกิ รรมถาวรเกิดจากการปฏบิ ตั ิชา้ ๆ ติดต่อกันช่วงระยะ เวลาหนง่ึ

การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้คนมีพฤติกรรมการ แสดงออกที่ถาวร จำเป็นต้องมีการ
ส่งเสรมิ ใหม้ พี ฤตกิ รรมนน้ั บอ่ ย ๆ และตอ่ เนอ่ื ง เพราะพฤติกรรมบางอย่างเป็นเร่ืองใหม่ สำหรับคนบาง
คนหรอื บางกล่มุ และพฤติกรรมนน้ั อาจจะขัด พฤตกิ รรมสว่ นบุคคลเดิมอยู่ ดงั น้นั องค์กรจำเป็นต้องมี
กระบวนการใหค้ นไดม้ ีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรม องค์กรชา้ ๆ ตดิ ต่อกันเพือ่ ใหค้ วามขัดเขิน
หรอื ความไม่สะดวก จางหายไปให้ได้เช่น การให้ทกุ คนยกมือไหว้ซงึ่ กันและกนั และทันทีที่เดินสวนกัน
โดยไมต่ ้องรอใหใ้ ครยกมอื ไหว้กอ่ น อาจ จะขัดกับพฤติกรรมเดิมทีผ่ มู้ ีตำแหนง่ ต่ำกว่าต้องยกมือไหว้คน
ทม่ี ีตำแหน่งสูงกว่า พดู งา่ ยๆ คือ การท่จี ะเปลี่ยนวฒั นธรรม องคก์ รใหผ้ ู้มตี ำแหนง่ สูงกว่ายกมือไหว้คน
ทีม่ ตี ำแหนง่ ตำ่ กวา่ ก่อนนั้น จำเป็นต้องใชเ้ วลาในการปรับเปลี่ยนทั้งความคิดและการกระทำ

● คำชมจากคนนอกคอื แรงผลกั ดนั วฒั นธรรมองคก์ ร
วัฒนธรรมองค์กรจะงอกงามเร็วได้ปุ๋ยเร่งดอกเร่งใบ และปยุ๋ ในท่ีน้ีก็คอื กำลงั ใจหรือผลสะท้อน

กลับ โดยเฉพาะผลสะทอ้ นกลับ จากบคุ คลภายนอก อาจจะเปน็ ลกู ค้า ผมู้ าตดิ ตอ่ หรือบคุ คลอ่ืน ท่ีพูด
ถึงวัฒนธรรมองค์กรในเชิงบวก เพราะ “คำชม” นอกจาก จะเป็นปยุ๋ เร่งดอกเร่งใบใหว้ ัฒนธรรมองค์กร
เติบโตเร็วแล้ว “คำชม” ยังเปน็ ภมู คิ มุ้ กันวัฒนธรรมองค์กรใหม้ ่ันคงอยกู่ บั องค์กรตลอดไป

17

● เริม่ จากสงิ่ ทท่ี ำไดง้ า่ ยและเห็นผลเร็วกอ่ น
ถ้าองค์กรต้องการให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลายเร่ือง ควร จะเลือกเรื่องที่คนในองค์กร

สามารถทำได้ง่ายและเห็นความ สำคัญของการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรได้ดกี ว่าวัฒนธรรม องค์กรที่
ต้องใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล วัฒนธรรมองค์กรที่น่า จะทำได้ง่ายและเร็วกว่ามักจะเป็นเรื่องที่
เก่ยี วข้องกบั การปรับ พฤติกรรมใหม่ทใี่ กล้เคียงกับพฤติกรรมเดมิ เชน่ เดิมมีการ ทักทายกันด้วยคำว่า
“สวัสดี” อยู่แลว้ แต่วัฒนธรรมใหม่คอื ใหเ้ พิ่มการหยดุ และโค้งตวั เหมือนคนญีป่ นุ่ เปน็ ต้น
● จงปกั หมุดทีละข้อทลี ะเรือ่ ง ดีกวา่ ทำพรอ้ มกนั ทกุ เรื่องและ ไมด่ ีสกั เร่อื ง

เนื่องจากการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรมีงานที่ต้องทำ หลายอย่าง ถ้าทำพร้อมกันทุก
อย่าง อาจจะไม่ได้ผลสกั อย่าง เพราะการเปล่ียนแปลงมากเกนิ ไปอาจจะทำใหค้ นต้ังรับไม่ทัน ปรบั ตัว
ไม่ได้เนื่องจากพฤติกรรมใหม่ที่ต้องปรับมีมากกว่า พฤติกรรมเดิมที่คุ้นเคย ดังนั้น ควรจะเลือก
ปรับเปลี่ยน ไปทีละเรื่อง เมื่อเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมคนในองค์กร เรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ก็ให้กำหนด
แนวทางในการรักษาระดับ ของพฤติกรรมนั้นให้คงอยู่ตลอดไป แล้วค่อยไปมุ่งเน้น การปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมเรื่องอ่นื ๆ ตอ่ ไป

6. การสรา้ งค่านิยมของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ได้กำหนดค่านิยมองค์กร ดังน้ี
"บรกิ ารเด่น เน้นทีมงาน สรรสรา้ งคณุ ภาพ" กล่าวคอื
"บริการเดน่ " หมายถึง การให้บริการดา้ นอาคารสถานที่ ด้านบุคลากร และด้านกระบวนการ
การฏิบัติงานที่ส่งผลให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อรับบริการ ให้บริการแบบ
กัลยาณิมติ รและตระหนักวา่ ผ้รู บั บรกิ ารเปน็ บุคคลทสี่ ำคัญทีส่ ุด กระบวนการให้บรกิ ารมปี ระสิทธิภาพ
ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวก รวดเร็วในการรับบริการมีช่องทางการใหบ้ ริการที่หลากหลายทนั สมัย
สื่อสารเข้าใจง่าย บุคลากรสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ประสบความสำเร็จและและมีความสุข
บุคลากรมีความรักสามคั คีระหวา่ งสมาชิกในทมี
"เน้นทีมงาน" หมายถึง บุคลากรมีความสามารถในการปฏิบตั ิงานทีม่ ีคุณภาพ ยึดมั่นศรัทธา
และมีคุณธรรมจริยธรรม ให้ความร่วมมีอชว่ ยเหลือซึ่งกันและกัน การให้เกียรตยิ กยอ่ งซึ่งกันและกนั
การประสานและเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและมีความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ร่วมมือกัน
ปฏบิ ัติงานจนได้มาตรฐาน
"สรรสรา้ งคุณภาพ" หมายถงึ การปฏิบัตติ ามภารกิจ อำนาจหนา้ ทท่ี ี่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ
บรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ เต็มใจ เกิด
ประโยชน์สงู สุดต่อผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา

18

โครงการชวนเป็น ผอ.เขตดว้ ยกนั

ความสอดคลอ้ ง
1. แผนระดับที่ 1 ยุทธศาสตรช์ าติ (2561-2580) ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการ

บริหารจัดการภาครัฐ
เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์ท่ี 1. ภาครฐั มีวัฒนธรรมการทำงานที่มุง่ ผลสัมฤทธิ์และ

ผลประโยชนส์ ่วนรวม ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6.4 ภาครัฐมีความทันสมยั
เปา้ หมายตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6.4.2 พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการ

ปฏิบตั ริ าชการใหท้ ันสมัย
อธิบายความสอดคล้องของโครงการกบั ยทุ ธศาสตร์ องค์กรมีการวางแผน

และกำหนดเป้าหมายทิศทางในการบรหิ ารจดั การองคก์ ร และสถานศึกษา ใหม้ ีประสิทธภิ าพ มีความ
ร่วมมอื และมีส่วนรว่ มทกุ ฝา่ ย เพอ่ื ใหอ้ งค์กรขับเคลอ่ื นไปในทิศทางเดยี วกัน

2. แผนระดับท่ี 2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพ
ภาครัฐ
เปา้ หมายประเด็น ภาครัฐมีการดำเนินการทีม่ ีประสิทธภิ าพดว้ ยการนำนวัตกรรม
เทคโนโลยมี าประยุกต์ใช้
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ระดับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ ารของภาครัฐ
แผนยอ่ ย การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ
อธิบายความสอดคลอ้ งของโครงการกบั แผนแม่บท เปน็ การปรับเปลีย่ นรูปแบบ

การจัดโครงสร้างองคก์ ารและออกแบบระบบการบริหารงานใหม่ ให้มีความยืดหยนุ่ คลอ่ งตัว กระชับ ทันสมัย
สามารถตอบสนองตอ่ บริบทการเปลีย่ นแปลงได้ในทุกมติ ิ ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสรา้ งองค์การแบบราชการ
และวางกฎเกณฑ์มาตรฐานกลางอย่างตายตัว มีขนาดที่เหมาะสมกับภารกิจ ปราศจากความซำ้ ซ้อนของการ
ดำเนนิ ภารกจิ สามารถปรบั เปล่ียนบทบาท ภารกิจ โครงสร้างองค์การ ระบบการบริหารงาน รวมทงั้ วาง
กฎระเบียบได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณท์ ี่เปลี่ยนแปลงไป เนน้ ทำงานแบบบูรณาการไร้รอยต่อและ
เช่ือมโยงเปน็ เครือข่ายกับทกุ ภาคสว่ น ทั้งน้ี เพื่อมงุ่ ไปสู่ความเปน็ องคก์ รทมี่ ขี ีดสมรรถนะสูง สามารถ
ปฏบิ ตั งิ านและมีผลสัมฤทธิ์เทียบได้กับมาตรฐานระดับสากล นอกจากน้ียังมคี วามเปน็ สำนกั งานสมัยใหม่ ใช้
ประโยชนจ์ ากขอ้ มูลขนาดใหญเ่ พ่ือวเิ คราะห์คาดการณล์ ว่ งหน้าและทำงานในเชงิ รกุ สามารถนำเทคโนโลยีอัน
ทนั สมัยเข้ามาประยุกต์ใช้เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพและสร้างคุณค่าในการทำงาน

19

3. แผนระดบั ท่ี 2 แผนปฏริ ูปการศึกษา

เรอ่ื งและประเด็นปฏิรูปที่ 6 การปรบั โครงสรา้ งของหน่วยงานในระบบ

การศกึ ษาเพ่ือบรรลเุ ป้าหมายในการปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอนและยกระดับคุณภาพของการจัด

การศกึ ษา

ประเด็นการปฏิรูปที่ 6.1 สถานศกึ ษามีความเปน็ อิสระในการบริหารและจดั

การศกึ ษา

เป้าหมายรวมที่ สถานศึกษาของรฐั มคี วามเป็นอิสระและมีธรรมาภบิ าลใน

การบริหารและจดั การศึกษา ครอบคลมุ ด้านการบรหิ ารวิชาการ ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการ

บริหารงานบคุ ลากร ด้านการบริหารงานท่วั ไป และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ คุณภาพการศึกษา

อธิบายความสอดคลอ้ งของโครงการกบั แผนปฏริ ูปการศกึ ษา เป็น

โครงการท่ีเปดิ โอกาสให้ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี มีส่วนรว่ มในการคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ รว่ มทำ ร่วมแก้ปัญหา

เพือ่ พัฒนาการบรหิ ารจดั การศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขน้ึ

กลุ่มท่ีรับผิดชอบ งานเลขานุการผบู้ รหิ ารการศกึ ษา

ผ้รู บั ผดิ ชอบ นางสพุ ตั รา คงศิรกิ ร E-mail : [email protected] โทรศัพท์ 089-

907-1750

ลักษณะโครงการ (  ) ใหม่ ( ) ต่อเนอ่ื ง

ระยะเวลาดำเนนิ การ ธนั วาคม 2563 – มนี าคม 2564

1. หลกั การและเหตุผล
สถานศึกษาของรัฐมีความเป็นอิสระและมีธรรมาภิบาลในการบริหารและจัดการศึกษา

ครอบคลมุ ดา้ นการบริหารวิชาการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคลากร ด้านการ
บริหารงานทั่วไป และมีความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีต่อผู้เรียนและ
บุคลากรในองค์กรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในฐานะองค์กรที่ทำหน้าที่อำนวยการ กำกับ ดูแล
สถานศึกษาในสงั กัดให้สามารถดำเนนิ งานไปสู่เปา้ หมาย โดยยึดหลักธรรมาภิบาล มีความจำเป็นต้อง
กำกับ ติดตามการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้คลอบคลุมทุกด้าน ตลอดจน ให้
สถานศึกษามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำร่วมนำเสนอ ภารกิจงานที่จะส่งผลให้การบริหารจัดการศึกษามี
ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลมากยิ่งขนึ้

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จึงได้ให้ความสำคัญกับการ
บริหารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม จึงไดจ้ ัดทำโครงการ ชวนเป็น ผอ.เขตด้วยกนั ข้นึ

20

2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพือ่ ใหผ้ ูบ้ รหิ ารการศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มสี ่วนรว่ มเสนอแนวคิด แลกเปลี่ยน

เรยี นร้แู ละร่วมแกป้ ัญหา ในการปฏบิ ัตงิ าน

2.2 เพือ่ ให้ผู้บริหารการศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษา มีสว่ นพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา

เป็นไปในแนวทางเดียวกันท่ถี ูกตอ้ ง

3. เป้าหมาย

3.1 ดา้ นปริมาณ

1) ผูบ้ ริหารการศกึ ษา จำนวน 5 คน

2) บุคลากรสำนักงานเขต จำนวน 3 คน

3) ผู้บริหารสถานศกึ ษา จำนวน 115 คน

3.2 ดา้ นคณุ ภาพ

สำนักงานเขตและสถานศกึ ษา มแี นวทางการพฒั นาการบริหารจัดการทีม่ ีประสิทธภิ าพ

โดยการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม

4. กจิ กรรมและปฏทิ ินการปฏิบัติงาน

กิจกรรม ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ

1. แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการฯ 1 ธนั วาคม 2563 นางสุพตั รา คงศริ กิ ร

2. ประชุมคณะกรรมการฯ จดั ทำแผน ปฏิทนิ 1 ธนั วาคม 2563 นางสพุ ตั รา คงศริ ิกร

3. ประชุมสัญจรและตรวจเยีย่ มการเรยี น 3 ธนั วาคม 2563 นางสพุ ัตรา คงศิริกร

การสอนของโรงเรียนในกลมุ่ โรงเรียน 14 กลมุ่ ถงึ และคณะกรรมการฯ

ประกอบด้วย ผอ.สพป.พช.1 รอง ผอ.ทีด่ แู ล 19 มกราคม 2564

Area และเจ้าหนา้ ที่งานเลขานกุ าร

4. สรุปประเดน็ จัดทำรายงานผลการดำเนนิ งาน มีนาคม 2564 นางสพุ ตั รา คงศิริกร

และคณะกรรมการฯ

5. งบประมาณ

แหล่งงบประมาณ ( / ) งบพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามนโยบายฯ จำนวน 13,950 บาท แยก

เป็น

- ค่าตอบแทน - บาท

- คา่ ใช้สอย 13,950 บาท

- คา่ วัสดุ - บาท

โดยมีรายละเอียดการใชง้ บประมาณดงั นี้ (ขอถัวทุกรายการตามที่จา่ ยจรงิ )

21

กิจกรรม/รายละเอยี ด งบประมาณ หมวดรายจา่ ย วัสดุ
ตอบแทน ใชส้ อย -
1.แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการฯ - -
2.ประชมุ คณะกรรมการฯ - --
3.ประชมุ สญั จรและตรวจเยย่ี มการเรยี น 13,950 --
การสอน กลุม่ โรงเรียน 14 กลุม่
ประกอบด้วย ผอ.เขต จำนวน 1 คน รอง ผอ. 2,100
จำนวน 1 คน เจ้าหน้าทงี่ านเลขานกุ าร จำนวน
2 คน พนักงานขบั รถ 1 คน ผ้บู รหิ าร 150
สถานศกึ ษา จำนวน 115 คนรวม 120 คน 500
จำนวน 14 วัน ดงั น้ี
- ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งด่ืม สพป.พช.1 180
จำนวน 5 คน 14 ครั้ง (5x30 x14) = 2,100 500
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา จำนวน 14 กล่มุ โรงเรยี น
1. กล่มุ ในเมอื ง จำนวน 5 คน 210
- คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม (5x30 ) = 150 500
- คา่ น้ำมนั รถราชการ 500 บาท
2. กลมุ่ ทา่ พลนาง่ัว จำนวน 6 คน 180
- ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งดื่ม (6x30 ) = 180 500
- ค่านำ้ มนั รถราชการ 500 บาท
3. กลุ่มบา้ นโคกดงมูลเหล็ก จำนวน 7 คน 420
- คา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม (7x30 ) = 210 500
- คา่ น้ำมนั รถราชการ 500 บาท
4. กล่มุ ห้วยใหญ่ จำนวน 6 คน 360
- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม (6x30 ) = 180
- คา่ นำ้ มันรถราชการ 500 บาท
5.กลมุ่ เอราวัณตาดหมอก จำนวน 14 คน
- ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งด่ืม (14x30 ) = 420
- ค่าน้ำมนั รถราชการ 500 บาท
6.กลมุ่ บา้ นโตกนายมชอนไพร จำนวน 12 คน
- คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม (12x30 ) = 360

221

กิจกรรม/รายละเอียด งบประมาณ หมวดรายจ่าย
ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
- คา่ น้ำมนั รถราชการ 500 บาท
500
7.กลมุ่ ห้วยสะแกระวิง จำนวน 7 คน
210
- คา่ อาหารว่างและเคร่อื งด่ืม (7x30 ) = 210 500

- คา่ น้ำมนั รถราชการ 500 บาท 210
500
8.กลุ่มวังชมภู จำนวน 7 คน
270
- คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดม่ื (7x30 ) = 210 700

- คา่ น้ำมันรถราชการ 500 บาท 210
700
9.กลุ่มเพชรชนแดน จำนวน 9 คน
210
- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื (9x30 ) = 270 700

- ค่านำ้ มันรถราชการ 700 บาท 390
700
10. กลมุ่ ลาดแค จำนวน 7 คน
270
- คา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งด่มื (7x30 ) = 210 800

- คา่ นำ้ มันรถราชการ 700 บาท 180
800
11. กล่มุ ท่าข้าม จำนวน 7 คน - --
- 13,950 -
- คา่ อาหารว่างและเครอื่ งดม่ื (7x30 ) = 210

- คา่ นำ้ มันรถราชการ 700 บาท

12 กลมุ่ ดงขุย จำนวน 13 คน

- คา่ อาหารว่างและเครื่องดื่ม (13x30 ) = 390

- คา่ น้ำมันรถราชการ 700 บาท

13. กลุ่มเพชรวงั โปง่ จำนวน 9 คน

- ค่าอาหารวา่ งและเครือ่ งดม่ื (9x30 ) = 270

- คา่ นำ้ มันรถราชการ 800 บาท

14. กลุ่มท้ายดงวังหิน จำนวน 6 คน

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งด่มื (6x30 ) = 180

- คา่ น้ำมันรถราชการ 800 บาท

4. ติดตามประเมินผล -

รวมงบประมาณท้งั สิน้ 13,950

หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการตามท่จี ่ายจริง

6.การประเมนิ ผล วิธีการวดั และประเมนิ ผล 23
ตวั บง่ ชส้ี ภาพความสำเรจ็ - การรายงาน เครือ่ งมอื ทใ่ี ชว้ ดั
- แบบรายงาน
6.1 ผบู้ ริหารการศกึ ษา ผู้บรหิ าร - การรายงาน
สถานศกึ ษา ร้อยละ 100 มสี ว่ นรว่ ม - แบบรายงาน
เสนอแนวคดิ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
และร่วมแกป้ ัญหา ในการปฏิบตั ิงาน
6.2 ผบู้ รหิ ารการศึกษา ผู้บริหาร
สถานศึกษา ร้อยละ 100 มีส่วน
พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาเป็นไป
ในแนวทางเดียวกันทีถ่ ูกตอ้ ง

7. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั
- สำนกั งานเขตพื้นการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 เปน็ องค์กรแหง่ ความสุขในการ

ปฏิบตั งิ าน เพราะงานบรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละประสบผลสำเร็จ เนือ่ งจากตอบสนองการอำนวยการให้
สถานศึกษาได้ตรงความตอ้ งการของผู้รบั บริการ และผู้รบั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจ

งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง

สัญญา เคณาภูมิ (2563) ได้ทำวิจัย เรื่อง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการ
ใหบ้ ริการของ เทศบาล อำเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร พบว่า การสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
ที่มีต่อการให้บริการ มีประเด็นการสำรวจทั้ง 4 ประเด็น คือ (1) ด้านกระบวนการและ ขั้นตอน (2)
ด้านชอ่ งทางในการให้บรกิ าร (3) ด้านเจา้ หนา้ ทแี่ ละบุคลากรผู้ให้บรกิ าร และ(4) ดา้ นสิง่ อำนวยความ
สะดวก อยใู่ นระดบั ท่ปี ระชาชนผรู้ ับบริการมีความพึงพอใจมากที่สุด (คา่ เฉลี่ย 4.58) โดยประชาชน มี
ความพึงพอใจต่อการให้บริการในด้านกระบวนการและขนั้ ตอน มีค่าเฉลย่ี 4.61 คิดเปน็ ร้อยละ 92.20
สะทอ้ นให้เห็นว่า เทศบาลตำบลศรีแกว้ มีความพร้อมในการให้บริการของเจา้ หนา้ ท่ที ่ี รับผดิ ชอบในแต่
ละงานบริการสาธารณะด้านต่าง ๆ มีการชี้แจงข้อแนะนำ ขั้นตอน วิธีการ ตลอดทั้ง ระยะเวลาที่
เร่มิ ต้นจนสน้ิ สดุ การใหบ้ ริการด้านต่าง ๆใหก้ บั ประชาชนผู้มารบั บริการได้รับทราบ รวมท้ัง เครื่องการ
จดั ให้มขี นั้ ตอนก่อน-หลังอยา่ งยุตธิ รรม เรอื่ งการบรกิ ารที่รวดเรว็ ถกู ตอ้ งตามที่ประกาศไว้ เร่อื งเอกสาร
ประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ข้นั ตอน กระบวนการในการดำเนินการอย่างชัดเจน เปน็ ท่ีพอใจ ของประชาชน
ผู้รับบริการเป็นอย่างดีมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ รองลงมาที่ประชาชนมีความ พึงใจในด้าน
เจา้ หน้าทแ่ี ละบุคลากรผู้ให้บรกิ าร มคี ่าเฉล่ีย 4.59 คิดเป็นรอ้ ยละ 91.80 ทีเ่ ป็นเช่นนี้ สะท้อนใหเ้ หน็ ว่า

24

เทศบาลตำบลศรีแกว้ มเี จา้ หน้าทผี่ ู้ใหบ้ รกิ ารท่คี อยตอ้ นรบั และคอยใหบ้ ริการ ท้งั กิริยามารยาท ความ
เรียบร้อย ความเป็นมิตร การยิ้มแย้มแจ่มใส การบริการด้วยจิตใจที่เป็นสาธารณะ เสียสละ พูดจา
ไพเราะ อ่อนหวาน มบี ุคลิกภาพท่ีอ่อนโยน ตลอดทง้ั ภาพลักษณ์ ความน่าเชอื่ ถือ การ ปฏิบัติงานด้วย
ความวิริยะ อุตสาหะ การอุทิศตนเพ่ือส่วนรวม ความซื่อสัตย์สจุ ริต การสร้างความ ประทับใจแก่ผู้มา
รับบริการ ทั้งความรวดเร็วและเป็นธรรม อันดับต่อมาคือ ด้านช่องทางในการ ให้บริการ มีค่าเฉล่ีย
4.57 คิดเป็นร้อยละ 91.40 สะท้อนให้เห็นว่า เทศบาลตำบลศรีแก้วมีการจัดการ เรื่องช่องทางการ
ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนผู้รับบริการอยู่ในระดับที่ดีเป็นที่น่าพอใจอย่างมาก มีการจัดบอร์ด
ประชาสมั พันธอ์ งค์การ ชมุ ชน ตำบล หมบู่ ้าน มีการจดั ส่งส่อื สงิ่ พิมพ์ วารสาร ประชาสัมพนั ธ์ จดหมาย
ข่าว เผยแพร่ไปตามหนว่ ยงาน/หมู่บ้าน/ชมุ ชน มกี ารเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสาร ขององค์การผ่านส่ือต่างๆ
เช่น หอกระจายข่าว เสียงตามสาย วิทยุชุมชน วิทยุกระจายเสียง รถแห่ ประชาสัมพันธ์เคลื่อนท่ี
รวมทั้งการจัดแถลงข่าว จัดนิทรรศการในงานต่างๆ ตลอดทั้งประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสารเทคโนโลยี
สารสนเทศ เชน่ เวปไซด์ เฟสบุ๊ค ไลน์ ในการเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารการบริการ ขององคก์ ารเป็นอย่าง
ดีเป็นที่พงึ พอใจแกผ่ รู้ บั บริการและประเดน็ สุดท้ายท่ีมีความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ุด คือ ด้านสิ่งอำนวยความ
สะดวก มคี ่าเฉล่ีย 4.56 คดิ เปน็ ร้อยละ 91.20 ที่เปน็ เชน่ นี้สะทอ้ นให้เห็นวา่ เทศบาลตำบลศรแี กว้ ได้มี
การจัดสถานท่ีให้บรกิ ารกับประชาชนผู้มารับบรกิ ารอยา่ งสะดวก สะอาด เรยี บรอ้ ย สวยงาม ทงั้ ภายใน
อาคารและสถานที่รอบนอกอาคาร เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง บริการได้อย่างสะอาดและ
ปลอดภยั สถานท่ีตา่ งๆที่ให้บริการมปี ้าย สญั ลกั ษณบ์ อกจดุ บริการอย่าง ชัดเจน มีแผ่นปา้ ยบอกรายช่ือ
เจ้าหน้าท่ี เบอรโ์ ทรศัพท์พรอ้ มทัง้ รปู ถา่ ยของเจา้ หน้าท่ผี ้ใู หบ้ รกิ ารและ ผู้บริหารองคก์ ารตลอดทั้งจัดให้
มีเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการให้บริการ เช่น มีการจัดห้อง รับรองเพื่อรอรับบริการเป็น
สดั สว่ น จัดเตรียมนำ้ ดม่ื หนังสอื พิมพ์ เอกสารการประชาสัมพนั ธ์ต่างๆ มี แบบฟอร์ม เอกสารตัวอย่าง
การกรอกข้อมลู กระดาษ ปากกาเพอ่ื รองรับบรกิ ารอย่างเพยี งพอ มี ห้องนำ้ ไว้บรกิ ารทส่ี ะดวก สะอาด
จัดทนี่ ั่งผรู้ บั บริการ สถานที่บริการ ความชดั เจนของป้าย ต่างๆ มปี า้ ย ประชาสมั พันธ์ บอกจุดบริการ
โทรศพั ท์สาธารณะ บริการนำ้ ด่มื ทจ่ี อดรถไวใ้ ห้บรกิ าร เปน็ ตน้
อยู่ ในระดับที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง แต่ยังจำเป็นสร้างความประทับใจให้มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ จึงยัง
ตอ้ ง ปรบั ปรุงใหก้ ารบรกิ ารดา้ นสงิ่ อำนวยความสะดวกใหไ้ ดร้ บั ความพงึ พอใจมากยิง่ ข้นึ ต่อไป

สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (2562) ไดท้ ำวจิ ัย เร่ือง รายงานผลความพึง
พอใจของผู้รับบริการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ประจำปีงบประมาณ 2562
พบว่า ความพึงพอใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่และบุคลากร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 5 อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากสุดไปหาน้อย 3 ลำดับแรก คือ 1) การ
ให้บริการ เป็นไปตามกระบวนการ ขั้นตอน (x̅ =4.24 ) 2) เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจ ให้
คำปรึกษา และ ข้อเสนอแนะ (x̅= 4.23) ลำดับสุดท้าย การต้อนรับด้วยอัธยาศัยที่ดี สุภาพ ยิ้มแย้ม

25

แจ่มใส (x̅= 4.22) และลำดับน้อยที่สุด คือ มีอุปกรณ์ เครื่องมือที่ให้บริการใชง้ านเพยี งพอ มีคุณภาพ
และทันสมัย (x̅= 3.97)

อัญชลี ดุสิตสุทธิรัตน์ (2559) ได้ทำวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ การให้บรกิ าร
ของ องค์การบริหารส่วนตําบลบางโปรง อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้
ให้บริการมีขัน้ ตอนในการให้บริการทีไ่ ม่ ยุ่งยาก ซับซ้อน (x̅ =3.79) และด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บรกิ าร มี
กริ ยิ าทา่ ทาง ความสภุ าพ และมีการ ตอ้ นรบั ดว้ ยความยมิ้ แยม้ แจม่ ใส (x̅ =3.84,3.84) อยใู่ นระดบั มาก
และดา้ นส่ิงอาํ นวยความสะดวก เกยี่ วกบั ความสะอาดของสถานที่ใหบ้ ริการ (x̅ =3.76) อยใู่ นระดับมาก
เช่นกัน และต้องเน้นเกี่ยวกับ ความเพียงพอของที่จอดรถด้วย แต่ด้านช่องทางในการให้บริการ
ประชาชนส่วนใหญ่มาใช้บริการมาก ที่สุดที่สํานักงาน อบต. (x̅ =3.49) อยู่ในระดับปานกลาง ดังน้ัน
องค์การบริหารส่วนตําบลบางโปรง อําเภอเมือง จงั หวัดสมทุ รปราการจะต้องพยายามหาแนวทางการ
สง่ เสรมิ ่ให้ประชาชนใช้ชอ่ งทาง ต่างๆ ท่ีมอี ยอู่ ํานวยความสะดวกให้มากทสี่ ุด

พัชรี ภูบุญอิ่ม (2558) ได้ทำวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของ นักศึกษา
เกี่ยวกับการบริการของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม
พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการบริการของสำนักส่งเสริม วิชาการ
และงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้แก่ บุคลิกภาพของเจ้าหน้าที่ ระบบ บริการ
คณุ ภาพให้บรกิ าร ระยะเวลาบริการ ความสะดวกในการบริการสภาพแวดล้อม

Schmidt (1975) ได้ทำวิจยั เรอ่ื ง การศกึ ษาความพึงพอใจในการทำงานของผบู้ ริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษา โดยใช้ทฤษฎีของ เฮอร์ซเบอร์ก พบว่า องค์ประกอบของปัจจัยกระตุ้นส่วนมากทำให้ผู้
บริการเกิดความพึงพอใจในการทำงานและผู้บริการจะมีความพึงพอใจในการทำงานสูงในด้าน
ความสำเร็จของงาน การยอมรับนับถือ และความเจริญก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน แต่ไม่มีความพงึ
พอใจเกี่ยวกับเงนิ เดอื น ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผรู้ ่วมงานและนโยบายและการบริการงาน

บทที่ 3

วธิ ีดำเนินการวจิ ัย

รายงานผลการบรหิ ารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีวธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ยั 3 ขัน้ ตอน ดังน้ี

รายงานผลการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหนา้
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ขั้นตอนการดำเนินการ กจิ กรรม ผลท่ไี ดร้ ับ

วิจยั
ข้ันตอนท่ี 1 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณ์การ

แพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

การศึกษาแนวทางการ สอบถามความคดิ เหน็ / แนวทางการบริหารจดั การ
บริหารจดั การ สพป.สว่ น เสนอความคิดเหน็ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้
หน้า ภายใตส้ ถานการณ์ ผู้บริหารสถานศึกษา สถานการณ์การแพร่
การแพรร่ ะบาดของ สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ที่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส
โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา การศึกษาประถมศึกษา โคโรนา 2019 (COVID-
2019 (COVID-19) โดยการ เพชรบูรณ์ เขต 1 19)
สัมภาษณ์ผ้บู ริหาร จำนวน...126...คน
สถานศึกษา

ขน้ั ตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทางการบริหารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใตส้ ถานการณ์การ

แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

การตรวจสอบแนว สมั ภาษณผ์ ้ทู รงคณุ วุฒิ จำนวน 9 แนวทางการบริหารจัดการ
ทางการบริหารจดั การ คน เพ่อื ตรวจสอบความ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้ เหมาะสมแนวทางการบริหาร สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
สถานการณ์การแพร่ จดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้ ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ 2019 (COVID-19)
ไวรสั โคโรนา 2019 โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)

27

ข้นั ตอนที่ 3 การประเมนิ การบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

การประเมนิ ความพงึ สอบถามความพึงพอใจของ ความพงึ พอใจการบริหาร
พอใจการบรหิ ารจดั การ ผู้บริหารสถานศกึ ษา และ จดั การ สพป.ส่วนหนา้
สพป.ส่วนหน้า ข้าราชการครู โดยใช้วิธกี าร ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ สุ่มอยา่ งงา่ ย ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)
โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตาราง 1 แสดงขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
1. ประชากร

ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบรู ณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน

2.เครอื่ งมือใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ลักษณะของเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เปน็ แบบสอบถามปลายเปิด เกี่ยวกับ

แนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)

3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้

1. กำหนดปฏิทินประชุมสัญจรตามกลุ่มโรงเรียน จำนวน 14 กลุ่มโรงเรียน ในสังกัด
สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

2. ดำเนินการติดต่อประธานกลุ่มเพื่อนัดประชุมผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อสอบถามแนว
ทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) โดยการจดบนั ทึก และนำมาสรปุ วิเคราะหป์ ระเด็นสอบถาม ตามวัน เวลาที่กำหนด
ดงั ตาราง

28

ตาราง ...2.... แสดงวนั เวลา การประชุมเพอ่ื สอบถามแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหน้า

ท่ี กลมุ่ โรงเรียน สถานท่ี วันทีส่ อบถาม

1 ดงขุย โรงเรยี นบา้ นดงขุย 3 ธันวาคม 2563

2 บ้านโตกนายมชอนไพร โรงเรียนบา้ นโตก 7 ธนั วาคม 2563

3 หว้ ยสะแก-ระวงิ โรงเรียนบ้านห้วยสะแก 14 ธันวาคม 2563

4 บ้านโคกดงมูลเหลก็ โรงเรยี นบา้ นโนนสะอาด 15 ธันวาคม 2563

5 เอราวณั ตาดหมอก โรงเรยี นบา้ นตะเบาะ 23 ธันวาคม 2563

6 ท่าพลนางวั่ โรงเรยี นบ้านทา่ พล 24 ธนั วาคม 2563

7 ทา่ ขา้ ม โรงเรียนบา้ นท่าขา้ ม 25 ธันวาคม 2563

8 ในเมือง โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์ 30 ธนั วาคม 2563

9 ท้ายดง -วังหิน อบต.ท้ายดง 12 พฤศจิกายน 2563

10 วังชมภู โรงเรียนบ้านยาวี-หว้ ยโป่ง 27 พฤศจิกายน 2563

11 เพชรวงั โป่ง โรงเรียนวังโปง่ ศึกษา 4 ธนั วาคม 2563

12 เพชรชนแดน โรงเรยี นอนบุ าลชนแดน 4 ธนั วาคม 2563

13 ลาดแค โรงเรยี นบา้ นหนองใหญ่ 16 ธนั วาคม 2563

14 ห้วยใหญ่ โรงเรียนบ้านสะแกงาม 21 ธนั วาคม 2563

4. วเิ คราะห์ขอ้ มูล

ผู้วิจยั วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยการวิเคราะหเ์ นอื้ หา (Content Analysis)

ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

1. กลมุ่ ผใู้ ห้ขอ้ มูล
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นข้าราชการบำนาญ จำนวน 3 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน
และ ขา้ ราชการครู จำนวน 3 คน ทเี่ คยใช้บริการ สพป.ส่วนหน้า โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) ประกอบดว้ ย

1.1 นายชัยพร หาพทุ ธา ข้าราชการบำนาญ อดตี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์
1.2 นายสุพิน นชุ รอด ขา้ ราชการบำนาญ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยาวี-ห้วยโป่ง
1.3 นายทวีศักดิ์ เดชสองชั้น ข้าราชการบำนาญ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาล
เพชรบรู ณ์
1.4 นายมงคล ทองลาด ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทา่ พล (ทา่ พลวิทยาคาร)
1.5 นายปรีชา แก้วอาสา ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นซบั ขลุง

29

1.6 นางกาญจนา สกุ าญจนรกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนำ้ ลัด
1.7 นางเกศินี สมบูรณช์ ัย ครโู รงเรยี นบา้ นวงั ขอนมิตรภาพท่ี 137
1.8 นางสาวกติ ติยา จนั มา ครโู รงเรยี นบา้ นกกจ่นั
1.9 นายนพิ นธ์ ตะปะโจทย์ ครูโรงเรียนบา้ น กม.28

2. เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
เคร่อื งมอื ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประกอบดว้ ย

2.1 ร่างแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

2.4 นำแบบตรวจสอบความเหมาะสมแนวทางการบริหารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกบ็ ข้อมูลจากผ้ทู รงคณุ วุฒิ
เปน็ รายบุคคล

3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ผู้วิจัยติอต่อผู้ให้ข้อมูลทางโทรศัพท์ เพื่อขอความอนุเคราะห์ตรวจสอบความเหมาะสม

แนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) โดยการเก็บขอ้ มูลจากผู้ทรงคุณวฒุ ิเปน็ รายบคุ คล

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล จากแบบตรวจสอบความเหมาะสมของแนวทางการบริหารจัดการ
สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และ
การนำข้อเสนอแนะของผู้ให้ข้อมูลมาพิจารณาปรับปรุงแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และผูว้ ิจยั วเิ คราะห์
ข้อมูล จากแบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถิติที่ใช้ในการ
เคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน (S.D) ในการแปลความหมายของ
คา่ เฉล่ียตามเกณฑด์ งั ท่ี บุญชม ศรีสะอาด (2554, น.121) ระบดุ ังน้ี
ค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถงึ แนวทาง ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มากที่สดุ
ค่าเฉลีย่ 3.51-4.50 หมายถึง แนวทาง ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
คา่ เฉลย่ี 2.51-3.50 หมายถึง แนวทาง ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลยี่ 1.51-2.50 หมายถงึ แนวทาง ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั นอ้ ย
ค่าเฉลย่ี 1.00-1.50 หมายถงึ แนวทาง ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับน้อยทส่ี ดุ
เกณฑ์การตัดสินมีความเหมาะสมของแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้

30

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไปใช้ พิจารณาจาก
ค่าเฉลย่ี ตง้ั แต่ 3.51 ขึ้นไปและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน มคี า่ ไมเ่ กิน 1.00 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
สำหรับขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ผวู้ ิจยั วิเคราะห์ข้อมลู โดยการวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis)

ข้นั ตอนที่ 3 การประเมนิ แนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
ประชากร ไดแ้ ก่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จำนวน 126 คน และ ข้าราชการครู จำนวน 1,036
คน รวม 1,162 คน สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 31 คน และ ข้าราชการครู จำนวน 251
คน รวม 282 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ซึ่งการกำหนดกลุ่ม
ตัวอย่างโดยการเปิดตารางเครซ่ีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan) (บุญชม ศรสี ะอาด (2554, น.43)
และเลอื กกลุ่มตัวอยา่ งโดยใชว้ ิธีการสมุ่ อย่างงา่ ย
3.2 เคร่อื งมอื ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ดำเนินการดังน้ี
1. ผู้วิจัยนำรายละเอยี ดแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากำหนดเป็นข้อคำถาม
2. ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ สพป.ส่วนหน้า
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) ลักษณะ
แบบสอบถามเป็นการประเมินมาตรประมาณค่า 5 ระดับ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมมีลักษณะเป็น
แบบสอบถามปลายเปิด ดังน้ี

5 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่สี ุด
4 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก
3 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
2 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อย
1 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยทีส่ ุด
2. ผู้วิจัยนำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจให้ผู้รับบริการ สพป.ส่วนหน้า
ดำเนนิ การประเมนิ

31

3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การดำเนนิ การเก็บรวมรวมขอ้ มูลผ้วู จิ ัยดำเนินการ โดยการให้ผทู้ ่ีรับบริการประเมินความ
พึงพอใจเมื่อใช้บริการ สพป.ส่วนหน้า บางส่วนส่งให้ผู้รับบริการในรูปแบบ online ได้รับคืนจำนวน
282 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
3.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล จากแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ สพป.
ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถิติท่ีใช้
ในการเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ เฉล่ยี (Mean) และสว่ นเบย่ี งเบนมาตฐาน (S.D) ในการแปลความหมาย
ของคา่ เฉล่ยี ตามเกณฑ์ดงั ที่ บญุ ชม ศรสี ะอาด (2554, น.121) ระบุดังน้ี
ค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ
คา่ เฉล่ยี 3.51-4.50 หมายถึง ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก
คา่ เฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อย
ค่าเฉลีย่ 1.00-1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับนอ้ ยท่ีสุด
เกณฑ์การตัดสินความพึงพอใจของผู้รับบริการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พิจารณาจากค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไปและ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าไม่เกิน 1.00 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน สำหรับข้อเสนอแนะอื่นๆ
ผวู้ จิ ัยวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการวเิ คราะห์เนอ้ื หา (Content Analysis)

บทท่ี 4
ผลการวจิ ัย

การนำเสนอผลการวิจัยเร่ือง รายงานผลการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผวู้ จิ ยั ได้นำเสนอ โดยแบ่งออกเป็น 3
ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตอนที่ 3 ผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

รายละเอียดของผลการวจิ ัยในแต่ละตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากการสอบถามผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน สรุปข้อมูลโดยการวิเคราะห์
เนื้อหา (Content Analysis) พบว่า

1. จากการสอบถามผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา
เพชรบรู ณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน พบวา่ ข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการสพป.ส่วนหนา้ ภายใต้
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดงั น้ี

1.1 การวางระบบงานสารบรรณของสำนักงานเขตพ้นื ทีใ่ ห้ถูกตอ้ ง ชัดเจนตัง้ แต่
เริ่มตน้ เพื่อหลกี เลี่ยงการทวงงานจากโรงเรียน

1.2 จัดทำระบบ สแกน QR Code ติดไว้ตามกลุ่มงานต่าง ๆ หรอื เว็ปไซต์สำนกั งาน
เขตพ้ืนที่ เพอื่ ประเมินความพึงพอใจการรบั บรกิ ารของเจ้าหน้าท่ีกลุม่ งานตา่ ง ๆ เพ่อื เปน็ การประเมนิ
การดำเนนิ งานของเจา้ หน้าและปรับปรุงระบบการทำงานต่อไป

1.3 จัดตงั้ ศูนยอ์ ำนวยความสะดวกผู้ตดิ ตอ่ ราชการ (เปลี่ยนชอ่ื จาก One Stop
Service ) และจัดเจา้ หนา้ ท่ีมารบั บริการผ้ตู ิดต่อราชการใน สพป.พช.1

33

1.4 จัดทำห้องสำหรับพักรอของผู้มาติดต่อราชการ หรือที่ประชุมกลุ่มย่อย ๆ ของ
ผู้บริหารโรงเรียนเพอ่ื ปรึกษางานหรือ PLC ร่วมกนั
(ภาคผนวก...ก......)

2. จากการสอบถามผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 กำหนดแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนี้

2.1 การกำหนดนโยบายด้านการบรกิ าร การตดิ ตอ่ ราชการ การอำนวยความสะดวก

แนะนำ ชว่ ยเหลอื และให้บรกิ ารด้านข้อมูลข่าวสาร ใหแ้ ก่ผูม้ าติดต่อราชการ จำนวน 9 เรื่อง
ประกอบดว้ ย 1. งานรบั -สง่ หนังสือราชการ 2. หนว่ ยตดิ ตอ่ สอบถามแนะนำข้อราชการ 3. แว่นตา 4.
หนา้ กากอนามยั 5. คอมพวิ เตอรบ์ รกิ าร 6. ยาสามญั ประจำบ้าน 7. น้ำดืม่ 8. กาแฟ 9. นัดหมาย –
รบั ได้เลย (ภาคผนวก..ก....)

2.2 การบรกิ ารที่เป็นเลิศตามมาตรฐานสำนกั งานโดยต้ังศูนยอ์ ำนวยความสะดวก
ผู้ติดตอ่ ราชการ และแต่งตัง้ บคุ ลากรปฏบิ ัติหนา้ ที่เพ่มิ เตมิ เพอื่ ให้เกิดความสำคัญในการปฏิบัตริ าชการ
ในวนั ทำการ ต้งั แต่เวลา 07.30 – 16.30 น. (ภาคผนวก...ข...)

2.3 การจัดต้งั ห้องรบั รอง Coffee PBN1 เพื่อเปน็ ท่ีบริการสำหรบั ผู้ตดิ ต่อราชการและ
สำหรับประชมุ กล่มุ ยอ่ ย
ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ผู้วิจัยนำแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสม แนวทางการ
บริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

34

ตาราง 3 แสดงผลตรวจสอบแนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหน้า ภายใตส้ ถานการณก์ าร

แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

n=9

รายการ ความเหมาะสม

x̅ S.D. แปลผล

1. การกำหนดนโยบายดา้ นการบริการ การตดิ ตอ่ ราชการ การอำนวย 4.60 0.52 มากที่สุด

ความสะดวก แนะนำ ช่วยเหลือ และใหบ้ ริการด้านข้อมลู ขา่ วสาร

ใหแ้ กผ่ มู้ าตดิ ต่อราชการ จำนวน 9 เร่อื ง ประกอบด้วย

1.1 งานรับ-ส่งหนังสอื ราชการ

1.2 หนว่ ยติดตอ่ สอบถามแนะนำข้อราชการ

1.3 แวน่ ตา

1.4 หนา้ กากอนามยั

1.5 คอมพวิ เตอร์บริการ

1.6 ยาสามัญประจำบ้าน

1.7 นำ้ ด่มื

1.8 กาแฟ

1.9 นัดหมาย - รบั ไดเ้ ลย

2.การบรกิ ารทเ่ี ป็นเลิศตามมาตรฐานสำนกั งานโดยตง้ั ศูนย์อำนวย 4.70 0.48 มากที่สุด

ความสะดวกผูต้ ิดตอ่ ราชการ และแตง่ ตัง้ บุคลากรปฏิบัตหิ น้าท่เี พิ่มเตมิ

เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสำคัญในการปฏบิ ัติราชการในวันทำการ ตัง้ แต่เวลา

07.30 – 16.30 น.

3. การจัดต้ังห้องรบั รอง Coffee PBN1 เพ่อื เปน็ ทบี่ ริการสำหรับผู้ 4.80 0.42 มากทสี่ ดุ

ติดตอ่ ราชการและสำหรบั ประชมุ กลมุ่ ย่อย

รวม 4.70 0.42 มากทีส่ ดุ

จากตาราง 3 พบว่าแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวม มีผลการประเมินความ

เหมาะสม อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด (x̅=4.70) ซึ่งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินความเหมาะสม และเม่อื พิจารณา
เป็นรายการ พบว่ามผี ลการประเมนิ ความเหมาะสม ดงั นี้

35

รายการท่ี 1 การกำหนดนโยบายด้านการบริการ การตดิ ต่อราชการ การอำนวยความสะดวก
แนะนำ ช่วยเหลือ และให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ผู้มาติดต่อราชการ จำนวน 9 เรื่อง อยู่ใน
ระดบั มากท่สี ดุ (x̅=4.60) ซ่งึ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ความเหมาะสม

รายการท่ี 2 การบริการท่ีเป็นเลิศตามมาตรฐานสำนักงานโดยตัง้ ศูนย์อำนวยความสะดวกผู้
ตดิ ตอ่ ราชการ และแต่งตั้งบคุ ลากรปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี พม่ิ เติมเพือ่ ให้เกิดความสำคญั ในการปฏิบัติราชการใน
วันทำการ ตั้งแต่เวลา 07.30 – 16.30 น. อยู่ในระดบั มากท่ีสุด (x̅=4.70) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน
ความเหมาะสม

รายการท่ี 3 การจัดตงั้ ห้องรับรอง Coffee PBN1 เพ่ือเป็นทบ่ี รกิ ารสำหรับผตู้ ิดต่อราชการ
และสำหรับประชุมกลุ่มย่อย อยู่ในระดับมากที่สุด (x̅=4.80) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินความ
เหมาะสม

ตอนที่ 3 ผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผวู้ ิจัยได้สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจ ตาม
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จำนวน 282 คน ได้รับการตอบแบบประเมินความพึง
พอใจ กลบั คนื จำนวน 282 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ปรากฏผลการประเมิน ดังน้ี

ตาราง...4... แสดงจำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจแนวทางการบรหิ าร

จัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา

2019 (COVID-19)

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

ตำแหน่ง

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 31 11.00

ขา้ ราชการครู 251 89.00

รวม 282 100

จากตาราง .....4..... พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามด้านตำแหน่ง เป็นผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษา จำนวน 31 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.00 เปน็ ขา้ ราชการครู จำนวน 251 คน คดิ เป็นร้อยละ
89.00

36

ตาราง …5… แสดงผลการประเมินความพึงพอใจแนวทางการบริหารจดั การ สพป.ส่วนหนา้
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

รายการประเมิน n = 282
ความพึงพอใจ
1. การทักทายและการตอ้ นรับของเจา้ หนา้ ที่ ̅ S.D. แปลผล ผลการประเมิน
2. ความพร้อมในการให้บรกิ ารของเจ้าหนา้ ที่ 4.97 0.18 มากท่ีสุด ผา่ นเกณฑ์
3. ความรวดเรว็ ในการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าที่ 4.96 0.19 มากทส่ี ุด ผ่านเกณฑ์
4. การใหค้ ำแนะนำ ปรึกษาข้อมูลของเจา้ หน้าที่มีความชัดเจน 4.98 0.13 มากท่ีสุด ผา่ นเกณฑ์
5. ความถูกตอ้ งครบถ้วนการให้บรกิ ารของเจ้าหนา้ ท่ี 4.96 0.19 มากท่สี ุด ผ่านเกณฑ์
4.97 0.17 มากที่สดุ ผา่ นเกณฑ์
รวม 4.97 0.17 มากที่สุด ผ่านเกณฑ์

จากตาราง..5.. พบวา่ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วน
หนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)ในภาพรวมอยู่
ในระดับมากทสี่ ดุ (x̅=4.97) ซ่งึ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินความพงึ พอใจ เมอื่ พจิ ารณารายการประเมิน
พบวา่ ความพงึ พอใจ มีค่าเฉล่ียอยูร่ ะหว่าง 4.96-4.98 ซงึ่ ผ่านเกณฑ์การประเมินความพงึ พอใจ
ทุกรายการ โดยรายการทม่ี ีค่าเฉลีย่ สูงสุด คือ รายการท่ี 3 ความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าท่ี
อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด (x̅=4.98 ) รองลงมาคือ รายการที่ 1 ความรวดเรว็ ในการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าที่
และรายการที่ 5 ความถูกต้องครบถ้วนการใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าที่ อยู่ในระดับมากท่สี ดุ (x̅=4.97)

บทที่ 5
บทสรุป

การวิจัยเรื่อง รายงานผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มวี ตั ถุประสงค์ คอื 1) เพ่ือ
ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2)เพื่อตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และ 3) เพื่อประเมินการ
บริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

การวจิ ยั ในครงั้ นี้ ผู้วิจยั แบ่งออกเป็น 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสอบถามผู้บริหารสถานศึกษา
สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จำนวน...126...คน
เกย่ี วกบั แนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม แนวทางการ
บริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า วเิ คราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะหเ์ นอ้ื หา
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเปน็
ข้าราชการบำนาญ จำนวน 3 คน ผบู้ ริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน และ ข้าราชการครู จำนวน 3 คน
ที่เคยใช้บริการ สพป.ส่วนหน้า โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เป็นการตรวจสอบ
ความเหมาะสมแนวทางการบริหารจัดการ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เก็บขอ้ มูลจากผูท้ รงคณุ วุฒเิ ปน็ รายบุคคล
ขั้นตอนท่ี 3 การประเมินแนวทางการบรหิ ารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 31
คน และ ข้าราชการครู จำนวน 251 คน รวม 282 คน สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบรู ณ์ เขต 1 โดยใช้วิธใี ชว้ ธิ ีการสุ่มอยา่ งง่าย

38

สรปุ ผลการวจิ ัย
1. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า แนวทางการบริหารจัดการ สพป.
สว่ นหนา้ มีดงั นี้

1.1 กำหนดนโยบายด้านการบริการ การติดต่อราชการ การอำนวยความสะดวก แนะนำ
ช่วยเหลือ และใหบ้ ริการดา้ นขอ้ มลู ข่าวสาร ใหแ้ ก่ผูม้ าตดิ ต่อราชการ

1.2การบรกิ ารทเี่ ปน็ เลิศตามมาตรฐานสำนักงานโดยตัง้ ศนู ย์อำนวยความสะดวกผ้ตู ิดต่อ
ราชการ และแตง่ ต้งั บุคลากรปฏบิ ตั ิหน้าท่เี พม่ิ เติมเพื่อใหเ้ กดิ ความสำคญั ในการปฏิบตั ริ าชการในวันทำ
การ ตัง้ แต่เวลา 07.30 – 16.30 น.

1.3 การจัดต้งั ห้องรบั รอง Coffee PBN1 เพือ่ เป็นท่ีบริการสำหรับผู้ติดตอ่ ราชการและ
สำหรบั ประชุมกลุ่มย่อย

2. ผลการตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณก์ าร
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) พบวา่ แนวทางการบริหารจัดการ สพป.
ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน
ภาพรวม มีผลการประเมินความเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (x̅=4.70) ซึ่งผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
ความเหมาะสม

3. ผลการประเมินแนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ
แนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโร
นา 2019 (COVID-19) ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ (x̅=4.97) ซ่งึ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ความพงึ
พอใจ เม่อื พจิ ารณารายการประเมิน พบว่า ความพงึ พอใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหวา่ ง 4.96-4.98 ซ่งึ ผ่าน
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจทุกรายการ
อภิปรายผลการวจิ ยั

จากสรุปผลการวิจัย มีประเด็นสำคัญท่ีนำมาอภิปรายผล ดงั นี้
ผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหน้า ภายใต้สถานการณ์การ

แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่ มีการ
กำหนดนโยบายด้านการบรกิ าร การติดต่อราชการ การอำนวยความสะดวก แนะนำ ช่วยเหลือ และ
ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ผู้มาติดต่อราชการ มีการบริการท่ีเป็นเลศิ ตามมาตรฐานสำนักงาน
โดยตั้งศูนย์อำนวยความสะดวกผู้ติดต่อราชการ และแต่งตัง้ บคุ ลากรปฏิบัติหน้าที่เพิ่มเติมเพื่อให้เกดิ
ความสำคัญในการปฏิบัติราชการในวันทำการ ตั้งแต่เวลา 07.30 – 16.30 น. และมีการจัดตั้งห้อง

39

รับรอง Coffee PBN1 เพื่อเป็นที่บริการสำหรับผู้ติดต่อราชการและสำหรับประชุมกลุ่มย่อย
สอดคล้องกับ สัญญา เคณาภูมิ ได้ทำวิจัย เรื่อง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการ
ใหบ้ รกิ ารของ เทศบาล อำเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร พบวา่ การจดั สถานทใี่ ห้บริการกับประชาชนผู้
มารับบริการอย่างสะดวก สะอาด เรียบร้อย สวยงาม ทั้งภายในอาคารและสถานที่รอบนอกอาคาร
เพื่อให้ผู้ใช้บรกิ ารสามารถเขา้ ถึง บริการไดอ้ ยา่ งสะอาดและปลอดภัย สถานที่ต่างๆที่ใหบ้ ริการมีป้าย
สัญลักษณ์บอกจดุ บรกิ ารอย่าง ชัดเจน มแี ผน่ ป้ายบอกรายช่อื เจา้ หนา้ ท่ี เบอร์โทรศัพทพ์ รอ้ มท้งั รูปถ่าย
ของเจา้ หนา้ ทีผ่ ้ใู ห้บรกิ ารและ ผูบ้ รหิ ารองค์การตลอดทงั้ จัดให้มีเครอื่ งอำนวยความสะดวกตา่ งๆ ในการ
ให้บริการ เชน่ มีการจดั หอ้ ง รบั รองเพอ่ื รอรับบรกิ ารเป็นสัดสว่ น จัดเตรยี มน้ำดืม่ หนงั สอื พิมพ์ เอกสาร
การประชาสัมพนั ธ์ตา่ งๆ มี แบบฟอร์ม เอกสารตัวอยา่ งการกรอกข้อมลู กระดาษ ปากกาเพื่อรองรบั
บริการอย่างเพียงพอ มี ห้องน้ำไว้บริการที่สะดวก สะอาด จัดที่นั่งผู้รับบริการ สถานที่บริการ ความ
ชัดเจนของป้าย ต่างๆ มีป้าย ประชาสัมพันธ์ บอกจุดบริการ โทรศัพท์สาธารณะ บริการน้ำดืม่ ที่จอด
รถไว้ใหบ้ รกิ าร เป็นต้น เป็นแนวทางการบรกิ ารที่ดใี นหน่วยงาน สอดคล้องกับ พัชรี ภูบุญอิม่ (2558)
ได้ทำวจิ ัย เรื่อง ปจั จยั ทีม่ ีอิทธิพลตอ่ ความพงึ พอใจของ นกั ศึกษา เกย่ี วกับการบรกิ ารของสำนักส่งเสริม
วชิ าการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม พบวา่ ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธิพลตอ่ ความพึงพอใจ
ของนักศึกษาที่มีต่อการบริการของสำนักส่งเสริม วิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม ได้แก่ บุคลิกภาพของเจ้าหน้าที่ ระบบ บริการ คุณภาพให้บริการ ระยะเวลาบริการ
ความสะดวกในการบริการสภาพแวดล้อม และสอดคล้องกับ Schmidt (1975) ได้ทำวิจัย เรื่อง
การศึกษาความพึงพอใจในการทำงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยใช้ทฤษฎีของ เฮอร์ซ
เบอร์ก พบว่า องค์ประกอบของปัจจัยกระตุ้นส่วนมากทำให้ผู้บริการเกดิ ความพึงพอใจในการทำงาน
และผู้บริการจะมีความพงึ พอใจในการทำงานสูงในด้าน ความสำเร็จของงาน การยอมรับนับถือ และ
ความเจรญิ ก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน แต่ไม่มคี วามพึง พอใจเก่ยี วกบั เงนิ เดอื น ความสัมพนั ธ์ระหว่าง
ผรู้ ่วมงานและนโยบายและการบริการงาน

ผลการประเมินแนวทางการบริหารจดั การ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจ
แนวทางการบริหารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโร

นา 2019 (COVID-19)ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุด (x̅=4.97) ซึ่งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินความพึง
พอใจ เมอื่ พิจารณารายการประเมิน พบวา่ ความพงึ พอใจ มคี า่ เฉลี่ยอยรู่ ะหว่าง 4.96-4.98 ซึ่งผ่าน
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจทุกรายการ แสดงให้เห็นถึงว่าการบริหารจัดการด้านการบริหารใน
ส่วนราชการต่าง ๆ ควรคำนึงถึงความต้องการของผู้รับบริการเป็นสำคัญ อย่างไรก็ตาม ผู้รับบริการ
มกั จะมีความคาดหวงั ในการใหบ้ รกิ ารท่ีดีย่งิ ข้นึ เรื่อย ๆ ดงั นั้นองค์กรจึงจำเป็นจะต้องพัฒนาการบรหิ าร
จดั การใหต้ รงความต้องการของผู้รับบรกิ ารและจำเป็นต้องมกี ารพฒั นาอย่างต่อเนื่องตามสถานการณ์ท่ี

40

เปล่ียนแปลงไป สอดคล้องกับ สัญญา เคณาภมู ิ (2563, น.75-76) ไดท้ ำวิจัย เรอื่ ง การสำรวจความพงึ
พอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของ เทศบาล อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร พบว่า การ
สำรวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการ มีประเด็นการสำรวจทั้ง 4 ประเด็น คือ (1)
ด้านกระบวนการและ ขั้นตอน (2) ด้านช่องทางในการให้บริการ (3) ด้านเจ้าหน้าที่และบุคลากรผู้
ใหบ้ รกิ าร และ(4) ดา้ นสงิ่ อำนวยความสะดวก อยูใ่ นระดบั ทีป่ ระชาชนผู้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจมาก
ทส่ี ุด (คา่ เฉล่ีย 4.58) โดยประชาชน มคี วามพึงพอใจต่อการให้บรกิ ารในด้านกระบวนการและขั้นตอน
มีค่าเฉลี่ย 4.61 คิดเป็นร้อยละ 92.20 สะท้อนให้เห็นว่า เทศบาลตำบลศรีแก้วมีความพร้อมในการ
ให้บริการของเจ้าหน้าที่ท่ี รับผิดชอบในแต่ละงานบริการสาธารณะด้านต่าง ๆ มีการชี้แจงข้อแนะนำ
ขน้ั ตอน วิธกี าร ตลอดทั้ง ระยะเวลาท่ีเรมิ่ ต้นจนสิน้ สดุ การให้บรกิ ารด้านต่าง ๆใหก้ บั ประชาชนผู้มารับ
บริการไดร้ บั ทราบ รวมทง้ั เครอ่ื งการจัดให้มขี ้ันตอนกอ่ น-หลงั อย่างยุติธรรม เรอื่ งการบรกิ ารที่รวดเร็ว
ถูกต้องตามที่ประกาศไว้ เรือ่ งเอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ขั้นตอน กระบวนการในการดำเนินการ
อย่างชัดเจน เป็นที่พอใจ ของประชาชนผู้รับบริการเป็นอย่างดีมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ
รองลงมาที่ประชาชนมีความ พึงใจในด้านเจ้าหน้าที่และบุคลากรผูใ้ ห้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.59 คิดเป็น
ร้อยละ 91.80 ที่เป็นเช่นน้ี สะท้อนให้เห็นว่า เทศบาลตำบลศรีแก้ว มีเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการที่คอย
ต้อนรับและคอยให้บรกิ าร ทั้ง กิริยามารยาท ความเรียบร้อย ความเป็นมิตร การยิ้มแย้มแจ่มใส การ
บรกิ ารด้วยจติ ใจที่เป็นสาธารณะ เสียสละ พูดจาไพเราะ อ่อนหวาน มีบุคลิกภาพที่ออ่ นโยน ตลอดทั้ง
ภาพลักษณ์ ความนา่ เช่อื ถอื การ ปฏบิ ัติงานด้วยความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ การอุทิศตนเพ่อื ส่วนรวม ความ
ซ่อื สตั ย์สุจริต การสร้างความ ประทับใจแก่ผู้มารับบรกิ าร ทง้ั ความรวดเร็วและเปน็ ธรรม อันดับต่อมา
คือ ด้านช่องทางในการ ให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.57 คิดเป็นร้อยละ 91.40 สะท้อนให้เห็นว่า เทศบาล
ตำบลศรแี ก้วมีการจดั การ เรอื่ งชอ่ งทางการให้บริการสาธารณะแกป่ ระชาชนผรู้ ับบริการอยใู่ นระดับท่ีดี
เป็นที่นา่ พอใจอย่างมาก มีการจัดบอร์ดประชาสมั พันธ์องคก์ าร ชุมชน ตำบล หมู่บ้าน มีการจัดส่งสอ่ื
สิ่งพิมพ์ วารสาร ประชาสัมพันธ์ จดหมายข่าว เผยแพร่ไปตามหน่วยงาน/หมู่บ้าน/ชุมชน มีการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ขององค์การผ่านสื่อต่างๆเช่น หอกระจายข่าว เสียงตามสาย วิทยุชุมชน
วิทยกุ ระจายเสยี ง รถแห่ ประชาสมั พันธเ์ คล่อื นที่ รวมท้งั การจัดแถลงข่าว จัดนิทรรศการในงานต่างๆ
ตลอดทั้งประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น เวปไซด์ เฟสบุ๊ค ไลน์ ในการเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสารการบริการ ขององค์การเป็นอย่างดีเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ สอดคล้องกับ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (2562, น.17) ได้ทำวิจัย เรื่อง รายงานผลความพึง
พอใจของผู้รับบริการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ประจำปีงบประมาณ 2562
พบว่า ความพึงพอใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่และบุคลากร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 5 อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากสุดไปหาน้อย 3 ลำดับแรก คือ 1) การ
ให้บริการ เป็นไปตามกระบวนการ ขั้นตอน (x̅ =4.24 ) 2) เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจ ให้

41

คำปรึกษา และ ข้อเสนอแนะ (x̅= 4.23) ลำดับสุดท้าย การต้อนรับด้วยอัธยาศัยที่ดี สุภาพ ยิ้มแย้ม
แจม่ ใส (x̅= 4.22) และลำดบั นอ้ ยท่ีสดุ คือ มอี ปุ กรณ์ เคร่ืองมอื ทใ่ี ห้บริการใช้งานเพียงพอ มีคุณภาพ
และทนั สมยั (x̅= 3.97) และสอดคลอ้ งกับ อัญชลี ดุสิตสุทธริ ตั น์ (2559, น.61) ได้ทำวิจัย เรือ่ ง ความ
พงึ พอใจของประชาชนต่อการให้บรกิ าร ของ องคก์ ารบริหารส่วนตําบลบางโปรง อาํ เภอเมอื ง จังหวัด
สมุทรปราการ พบว่า ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการมีขั้นตอนในการให้บริการที่ไม่ ยุ่งยาก ซับซ้อน (x̅
=3.79) และด้านเจา้ หนา้ ท่ีผ้ใู หบ้ รกิ าร มกี ริ ิยาท่าทาง ความสภุ าพ และมีการ ต้อนรับดว้ ยความยิ้มแย้ม
แจ่มใส (x̅ =3.84,3.84) อยู่ในระดับมาก และด้านสิ่งอํานวยความสะดวก เกี่ยวกับความสะอาดของ
สถานท่ใี ห้บริการ (x̅ =3.76) อยู่ในระดบั มากเชน่ กัน และตอ้ งเน้นเก่ยี วกับ ความเพียงพอของท่ีจอดรถ
ด้วย แต่ด้านช่องทางในการให้บรกิ าร ประชาชนสว่ นใหญ่มาใช้บริการมาก ทสี่ ดุ ที่สาํ นักงาน อบต. (x̅
=3.49) อยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตําบลบางโปรง อําเภอเมือง จังหวัด
สมุทรปราการจะต้องพยายามหาแนวทางการส่งเสริม่ให้ประชาชนใช้ช่องทาง ต่างๆ ที่มีอยู่อํานวย
ความสะดวกให้มากที่สุด
ข้อเสนอแนะ

1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลวจิ ยั ไปใช้
จากผลการวิจัยเร่อื ง รายงานผลการบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใต้สถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการนำ
ผลการวจิ ยั ไปใช้ ดังน้ี

1.1 แนวทางการบริหารจัดการ สพป.ส่วนหนา้ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ควรเกดิ จากความต้องการของผู้รบั บริการอย่างแท้จริง
และครอบคลุมความต้องการทุกกล่มุ เป้าหมาย

1.2 ควรมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้
ใหบ้ ริการอย่างชัดเจน

1.3 แนวทางการบรหิ ารจดั การ สพป.สว่ นหนา้ ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ควรมีการปรบั ปรุงการดำเนนิ งานอย่างต่อเนื่อง โดยมี
การรบั ฟงั ข้อเสนอแนะของผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี

2. ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครงั้ ต่อไป
2.1 ควรวจิ ัยและพฒั นาเกยี่ วกบั รปู แบบการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานเขตพ้ืนท่สี กู่ ารเป็น

องคก์ รแห่งการเรียนรดู้ า้ นการบริการท่เี ป็นเลิศ
2.2 ควรวิจัยและพัฒนาสมรรถนะของผู้ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ ด้วย

กระบวนการ PLC

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม

กติ ตพิ ทั ธ์ จิรวัสวงศ์. (2559). Vision & Core Value. เมอ่ื วนั ท3่ี กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมเดอะ
ทวนิ ทาวเวอร.์ กรุงเทพฯ:

คมู่ ือแนวปฏบิ ตั ิตามคา่ นิยม สพป.พช.1. (2564). สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
เพชรบูรณ์ เขต 1. เพชรบรู ณ์:

จรณุ ี เกา้ เอีย้ น. (2557) .เทคนิคการบรหิ ารงานวิชาการในสถานศกึ ษา (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2).สงขลา:
ชาญเมอื งการพมิ พ.์

จนั ทรานี สงวนนาม. (2551). ทฤษฎีและแนวทางปฏิบตั ิในการบริหารสถานศึกษา (พิมพ์คร้งั ที่ 2).
กรุงเทพ ฯ: บคุ๊ พอยท์..

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบคุ ลากรทางการศึกษา (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ :
สำนักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง. (2556). ความหมายของ Core Value. สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 12 กันยายน
2564 จาก http://www.slideshare.net/seteru/core-value21833983

ธรี ะ รุญเจริญ (2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศกึ ษา (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3). กรงุ เทพ ฯ: ข่าวฟา่ ง.
บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องตน้ (พมิ พค์ รง้ั ที่ 9). กรุงเทพ ฯ :สวุ ีรยิ าสาส์น.
ภานุวัฒน์ จาโรทก. (2551). สอ่ งกลอ้ ง รศ. ดร.ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน.์ สบื คน้ เม่อื 12 กันยายน

2564 จาก https://docs.google.com/document/ d/1i3yg5X6UPZnO
SVPPuVOTB sLw82stlBNM18TD43rtNC๐/edit.
เลอ่ื มใส ใจแจง้ . (2546). สมาคมสันตบิ าตรเทศบาลแห่งประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บพิธการพิมพ์.
สมติ สชั ฌุกร. (2542). การตอ้ นรบั และบริการทีเ่ ปน็ เลศิ . กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5. (2562). รายงานผลความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 5 ประจำปงี บประมาณ 2562. ชัยนาท
ลพบรุ ี สงิ ห์บุรี อ่างทอง:
สำนักงาน ก.พ.. (2557). การสร้างวัฒนธรรมเชิงจริยธรรมในองคก์ ร (Ethical DNA). เอกสาร
ประกอบการอบรม.
สัญญา เคณาภมู ิ. (2563). การสำรวจความพงึ พอใจของประชาชนทม่ี ตี อ่ การใหบ้ ริการของ เทศบาล
อำเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร (วิจัย). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.


Click to View FlipBook Version