The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mediapbn1, 2022-06-07 02:28:17

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1

PBN1

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2564

1

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหำร

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและสร้างแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร
จัดการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 และเพื่อหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การศกึ ษา ได้แก่ 1) แบบสงั เคราะห์เอกสาร จากเอกสารงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้องในเร่ืองการบริหารจัดการขยะ
นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินโครงการประกวด
โรงเรียนปลอดขยะ ผลงานของโรงเรียน ที่ประสบความสาเร็จ 2) แบบตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา
ของผู้เช่ียวชาญ 5 คน 3) แบบประเมินคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร
จดั การโรงเรียนปลอดขยะ จากผูอ้ านวยโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จานวน 126 คน
การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการสรุปแบบประเมินหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย (μ) เป็นรายข้อ และนาเสนอเป็นตารางประกอบการบรรยาย

ปรากฏผลการศกึ ษา ดงั นี้
1. ผลการศกึ ษาแนวทางการดาเนินการขบั เคล่อื นการบริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ ของ

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่า มีแนวคิดเชิงระบบในการขับเคล่ือน
มี 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านปัจจัย ประกอบด้วย ทรัพยากรมนุษย์ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
เครือข่าย งบประมาณ (2) ดา้ นกระบวนการ ประกอบดว้ ย การกาหนดนโยบาย การสร้างความรู้ความ
เข้าใจ การส่งเสริมการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการขยะ และการประเมินผลการดาเนินงาน (3) ด้าน
ผลผลิต ประกอบด้วย โรงเรียนมีผลการประเมินการบริหารจัดการขยะผ่านเกณฑ์การประเมิน ปริมาณ
ขยะมูลฝอยในโรงเรียนลดลง ผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนมีจิตสานึกและพฤติกรรมการจดั การ
ขยะทดี่ ี และโรงเรียนมีความยั่งยืน ในการดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะ พบวา่ มีแนวทางการขบั เคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
องคป์ ระกอบ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นท่ี 1 การกาหนดนโยบาย ด้านท่ี 2 การสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ดา้ นท่ี 3
การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ด้านท่ี 4 การบริหารจัดการขยะ ด้านที่ 5 การประเมินผลการดาเนินงาน
ในแต่ละข้ันตอนได้กาหนดความหมาย วัตถุประสงค์ บทบาทการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา บทบาทการดาเนินงานของโรงเรยี น

2. ผลการประเมินแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่า ไดค้ ู่มือมีองคป์ ระกอบด้วย สว่ นที่
1 บทนา ประกอบด้วยความเป็นมา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย นิยามศัพท์เฉพาะ ส่วนท่ี 2 แนวทางการ
ดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ มีท้ังหมด 5 ข้ันตอน ข้ันตอนที่ 1 การกาหนด
นโยบาย ขั้นตอนท่ี 2 การสร้างความเข้าใจ ข้ันตอนที่ 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ขั้นตอนท่ี 4
การบริหารจัดการขยะ ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลการดาเนินงาน และส่วนที่ 3 การพิจารณาคัดเลือก
เพื่อรับรางวัลโรงเรียนปลอดขยะ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ประเภทขนาด

2

สถานศึกษาที่เข้ารับการคัดเลือก รางวัลเกียรติบัตร และเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก 3) ผลการประเมิน
คุณภาพคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม
ดา้ นความเป็นไปได้ ดา้ นความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวมและรายด้านอย่ใู นระดับมาก (μ=4.49) สว่ น
ด้านที่มีระดับสูงสุด คือด้านความเป็นประโยชน์ (μ=4.51) รองลงมา คือ ความถูกต้อง (μ=4.49)
และความเหมาะสม (μ=4.49) ลาดบั นอ้ ยท่ีสดุ คือ ความเป็นไปได้ (μ=4.46)

ข้อเสนอแนะสำหรบั ผู้บริหำร
ผลการศึกษาในคร้ังนี้ มีข้อเสนอแนะเพ่ือใช้เป็นแนวทางสาหรับให้ผู้บริหารนาไปพัฒนา

การดาเนนิ การขับเคล่ือนการบรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ดังน้ี
1. ด้านปจั จยั ผลการศกึ ษา พบว่า มีแนวทางการดาเนินการขับเคลอ่ื นการบริหารจัดการโรงเรียน

ปลอดขยะ ในด้านปัจจัย ประกอบด้วย ทรัพยากรมนุษย์ (ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เครือข่าย)
และงบประมาณ

2. ด้านกระบวนการ ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ องค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 การกาหนดนโยบาย ด้านที่ 2 การสร้างความรู้
ความเข้าใจ ด้านท่ี 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ด้านท่ี 4 การบริหารจัดการขยะ ด้านที่ 5 การประเมิน
ผลการดาเนินงาน มีแนวทางการพัฒนาการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ดังน้ี

ดำ้ นที่ 1 กำรกำหนดนโยบำย
1.1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ควรมีการจัดทานโยบายการขับเคล่ือน
การบรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ สง่ เสริมสนับสนนุ ใหโ้ รงเรยี นทุกโรงเรยี นในสังกัด ดาเนินการจัดทา
นโยบายการดาเนินการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ
1.2 ผู้บริหารโรงเรียน ควรมีการกาหนดและประกาศนโยบายและวิสัยทัศน์ด้าน
การดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ และมีการกาหนดโครงสร้างการบริหาร
โดยให้มีคณะทางานผู้รับผิดชอบโครงการและกาหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน นอกจากนี้ ยังต้องมีหน้าท่ี
กากับดูแลการดาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายท่ีกาหนดไว้และติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน
โรงเรยี นปลอดขยะเพือ่ ให้เปน็ ไปตามข้ันตอน
1.3 ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ควรมีการสนับสนนุ การดาเนินงานในด้านต่างๆ เชน่ งบประมาณ วสั ดุ
อุปกรณ์ การฝกึ อบรม ฯลฯ นอกจากน้ี ยังมีหน้าท่ีประสานงานหน่วยงานตา่ งๆ ใหก้ ารสนับสนุน

ดำ้ นที่ 2 กำรสรำ้ งควำมรคู้ วำมเข้ำใจ
2.1 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ควรมีการส่งเสริมและแจ้งแนวทาง
การดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรียนดาเนินการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างวินัย จิตสานึก
และความรบั ผดิ ชอบในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรยี น
2.2 ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ควรจดั ให้มีการสร้างกระบวนการพัฒนาและสง่ เสริมความรูค้ วามเข้าใจ
ในการจัดการขยะมูลฝอยและเกี่ยวกับวนิ ัยและความรับผดิ ชอบ ให้กับผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน
ทกุ คน

3

2.3 ผู้บริหารโรงเรียน ควรจัดให้มีจุดเรียนรู้หรือแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เพื่อเป็นฐานเรียนรู้
และการจัดกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ นอกจากนี้ ยังต้องจัดให้มีการเพิ่มประสบการณ์ให้แก่ครูและ
นักเรยี นโดยศกึ ษาการดาเนนิ งานจากโรงเรยี นทีป่ ระสบความสาเร็จ และเป็นแบบอย่างที่ดีใน การ
ดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ เพื่อให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสแลกเปล่ียน
เรยี นรู้และถอดประสบการณ์โดยตรง

ดำ้ นที่ 3 กำรสง่ เสรมิ กำรมีสว่ นรว่ ม
3.1 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ควรมีการส่งเสริมให้โรงเรียนสร้าง
กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน
ในการดาเนินการจดั การขยะมูลฝอย และการสร้างเครือขา่ ยทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการขยะในโรงเรยี น
3.2 ผู้บริหารโรงเรียน ควรจัดให้มีการสร้างกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
ครแู ละบุคลากรภายในโรงเรียน และหนว่ ยงานภายนอกโรงเรียนในการดาเนินการจัดการขยะมลู ฝอย
3.3 ผู้บริหารโรงเรียน ควรจัดให้มีการสร้างเครือข่ายที่เก่ียวข้องกับการจัดการขยะ
ในโรงเรียน เช่น การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการดาเนินงานด้านการจัดการขยะ
ระหวา่ งโรงเรียนและชมุ ชน เพื่อใหม้ โี อกาสในการรว่ มวางแผน กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานในโรงเรียน

ด้ำนท่ี 4 กำรบริหำรจัดกำรขยะ
4.1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ควรมีการส่งเสริมและแจ้งแนวทางการ
ดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้โรงเรียนในสังกัดดาเนินการเป็นไป
ในทศิ ทางเดียวกัน อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง
4.2 ผู้บริหารโรงเรียน ควรจัดให้มีการจัดทาแผนการดาเนินโครงการด้านการบริหารจัดการ
ขยะมลู ฝอยของโรงเรยี นในการส่งเสริมการจัดกจิ กรรม A3Rs ลดขยะในสถานศึกษา กิจกรรมการคัดแยก
ขยะ 4 ประเภท นอกจากน้ี ยังต้องมีการจัดการขยะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริม
คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม และใหม้ ีนวัตกรรมการจัดการขยะมลู ฝอยของโรงเรียน
4.3 ผู้บริหารโรงเรยี น ควรจัดให้มีการบรู ณาการการจัดการเรียนการสอน ในดา้ นการจัดการ
ขยะในหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรเพ่ิมเติม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้
4.5 ผู้บริหารโรงเรียน ควรจัดให้มีการจัดทาระบบเอกสารและบันทึกข้อมูลปริมาณขยะ
แต่ละประเภทก่อนและหลัง การดาเนินงานและการประมวลผลข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภท เช่น
ในรูปของกราฟหรอื ตารางข้อมูล แสดงข้อมลู รายเดือน/รายปี เปน็ ตน้

ดำ้ นที่ 5 กำรประเมนิ ผลกำรดำเนินงำน
5.1 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ควรนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผล
การดาเนนิ การขบั เคลอื่ นการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะของโรงเรยี น อย่างเป็นระบบและตอ่ เน่อื ง
5.2 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ควรจัดให้มีการนาเสนอผลงานหรือ
ความสาเร็จของกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการ
โรงเรยี นปลอดขยะ เพ่ือเปน็ การแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละเป็นแบบอย่างให้กับโรงเรยี นอ่นื ๆ
5.3 ผู้บริหารโรงเรยี น ควรมีการจดั ระบบการนเิ ทศภายในเพ่ือใหก้ ารติดตาม กากับตรวจสอบ
และประเมินผล การดาเนินงานมีความต่อเนื่อง จะสามารถรับรู้ปัญหาการดาเนินงานของครู ในแต่ละ
ขัน้ ตอน และใหค้ วามช่วยเหลือ ชี้แนะแนวทางการดาเนนิ งานไดท้ ันเวลา

4

กติ ตกิ รรมประกำศ

การศึกษาแนวทางการดาเนนิ การขับเคลื่อนการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ฉบับน้ี สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีก็ด้วยความกรุณา
ของ นายบรรเจิด กล่ินจันทร์ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
นายวิทยา เกษาอาจ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
นายสุทัศน์ ธิยานันท์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งนกแก้ว นายสุกิจ เมฆประยูร ผู้อานวยการโรงเรียน
บา้ นยาวี-ห้วยโป่ง นายธนกฤต องั้ น้อย ผูอ้ านวยการโรงเรียนบา้ นวงั จาน นางนลิ ยา ทองศรี ศึกษานิเทศก์
ชานาญการพิเศษ และนางจริ ันธนนิ คงจนี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ ทไี่ ด้ให้การสนบั สนนุ พรอ้ มกับ
ให้ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าและดูแลเอาใจใส่การดาเนินงานของคณะวิจัยอย่างดีย่ิง คณะวิจัยขอ
กราบขอบพระคณุ มา ณ ที่น้ี

ขอขอบพระคุณ นายอานาจ บุญทรง ข้าราชการบานาญอดีตผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 นายทวีศักด์ิ เดชสองช้ัน ข้าราชการบานาญอดีตผู้อานวยการ
โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์ วิทยฐานะเชี่ยวชาญ นายพฤฒสภา แย้มพราย ตาแหน่งข้าราชการบานาญ
อดีตผู้อานวยการโรงเรียนบ้านยาวี-ห้วยโป่ง วิทยฐานะเชี่ยวชาญ นายพิน สงค์ประเสริฐ ผู้อานวยการ
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ และนายปราโมทย์
วงค์กาอินทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านยางลาด วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ท่ีกรุณาสละเวลามาเป็น
ผูเ้ ชย่ี วชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือและโครงรา่ งวิจัยให้อย่างดียิ่ง

ขอขอบท่านผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ทุกทา่ นทก่ี รุณาสละเวลาในการตอบ
แบบประเมินการหาคุณภาพคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลอ่ื นการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เพื่อการศึกษาในคร้ังนี้ คุณประโยชน์
ท่ีพึงจะมีจากงานวิจัยฉบับน้ี คณะวิจัยขอมอบเป็นคุณูปการเพื่อบูชาบุพการี คุณครูอาจารย์และ
ผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกท่านท่ีให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ จากการปฏิบัติหน้าที่สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าผลการวิจัยในคร้ังนี้ จะยังประโยชน์เพื่อให้เป็นข้อมูลในการพัฒนางาน
การดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ท้ังในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ
สถานศกึ ษา ให้ประสบผลสาเร็จยง่ิ ๆ ขึน้ ไป

คณะวจิ ยั สพป.พช. 1
สงิ หาคม 2564

5

สำรบญั

บทที่ หน้ำ

1 บทนำ....................................................................................................................... 1
ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา.......................................................... 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั ................................................................................. 5
ขอบเขตการวจิ ยั .............................................................................................. 5
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ............................................................................................. 5
ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ.............................................................................................. 6
7
2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกีย่ วข้อง............................................................................. 7
บริบทของสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1.......... 14
แนวคดิ เกี่ยวกบั การบรหิ ารจดั การ................................................................... 17
แนวคดิ เกยี่ วกบั ปจั จยั หรือทรัพยากรบรหิ ารจดั การ.......................................... 17
แนวคิดเกี่ยวกบั การการบริหารจัดการขยะ/ขยะมูลฝอย.................................. 19
แนวคดิ เกยี่ วกบั ขยะมูลฝอย.............................................................................. 26
แนวคิดการกาหนดนโยบายเกี่ยวกบั ขยะมลู ฝอย............................................... 30
แนวคดิ เกีย่ วกับโรงเรยี นปลอดขยะ................................................................... 33
งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง............................................................................................ 36
กรอบแนวคิดการวิจัย........................................................................................ 37
37
3 วธิ ีดำเนินกำรวจิ ยั ...................................................................................................
37
ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลอ่ื นการบรหิ ารจัดการโรงเรยี น….
ปลอดขยะ ................................................................................... 39

ขน้ั ตอนท่ี 2 สร้างและตรวจสอบแนวทางการดาเนนิ การขบั เคล่อื นการบรหิ าร 40
จดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ........................................................... 40

ขั้นตอนท่ี 3 ประเมนิ แนวทางการดาเนนิ การขบั เคลอ่ื นการบรหิ ารจดั การโรงเรียน 41
ปลอดขยะ ...................................................................................
55
4 ผลกำรดำเนินงำน...................................................................................................

ตอนท่ี 1 ศกึ ษาแนวทางการดาเนนิ การขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การโรงเรยี น
ปลอดขยะ...................................................................................

ตอนที่ 2 สรา้ งและตรวจสอบแนวทางการดาเนนิ การขับเคลือ่ นการบริหาร
จัดการโรงเรยี นปลอดขยะ.............................................................

ตอนท่ี 3 ประเมนิ แนวทางการดาเนนิ การขับเคลอื่ นการบรหิ ารจดั การโรงเรยี น
ปลอดขยะ......................................................................................

6

สำรบญั (ตอ่ )

บทท่ี หนำ้

5 บทสรปุ .................................................................................................................. 60
สรปุ ผลการวจิ ยั ................................................................................................ 60
การอภิปรายผลการวิจัย................................................................................... 61
ข้อเสนอแนะ..................................................................................................... 64

บรรณำนุกรม..................................................................................................................... 65

ภำคผนวก........................................................................................................................... 70

คณะผู้วจิ ัย............................................................................................................................ 127

7

สำรบัญตำรำง

ตำรำง หนำ้

1 แสดงข้อมูลประชากรในเขตการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 8
ประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1………………………………………………………………………….... 11
12
2 แสดงขอ้ มลู พืน้ ฐานโรงเรยี นในสังกดั (ข้อมลู ณ 20 กรกฎาคม 2563) …………………….. 41
3 แสดงจานวนนกั เรียนและห้องเรียน (ข้อมลู ณ 20 กรกฎาคม 2563) ……………………. 55
4 แสดงแบบการสังเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ สังกัด
56
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1………………………………..… 56
5 แสดงค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลการหาประสิทธิภาพของการ 57
58
พัฒนาคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1…………………………………………….…
6 แสดงระดับความถูกต้องของคู่มือแนวทางการดาเนนิ การบริหารจัดการโรงเรียนปลอด
ขยะ ของสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1…………………….
7 แสดงระดับความเหมาะสมของคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1…………..
8 แสดงระดับความเป็นไปได้ของคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1…………….
9 แสดงระดับความเป็นประโยชน์ของคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1..

8

สำรบญั ภำพ
ภำพ หน้ำ

1 แสดงอาณาเขตท่ีตั้งและเขตบริการทางการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 8
ประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1......................................................................................
36
2 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจยั ...................................................................................... 42
3 แสดงร่างกรอบแนวคิดแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียน
43
ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1.............
4 แสดงร่างแนวคิดแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอด 49

ขยะของสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1........................... 50
5 แสดงกรอบแนวคดิ แนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอด

ขยะ ของสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1........................
6 แสดงแนวคิดแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ...............................

1

บทที่ 1

บทนำ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ

รัฐบาลได้สั่งการให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเร่งดาเนินการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและได้ให้
ความสาคัญมากต่อการจัดการปัญหาขยะ และได้ประกาศเป็น “วาระแห่งชาติ” เร่ืองการจัดการปัญหา
ขยะ มาต้ังแต่ปี 2557 และคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ประชุมปรึกษาเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557
ลงมติเห็นชอบ Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย และแผนปฏิบัติการการแก้ไข
ปัญหา ในพ้ืนท่ีวิกฤตท่ีต้องเร่งแก้ไขปัญหากาจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกต้อง และตกค้างสะสม (ระยะเร่งด่วน
6 เดือน) ตามกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสานักนายกรัฐมนตรี ได้ออกระเบียบ
สานกั นายกรฐั มนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2557 ใช้เมอื่ วันท่ี
26 กันยายน 2557 และกาหนด “Road Map” การจัดการขยะและของเสียอันตราย โดยมีการ
ดาเนินการมาตรการต่างๆ ตาม Road Map อย่างต่อเนื่องซ่ึง Road Map การจัดการขยะมูลฝอยและ
ของเสียอันตราย มีขั้นตอนประกอบด้วย 1) กาจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอย
ในพื้นที่วิกฤต (ขยะมูลฝอยเก่า) 2) สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม
(ขยะมูลฝอยใหม่) 3) วางระเบียบมาตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) สร้างวินัย
ของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน นอกจากน้ี คณะรัฐมนตรี (ครม.) ยังให้ความเห็นชอบ “แผนแม่บท
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยของประเทศ” (พ.ศ.2559-2564)มอบหมายใหก้ ระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม จัดทา “แผนปฏิบัติการประเทศไทยไร้ขยะตามแนวทางประชารัฐ” ระยะ 1 ปี (พ.ศ.
2559-2560) เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติการจัดการขยะระยะสั้นภายใต้แผนแม่บท เพื่อเป็นการขับเคลื่อน
ประเทศไทยไปสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) ภายใต้แนวคิด 3Rs- ประชารัฐ คือ
การส่งเสริมการจัดการขยะที่ต้นทาง ซึ่งการจัดการขยะท่ียั่งยืนโดยการลดปริมาณขยะ (Reduce) การใช้
ซ้า (Reuse) การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน เพ่ือวางรากฐานการดาเนินการจัดการขยะให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
และยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2560-2580) ประกาศ ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2561 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ ในการ
พัฒนาประเทศ ดังน้ี “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป้าหมายการพัฒนาประเทศ “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน”
ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ
พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21 โดยบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และ
ด้านสิ่งแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอนตาม
พระราชดาริ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนรู้ทางศาสนา ศิลปะและ
วัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมทั้ง การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มใหร้ องรับการเปลีย่ นแปลงทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ

2

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การเติบโตอย่างยั่งยืน (พ.ศ. 2561- 2580) แบ่ง
แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ไว้ 5 ประเด็น โดยการบริหารจดั การขยะกาหนดแนวทาง
พัฒนาไว้ ในประเด็น ท่ี 4 ดังน้ี แผนย่อยการจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสารเคมี
ในภาคเกษตรทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล มุ่งเน้นการจัดการมลพิษท่ีแหล่งกาเนิด โดยคานึงถึง
ขีดความสามารถในการรองรบั ของพื้นที่ และจดั ทาระบบการอนุญาตการระบายมลพิษ ลงทุนในโครงสร้าง
พ้ืนฐานด้านการจัดการมลพิษ จัดการขยะมูลฝอย มูลฝอยติดเช้ือ ของเสียอันตรายและกากอุตสาหกรรม
ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล การจัดการขยะมูลฝอยและของเสยี อันตรายของประเทศ กาหนดเป้าหมาย
และแนวทางการดาเนินงานครอบคลุมขยะชุมชนของเสียอันตรายชุมชนมูลฝอยติดเช้ือ และกากของเสีย
อุตสาหกรรม โดยให้ความสาคัญกับการป้องกันและลดมลพิษจากขยะและของเสียอันตรายจาก
แหล่งกาเนิด การบริหารจัดการควบคุมมลพิษจากการบาบัด กาจัดขยะ และของเสียอันตราย โดย
ปรับปรุงฟ้ืนฟูสถานท่ีกาจัดขยะให้ดาเนินการถูกต้องตามหลักวิชาการ สนับสนุนการรวมกลุ่มพ้ืนท่ีเพื่อ
จัดการขยะมูลฝอย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกประกาศสถานที่กาจัดขยะเป็นแหล่งกาหนด
มลพษิ ใหม้ รี ะบบการอนุญาตการระบายมลพษิ และกาหนดมาตรการควบคุมการระบายมลพษิ จากสถานท่ี
กาจัดขยะมูลฝอยส่งเสริมภาคเอกชนร่วมลงทุนด้านการจัดการขยะและของเสียอันตราย รวมท้ังมี
มาตรการในการจัดการซาก ผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาบังคับใช้ ส่งเสริม
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่มีศักยภาพดาเนินการจัดการมูลฝอยติดเช้ือแบบศูนย์รวม การวางระบบ
กาจัดกากของเสยี ท่คี าดว่าจะเกิดข้ึน จากการพฒั นาเทคโนโลยหี รือผลติ ภัณฑ์ใหม่บางประเภทท่ีคาดว่าจะ
เป็นปัญหาในอนาคต การจัดการขยะ จากการก่อสร้างและการร้ือถอนส่ิงก่อสร้าง การสร้างกระบวนการ
รับรู้ให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหามลพิษ จากการจัดการขยะและของเสียอันตรายที่ไม่ถูกต้อง พร้อมทั้ง
ทบทวนและตรวจสอบกลไกการบริหารจัดการขยะของประเทศท้ังระบบ ซึ่งรวมถึงผู้เกี่ยวข้องในทุกภาค
ส่วนต้ังแต่ผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้บริการ ผู้บริโภค ผู้กาจัด และหน่วยงานกากับดูแล การจัดการขยะมูลฝอยติด
เชื้อยึดหลักการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมตามแนวทาง ประชารัฐ เพ่ือร่วมกันแก้ไขปัญหาการจัดการ
ขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศ บนฐานของความรับผิดชอบ ตามบทบาทหน้าที่ ทั้งน้ีมีเป้าหมาย
การจดั การขยะมูลฝอย มลู ฝอยตดิ เช้ือ ของเสยี อันตรายสารเคมใี นภาค การเกษตรและการอุตสาหกรรมมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน ตัวช้ีวัดดัชนีประสิทธิภาพ การจัดการขยะ และปี 2565 ร้อยละ 0.74 เมื่อส้ินสุดปี
2580 ร้อยละ 0.95

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม
คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมาย ให้คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม
มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ การเรียนรู้
ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการประกาศ นโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขอ้ ท่ี 5 การจดั การศึกษาเพอื่ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างการรับรู้ความเข้าใจความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม
ทีพ่ ึงประสงคด์ ้านสงิ่ แวดลอ้ มส่งเสรมิ การพฒั นาสิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรมทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม ให้
สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้ และกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม ได้จัดทาโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste School เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ
สร้างเครอื ข่ายสถานศึกษา ทด่ี าเนนิ การกิจกรรมลด คดั แยก และนากลบั มาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะ

3

เพื่อส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง และการปลูกฝังจิตสานึกในการคัดแยกขยะมูลฝอยและนากลับมาใช้
ประโยชน์ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
ในการจดั การขยะภายในสถานศึกษา ปลกู ฝังลกั ษณะนิสัยรับผดิ ชอบตอ่ สิ่งแวดล้อม แก่ผู้เรียน

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ไดแ้ จ้งให้สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาดาเนินการ
แจ้งสถานศึกษาในสังกัดให้ดาเนินการตามแนวทางการดาเนินการ Road Map การจัดการขยะมูลฝอย
และของเสียอันตรายในสถานศึกษา ตามมติคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เม่ือวันท่ี 26 สิงหาคม 2557
ให้จัดทามาตรการ แนวทางการดาเนินงานแผนงาน/โครงการท่ีเป็นการลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย
และการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในสถานศึกษา ร่วมทั้งการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพ่ือเสริมสร้างความ
ตระหนักในการ แก้ไขปญั หาขยะมูลฝอยและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม และการบรรจเุ น้ือหาเร่ืองขยะมูล
ฝอย หรือการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม บรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอน การสอบ
วิชาในกลุ่มสาระ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กาหนดนโยบาย ปีงบประมาณ
2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –
2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาลที่ได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันท่ี 25-26 กรกฎาคม 2562
นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ 2563 และปีงบประมาณ 2564 ซึ่งได้กาหนด
เป้าหมาย ข้อ 6 สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และนโยบายปีงบประมาณ 2563 นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2564 นโยบายท่ี 1 ด้านความปลอดภัย พัฒนา
ระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา
จากภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาวะท่ีดีสามารถ
ปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้า โดยให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่ง
ขับเคลอ่ื นนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ดาเนินการแจ้งมติคณะรักษา
ความสงบแหง่ ชาตไิ ดป้ ระชุมปรึกษาเม่ือวันท่ี 26 สิงหาคม 2557 เห็นชอบ Road map การจัดการขยะ
มลู ฝอยและของเสียอนั ตราย และระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูล
ฝอยของประเทศ พ.ศ. 2557 เม่ือวันที่ 26 กันยายน 2557 โดยให้สถานศึกษาทุกแห่งดาเนินการตาม
แนวทาง Road Map การจัดการขยะและของเสียอันตราย ให้จัดทามาตรการ แนวทางการดาเนินงาน
แผนงาน/โครงการที่เป็นการลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย และการคัดแยกขยะมูลฝอยภาย
ในสถานศึกษา ร่วมทั้งการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างความตระหนักในการ แก้ไขปัญหา
ขยะมูลฝอยและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม และการบรรจุเน้ือหาเรื่องขยะมูลฝอย หรือการรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอน การสอบวิชาในกลุ่มสาระ
พร้อมกับรายงานผลให้ทางสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 รับทราบในรอบ
ระยะ 6 เดือน รอบระยะเวลา 9 เดือน เพ่ือดาเนินการรวบรวมรายงานสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน รายงานผู้ตรวจราชการ ซึ่งผลการดาเนินงาน มีโรงเรียนที่มีโครงการธนาคารขยะ จานวน
25 แหง่ และมโี รงเรียนมีกจิ กรรมการกาจัดขยะหลากหลายวิธีการ 137 แหง่ และในปงี บประมาณ 2560
ได้จัดทาโครงการสร้างวินัยและจิตสานึกด้านการจัดการขยะโรงเรียนปลอดขยะ โดยมีการจัดกิจกรรม
การประกวดโรงเรียนส่งเสริมการคัดแยกขยะและลดขยะในสถานศึกษา วิธีการให้ทุกโรงเรียนประเมิน

4

ตนเองในภาพรวมโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื่อการพัฒนายั่งยืน มีโรงเรียนท้ังหมดจานวน
146 โรงเรียน ผลการประเมินตนเองอยู่ในระดับดีเด่น 9 โรงเรียน ระดับดีมาก จานวน 35 โรงเรียน
ระดับดี 78 โรงเรียน และระดับพอใช้ จานวน 24 โรงเรียน และให้โรงเรียนท่ีประเมินตนเองในระดับ
ดีเด่นและดีมาก มีความประสงค์ส่งผลงานเข้ารับการประกวดระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ซึ่งมีโรงเรียน
ที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอยู่ในระดับดีเด่น จานวน 1 โรงเรียน ระดับดีมาก
จานวน 2 โรงเรียน และระดับดี จานวน 1 โรงเรียน และการฝกึ อบรมนักเรยี นแกนนาเครอื ข่ายใน การ
การจัดการขยะในโรงเรยี น จานวน 2 รุ่น รุน่ ท่ี 1 อาเภอเมืองเพชรบรู ณ์ จานวน 172 คน ร่นุ ที่ 2 อาเภอ
ชนแดน อาเภอวังโป่ง จานวน 150 คน มีนักเรียนแกนนาเครือข่ายในการจดั การขยะในโรงเรียน จานวน
ทั้งสิ้น 322 คน นอกจากนี้ได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี 2562 ได้กาหนดพันธกิจ ข้อ 6
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) กลยุทธ์ ท่ี 5 ส่งเสริม
สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวิต ท่ีเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม และจดุ เน้นที่ 7 สถานศกึ ษา
ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนปลอดขยะ ไม่ต่ากว่าระดับดี ผลการประเมิน ระดับดีเย่ียม จานวน 23
โรงเรียน ระดับดีมาก 76 โรงเรียน ระดับดี จานวน 42 โรงเรียน และปีงบประมาณ 2564 ได้กาหนด
จุดเน้นท่ี 6 การจดั สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้

จากนโยบายของรัฐบาลในการดาเนินการขับเคล่ือนประเทศไทยไปสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ
(Zero Waste Society) ภายใต้แนวคิด 3Rs- ประชารัฐ คือการส่งเสริมการจัดการขยะที่ต้นทาง ซ่ึง
การจัดการขยะที่ยังย่ืนโดยการลดปริมาณขยะ (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) การนากลับมาใช้ใหม่
(Recycle) และการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพอ่ื วางรากฐาน
การดาเนินการจดั การขยะใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและย่ังยนื และโครงการโรงเรียนปลอดขยะ เป็น
โครงการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดาเนินการกิจกรรมลด คัดแยก และนา
กลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง และการปลูกฝังจิตสานกึ ในการคัดแยก
ขยะมูลฝอยและนากลับมาใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ และ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจดั การขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝังลักษณะนิสัยรับผิดชอบตอ่
สิ่งแวดล้อมแก่ผเู้ รียน ถงึ แม้โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ไดข้ บั เคลอ่ื นการดาเนนิ งานมาอยา่ งต่อเน่ืองทุกปี
แต่ยังพบสภาพปัญหาที่เกิดข้ึน ด้าน 1 นโยบาย การสนับสนุนและแผนการดาเนินงาน ถึงแม้สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ได้ประกาศนโยบายการจดั การด้านส่ิงแวดล้อมแจ้งให้
โรงเรียนดาเนินการตามประกาศ แต่โรงเรียนยังถ่ายทอดนโยบายให้บุคคลภายในโรงเรียนและผู้เรียน
รบั ทราบเพื่อถือเป็นแนวปฏิบัติยังไม่ชัดเจนครบถ้วน ด้าน 2 การส่งเสรมิ ความรคู้ วามเข้าใจและการสร้าง
วินัยในการจัดการขยะ โรงเรียนยังขาดแนวทางการดาเนินงานท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการการจัดกระบวนการ
เรียนรู้เก่ียวกับวินัยและความรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยให้กับผู้เรียน ด้าน 3 กระบวนการ
ปลูกฝังความรแู้ ละส่งเสริมการมีส่วนรว่ มในการจดั การขยะ โรงเรียนยังขาดความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น
ในการเข้ามาดาเนินกิจกรรม ด้านที่ 4 การดาเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ โดยใช้หลัก 3Rs ในการ
ดาเนินการนาขยะมาใช้ประโยชน์ การส่งเสริมการคัดแยกขยะ มีการจัดกิจกรรมยังไม่หลากหลาย
ด้าน 5 การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ยังขาดความรู้ในการนาประยุกต์ใช้ ด้าน 6 ผลสาเร็จและความ
ยั่งยืนของโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนยังขาดการนิเทศ ติดตามและประเมินผลท่ีเก่ียวกับกระบวนการ

5

ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและกระบวนการส่งเสริมการสร้างวินัยและความรับผิดชอบในการจัดการขยะ
มูลฝอยให้แก่ผู้เรียน ครูและบุคลากรโรงเรียน จึงจาเป็นจะต้องมีแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการ
บรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ในการ
ขับเคล่อื นนโยบายด้านการจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม

ด้วยเหตุดังที่กล่าวมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ได้ตระหนัก
และเห็นความสาคัญในการกาหนดนโยบาย การสร้างความตระหนัก การดาเนินงาน การส่งเสริม
สนับสนุนนิเทศ การกากับติดตามและประเมินผล การปรับปรุงการดาเนินการ และการยกย่องเชิดชู
เกียรติ ในการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดาเนินการกิจกรรมลด คัดแยก และ
นากลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง และการปลูกฝังจิตสานึกใน
การคัดแยกขยะมูลฝอยและนากลับมา ใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
ต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝังลักษณะนิสัย
รับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อมแก่ผู้เรียน จึงได้ดาเนินการศึกษาแนวทางการขับเคล่ือนการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เพ่ือให้ได้มา
ซึ่งข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้อง เหมาะสม ท่ีจะนามาใช้ในการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรยี นปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

คำถำมกำรวจิ ยั
เพ่ือศึกษาและสร้างแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 เปน็ อย่างไร และมคี วามเหมาะสมเพียงใด

วตั ถุประสงคข์ องกำรวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาแนวทางการดาเนนิ การขบั เคลื่อนการบริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
2. เพ่ือสร้างแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของ

สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
3. เพื่อประเมินแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ระยะเวลำกำรวจิ ยั เดือน กรกฎาคม 2564 ถึง สงิ หาคม 2564

ขอบเขตกำรวจิ ยั
การศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของ

สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ในครั้งน้ี มขี อบเขตการวจิ ัยเป็นด้านเนื้อหา

นิยำมศพั ท์เฉพำะ
ในการวจิ ัยคร้ังนีม้ ีนยิ ามศัพทเ์ ฉพาะที่ เก่ยี วข้องกับงานวิจยั ดงั ตอ่ ไปนี้
1. แนวทำงกำรขบั เคล่อื นกำรบริหำรจัดกำรขยะ หมายถงึ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานในการกาจัด

ขยะมูลฝอยของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โดยใช้คู่มือ
การดาเนนิ การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์
เขต 1 เป็นแนวทางขับเคล่อื นบริหารจดั การขยะ

6

2. กำรบริหำรจัดกำร หมายถึง กระบวนการในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างมีเทคนิคและ
วิธีการต่าง ๆ ท่ีใช้ในการดาเนินงานในองค์การ เพ่ือให้เป็นไปตามนโยบายที่ตั้งไว้การดาเนินงานให้บรรลุ
วัตถุประสงค์โดยการใช้กระบวนการอย่างมีระเบียบ โดยอาศัยปัจจัยทรัพยากรทางการบริหารคอื คน เงนิ
วสั ดุอุปกรณแ์ ละการจดั การ

3. โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) หมายถึง เป็นสถานศึกษาที่ดาเนินกิจกรรม
ลด คัดแยก และนากลับขยะมาใช้ประโยชน์การรวบรวมขยะเพ่ือส่งไปกาจดั อย่างถูกต้อง ปลูกฝัง่ จิตสานึก
การลด คดั แยกขยะ และนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ในสถานศกึ ษา สรา้ งระบบการเรยี นร้ผู า่ นกจิ กรรม
ต่าง ๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝังลักษณะนิสัย
รับผิดชอบ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มแกผ่ เู้ รยี นเพอ่ื ม่งุ ส่สู ถานศึกษาปลอดขยะอย่างแทจ้ ริง

4. ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสิ่งต่างๆ ท่ีใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้วและทิ้งไป และ
หมายรวมถึง เศษสิ่งต่างๆท่ีท้ิงแล้ว เช่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ซากสัตว์ มูลสัตว์ เถ้า และเศษ
วัสดุส่ิงของต่างๆ ท่ีเก็บกวาดมาจาก บ้านเรือน ถนนหนทาง ตลาด โรงงาน ท่ีเลี้ยงสัตว์และจากสถานท่ี
อื่นๆ

5. กำรบริหำรจัดกำรขยะ หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการในการดาเนินงาน เก่ียวกับ
การจัดการและการคัดแยกขยะ/ขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยใช้หลักการ A3R ซ่ึงประกอบด้วย
1. Avoid : การหลีกเล่ียงหรืองดใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆท่ีก่อให้เกิดขยะ 2. Reduce : การ
คิดก่อนใช้ เพื่อลดระดับการใช้ 3. Reuse : การใช้ซ้า โดยนาส่ิงของท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า
และ 4. Recycle : การนามาผ่านกระบวนการเพ่ือนากลบั มาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อเป็น
การลดปรมิ าณการเกิดขยะ/ขยะมลู ฝอยที่ต้นทาง

6. สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 1 หมายถึง หน่วยงานทางการ
ศึกษา มีหน้าที่กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยดูแล
จานวน 3 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองเพชรบรู ณ์ อาเภอชนแดน อาเภอวงั โป่ง

7. สถำนศึกษำ หมายถึง เป็นหน่วยงานทางการศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน
ในสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะไดร้ บั
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 และสถานศึกษา มีแนวทาง

การดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ที่จะส่งผลให้โรงเรียนสามารถดาเนินการ
โรงเรียนปลอดขยะไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

7

บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง

การวิจัย เร่ือง ศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) สังกัด สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ผวู้ ิจัยไดศ้ ึกษา
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องโดยครอบคลุมเน้อื หา ดงั นี้

1) บริบทของสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
2) แนวคดิ เกย่ี วกับการบริหารจัดการ
3) แนวคดิ เกี่ยวกบั ปัจจยั หรอื ทรพั ยากรบริหารจัดการ
4) แนวคดิ เกีย่ วกับการบรหิ ารจดั การขยะ/ขยะมูลฝอย
5) แนวคิดเกยี่ วกับขยะมูลฝอย
6) แนวคิดการกาหนดนโยบายเกย่ี วกบั ขยะมูลฝอย
7) แนวคดิ เก่ียวกับโรงเรียนปลอดขยะ
8) งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง
9) กรอบแนวคดิ การวิจัย

1. บริบทของสำนกั งำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเพชรบรู ณ์ เขต 1
1.1 ข้อมูลทวั่ ไป
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีภารกิจในการบริหารจัดการศึกษา

มีหน้าท่ีดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา
38 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และตามพระราชบัญญัติระเบียบการบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 37 พร้อมกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การแบ่งส่วน
ราชการภายในสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 ลงวนั ที่ 22 พฤศจิกายน 2560 ข้อ 5 ให้สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามีอานาจหนา้ ท่ีดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหนา้ ท่ีของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ในการกากลับดูแลสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการต้ังอยูเ่ ลขท่ี 126 หมู่ 11 ถนนสระบุรี –
หล่มสัก ตาบลสะเดียง อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ รหัสไปรษณีย์ 67000 โทรศัพท์ 056-
737080 ตอ่ 28 โทรสาร 056-737075 มีพนื้ ที่ 14 ไร่ 1 งาน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีภารกิจในการบริหาร
จัดการศึกษาใน 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ อาเภอชนแดน และอาเภอวังโป่ง มีพื้นที่
3,961 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 325,538 คน มีหมู่บ้าน 424 หมู่บ้าน มีตาบล 31 ตาบล มีองค์การ
บรหิ ารส่วนตาบล 28 แห่ง มเี ทศบาลตาบล 9 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แหง่ และองค์การบริหารส่วนจังหวัด
1 แหง่ มพี น้ื ทีต่ ดิ ต่อดังนี้

8

ตำรำงท่ี 1 แสดงขอ้ มูลประชากรในเขตการจดั การศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา

เพชรบรู ณ์ เขต 1

อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน เทศบาล อบต. พื้นท่ี
15 2,281 กม.2
เมอื งเพชรบรู ณ์ 17 214 4

ชนแดน 9 96 3 9 1,137 กม.2

วงั โป่ง 5 61 2 5 543 กม.2

รวม 31 371 9 29 3,961 กม.2

โดยมีอาณาเขตทางภูมศิ าสตร์ตดิ ต่อกับอาเภอและจงั หวดั ต่างๆ ดังน้ี

ทิศเหนอื ตดิ ต่ออาเภอหล่มสักและอาเภอเขาค้อ จงั หวดั เพชรบรู ณ์

ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ อาเภอหนองไผ่อาเภอบึงสามพัน จังหวดั เพชรบรู ณ์

และอาเภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค์

ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ อาเภอคอนสาร และอาเภอหนองบวั แดงจังหวัดชัยภมู ิ

ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ อาเภอเนินมะปราง จงั หวัดพิษณโุ ลก ,อาเภอวงั ทรายพนู

อาเภอทบั คล้อ และอาเภอดงเจรญิ จงั หวัดพจิ ติ ร

อาณาเขตแสดงดังภาพ

ภำพ 1 แสดงอาณาเขตทต่ี ้งั และเขตบริการทางการศึกษาของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1

9

1.2 สภำพกำรจดั กำรศึกษำ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เกิดจากการที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ

ฉบับ แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.2545 (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553 ได้กาหนดว่า การบริหารและการจัดการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน ให้ยึดเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยคานึงถึงปริมาณสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรม โดย
ให้มีคณะกรรมการและ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอานาจหน้าที่ การกากับดูแล จัดต้ัง ยุบ รวม หรือ
เลิกสถานศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐานในเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประสาน สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ สถานศึกษาเอกชนในเขต
พ้ืนท่ีการศึกษา ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล องกับ
นโยบายและ มาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กร
ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืนที่จัดการศึกษา
ในรปู แบบที่ หลากหลายในเขตพนื้ ที่การศึกษา

เขตพ้ืนท่ีการศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
การปกครองท่ีจัดแบ่งโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอานาจ
การจัดการศึกษาในประเทศไทย ให้ครอบคลุมมากข้ึน เดิมมีสานักงานประจาแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา
ใช้ช่ือว่า "สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา" (สพท.) และต่อมาไดมีการแบ่งเขตพื้นท่ีการศึกษาออกเป็น 2
ระดับ คือ เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา และเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ผู้วิจัยได้รวบรวมวรรณกรรม
ทเี่ ก่ยี วข้องกับเนอ้ื หาของ สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ครอบคลุมถึง (1) บริบท (2)
อานาจหนา้ ที่ (3) โครงสร้างการบริหาร

การแบ่งส่วนราชการตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภาย
ในสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2560 เพอ่ื ให้สอดคล้องกับภารกิจ
การกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ
กระทรวงศึกษาธิการ มีเอกภาพในการบริหารจัดการยืดหยุ่นพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและบริหารงาน
แบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ โดยแบ่งส่วนราชการภายใน ตามโครงสร้างการบริหารงานสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ดงั น้ี

(1) กลุ่มอานวยการ (Administration Group)
(2) กลุ่มบริหารงานบุคคล (Personnel Administration Group)
(3) กลุ่มนโยบายและแผน (Policy and Planning Group)
(4) กลุ่มส่งเสรมิ การจัดการศึกษา (Promotion of Education Provision Group)
(5) กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา (Supervision , Monitoring and

Evaluation Provision Group)
(6) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ (Financial and Assets Administration Group)
(7) กลุม่ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ( Development Teacher and Educational Personal

Group)
(8) กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Distance Leaning Information

and communication Technology Group )
(9) หนว่ ยตรวจสอบภายใน (Internal Audit Group)
(10) กลุ่มกฎหมายและคดี (Legal Affairs and Litigation Group)

10

1.3 อำนำจหน้ำทข่ี องสำนกั งำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศึกษำ
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 มีหน้าทด่ี าเนินการตามอานาจหน้าที่

หลัก ในมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2545 และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 ดังนี้

1. จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการ ของ
ทอ้ งถน่ิ

2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษาและหน่วยงานในเขตพ้ืนที่
การศึกษาและแจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบและกากั บตรวจสอบติดตาม
การใช้จา่ ยงบประมาณของหน่วยงานดงั กลา่ ว

3. ประสาน สง่ เสรมิ สนับสนุน และพฒั นาหลักสูตรรว่ มกบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
4. กากบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานและในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
5. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย และรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัด
และพัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
7. จดั ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน รวมท้ังบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนท่ี
จดั รูปแบบที่หลากหลายในเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
9. ดาเนนิ การและประสาน สง่ เสรมิ สนับสนนุ การวิจัยและพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
10. ประสานสง่ เสริมการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทางานด้านการศกึ ษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการท่ัวไปกับองค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในฐานะสานกั งานผู้แทนกระทรวงศกึ ษาธิการในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
12. ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษาที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ีของผู้ใด
โดยเฉพาะ หรอื ปฏิบตั ิงานอนื่ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
1.4 ข้อมูลพืน้ ฐำนทำงกำรศึกษำ

1.4.1 โรงเรยี นในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีสถานศึกษาในสังกัด

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จาแนกตามระดับการจัดการศึกษา จานวนนักเรียนและ
ประเภทสถานศกึ ษาตามโครงการพฒั นาการศึกษา ไดด้ ังน้ี

11

ตำรำงที่ 2 ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรียนในสังกัด (ข้อมลู ณ 20 กรกฎาคม 2563)

รำยกำร/อำเภอ เมือง จำนวนโรงเรยี น รวม
เพชรบรู ณ์ ชนแดน วังโปง่
โรงเรยี นจำแนกตำมระดับกำรจดั กำรเรียนกำรสอน 13
อ.1 - ป.6 11 20 72
อ.2 - ป.6 32 29 11 2
ป.1 - ป.6 2 00 7
อ.1 - ม.3 5 20 35
อ.2 - ม.3 18 10 7 2
ป.1 - ม.3 2 00 131
รวมทั้งสนิ้ 70 43 18
75
นักเรยี น 38 28 9 36
นักเรยี น 1-120 คน 21 87 9
นักเรยี น 121-200 คน 6 30 7
นักเรียน 201-300 คน 3 31 3
นักเรียน 301-500 คน 1 11 1
นกั เรยี น 501-1,500 คน 1 00 0
นักเรียน 1,501-2,500 คน 0 00 131
นกั เรียนต้งั แต่ 2,501 คนขนึ้ ไป 70 73 18
รวมทง้ั สนิ้ 17
8 54 24
โรงเรยี นขนำดเล็ก (นักเรียนตง้ั แต่ 120 คนลงมำ) 9 11 4 15
จานวนตา่ กว่า 40 10 41 10
จานวน 41-60 5 50 9
จานวน 61-80 6 30 75
จานวน 81-100 38 28 9
จานวน 101-120
รวมทงั้ ส้ิน

12

ตำรำงท่ี 3 จานวนนักเรียนและห้องเรยี น (ข้อมูล ณ 20 กรกฎาคม 2563)

ระดบั กำรจัด อำเภอ รวม

กำรศกึ ษำ เมืองเพชรบูรณ์ ชนแดน วงั โป่ง

นกั เรียน ห้องเรยี น นักเรียน ห้องเรยี น นกั เรยี น หอ้ งเรียน นกั เรียน ห้องเรยี น

อนบุ าลปที ี่ 1 151 16 62 4 0 0 213 20

อนบุ าลปที ี่ 2 934 71 463 43 211 19 1,608 133

อนุบาลปที ่ี 3 895 72 481 44 229 19 1,605 135

รวมก่อน 1,980 159 1,006 91 440 38 3,426 288

ประถมศกึ ษา

ประถมศึกษาปีท่ี 1 1,166 76 566 45 263 19 1,995 140

ประถมศึกษาปีที่ 2 1,317 77 611 46 274 19 2,202 142

ประถมศึกษาปที ี่ 3 1,294 77 628 45 270 19 2,292 141

ประถมศกึ ษาปีที่ 4 1,292 76 569 46 268 19 2,129 141

ประถมศึกษาปที ี่ 5 1,231 78 363 46 258 20 2,125 144

ประถมศึกษาปีท่ี 6 1,293 77 603 47 257 19 2,153 143

รวมประถมศึกษำ 7,593 461 3,613 275 1,590 115 12,79 547

6

มัธยมศึกษาปีที่ 1 509 25 312 14 155 8 976 47

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 518 26 290 14 153 9 961 49

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 462 26 292 15 147 8 901 49

รวมมธั ยมศึกษำ 1489 77 894 43 455 25 2,838 145

รวมทั้งสิน้ 11,062 697 5,513 409 2,485 178 19,06 1,284

0

ดงั นน้ั จึงอาจสรปุ ได้วา่ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณเ์ ขต 1 เป็นหน่วยงาน
ทางการศึกษาที่ก่อตั้งข้ึนตาม พรบ.การศึกษาและประกาศท่ีเกี่ยวข้อง มีบทบาทหน้าที่ในการกาหนด
นโยบาย กากบั ดูแลส่งเสริม สนับสนนุ และติดตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนที่มีเขตที่ต้ังอยู่
ใน 3 อาเภอ จานวน 131 โรงเรยี น

1.5 ทศิ ทำงกำรดำเนนิ งำน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีภารกิจในการจัดและส่งเสริม
สนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ประชากรวัยเรียนอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน การบริหารจัดการศึกษาโดยยึดพื้นท่เี ป็นฐาน ได้กาหนดกรอบทิศทางในการพัฒนา
การศึกษาตามเป้าหมาย กรอบแนวทาง นโยบายการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและเพ่ือ
สนองตอบวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์และเป้าหมายตามกลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน คอื

13

1.5.1 วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
ผูเ้ รียนมีคุณภาพ สถานศึกษาและสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาได้มาตรฐาน

1.5.2 พนั ธกจิ (Mission)
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง

ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามเป็นเลิศทางวิชาการเพือ่ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียน ให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะ
ในศตวรรษท่ี 21
4. พฒั นาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ
5. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการ
ทางการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และเท่าเทียม
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา
โดยใช้ Digital Technology เพอ่ื พัฒนามุง่ สู่ประเทศไทย 4.0
1.5.3 คา่ นยิ ม (Value)
บรกิ ารเดน่ เนน้ ทมี งาน สรรสร้างคุณภาพ
1.5.4 เป้าประสงค์ (Goal)
1. ผู้เรียนทุกคนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง
และเป็นพลเมืองดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อืน่ ซ่อื สัตยส์ จุ ริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั รกั ษาศีลธรรม
2. ผู้เรียนทุกคนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา
ภาษาและอนื่ ๆ ได้รบั การพัฒนาอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ
3. ผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้
มีทักษะมีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตาม
วัยมีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมืองพล
โลกทด่ี ี (Global Citizen) พร้อมกา้ วสสู่ ากล นาไปสู่การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
4. ผู้เรียนทุกคนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) และกลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้รับ
การศึกษาอย่างทัว่ ถงึ เทา่ เทียม และมคี ุณภาพ
5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และ
จรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวชิ าชีพ
6. สถานศึกษาทุกแห่งจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
( Sustainable Development Goals: SDGs) และสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

14

7. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่งมีสมดุลในการบริหารจัดการเชิง
บรู ณาการ มกี ารกากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ และการรายงานผล
อยา่ งเป็นระบบ ใช้งานวจิ ยั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการขับเคล่ือนคณุ ภาพการศกึ ษา

1.5.5 กลยุทธ์ (Strategy)
1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความม่นั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ
2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาเพื่อเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3. พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
4. สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีมาตรฐานและลดความเหล่ือม

ลา้ ทางการศึกษา
5. ส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพและเกิดความสมดุล

1.5.6 จดุ เนน้ (Focus Point)
1. การอา่ นออก-เขียนได้
2. การทดสอบระดบั เขตพ้นื ทแ่ี ละระดับชาติ
3. การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
4. การนเิ ทศการศึกษา
5. การดูแลช่วยเหลือนกั เรียนและความปลอดภยั
6. การจัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศกึ ษาใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้
7. การพัฒนาตนเองและวิชาชพี ด้วย PLC และ ID Plan
8. หนึ่งโรงเรียน หน่งึ คณุ ภาพ

2. แนวคิดเกย่ี วกับกำรบริหำรจัดกำร
มนี ักวชิ าการศึกษาหลายท่าน ไดก้ ลา่ วถึงความหมายแนวคิดการบรหิ ารจดั การ ดงั น้ี
Henri Fayol (1949 : 34) วิศวกรเหมืองแร่ชาวฝรั่งเศส ซ่ึงได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่ง

ทฤษฎีองค์การ” ได้สร้างผลงานวางแนวความคิดเก่ียวกับการบริหาร โดยศึกษากฎเกณฑ์ที่เป็นสากลและ
ได้เขียนหนงั สอื Industrial General Management ไดเ้ สนอแนวคดิ และกาหนดหลกั เกณฑใ์ นการบริหาร
2 ประการ ดังน้ี

1. หนา้ ทข่ี องนักบริหาร (Management Functions)
1.1 การวางแผน (Planning) หมายถึง การท่ีผู้บริหารจะต้องเตรียมการวางแผน การทางาน

ขององค์การไว้ล่วงหน้า
1.2 การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง การที่ผู้บริหารจะต้องเตรียมจัดโครงสร้างของ

องคก์ ารให้เหมาะสมกบั ทรพั ยากรทางการบริหาร
1.3 การสั่งการ (Directing) หมายถึง การท่ีผู้บริหารจะต้องมีการวินิจฉัยสั่งการท่ีดี เพื่อให้

การดาเนินงานขององค์การดาเนนิ การไปตามเปา้ หมาย
1.4 การประสานงาน (Co-ordinating) หมายถึง การที่มีผู้บริหารมีหน้าที่เชื่อมโยงต่างๆของ

องคก์ ารให้ดาเนนิ ไปอย่างสอดคล้องกนั

15

1.5 การควบคุม (Controlling) หมายถึง การท่ีผู้บริหารคอยควบคุมและกากับกิจกรรมต่างๆ
ภายในองค์การให้ดาเนินไปตามแผนทว่ี างไว้

2. หลักการบริหาร (Management Principle) Fayol ได้วางพ้ืนฐานทางการบริหารไว้ 14
ประการ ดังน้ี (เอกวนิ ติ พรหมรักษา, 2555)

2.1 การแบ่งงานกันทา (Division of work) การแบ่งงานกันทาจะทาให้คนเกิดความชานาญ
เฉพาะอย่าง (Specialization) อันเป็นหลักการใช้ประโยชน์ของคนและกลุ่มคนให้ทางานเกิดประโยชน์
สงู สดุ

2.2 อานาจหน้าที่ (Authority) เป็นเครื่องมือที่จะทาให้ผู้บริหารมีสิทธิท่ีจะสั่งให้ผู้อื่น
ปฏิบัติงาน ท่ีต้องการได้โดยจะมีความรับผิดชอบ (Responsibility) เกิดขึ้นตามมาด้วย ซ่ึงจะมีความ
สมดุลซึง่ กนั และกัน

2.3 ความมีระเบียบวินัย (Discipline) บุคคลในองค์การจะต้องเคารพเช่ือฟังและปฏิบัติตาม
กฎเกณฑ์ กติกาและขอ้ บังคบั ต่างๆที่องค์การกาหนดไว้ ความมรี ะเบยี บวนิ ัยจะมาจากความเปน็ ผู้นาทีด่ ี

2.4 เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Direction) ในการทางานใต้บังคับบัญชา ควร
ได้รับคาสง่ั จากผูบ้ งั คบั บญั ชาเพยี งคนเดียวเท่านนั้ ไมเ่ ช่นนั้นจะเกิดการโต้แย้ง สบั สน

2.5 เอกภาพในการส่ังการ (Unity of Command) ในการทางานใต้บังคับบัญชา ควรได้รับ
คาสงั่ จากผูบ้ งั คบั บญั ชาคนหนึง่ คนใด

2.6 ผลประโยชน์ขององคก์ ารมาก่อนผลประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Subordination of individual
interest to the interest) คานึงถึงผลประโยชน์ขององคก์ ารเปน็ อันดับแรก

2.7 ผลตอบแทนที่ได้รับ (Remuneration of Personnel) ต้องยุติธรรม และเกิดความ
พึงพอใจทั้งสองฝา่ ย

2.8 การรวมอานาจ (Centralization) ควรรวมอานาจไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อให้ สามารถควบคุม
ได้

2.9 สายการบังคบั บญั ชา (Scalar Chain) การติดตอ่ สอื่ สารควรเป็นไปตามสายงาน
2.10 ความมีระเบียบเรียบร้อย (Order) ผู้บริหารต้องกาหนดลักษณะและขอบเขตของงาน
เพอ่ื ประสิทธภิ าพในการจดั ระเบยี บการทางาน
2.11 ความเสมอภาค (Equity) ยตุ ิธรรม และความเป็นกนั เอง เพอื่ ใหเ้ กดิ ความจงรักภกั ดี
2.12 ความมั่นคงในการทางาน (Stability of Tenure of Personnel) การหมุนเวยี น คนงาน
ตลอดจนการเรียนรู้ และความมนั่ คงในการจ้างงาน
2.13 ความคิดริเริ่ม (Initiative) เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ให้แสดงออกถึงความคิด
ริเรมิ่
2.14 ความสามัคคี (Esprit de Corps) หลีกเลีย่ งการแบ่งพรรคแบง่ พวกในองค์กร
ปนัดดา วิเศษรจนา (2559 : 8) การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
คือ การปรับเปล่ียนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนาหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการ และ
การแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการท่ีมุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยการนาเอาแนวทางหรือวิธีการ
บริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคานึงถึง
หลกั ความคมุ้ คา่ การจดั การโครงสร้างท่ีกะทัดรดั และแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขัน การ

16

ให้บริการสาธารณะ การให้ความสาคัญต่อค่านิยมจรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้ง
การมุง่ เน้นการให้บริการ แกป่ ระชาชน โดยคานึงถึงคณุ ภาพเป็นสาคัญ

รัฐศิรินทร์ วังกานนท์ (2557 : 60) ได้อธิบายว่ายุคแห่งข้อมูลข่าวสารไม่เพียงเพิ่มอานาจให้กับ
ผู้บริโภคเท่านั้น แต่ยังทาให้ประชาชนมีบทบาทมากขึ้นกว่าเป็นเพียงแค่ผู้รองรับบริการจากหน่วยงาน
ภาครัฐ องค์การภาครัฐจึงต้องปรับตัวไม่ต่างจากองค์การภาคเอกชน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชนผู้รับบริการ ทาให้หลักการหรือเทคนิคทางการบริหารท่ีเคยใช้ในภาคเอกชนได้ถูก
นามาใช้ในกระบวนการบริหารขององค์การภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็นในการวางแผน (Planning) การจัด
โครงสรา้ ง (Organizing) การนา (Leading) และการประเมนิ ผล (Evaluating) ทั้งนี้ เพ่ือให้การบริหารงาน
หน่วยงานภาครัฐสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลตามพระราชกฤษฎีกา การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
พ.ศ. 2546 ซง่ึ มีวตั ถุประสงค์ คือ

1. เกิดประโยชนส์ ุขของประชาชน
2. เกดิ ผลสมั ฤทธ์ติ ่อภารกิจของรัฐ
3. มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดความคุ้มคา่ ในเชิงภารกจิ ของรัฐ
4. ไม่มีข้ันตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น ซ่ึงได้แก่ การกาหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
และการลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน จัดให้มีการกระจายอานาจการตัดสินใจ เพ่ือใหก้ ารปฏิบัตงิ านเสร็จส้ินท่ี
จดุ บรกิ ารใกล้ตัวกับประชาชน รวมทัง้ การปฏิบัตงิ านใน รูป One stop service
5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ ได้แก่ การทบทวนและปรับปรุง
กระบวนการและข้ันตอนทางานใหม่อย่างเสมอ ทบทวนลาดับความสาคัญและความจาเป็นทางแผนงาน
และโครงการทุกระยะ การยุบเลิกส่วนราชการที่ไม่จาเป็น และปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ ให้
เหมาะสมกับ เหตกุ ารณอ์ ยเู่ สมอ
6. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ได้แก่ การ
ปฏิบัติราชการที่มุ่งเน้นกับความต้องการและความพึงพอใจของประชาชน ผู้รับบริการเป็นหลัก โดย
มี การสารวจความต้องการของประชาชนและความพึงพอใจของผู้รับบริการอย่างสม่าเสมอ เพื่อนามา
ปรับปรุงการปฏิบตั ริ าชการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ ได้แก่ การตรวจสอบและวัดผลการปฏิบัติงาน
เพ่ือให้เกดิ ระบบการควบคุมตนเอง
ระบบการทางานขององค์การภาครัฐ ได้ถูกปรับจากที่เคยเน้นที่ประสิทธิภาพไปสู่การ
มุ่งผลสัมฤทธิ์ คือ การตอบสนองต่อพันธกิจของหน่วยงานด้วยการกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่ชัดเจน
เพ่ือให้สามารถประเมินผลสาเร็จได้ โดยได้มีการปรับระบบการบริหารงบประมาณ ไปสู่ระบบงบประมาณ
แบบมุง่ เน้นผลงานเชิงยทุ ธศาสตร์ คอื ใชร้ ะบบงบประมาณเปน็ เครอื่ งมอื ในการกากับการใช้เงิน การ
บรหิ ารจัดการภาครฐั แนวใหม่ (New Public Management)
ซึ่งเป็นแนวคิดพ้ืนฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะนาไปสู่การเปล่ียนแปลงระบบต่างๆ
ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่างๆที่เป็นรูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจัดการ ได้แก่ การให้บริการ
ที่มีคุณภาพแก่ประชาชน คานึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลักและลดขนาดองค์การภาครัฐลง
(Downsizing) จากเดมิ ทเี่ ปน็ องค์การที่มีขนาดใหญ่ มจี านวนบุคลากรมากให้เป็นองค์การท่เี ลือกทาเฉพาะ
บทบาททีท่ าไดด้ แี ละถ่ายโอนกิจการบางกิจกรรมไปส่อู งคก์ ารภาคเอกชน (Privatization)

17

สรุปว่ำ การบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างมีเทคนิค
และวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการดาเนินงานในองค์การ เพ่ือให้เป็นไปตามนโยบายที่ตั้งไว้การดาเนินงาน
ให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยการใช้กระบวนการอย่างมีระเบียบ โดยอาศัยปัจจัยทรัพยากรทางการบริหาร
คอื คน เงนิ วัสดุอปุ กรณ์และการจัดการ

3. แนวคดิ เกยี่ วกับปัจจัยหรือทรัพยำกรบริหำรจัดกำร
ศิริวรรณ ณ เสรีรัตน์และคณะ (2545 : 18) ได้กล่าวว่า การบริหารจัดการทุกประเภท

จาเป็นต้องอาศัยปัจจัยหรือทรัพยากรทางการบริหารจัดการที่สาคัญ ได้แก่ บุคลากร(Man) งบประมาณ
(Money) วัสดุอุปกรณ์ (Material) และการจัดการ(Management) หรือท่ีเรียกย่อ ๆ ว่า 4M ถือเป็น
ปัจจัยพื้นฐานที่ใช้ในการบริหาร เพราะการบริหารจะประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย ต้องอาศัยบุคลากร
ท่ีมีคุณภาพมีปริมาณเพียงพอ ต้องได้รับงบประมาณสนับสนุนการดาเนินการเพียงพอ ต้องมีวัสดุอุปกรณ์
ท่ีเหมาะกับความต้องการของแผนงานและโครงการและต้องมีระบบการจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพเพื่อ
ให้ทรพั ยากรที่มอี ยจู่ ากัดให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ

ธงชัย สันติวงษ์ (2543 : 7-8) สมคิด บางโม (2545 : 61-62) ได้กล่าวว่า ปัจจัยในการจัดการ
ท่ีเป็นมูลเหตุที่สาคัญและผู้บริหารทุกคนต้องสนใจในงานด้านการบริหารจัดการ คือ 1) คน (Man)
ทรัพยากรบุคคล ที่ถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญย่ิงที่จะก่อผลสาเร็จให้กับกิจการได้อย่างมาก ทั้งในแง่ของ
ปริมาณและคุณภาพ 2) เครื่องจักร (Machine) คือ เครื่องจักร อุปกรณ์ที่จัดหาและซ้ือมาอย่างพิถีพิถัน
เพื่อใช้ปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า 3) เงินทุน(Money) นับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญท่ีให้การ
สนับสนุนในการจัดหาทรัพยากรเพ่ือหล่อเล้ียงและเอ้ืออานวยให้กิจกรรมขององค์การดาเนินไปโดยไม่
ติดขัด และ 1) วัสดุสิ่งของ (Material) ถือเป็นปัจจัยที่มีปริมาณและมูลค่าสูงไม่ต่างไปจากปัจจัยตัวอ่ืน ๆ
เพราะวัตถุดิบและสิง่ ของเหล่านจี้ ะตอ้ งมีการจัดหามาใชด้ าเนินการผลิต

สรุปได้ว่ำ ปัจจัยหรือทรัพยากรบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการในการดาเนินงานของ
องค์กร ท้ังในเรื่องการวางแผน การจัดโครงการ การปฏิบัติงานและการประเมินผล จาเป็นต้องมีหลักการ
บริหารและวธิ ีการต่างๆ โดยนาเอาทรพั ยากรการบรหิ ารหรือปัจจัยที่สาคัญมาใช้ คือ 4M ได้แก่

1. Man (คน/บุคลากร)
2. Management (การบริหารจดั การ)
3. Method (วิธีการปฏิบตั ิงาน/ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน)
4. Money (งบประมาณ)
มาใช้ในการดาเนินงานในองค์กร เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและเกิดความสาเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

4. แนวคิดเกย่ี วกับกำรบริหำรจัดกำรขยะ/ขยะมูลฝอย

ในการศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการขยะ/ขยะมูลฝอย มีผู้ให้ความหมายไว้แตกต่างกัน ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของผ้ทู าการศึกษา ดังน้ี

แนวคิดเกยี่ วกบั การจัดการขยะมูลฝอย การวางแผนจดั การขยะมูลฝอยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด
สามารถลดปริมาณขยะมลู ฝอยที่ จะต้องส่งเขา้ ไปทาลายด้วยระบบต่าง ๆ ให้น้อยทส่ี ดุ สามารถนาขยะมูล
ฝอยมาใช้ประโยชน์ท้ังในส่วนของ การใช้ซ้าและแปรรูปเพ่ือใช้ใหม่ (reuse & recycle) รวมถึงการกาจัด
ท่ีได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ยหมัก หรือ พลังงาน โดยสรุปวิธีการดาเนินการตามแนวทางของกรมส่งเสริม

18

คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม ดังนี้คอื (สานักงาน กองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ, 2552) 1. การลดปริมาณ
ขยะมูลฝอย (Reduce) การลดปริมาณขยะมูลฝอยสามารถทาได้ดังน้ี 1) การพยายามลดปริมาณขยะมูล
ฝอยท่ีอาจเกิดขึ้น เช่น ใช้สินค้าที่มีความคงทนถาวร และ มีอายุการใช้งานนาน หรือ เลือกใช้สินค้าชนิด
เติม 2) การลดปริมาณวัสดุเป็นการพยายามเลือกใช้สินค้าที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่ แทนบรรจุ
ภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก เพ่ือลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์ที่จะกลายเป็นขยะมูลฝอย 2. การนามาใช้ซ้า (Reuse)
โดยการนาขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่อีก หรือเป็นการใช้ซ้า ใช้แล้วใช้อีก เช่น ขวดน้าหวาน นามา
บรรจุน้าดื่ม ขวดกาแฟท่ีหมดแล้ว นามาใส่น้าตาล น่ันคือเป็นการพยายาม ใช้สิ่งของต่าง ๆ หลาย ๆ ครั้ง
ก่อนที่จะท้ิงหรือเลือกใช้ของใหม่ 3. การนามาแก้ไข (Repair) โดยการนาวัสดุอุปกรณ์ท่ีชารุดเสียหาย
ซึ่งจะท้ิงเป็นมูลฝอยมา ซ่อมแซมใช้ใหม่ เช่น เก้าอ้ี 4. การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่
(Recycle) โดยการนาวัสดุมาผ่านกระบวนการเพื่อ ผลิตเป็นสินค้าใหม่ น่ันคือการนาขยะมูลฝอยมาแปร
รูปตามกระบวนการของแต่ละประเภท เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิม
แล้วนากลับมาใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะต่าง ๆ นากลับมาหลอมใหม่ 5. การหลีกเลี่ยง
การใชว้ ัสดทุ ่กี ่อใหเ้ กิดมลพิษ โดยการหลกี เล่ียงการใชว้ ัสดุท่ีทาลายยาก หรอื วสั ดทุ ่ีใช้คร้ังเดยี วแล้วท้ิง เช่น
โฟม ปฏิเสธการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีย่อยสลายยาก หลีกเลี่ยงการใช้ท่ีผิด วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ มาตรฐาน
ภาชนะรองรับขยะมลู ฝอย (กรมควบคมุ มลพษิ , 2550)

สุรชัย วิเชียรสรรค์ (2553 : 23) การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง หลักการในการดาเนินงาน
ที่เก่ียวข้องกับการควบคุมการทิ้งขยะมูลฝอย การเก็บขยะช่ัวคราวไว้ในภาชนะ การรวบรวมขยะมูลฝอย
การขนถ่ายและการขนส่ง การแปลงรูปของขยะมูลฝอย และการกาจัดขยะมูลฝอย โดยจะคานึงถึง
ผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขอนามัย ทัศนียภาพ เศรษฐศาสตร์ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และการยอมรับ
ของสังคม ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาท่ีส่งผลเสียต่อชุมชนต่างๆมากมาย เป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคต่างๆ
กอ่ ปัญหากลน่ิ เหมน็ และน้าเสียท่ีมาจากการชะลา้ งกองขยะรอบๆบรเิ วณ

ญาณาธิป พงษาโคตร (2554 : 4) การจัดการมูลฝอย หมายถึง หลักการในการดาเนินงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการท้ิงขยะมูลฝอย การเก็บกัก การรวบรวมมูลฝอย การขนถ่ายและการขนส่ง
การแปลงรูปเพื่อการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย และการกาจัดมูลฝอย โดยจะคานึงถึงประโยชน์สูงสุด
ในทางสุขอนามยั ทัศนียภาพ การอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อมและการยอมรับทางสังคม

การบริหารจัดการขยะ หมายถึง การใช้หลักการ 3R โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แหล่งกาเนิดขยะ
ลด คัดแยก และใช้ประโยชน์จากขยะให้มากที่สุด ก่อนส่งขยะท่ีไม่มีค่าแล้วไปกาจัดอย่างถูกหลัก
สุขาภบิ าล (มาตรฐานการจดั การขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏกิ ลู , 2558)

ปนัดดา วิเศษรจนา (2559 : 4) การจดั การขยะมลู ฝอย (Solid Waste Management) หมายถงึ
กระบวนการ วธิ ีการจดั การเพอ่ื ลดปริมาณขยะมลู ฝอย การคดั แยกประเภท การนากลับมาใช้ใหม่

สรุปได้ว่ำ การบริหารจัดการขยะ/ขยะมูลฝอย หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการใน
การดาเนนิ งาน เก่ียวกับการจัดการและการคัดแยกขยะ/ขยะมูลฝอยอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใช้หลกั การ
3R ซึ่งประกอบด้วย 1. Reduce : การคิดก่อนใช้ เพ่ือลดระดับการใช้ 2. Reuse : การใช้ซ้า โดยนา
ส่ิงของที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า และ 3. Recycle : การนามาผ่านกระบวนการเพ่ือนากลับ
มาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือเปน็ การลดปรมิ าณการเกดิ ขยะ/ขยะมลู ฝอยท่ีตน้ ทาง

19

5. แนวคดิ เก่ยี วกับขยะมูลฝอย
ในการศึกษาวรรณกรรมเก่ียวกับเว็บไซต์ผู้วิจัยศึกษาครอบคลุมแนวคิดเก่ียวกับขยะหรือมูลฝอย

(1) ความหมายขยะมูลฝอย (2) ประเภทของขยะมลู ฝอย (3) หลกั การใช้ 3R (4) การคัดแยกขยะมูลฝอย
(5) นโยบายเก่ียวกับขยะมูลฝอย (6) การดาเนินงานตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน ดังน้ี

5.1 ควำมหมำยของขยะมลู ฝอย
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2525 ให้คาจากัดความของคาว่า

“มูลฝอย” หมายถึง เศษส่ิงของท่ีทิ้งแล้ว และคาว่า “ขยะ” หมายถึง หยากเยื่อ มูลฝอย จะเห็นว่าตาม
พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ให้ความหมายของคาสองคานเ้ี หมือนกนั แทนกันได้

สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2534 : 136 – 137) ได้ให้ความหมายของคา
ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับขยะมูลฝอย ไว้ดงั นี้

ขยะมูลฝอย หมายความถึง บรรดาสิ่งต่างๆ ซึ่งในขณะน้ันคนไม่ต้องการและท้ิงไป ท้ังน้ี รวม
ตลอดถึง เศษผ้า เศษอาหาร มูลสัตว์ ซากสัตว์ เถ้า ฝุ่นละอองและเศษวัสดุสิ่งของท่ีเก็บกวาดจากเคหะ
สถาน อาคาร ถนน ตลาด ทเี่ ลย้ี งสตั ว์ โรงงานอุตสาหกรรมและที่อื่นๆ

ขยะเปียก หมายถึง ขยะพวกเศษอาหาร พืชผัก เศษเนื้อสัตว์ และเศษส่ิงของส่วนใหญ่ที่ได้
จากการประกอบอาหาร จากตลาดหรือเศษท่ีเหลือจากการรับประทาน ขยะเปียกส่วนมากประกอบด้วย
อนิ ทรียวัตถุ ซ่งึ มกั จะเปน็ พวกที่สลายตวั ได้งา่ ย ดังน้นั ถา้ ขยะเปยี กถูกปลอ่ ยทง้ิ ไว้นานเกินควร จะเกิดการ
เน่าเสียและเกิดกลิ่นเหม็นรบกวนได้ง่าย โดยปกติแล้วขยะเปียกจะมีปริมาณความช้ืน ประมาณ 40 –
70% ของขยะท้ังหมด

ขยะแห้ง หมายความถึง ขยะท่ีมีลักษณะไม่เกิดการบูดเน่าได้ง่าย ท้ังท่ีติดไฟและไม่ติดไฟ เช่น
เศษกระดาษ เศษผ้า เศษแก้ว กระป๋อง ขวด ไม้ โลหะต่างๆ กง่ิ ไม้ รวมทง้ั ผงฝุ่นละอองตา่ งๆ เปน็ ตน้

ขยะมลู ฝอยที่ย่อยสลายได้ (Compostable) หมายความถึง สารอินทรีย์ในขยะมูลฝอยท่ีสามารถ
ย่อยสลายไดด้ ว้ ยจุลนิ ทรีย์ โดยใช้ปฏิกริ ยิ าชีวเคมี เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ ฯลฯ

ขยะมูลฝอยที่เผาไหมไ้ ด้ หมายความถงึ ขยะมลู ฝอยทสี่ ามารถลกุ ไหม้ เชน่ เศษกระดาษ เศษไม้
อ่นื ๆ หมายถงึ วัสดุใดๆ ที่ไมส่ ามารถจัดเขา้ กล่มุ ต่างๆข้างตน้ ได้
พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้คาจากัดความ มูล ฝอย หมายถึง ส่ิงต่างๆที่เราไม่
ต้องการ ท่ีเป็นของแข็งหรืออ่อน มีความชื้น ได้แก่ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะ
กล่องใส่ อาหาร เถ้า มลู สตั ว์ หรอื ซากสตั วร์ วมตลอดถึงวัตถุอ่ืน สงิ่ ใดที่เก็บกวาดได้จากถนน ตลาด ที่เลยี้ ง
สตั วห์ รอื ท่อี ่ืน
พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 ให้
ความหมายของ คาว่า “ขยะมูลฝอย” (Solid Waste) หมายถึง ของเสียท่ีเกิดข้ึนจากการกระทาหรือ
กิจกรรมซึง่ โดยปรกติจะเปน็ ของแข็ง (Solid) หรือกึ่งของแข็ง (Semisolid) และจะถกู ท้งิ หลงั จากมีการใช้
หรือเมื่อไม่มีความต้องการ “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า
ถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใช้ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บจากถนน ตลาด
ท่ีเล้ยี งสตั วห์ รือที่ อ่นื ๆ

20

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมาย มูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ
เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือส่ิงอื่น
ใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเล้ียงสัตว์หรือท่ีอ่ืนๆ และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเช้ือ มูลฝอยท่ีเป็น
พิษหรืออันตรายจากชุมชน

พชรวรรณ ศรีวาลัย (2543 : 11) ให้ความหมาย “ขยะมูลฝอย” ว่าหมายถึง ของเหลือท้ิงจาก
ขบวนการผลติ หรือการใช้สอยของมนุษย์

จารูญ ยาสมุทร (อ้างถึงใน ไกรลักษณ์ พีรพุทธรางกูร, 2546) ได้ให้ความหมายของคาว่า “มูล
ฝอย” ว่าเป็นสิ่งปฏิกูลท่ีเป็นของแข็ง ท้ังท่ีเน่าเป่ือยและไม่เน่าเปื่อย ได้แก่ ขยะเปียก ขยะแห้ง เศษไม้
หรือโลหะทเ่ี หลอื จากการสรา้ งบ้าน หรือจากอุตสาหกรรม ซงึ่ จาเป็นตอ้ งนาไปทง้ิ และทาลาย

สุรชัย วิเชียรสรรค์ (2553 : 7) ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสิ่งของที่ไม่ต้องการใช้แล้ว ซ่ึงส่วน
ใหญจ่ ะเป็นของแขง็ จะเนา่ เป่ือยหรือไมก่ ต็ าม รวมตลอดถงึ เถา้ ซากสัตว์ มูลสัตว์ ฝุ่นละออง และเศษวตั ถุ
ทท่ี ้งิ แล้วจากบา้ นเรอื น ทีพ่ กั อาศยั สถานทตี่ า่ งๆ

กุลธิดา สนธิมูล (2554 : 32) ให้ความหมายของคาว่า “ขยะมูลฝอย” หมายถึง บรรดาสิ่งของ
ต่างๆ ที่ไม่ใช้แล้ว ซ่งึ ส่วนใหญ่เป็นของแขง็ ท้ังเนา่ เปื่อยและไมเ่ น่าเปอ่ื ย

ญาณาธิป พงษาโคตร (2554 : 12) ขยะมูลฝอย (Waste) หมายถึง ส่ิงของเหลือท้ิงจาก
กระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้ว บางชนิดเป็นของแข็ง
หรือกากของเสีย (Solid Waste) มีผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจเน่ืองจากความสกปรก เป็นแหล่ง
เพาะเชอ้ื โรค ทาใหเ้ กิดมลพิษและทัศนะอจุ าด มลพษิ ท่ีเกดิ จากขยะมูลฝอย (Waste Pollution) หมายถึง
สภาวะแวดลอ้ ม ท่ีไม่เหมาะสมอนั เน่ืองมาจากขยะมูลฝอย เช่น การทิ้งขยะลงในแหลง่ น้าและการเกิดกล่ิน
เนา่ เหมน็ จากกองขยะ

กรมควบคุมมลพิษ (2561 : 6) ได้กล่าวว่า "มูลฝอย" หมายความว่า เศษกระดาษเศษผ้า
เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใส่อาหาร เถ้ามูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือส่ิงอ่ืนใดท่ีเก็บ
กวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว์ หรอื ท่อี ื่น(ตามพระราชบัญญัตริ ักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยของบ้านเมอื ง พ.ศ. 2535)

สมาคมพัฒนาคุณภาพส่ิงแวดล้อม (2563 : ออนไลน์) ได้กล่าวว่า ขยะมูลฝอย (Waste)
หมายถึงสิ่งของเหลือท้ิงจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเส่ือมสภาพจน ใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการ
ใช้แล้ว บางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย (Solid Waste) มีผลเสียต่อสุขภาพ ทางกายและจิตใจ
เนอื่ งจากความสกปรกเป็นแหลง่ เพาะเชื้อโรคทาใหเ้ กดิ มลพิษและทัศนะอุจาด

สรุปได้ว่ำ ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสง่ิ ต่างๆ ทีใ่ ช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้วและทิ้งไป
และหมายรวมถึง เศษสิ่งต่างๆท่ีทิ้งแล้ว เช่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ซากสัตว์ มูลสัตว์ เถ้า และ
เศษวัสดสุ ่งิ ของต่างๆ ทเี่ กบ็ กวาดมาจาก บา้ นเรอื น ถนนหนทาง ตลาด โรงงาน ทีเ่ ล้ยี งสัตว์และจากสถานท่ี
อื่นๆ

5.2 ประเภทของขยะมูลฝอย
กรมควบคมุ มลพษิ , 2554 แยกประเภทและชนิดของขยะ ดงั น้ี
1. ขยะย่อยสลาย (Compostable waste) หรือมูลฝอยย่อยสลาย คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อย

สลายได้เร็ว สามารถนามาหมักปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ท่ีเกิดจาก
การทดลองในห้องปฏิบัตกิ าร โดยทข่ี ยะท่ยี ่อยสลายน้เี ป็นขยะทีพ่ บมากท่สี ุด คอื พบมากถึง 64%

21

2. ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) หรือมูลฝอยท่ียังใช้ได้ คือ ของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุ
เหลือใช้ ซึ่งสามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว กระดาษ เศษพลาสติก กล่องเคร่ืองด่ืมแบบ
UHT กระป๋องเคร่ืองดืม่ เศษโลหะ อลมู ิเนียม ยางรถยนต์ เป็นต้น สาหรบั ขยะรไี ซเคิลน้ี เป็นขยะทพี่ บมาก
เปน็ อันดับทสี่ องในกองขยะ กล่าวคือ พบประมาณ 30% ของปริมาณขยะทั้งหมดในกองขยะ

3. ขยะอันตราย (Hazardous waste) หรือมูลฝอยอันตราย คือ ขยะที่มีองค์ประกอบหรือ
ปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่างๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ีทาให้เกดิ
โรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุท่ีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิด
การระคายเคือง วัตถุอย่างอ่ืนไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทาให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์
พืช ทรัพยส์ นิ หรือส่ิงแวดลอ้ ม เช่น ถา่ นไฟฉาย หลอดฟลอู อเรสเซนต์ แบตเตอรี่ โทรศัพท์เคล่อื นที่ ภาชนะ
บรรจุสารกาจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมี เป็นต้น ขยะอันตรายน้ี เป็นขยะที่มักพบได้
นอ้ ยท่ีสุด กล่าวคอื พบประมาณเพียง 3% ของปรมิ าณขยะท้ังหมดในกองขยะ

4. ขยะทั่วไป (General waste) หรือ มูลฝอยทั่วไป คือ ขยะประเภทอ่ืน นอกเหนือจากขยะ
สลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย มีลักษณะท่ีย่อยสลายยาก และไม่คุ้มค่าสาหรับการนากลับมาใช้
ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหม่ี
กึ่งสาเร็จรูป ถุงพลาสติกเปื้อนเศษอาหาร โฟมเป้ือนอาหาร เป็นต้น สาหรับขยะท่ัวไปน้ี เป็นขยะที่มี
ปริมาณใกล้เคียงกบั ขยะอันตราย กล่าวคอื จะพบประมาณ 3 % ของปริมาณขยะท้ังหมดในกองขยะ

ขยะรีไซเคลิ แยกเป็น 4 ประเภท คือ แกว้ กระดาษ พลาสติก และโลหะ/อโลหะ (แผนปฏิบัติ
การ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารฐั ” ระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2559-2560), 2559 : 17)

กรมควบคุมมลพิษ (2561 : 10-11) ได้กล่าวว่า หน่วยงานภาครฐั เป็นแหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย
หลากหลายประเภท จึงได้มีการจัดแบ่งประเภทของขยะมูลฝอยและถังขยะ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการและ
การควบคมุ ดูแลขยะมลู ฝอยทเ่ี กดิ ขึน้ ภายในหนว่ ยงาน โดยแบง่ ประเภทไดด้ งั น้ี

1. ขยะอินทรีย์ เป็นขยะท่ีเน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้เช่น เศษผัก
เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนอ้ื สตั ว์ เป็นต้น แตไ่ มร่ วมถึงซากหรือเศษของพชื ผัก ผลไม้ หรอื สัตว์
ทเ่ี กดิ จากการทดลองในหอ้ งปฏิบัติการ เป็นต้น โดยขยะอนิ ทรยี ์จะทิ้งในถังขยะสีเขยี ว

2. ขยะรีไซเคิล เป็นขยะท่ีสามารถนาไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น ขวดพลาสติก ขวด
แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องด่ืมอะลูมิเนียม เศษพลาสติก เศษโลหะ กล่องเคร่ืองด่ืมแบบยูเอชที เป็นต้น
โดยขยะรไี ซเคิลจะท้งิ ในถงั ขยะสเี หลือง

3. ขยะอันตราย เป็นขยะท่ีมีความเป็นอันตรายหรือมีส่วนประกอบเป็นสารที่มีอันตราย เช่น
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่โทรศัพท์เคลื่อนท่ีกระป๋องสเปรย์บรรจุสารเคมี ตลับหมึก
หลอดไฟ น้ายาล้างห้องน้า เป็นต้นขยะประเภทน้ีต้องมีการแยกท้ิงจากขยะประเภทอ่ืนๆ อย่างชัดเจน
เนื่องจากต้องนาไปกาจัดหรือบาบัดด้วยวิธีเฉพาะเพื่อป้องกันความเป็นพิษปนเป้ือนสู่สิ่งแวดล้อมโดยขยะ
อันตรายจะทงิ้ ในถังขยะสสี ้ม

4. ขยะท่ัวไป เป็นขยะอื่นนอกเหนือจากขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย มีลักษณะ
ที่ย่อยสลายยาก และไม่คุ้มค่าสาหรับการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ถุงขนมขบเค้ียว ซองบะหม่ีก่ึง
สาเร็จรูป กระดาษห่ออาหารถุงพลาสติก กล่องโฟม หลอดกาแฟ ซองกาแฟ ซองครีมเทียม และ
ซองน้าตาล เป็นต้น ซึ่งเป็นขยะที่ต้องนาไปกาจัดอย่างถูกต้อง อาทิ การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
การเผาในเตา โดยขยะทัว่ ไปจะทิ้งในถงั ขยะสนี า้ เงิน

22

กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม (2563 : 29) ได้กลา่ ววา่ ประเภทของขยะแบ่งประเภทได้ดังนี้
1. ขยะอนิ ทรยี ์ เศษใบไม้ ใบไมแ้ ห้ง มูลสัตว์
2. ขยะรีไซเคิล ขวดแกว้ ขวดพลาสตกิ กระดาษ กระป๋อง กล่องนม
3. ขยะท่วั ไป กระดาษทิชชู ถงุ พลาสติก ถงุ พลาสติกขนม
4. ขยะอันตราย หลอดไฟ ถา่ นไฟฉาย กระป๋องสเปรย์ แบตเตอร่ี มือถือ ถังสี
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2563 ออนไลน์ ได้กล่าว ประเภทมูลฝอยท่ีจาแนกกันทั่วไป
มี 4 ประเภท
1. มูลฝอยอินทรีย์ เป็นส่ิงท่ีย่อยสลายได้งา่ ย เช่น เศษอาหาร ผัก ผลไม้ หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้ ซาก
พืช ซากสตั ว์ เป็นต้น
2. มูลฝอยรีไซเคิล เป็นส่ิงท่ียังมีประโยชน์สามารถนาไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษ
พลาสติก แก้ว โลหะ กลอ่ งเคร่อื งดืม่ แบบ UHT กระปอ๋ ง และแผ่นซดี ี เป็นต้น
3. มูลฝอยอันตราย เป็นส่ิงท่ีมีองค์ประกอบหรือปนเป้ือนสารอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน
วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ขวดน้ายาล้างห้องน้าและ
กระป๋องสเปรย์ เป็นต้น
4. มูลฝอยท่ัวไป หมายถึง สิ่งอื่นๆนอกเหนือจากข้างต้น อาจนามาใช้ใหม่ได้ แต่ย่อยสลายยาก
ไม่คุ้มค่าในการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ เช่น เศษผ้า เศษหนัง ซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป พลาสติกห่อขนม เป็น
ตน้

สรุปได้ว่ำ การแบ่งประเภทของขยะมูลฝอย หมายถึง เพ่ือให้ง่ายต่อการจัดการและการ
ควบคุมดูแลขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนภายในหน่วยงาน สามารถแบ่งประเภทได้ดังน้ี ประเภทของขยะมูลฝอย
มี 4 ประเภท คือ 1. ขยะอินทรีย์/มูลฝอยย่อยสลาย (Compostable waste) 2. ขยะรีไซเคิล
(Recyclable waste) 3. ขยะอันตราย (Hazardous waste) 4. ขยะท่ัวไป (General waste) เป็นขยะ
มูลฝอยทีน่ อกเหนอื จาก 3 ประเภทข้างต้น

5.3 หลักกำรใช้ 3R
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2560 : 19) ได้กล่าวว่า รูปแบบของ 3R

ประกอบด้วย Reduce Reuse และ Recycle ได้ดงั นี้
Reduce ลดการใช้ คือ จดุ เร่ิมตน้ ของการกาจดั ขยะให้เหลือนอ้ ยท่ีสดุ ไดแ้ ก่
1. การปฏิเสธรบั ถงุ พลาสตกิ
2. การใชผ้ ้าเช็ดหน้าแทนกระดาษทิชชู
3. ใช้ป่ินโต หรอื กลอ่ งข้าวแทนกล่องโฟม
4. ทานอาหารที่ร้านแทนการซ้ือกลบั บา้ น
5. พกกระตกิ นา้ แทนการซ้ือนา้ จากขวดพลาสติก
6. นากระติกไปใหแ้ มค่ า้ ใสเ่ ครอ่ื งด่มื แทนการรบั แก้วแบบใช้แล้วท้ิง
7. เลือกซื้อสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม - เลือกร้านท่ีใช้กล่องบรรจุอาหารที่

เปน็ ผลิตภณั ฑ์จากธรรมชาติ เช่น ชานออ้ ย มนั สาปะหลัง ฯลฯ แทนร้านทใ่ี ช้กลอ่ งโฟม
Reuse การใชช้ ้า คอื การนาสิ่งของทใ่ี ช้มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนท์ คี่ ้มุ ค่าทส่ี ุด ไดแ้ ก่

23

1. ใช้กระดาษ 2 สองหน้า ใช้คุ้มกว่าใช้อีกคร้ังคือ ส่งไปทาอักษรเบลล์ให้ผู้พิการทางสายตา
ใช้คุม้ ที่สุดใช้ทกุ ทที่ ีม่ ที ่ีวา่ งจนไมส่ ามารถนาไปใช้ได้ พรอ้ มส่งตอ่ การ Recycle

2. ลา้ งชอ้ นพลาสตกิ เพอื่ นากลับมาใช้ใหม่
3. ลา้ งกล่องคกุ กี้ใช้เปน็ กลอ่ งใส่ของ
4. ซ่อมรองเทา้ ท่ขี าด หรอื การนาเสือ้ ผา้ เกา่ ไปเยบ็ กระเป๋า
5. ทาสงิ่ ประดิษฐ์จากของเหลือใช้
6. นาขวดพลาสตกิ ไปเปน็ ภาชนะปลูกผกั
7. เลือกซอื้ สนิ ค้าที่สามารถใช้ซ้าได้แทนสินค้าทใี่ ช้ครงั้ เดียวเชน่ ถา่ นไฟฉายแบบชาร์ตไฟได้
Recycle นากลับมาใช้ใหม่ คือ การนาขยะบางประเภทเช่น แก้วกระดาษ พลาสติก โลหะ
หมุนเวียนกลับไปเข้าสู่กระบวนการผลิตผ่านกระบวนการแปรรูปเพ่ือนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ซึ่งต้น
ทางท่ีเป็นหัวใจของการนาเอาขยะไป รีไซเคิลคือ การคัดแยกขยะตัวอย่างกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เกิดการ
คัดแยกขยะ คือ ธนาคารขยะ ตลาดนัดขยะรีไชเคิลตลาดนัดสินค้ามือสอง ผ้าป่าขยะรึไซเคิล ขยะแลกไข่
หรอื แลกของ
1. กระดาษใชแ้ ล้วนาไปผลติ เปน็ กระดาษรีไซเคิล
2. กลอ่ งนมนาไปผลิตเป็นแผ่นกรีนบอรด์
3. กระปอ๋ งอลมู ิเนียม นาไปผลิตขาเทียม
4. ขวดนา้ พลาสตกิ นาไปผลิตเปน็ เสน้ ใยสาหรับทาเส้ือกันหนาวหรือพรหม
5. เหลก็ นาไปผลิตเปน็ วสั ดกุ ่อสรา้ ง
กรมควบคุมมลพิษ (2561 : 14) ได้กล่าวว่า เราสามารถใช้หลักการ 3 ใช้ หรือ 3R เพ่ือจัดการ
ขยะมูลฝอยทเ่ี กิดข้ึน ไดด้ งั นี้
1) ใช้น้อย หรือลดการใช้ (Reduce : R แรก) หมายถึง การลดปริมาณการใช้ลงโดยใช้เท่าท่ี
จาเป็น หลีกเล่ียงการใช้อย่างฟุ่มเฟือยเพ่ือลดการสูญเปล่าและลดปริมาณขยะมูลฝอยให้มากที่สุด เช่น
การใช้ตะกร้าหรือถุงผ้าในการจับจ่ายซ้ือของเพ่ือลดปริมาณพลาสติกและโฟมซ่ึงกาจัดยาก การใช้แก้ว
ส่วนตัวแทนการใช้แก้วคร้ังเดียวแล้วท้ิง การใช้ป่ินโตหรือกล่องใส่อาหารเพื่อลดขยะโฟมซ่ึงย่อยสลายยาก
เป็นต้น
2) ใช้ซ้า (Reuse : R ที่สอง) หมายถึง การนาของเสียบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้กลับมาใชอ้ ีก
โดยไม่ผ่านขบานการแปรรูปหรือแปรสภาพ เช่น การใช้กระดาษสองหน้า การใช้ถ่านไฟฉายแบบชาร์จ
ใหม่ได้ การใช้สินคา้ มือสอง เป็นตน้
3) ใช้แปรรูป หรือ แปรรูปใช้ใหม่ หรือ รีไซเคิล (Recycle : R ที่สาม) หมายถึง การนาขยะรี
ไซเคิล ของเสียบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต หรือเพื่อผลิตเป็น
ผลติ ภัณฑ์ใหม่ เช่น การนากระป๋องอะลูมเิ นียมมาหลอมเป็นขาเทยี ม การนากล่องเคร่ืองด่ืมยูเอชทีมาแปร
รูปเป็นหลังคา การนากระดาษมาแปรรูปเป็นกล่องทิชชู การนาขวดพลาสติกใส (PET) มาแปรรูปเป็นเส้ือ
เปน็ ต้น
ศูนย์บริการสาธารณสุขท่ี 17 (2563, ออนไลน์) 3R เป็นแนวคิดและแนวทางในการปฏิบัติเพ่ือ
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า สามารถช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง ด้วยการลดการใช้ การนา
กลบั มาใช้ซา้ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) โดยเริม่ ต้นที่การใช้ให้
น้อยลง ลดการใช้วัสดุ ผลิตภัณฑ์ ที่ก่อให้เกิดขยะเพื่อลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึน (Reduce) การนาวัสดุ

24

ผลิตภัณฑ์ท่ียังสามารถใชง้ านได้ กลับมาใช้ซ้า (Reuse) และการนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้งานแลว้ มาแปรรูป
เพื่อนากลบั มาใช้ประโยชน์ใหม่ หรอื รีไซเคลิ (Recycle) Reduce – ลดการใช้ (คิดกอ่ นใช้)

ลดระดับการใช้ปัจจุบัน ควบคุมปริมาณการใช้ให้อยู่ในสัดส่วนท่ีพอเหมาะ โดยลดการใช้
การบริโภคทรัพยากรท่ีไม่จาเป็นลง เพราะการลดการบริโภคของเรา จะช่วยให้เราลดปริมาณขยะท่ีสร้าง
ขน้ึ ได้ ในข้นั ตอนน้ีเรม่ิ ตน้ โดยการสารวจวา่ เราจะลดการบรโิ ภคทไี่ ม่จาเป็นตรงไหนได้บ้าง ตวั อย่าง เชน่

วิธกี ารลดการสร้างขยะในท่ที างาน
- แกไ้ ขบนหน้าจอไมใ่ ช่บนกระดาษ เพ่ือลดการใชก้ ระดาษ
- ใชอ้ เี มลเพอื่ ลดการใชก้ ระดาษ
- คดิ กอ่ นพิมพห์ รอื ถ่ายสาเนา พมิ พ์และทาสาเนาใหน้ อ้ ยท่สี ุด
- ส่งและจัดเก็บเอกสาร เช่น เอกสารท่ีจาเป็นและข้อเสนอทางธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส์ แทนท่ี
จะเป็นกระดาษ
- เมื่อตอ้ งพิมพ์หรือทาสาเนาใหท้ าสองดา้ น
- หมุนเวียนเอกสารแทนการทาสาเนาเฉพาะสาหรบั ทกุ คน
- เปลี่ยนระยะขอบบนเอกสาร Word ระยะขอบเร่ิมต้นของเอกสารที่พิมพ์คือ 1.25 น้ิวทุกด้าน
เพยี งเปลี่ยนระยะขอบเปน็ 0.75 นว้ิ จะช่วยลดปรมิ าณกระดาษทใี่ ช้ลงเกอื บ 5 เปอรเ์ ซ็นต์
วธิ กี ารลดการสรา้ งขยะในชีวิตประจาวนั
- ใช้ถุงผ้า ตระกร้า เพ่ือลดการใช้ถุงพลาสตกิ
- ใชผ้ ้าเช็ดหน้าแทนการใชก้ ระดาษทิชชู่
- ใช้ปิ่นโต หรอื กลอ่ งข้าวใสอ่ าหาร แทนการใสก่ ล่องโฟม
- ปฏิเสธการรบั ถุงพลาสตกิ เม่ือซอื้ ของชิน้ เล็กหรอื น้อยชิ้น
- เลือกซ้อื บรรจุภัณฑ์ทเ่ี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม เลอื กทานอาหารทีร่ ้านแทนการใสก่ ลอ่ งกลับ
- หลกี เลย่ี งใชว้ สั ดุสิน้ เปลอื งแบบใช้ครงั้ เดยี วท้ิง
Reuse – นำกลับมำใชซ้ ำ้ (ใชแ้ ล้วใชอ้ ีก)
การใช้ซ้า เป็นการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการนาส่ิงของเคร่ืองใช้มาใช้ซ้า ซ่ึงบางอย่าง
อาจใช้ซ้าได้หลาย ๆ ครั้ง เช่น ใช้บรรจุภัณฑ์ซ้าหลายครั้งก่อนทิ้ง ใช้ภาชนะท่ีสามารถใช้ซ้าได้ เลือกซื้อ
สินค้าที่สามารถใชซ้ ้าได้ ซึ่งนอกจากชว่ ยลดการเกิดขยะแลว้ ยังชว่ ยลดปริมาณการตดั ตน้ ไม้ได้เป็นจานวน
มาก
- เลอื กใชถ้ า่ นไฟฉายแบบชารต์ ได้
- ดดั แปลงของเหลือใช้เพ่อื ใช้ประโยชน์
- เสอื้ ผ้าเก่านาไปบริจาค หรือถพู ืน้
- ซอ่ มแซมอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ทิง้ เป็นขยะ
- การใช้กระดาษ 2 หน้า
- การนากระดาษรายงานท่ีเขียนแลว้ 1 หน้า มาใชใ้ นหน้าทเ่ี หลือหรืออาจนามาทาเป็นกระดาษ
โน๊ต
Recycle – นำกลับมำใชใ้ หม่
คัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภท ท่ีสามารถนากลับมาใช้ใหม่หมุนเวียนกลบั เข้าสู่กระบวนการ
ผลิตของแตล่ ะประเภทได้

25

- ขวดแก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ
- เลือกซื้อสินคา้ ทน่ี ากลบั มารไี ซเคิลไดห้ รือที่ผลิตจากวัสดุรไี ซเคลิ
สรปุ ได้ว่ำ การใชห้ ลกั 3R ในการบรหิ ารจัดการขยะ หมายถงึ เปน็ แนวคิด/แนวทางในการปฏบิ ัติเพื่อ
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า สามารถช่วยลดปริมาณขยะ โดยเร่ิมจาก 1. Reduce (ลดการใช้) คือ
จุดเร่ิมต้นของการลดปริมาณขยะให้เหลือน้อยที่สุด 2. Reuse (การใช้ช้า) คือ การนาสิ่งของท่ีใช้แล้ว
กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ท่ีคุ้มค่าที่สุด และ 3. Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) เพื่อจัดการกับขยะมูลฝอย
ท่เี กิดข้นึ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

5.4 กำรคดั แยกขยะมลู ฝอย
ปิยชาติ ศิลปสุวรรณ (2557 : 13) กล่าวว่า การดาเนินการกับขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจาก

แหล่งกาเนดิ ต่างๆ อนั ได้แก่ บ้านเรือน อาคารสานักงาน สถานศกึ ษา ห้างร้าน ตลอดจนสถานท่สี าธารณะ
ท่ัวไป เพื่อรอการเก็บขน การรวบรวม และการนาไปกาจัดทาลายจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซ่ึงในการ
ดาเนินการกับขยะมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิดเป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้ท่ีเป็นเจ้าของบ้านเรือนหรือ
อาคารสถานที่ต่างๆ โดยมีหลักการในการจัดการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ การลดขยะ
ณ แหล่งกาเนิด (Source reduction) เพื่อให้มีปริมาณขยะที่จะต้องนาไปกาจัดหรือทาลายให้น้อยที่สุด
เทา่ ทีจ่ ะทาได้ และการคดั แยกขยะ (Waste separation) ซึ่งถอื เปน็ มาตรการสาคัญประการหน่ึงทีจ่ ะช่วย
ใหก้ ารจดั การขยะในข้นั ตอนตอ่ ๆไปเปน็ ไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2560 : 13) กล่าวว่า การคัดแยกขยะ การกาจัดขยะไม่ว่า
จะด้วยการเผาหรือการฝัง ล้วนก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม แต่ถ้าหากเรามีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้น
ทางปรมิ าณขยะท่ตี ้องนาไปกาจัดจะลดลงอย่างมากลดการสร้างขยะตัง้ แตต่ น้ ทางแยกขยะ

1. ขยะรไี ซเคิล กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ฯลฯ
2. ขยะอินทรีย์ น้าหมกั ชีวภาพ ปยุ๋ หมกั กา๊ ซชีวภาพ อาหารสัตว์
3. ขยะทั่วไป Reuse ทิ้ง ขยะที่ต้องจากดั มเี พียงเท่านี้
4. ขยะอันตราย เก็บรวบรวมไว้เพื่อส่งให้องค์กรท้องถิ่นนาไปกาจัดอย่างถูกวิธีบาช้ินส่วน
ท่ีเหลือกาจดั Recycle ไดอ้ ยา่ งถูกหลกั ขยะทีต่ ้องจากดั มีเพียงเทา่ นี้
พัลลภ สิงหเสนี (2560 : 14) กล่าวว่า เป็นการแยกขยะมูลฝอยที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
หรือมีประโยชน์ในการนามาเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตได้โดยไม่ท้ิงออกไปให้ท้องถ่ินนาไปกาจัด
ท้งั หมดและนาขยะมลู ฝอยที่คัดแยกไปใช้ใหเ้ ป็นประโยชน์ การคัดแยก ณ แหล่งกาเนิดสามารถดาเนินการ
ได้ง่ายกว่าการคัดแยกบริเวณสถานท่ีกาจัดซึ่งมีความหลากหลายของประเภทขยะมูลฝอยมากเกินไป
การคัดแยกขยะมูลฝอยตามองค์ประกอบทางกายภาพเป็นการช่วยให้ง่ายต่อการเก็บขนและรวบรวมหรือ
แยกตามวัสดุท่ีสามารถนาแปลงเป็นผลติ อย่างอื่นได้ เช่น การคัดแยกเศษอาหารเพื่อนาไปทาปุ๋ยหมักหรอื
นาไปเล้ียงสัตว์หรือแม้แต่การผลิตก๊าซชีวภาพจากสารอินทรีย์ก็ไม่ต้องเสียเวลาในการคัดแยกวัสดุท่ี
ไม่ต้องการออกก่อน การคัดแยกกระดาษบรรจุภัณฑ์สินค้าท่ีบริโภค เช่น กล่องกระดาษ ห่อสินค้า ผู้ใช้
แยกเศษกระดาษเพื่อรวบรวมไปหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ การคัดแยกขวดแก้ว ขวดพลาสติก เพื่อ
จาหน่ายหรือนากลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น ข้อสาคัญ การคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ควร
ให้ความสาคัญเร่ืองความสะอาดของวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ เพราะจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการทาความสะอาด
และเพ่ิมราคาวสั ดุนั้นดว้ ย

26

กรมควบคุมมลพิษ (2561 : 13) กล่าวว่า เหตุผลที่ต้องแยกขยะมูลฝอยออกเป็น 4 ประเภท
เพือ่ ให้ง่ายต่อการนากลบั มาใชป้ ระโยชน์และการนาไปกาจดั

1) ขยะรีไซเคิล จาพวก แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ เมื่อคัดแยกออกมาจะไม่เกิดปัญหา
ปนเป้ือนกบั ขยะอนิ ทรีย์ ไมเ่ กิดกลนิ่ เหม็น ทาใหง้ า่ ยต่อการนาไปรีไซเคลิ โดยขายให้รน้ รับซื้อของเก่า และ
เขา้ สู่อุตสาหกรรมรไี ซเคลิ เพอ่ื แปรรูปเป็นวตั ถดุ ิบหรือผลติ ภัณฑใ์ ช้ใหม่

2) ขยะอินทรีย์ รวบรวมนาไปทาปุ๋ยหมกั /ปุ๋ยนา้ ชวี ภาพ ถา้ หากนาไปทิ้งรวมกบั ขยะประเภทอ่ืน
จะทาให้เกิดการเน่าเหม็น เกิดสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจ ดังน้ันขยะประเภทน้ีจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้อง
คดั แยกออกมาจัดการใหถ้ กู ต้อง

3) ขยะอันตราย เมื่อเราท้ิงของเสียอันตรายรวมกับขยะทั่วไป สารอันตรายหรือสารพิษ
(เช่น สารปรอท สารตะกั่ว) อาจปนเป้ือนออกมาสู่ดิน น้า อากาศก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ สัตว์
และพืช ดังนั้น ต้องแยกขยะอันตรายท้ิงตามวันท่ีท้องถิ่น (เช่น เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล)
กาหนดให้เอามาทิ้งหรือทิ้งในภาชนะรองรับขยะอันตราย ณ จุด/สถานที่ท้องถิ่นกาหนดเพ่ือรวบรวมเก็บ
ขนไปเข้าสกู่ ระบวนการรไี ซเคิลหรอื นาไปกาจดั อย่างถูกวธิ ี

4) ขยะทั่วไป เม่ือแยกขยะมูลฝอยประเภทอ่ืนออกไปแล้ว ก็ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบนาไป
กาจดั ตอ่ ไป

สรุปได้ว่ำ การคัดแยกขยะมูลฝอย หมายถึง การคัดแยกขยะมูลฝอยให้เป็น 4 ประเภท คือ
1. ขยะรีไซเคลิ 2. ขยะอินทรีย์ 3. ขยะอันตราย และ 4. ขยะทัว่ ไป มคี วามสาคัญในการบริหารจดั การขยะ
มูลฝอย เพราะหากมีการคัดแยกขยะต้ังแต่ต้นทาง จะสามารถทาให้ง่ายต่อการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อ
นากลับมาใช้ประโยชน์ไดง้ า่ ย และชว่ ยทาให้ปริมาณขยะมูลฝอยทีจ่ ะนาไปสู่กระบวนการกาจดั ลดนอ้ ยลง

6.แนวคดิ กำรกำหนดนโยบำย
นโยบายท่ีเก่ียวข้อง นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ

พ.ศ.2540 - 2549 ได้ กาหนดเป้าหมายและแนวนโยบายการป้องกนั และแก้ไขขยะมูลฝอยดังน้ี
- ลดและควบคุมการผลติ ขยะมลู ฝอยโดยรวมไม่เกิน 1 กโิ ลกรัม/ คน/ วนั
- ใหม้ ีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย ในอตั ราไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 15 ของ ปรมิ าณท่เี กดิ ข้นึ
- ปริมาณขยะมลู ฝอยตกค้างจากบริการเกบ็ ขน ไม่เกนิ รอ้ ยละ 10 ของปรมิ าณท่ี เกิดขน้ึ
- ใหท้ กุ จังหวดั มแี ผนหลกั และแผนการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
- ใหม้ ีการจัดการขยะมูลฝอยให้ถกู หลักสขุ าภิบาล
- ควบคุมการเกิดขยะมูลฝอยและส่งเสริมให้มกี ารนากลับไปใช้ประโยชน์
นโยบายที่เกี่ยวข้อง นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

พ.ศ.2560 – 2579 ได้กาหนดเป้าหมายและนโยบายท่ี 2 สร้างการเติมโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือ
ความม่ังคั่ง และย่ังยืน เป้าประสงค์ : ประชาชนอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย
ต่อสุขภาพบนฐานการเติบโต ทางเศรษฐกิจท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นโยบายการสร้างการเติบโตท่ีเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อความมั่งคั่งและย่ังยืน มุ่งให้ความสาคัญ ต่อการจัดการท่ีต้นทาง ด้วยการสร้าง
ระบบการผลิตที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดของเสียและมลพิษน้อย
ท่ีสุด โดยมุ่งเน้นให้เกิดการหมุนเวียนทรัพยากรและของเสียในระบบการผลิต และการบริโภคเพ่ือ
ลดต้นทุนและเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรและของเสีย และยกระดับการจัดการสิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่โดย

27

จัดรูปแบบการพัฒนาตามลกั ษณะทางกายภาพท่ีเปน็ เอกลักษณ์และความสาคัญของพื้นที่ เช่น พ้ืนที่เมือง
แหล่งท่องเท่ียว และพ้ืนที่อุตสาหกรรม เป็นต้น ให้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งรักษา
ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมให้คงอยู่ตลอดไป และมีความพร้อมรับมือกับ การ
เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยนโยบายท่ี 2 ประกอบด้วย 3 นโยบายย่อย 42 แนวนโยบาย และ 14
ตัวช้ีวัด ซ่ึงมีตัวช้ีวัดที่ 2.2 สัดส่วนการนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (เพ่ิมข้ึน) 2.3 ปริมาณขยะ ท่ีเข้า
ระบบการจัดข้นั สุดทา้ ย (ตนั ) (ลดลง) โดยใหด้ าเนนิ การ ดงั น้ี

1. การจดั การวสั ดแุ ละขยะ
1.1 พัฒนาการออกแบบและเลือกใช้วัตถุดิบท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม โดยส่งเสริม

สนับสนุน และผลักดันให้ผู้ผลิตออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ ง่ายต่อการบารุงรักษา
และนากลับมาใช้ใหม่ รวมถึงเลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นวัสดุรีไซเคิล และท่ีไม่เป็นอันตราย ต่อส่ิงแวดล้อมและ
สุขภาพเป็นองคป์ ระกอบในผลติ ภัณฑ์ หรือใช้วัตถดุ ิบน้อยลง รวมท้ังพัฒนาวัตถดุ บิ ท่ีสามารถยอ่ ยสลายได้
เองทางชีวภาพในการผลิตสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ครั้งเดียวควบคู่กับการสร้าง แรงจูงใจทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมให้กับผู้ผลิตและผู้บริโภค ตลอดจนกาหนดให้หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้นาทาง การตลาด และให้
มีการรับรองผลิตภัณฑโ์ ดยสถาบันที่ได้มาตรฐานสากลเพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือ และ ตัดสนิ ใจในการเลือก
ซ้อื ผลิตภณั ฑ์แกผ่ บู้ ริโภค และพฒั นาระบบการควบคุมคุณภาพวตั ถดุ ิบและผลิตภณั ฑ์ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน และ
มีความปลอดภยั ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

1.2 ลดปริมาณการเกิดขยะหรือของเสียจากกระบวน การผลิตและการบริโภค โดยส่งเสรมิ
ให้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ ในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ตลอดห่วงโซ่การผลติ สนับสนุนการใช้
เทคโนโลยที ี่เหมาะสม และคานึงถึงการนาของเสยี จากกระบวน การผลิตไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด และ
ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงลดการปล่อยของเสียออกสู่ ส่ิงแวดล้อม รวมทั้งสนับสนุนการผลิต
สินค้าและบรรจุภัณฑ์ท่ีมีความคงทน ใช้ซ้าได้หลายครั้ง และใช้วัตถุดิบ น้อยลง และควบคุมบรรจุภัณฑ์
อาหารท่ีใช้ได้ เพียงครั้งเดียว และบรรจุภัณฑ์สินค้าท่ีฟุ่มเฟือยเพื่อลดการเกิด ขยะ ตลอดจนพัฒนากลไก
ในการลดการเกิดขยะจากอาหารตั้งแต่ร้านค้าจนถึงครัวเรือน และสนับสนุนให้ เกิดตลาดแลกเปล่ียน
สินค้าใช้แล้วที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากสินค้าสูงสุด และลด ปริมาณการเกิด
ขยะ

1.3 ส่งเสริมการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยกาหนดให้มี การพัฒนาระบบการคัดแยกขยะ
ของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามความเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ และสร้างระบบเครือข่าย
การเช่ือมโยงข้อมูลวัสดุที่คัดแยกระหว่างองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นท่ีดีเพ่ือให้เกิดการกระจายและ
แลกเปลี่ยนอย่างเป็นระบบ รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา 117 ผลิตภัณฑ์จากวัสดุใช้แล้ว
ในเชิงพาณิชย์ และสร้างระบบตลาดที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการบริโภคสินค้า จากวัสดุใช้แล้ว โดย
กาหนดให้มีระบบการควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบที่ดีและเหมาะสมกับการนามาผลิตเป็น สินค้าใหม่
ตลอดจนพัฒนากฎระเบียบการจัดซ้ือ จัดจ้างสินค้าและบริการของภาครัฐให้เหมาะสมและ เอ้ืออานวย
ต่อการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าจากวัสดุใช้แล้ว และสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบ
ของกระบวนการรีไซเคิล และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากวัสดุรีไซเคิลต่อส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ
พร้อมทง้ั กาหนดแนวทางในการควบคมุ และปอ้ งกัน

1.4 ส่งเสริมการกาจดั ขยะและของเสียอันตรายที่ มี ประสิทธิภาพ โดยการจัดการขยะ เร่งรัด
ให้มีการปรับปรุงและจัดการขยะตกค้างและบ่อฝังกลบขยะเก่าให้มี การจัดการอย่างถูกต้องตามหลัก

28

วิชาการ และให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น นาไปใช้เป็นเช้ือเพลิงพลังงาน เป็นต้น รวมถึงพัฒนาระบบการ
เก็บขนและรวบรวมขยะให้มีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้า มาร่วมลงทุนใน การจัดการ
ขยะที่คานึงถึงการใช้ประโยชน์จากขยะอย่างคุ้มค่า ตลอดจนส่งเสริมการใช้เคร่ืองมือ ทางเศรษฐศาสตร์
เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับผปู้ ระกอบการและประชาชนมีการจัดการขยะท่ีเหมาะสม สว่ นการจัดการของเสีย
อันตราย โดยพัฒนาประสิทธิภาพระบบการจัดการของเสียอันตราย ซากผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จากชุมชน และของเสียจากเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีเกิดขึ้นในอนาคต และผลักดันการ
จัดต้ังศูนย์เรียนรู้การจัดการผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และศูนย์ จัดการ
ผลิตภัณฑ์เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมลงทุน และสร้าง
ความร่วมมือให้กับผู้ผลิตในการจัดการซากผลิตภัณฑ์อย่างเป็นระบบครบวงจร เพ่ือให้เกิดการใช้
ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติไดอ้ ย่างคมุ้ คา่ ตลอดวฏั จักรวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์

1.5 เพิ่มประสิทธิภาพการกากับดูแลให้มีการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ โดยสนับสนุนและส่งเสริม
ให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามและเฝ้าระวังไม่ให้มี การลักลอบทิ้งกากของเสียอุตสาหกรรม
และมูลฝอยติดเช้ือ การลักลอบนาเข้าขยะหรือสินค้าใช้แล้ว จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศ พัฒนา
กฎระเบียบเพ่ือควบคุม กากับดูแลให้ผ้ปู ระกอบการท่ีเป็น ผู้ก่อให้เกิดขยะและกากของเสียอุตสาหกรรมมี
การจัดการท่ีถูกต้องโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังกาหนดเป็นเง่ือนไขในการอนุญาต
การประกอบกิจการ และกาหนดให้มีการวางหลักประกันทาง การเงินตามประเภทและขนาดของโรงงาน
โดยครอบคลมุ ถงึ การเลิกประกอบกิจการแลว้ รวมท้ังสนบั สนนุ งบประมาณใหก้ ับโครงการการพัฒนาและ
สร้างระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง ระบบการแปรรูปขยะเป็นวัตถุดิบ และ
การใช้ประโยชน์จากขยะ โดยการจัดการข้ันสุดท้ายให้ขยะท่ีเหลอื อยู่ เป็นเฉพาะขยะท่ีไม่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้แล้ว ต้องนาไปฝังกลบในบ่อฝังกลบขยะเท่านั้น ตลอดจนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดูแล
ระบบและบริหารจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และเร่งรัด ให้มีการจัดเก็บค่าบริการ
การจัดการขยะมลู ฝอย

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2560 : 15) ได้กาหนดการดาเนินงานโครงการ
โรงเรียนปลอดขยะ แบ่งระดับของการดาเนินงานออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับหน่วยงานสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษา / สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ระดับโรงเรียนและระดับชุมชน มีการดาเนินงานตาม
นโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ดงั น้ี

1. จัดทา MOU ในระดับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา / สานักงานศึกษาธิการจังหวัด กับ
โรงเรยี น และหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

2. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาดาเนนิ การตามนโยบายโรงเรียนปลอดขยะ

ระดบั หนว่ ยงำน สำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำ / สำนกั งำนศกึ ษำธกิ ำรจงั หวดั
มีกลไกการขบั เคล่ือนโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ดงั ต่อไปน้ี
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา / สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ดาเนินการตามแนวทางการ
จัดการขยะ 1A3Rs และ ZERO WASTE ในระดับโรงเรยี น รปู แบบต่างๆ
2. การส่งเสรมิ การคดั แยกขยะ เชน่ ธนาคารขยะรีไซเคลิ ร้าน 0 บาท เป็นตน้

29

3. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา / สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดทา
ข้อมูลสารสนเทศ การลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะในสถานศึกษา ในรูปแบบของ Carbon Footprint
และ Carbon Emission ตามข้อมลู ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพิม่ เติมในโรงเรียน

4. การบูรณาการเรื่องการจัดการขยะในสาระการเรียนรู้ ด้านการจัดการขยะ ด้วยรูปแบบการ
LCA หรืออืน่ ๆ (สถานศกึ ษา)

5. ดาเนินการจัดประกวดโรงเรยี นปลอดขยะสู่ชมุ ชนปลอดขยะ
6. ดาเนนิ การประกวดโรงเรียนจดั แผนการเรยี นรู้เรื่องขยะ
7. ดาเนินการประกวดสือ่ และนวัตกรรมเพ่ือโลกสวยดว้ ยการลดขยะ
8. นากจิ กรรมเข้าส่ลู ดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้
มีการประเมินความสาเรจ็ ของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา / สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดดงั นี้
1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การจัดการขยะกอ่ นดาเนินการและหลงั ดาเนินตามโปรแกรม
กจิ กรรมการจดั การขยะ และคดั แยกขยะในโรงเรยี น สรปุ ผลการดาเนินงาน
2. รวบรวมผลการปฏิบัตงิ านที่ดีและเปน็ เลิศ และการวิจัยดาเนินการคัดแยกขยะ
3. ผลการประเมินคารับรองตัวชีว้ ัด ARS ตามกลยทุ ธ์ ท่ี 1 ตัวชี้วัดที่ 13
4. สรุปผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล โรงเรียนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ โดยใชเ้ ครอื ขา่ ย
5. ผลสาเรจ็ การประกวดโรงเรียน บา้ น ชุมชน ปลอดขยะ
6. ผลการขยายเครือขา่ ยทุกระดบั

ระดบั โรงเรยี น
มีการดาเนินงานตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ ดาเนินการ
จัดทา MOU กับองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ (ผู้นาชมุ ชน) และหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง มีกลไกการขบั เคลื่อน
โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ไดแ้ ก่
1. กาหนดนโยบายด้านการจัดการขยะตามรูปแบบของโรงเรยี น ZERO WASTE
2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะย่อยสลาย ขยะ
รไี ซเคิล และขยะอันตราย
3. สง่ เสริมกิจกรรม 1A3R ลดขยะในสถานศกึ ษา
4. จัดให้มีการ MOU การดาเนินการด้านการจัดการขยะ ระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้
เปน็ โรงเรียนปลอดขยะ
5. จัดให้มีการบูรณาการ ด้านการจัดการขยะ ในหลักสูตรสาระแกนกลาง หลักสูตรเพ่ิมเติม
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ ตัง้ แต่ระดับอนุบาล - ช่วงชัน้ ท่ี4
6. เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเร่ิมดาเนินการจัดการขยะ และมีการเปรียบเทียบ จัดทาระบบ
สารสนเทศในการจัดการขยะตามแนวการดาเนินงานตามรูปแบบ ท่ีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาหนด
พรอ้ มรายงานให้ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา เพือ่ จัดสง่ ให้ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
7. จัดให้มีค่าย กิจกรรมรณรงค์ 1A3Rs ให้มีความรู้ด้านการคัดแยกขยะและจัดการขยะ
ตามหลกั ประชาสมั พันธ์
8. สรุปรายงานการดาเนินการจดั การขยะในโรงเรยี นรว่ มนิเทศ

30

ใช้วิธกี ารประเมนิ ความสาเร็จของโครงการ ดังนี้
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดการขยะก่อนดาเนินการและหลังดาเนินตามโปรแกรมกิจกรรม
การจัดการขยะ และคดั แยกขยะในโรงเรยี น สรปุ ผลการดาเนินงาน
2. รวบรวมผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ีและเป็นเลิศ/การวจิ ัยดาเนนิ การคัดแยกขยะ
3. ผลการประเมนิ คารบั รองตวั ชว้ี ดั ARS ตาม กลยุทธ์ที่ 1 ตวั ชีว้ ดั ท่ี 13
4. สรุปผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล โรงเรียนท่ีเข้ารว่ มโครงการ โดยใชเ้ ครือข่าย
5. ผลสาเร็จการประกวดโรงเรยี น บา้ น ชุมชน ปลอดขยะ
6. ผลการขยายเครือข่ายทกุ ระดับRHA
ระดบั ชมุ ชน / ระดับเครอื ขำ่ ย
มกี ารดาเนนิ งานตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน คือ
1. จัดการประกวดบ้านคดั แยกขยะหรือลดปรมิ าณขยะ
2. จัดเวทีแลกเปล่ียนระหว่างโรงเรียนและชุมชนด้านการจัดการขยะและแก้ปัญหาขยะร่วมกัน
มศี ูนย์ถ่ายทอดการเรยี นร้ดู ้านการจดั การขยะที่ยั่งยนื สาหรบั โรงเรยี นและชุมชน
3. มีศูนย์ถ่ายทอดการเรียนรู้ด้านการจัดการขยะท่ีย่ังยืนสาหรับโรงเรียนและชุมชนระดับ
เครือข่าย
4. มีบุคลากรเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะในสถานศึกษา เช่น กศจ. ผู้นาชุมชน
ปราชญ์ชาวบา้ น มีส่วนรว่ มในการใหค้ วามรู้ และเป็นแหลง่ เรียนรู้ให้กับนักเรียนและโรงเรียน
5. มีเครอื ข่ายด้านการจัดการขยะทางอเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น facebook / Line
สรุปได้ว่ำ การกาหนดนโยบาย หมายถึง มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ใน
การดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) และประกาศนโยบายและวิสัยทัศน์ไปยังผู้มี
สว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพ่ือให้การปฏบิ ัติเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั อยา่ งตอ่ เน่ืองและยัง่ ยืน

7. แนวคิดเกย่ี วกับโรงเรียนปลอดขยะ
7.1 ควำมหมำยของโรงเรยี นปลอดขยะ
เอกสารการดาเนินโครงการโรงเรียนปลอด ขยะ Zero Waste School ของสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน หน้า 18 กลา่ วไวว้ ่าโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste) เป็นปรชั ญาท่ี
ส่งเสริม การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และ
เป็นการลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นให้น้อยท่ีสุด โดยใช้หลักการของ 3R (Reduce, Reuse, Recycle)
รวมท้ังการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้เกือบท้ังหมด เพื่อเป็นการลดปริมาณของ
เสยี ท่สี ่งไปกาจดั โดยวิธกี ารฝงั กลบและเตาเผาทาลายให้มปี ริมาณนอ้ ยที่สุด

สรุปได้ว่ำ โรงเรียนปลอดขยะ เป็นโครงการของกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาดาเนินกิจกรรม การลด การคัด
แยกและการนากลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการรวบรวมขยะเพ่ือส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง โดยใช้
กระบวนการหรือหลักการ 3R (Reduce, Reuse และ Recycle) รวมถึงปลูกจิตสานึก การสร้างระบบ
การเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อปลูกฝังลักษณะนิสัยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
แกผ่ เู้ รียน

31

7.2 ควำมสำคัญของโรงเรยี นปลอดขยะ
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ขับเคลื่อน

การดาเนินงานสร้างวินัยในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความ
ร่วมมือและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา โดยจัดโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ขึ้น ภายใต้แนวคิดการ
จดั การขยะเหลอื ศนู ย์ (Zero Waste) โดยครง้ั แรกในปี 2556 และดว้ ยองคก์ ารสหประชาชาติ ไดป้ ระกาศ
ให้ วันท่ี 5 มิถุนายนของทุกปี เป็นวันสิ่งแวดล้อมโลก (World Environment Day) ในแต่ละปีโครงการ
ส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme : UNEP) ได้กาหนด
ประเด็นหลัก (Theme) ในการรณรงค์เน่ืองในวันส่ิงแวดล้อมโลกให้เป็นทิศทางเดียวกันทั่วโลก โดยใน
ปี 2561 กาหนดประเด็นหลักในการรณรงค์ เร่ือง Best Plastic Pollution มีคาขวัญว่า IF you can’t
reuse it, refuse it “รักษ์โลกเลิกพลาสติก” ปัญหาขยะมูลฝอยดังกล่าว สานักพัฒนานวัตกรรมการ
จัดการศึกษา (สนท.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้
จัดประชุมปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการขยะในสถานศึกษาสู่การปฏิบัติท่ียั่งยืน “โรงเรียน
ปลอดขยะสัญจร” ระดับภูมิภาค สนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่การปฏิบัติการประเทศไทยไร้ขยะ
ตั้งเป้าในปี 2560 Set Zero Waste School เพ่ือขับเคล่ือนนโยบายการจัดการขยะในสถานศึกษา
สู่การปฏิบัติที่ยั่งยืน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนในการขับเคล่ือนการจัดการขยะ
(จากรูปแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา A Model of waste Management for
Schools under the Office of Basic Education Commission วิ ม ล ช ญ า น์ ส ถิ ต สุ น ท ร พั น ธ์ *
Wimolshaya Shathitshunthonphan ธานี เกสทอง** Thanee Gesthong ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน***
Teeppipat Suntawan มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ประเทศไทย Nakhon Sawan Rajabhat
University, Thailand Email: [email protected] Received : May 28, 2020
Revised : June 19, 2020 Accepted : November 5, 2020 : 159-160)

โดยได้กาหนดนโยบายด้านการสร้างวินัยในสถานศึกษา การจัดการขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
เน้นโรงเรียนปลอดขยะ โดยกาหนดให้เขตพ้ืนที่การศึกษา 225 เขตท่ัวประเทศ ทาบันทึกข้อตกลง
กับโรงเรียน ให้ดาเนินการเรื่องการจัดการขยะในสถานศึกษา ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
โดยร่วมบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง ซง่ึ ไดด้ าเนนิ การอยา่ งต่อเน่ืองมาจนถงึ ปัจจุบัน

ท้ังน้ี โครงการโรงเรียนปลอดขยะ เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้สถานศึกษาท่ัวประเทศ ดาเนิน
กิจกรรมปลูกฝังจิตสานึก การลด คัดแยก และนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการรวบรวมขยะ เพ่ือ
ส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง สามารถช่วยกันลดปริมาณขยะต้ังแต่ต้นทาง และเกิดการปรับเปล่ียนพฤติกรรม
ในการดาเนินชีวิต เกิดการปลูกฝังลักษณะนิสัยรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม มุ่งสู่โรงเรียนปลอดขยะและ
ขยายต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคิล (Recycle Society) ต่อไป จาก แนวทางการจัดทาเอกสาร
ประกอบการพิจารณาโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ปี 2561 โดย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (2561)

7.3 หลกั กำรและแนวคดิ ของโรงเรยี นปลอดขยะ
แนวคิด Zero Waste เป็นการจัดการขยะท่ีต้นทาง เน้นการลดขยะ คัดแยกขยะ 4 ประเภท

ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และการนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์
ให้มากท่ีสุดก่อนนาไปกาจัด (จากเอกสารการดาเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ของ สพท. : 18)

32

รวมถึง เพื่อกระตุ้น รณรงค์เสริมสร้างจิตสานึกและความรู้ความเข้าใจถึงแนวทางในการลดปริมาณขยะ
การแยกแยะและการนาขยะไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งการรวบรวมขยะเพ่ือนาไปกาจัดอย่างถูกวิธีให้กับ
เครือข่ายสถานศึกษา ท้ังเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถานศึกษา ได้มีโอกาสพัฒนาการเรียนการสอน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การจัดกิจกรรมโดยใช้เยาวชนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของครูอาจารย์ ผู้เรียนและชุมชนโดยรอบสถานศึกษา เพ่ือลดขยะใน
สถานศึกษา มุง่ ส่โู รงเรียนปลอดขยะอย่างย่งั ยนื และขยายต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคลิ ตอ่ ไป

7.4 วธิ ีดำเนนิ งำนโรงเรยี นปลอดขยะ
รปู แบบ/ขน้ั ตอนกำรดำเนินกำรโรงเรียนปลอดขยะ
รูปแบบการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) คือ แนวคิดสาหรบั ของเสียเหลือศนู ย์

หรือ Zero Waste เปน็ ปรชั ญาท่ีส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพอื่ เป็นการใช้ทรัพยากร
อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นการลดปริมาณของเสียท่ีเกิดข้ึนให้น้อยท่ีสุด โดยใช้หลักการของ 3Rs
(Reduce, Reuse, Recycle) รวมทั้งการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้เกือบท้ังหมด
เพื่อเป็นการลดปริมาณของเสียท่ีส่งไปกาจัด โดยวิธีการฝังกลบ และเข้าเตาเผาเพื่อทาลาย ให้มีปริมาณ
น้อยทีส่ ุด ข้นั ตอนการดาเนินงาน มี 7 ขน้ั ตอน

1. กาหนดนโยบายดา้ นการจดั การขยะตามรปู แบบของโรงเรยี น ZERO WASTE
2. จัดทาคู่มือการใช้ มาตรฐานโรงเรยี นสิง่ แวดล้อมศึกษา (ดา้ นการจัดการขยะ)
3. ประชาสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วม (Kick off) เพื่อให้สถานศึกษา เครือข่าย และทุกภาคส่วนมี
สว่ นรว่ ม
4. ส่งเสริมการจัดกิจกรรม หรือประกาศให้มีการลดปริมาณขยะในสถานศึกษาท่ัวประเทศ
รวมถงึ ใหม้ ีการคดั แยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะยอ่ ยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย
5. ส่งเสรมิ กจิ กรรม 1A3R ลดขยะในสถานศกึ ษา
6. จัดให้มีการ MOU การดาเนินการด้านการจัดการขยะ ในระดับกระทรวงกับหน่วยงาน
ทีเ่ ก่ยี วข้อง หรือระหว่างโรงเรยี นและชุมชน ให้เป็นโรงเรียนปลอดขยะ
7. ส่งเสรมิ /สนับสนนุ ให้สถานศึกษาดาเนินการตามนโยบายโรงเรยี นปลอดขยะอยา่ งต่อเนือ่ ง
กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (2561:ออนไลน์)
กาหนดแนวทางการจัดทาเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการปลอดขยะ ปี 2561 โดยกาหนดเกณฑ์
การพิจารณาคดั เลือก แบ่งออก 6 สว่ น ดังน้ี
สว่ นที่ 1 นโยบาย การสนบั สนนุ และแผนการดาเนินงาน 10 คะแนน
สว่ นที่ 2 การส่งเสรมิ ความรู้ความเข้าใจและการสร้างวนิ ยั ในการจดั การขยะ 20 คะแนน
สว่ นที่ 3 กระบวนการปลูกฝงั ความรแู้ ละสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมในการจดั การขยะ 20 คะแนน
ส่วนท่ี 4 การดาเนนิ กจิ กรรมโรงเรียนปลอดขยะ โดยใช้หลกั 3Rs 50 คะแนน
ส่วนที่ 5 การประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 10 คะแนน
สว่ นที่ 6 ผลสาเรจ็ และความย่ังยืนของโรงเรียนปลอดขยะ 30 คะแนน

33

7.5 โรงเรียนท่ีมีผลกำรปฏิบตั ิงำนทป่ี ระสบควำมสำเร็จโรงเรียนปลอดขยะ
โรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบตั ิงานทปี่ ระสบความสาเร็จในการดาเนนิ งานโรงเรยี นปลอดขยะจานวน

2 โรงเรียน ได้แก่โรงเรียนบ้านยางลาด และโรงเรียนบ้านวังโค้ง ซ่ึงได้ดาเนินการโครงการตามเกณฑ์
การดาเนินงาน ครบถ้วนทั้ง 6 ส่วน ได้แก่ นโยบาย การสนับสนุนและแผนการดาเนินงาน การส่งเสริม
ความรู้ความเข้าใจและการสร้างวินัยในการจัดการขยะมูลฝอย กระบวนการปลูกฝังและส่งเสริม
การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย การดาเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ โดยใช้หลัก 3Rs และ
การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียน อยา่ งต่อเนอ่ื งสคู่ วามยัง่ ยนื

8. งำนวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง
การศึกษาแนวทางการขบั เคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)

สังกัด สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ไดศ้ ึกษางานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง ดังน้ี
เก ประเสริฐสังข์. (2561) ได้ศึกษาการวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์เพื่อสร้างรูปแบบและกลไก

การจัดการขยะอย่าง ครบวงจรบนฐานการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชน. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด.
(การวิจัย พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
คณะกรรมการควบคุม : รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี โยเหลา, ดร.สมไทย วงษ์เจริญ. การวิจัยคร้ังน้ี
มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างรูปแบบและกลไกการจัดการขยะอย่างครบวงจร บนฐานการมีส่วนร่วมของ
โรงเรียนและชุมชน และสังเคราะห์รูปแบบและกลไกการจัดการขยะอย่าง ครบวงจรของโรงเรียนและ
ชุมชน โดยดาเนินการในพื้นที่ตาบลเกาะหวาย อาเภอปากพลี จังหวัด นครนายก ซึ่งมีกลุ่มผู้ร่วมวิจัย
2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มชมุ ชน ไดแ้ ก่ กลุ่มผู้นาชุมชนและสมาชกิ ในชมุ ชน จานวน 22 คน 2) กลมุ่ นักเรยี นและ
ครูในโรงเรียนจานวน 20 คน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัย ปฏิบัติการเชิงวิพากษ์แบบมีส่วนร่วม
ซง่ึ ประกอบดว้ ยช่วงการลาดตะเวน และชว่ งวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ าร ท้งั น้ีผู้วิจยั ใช้เทคนิคการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ที่หลากหลาย ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การเปิดวง สุนทรียสนทนา การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มี
ส่วนร่วม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ เน้ือหา จากน้ันนาเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาอย่าง
ละเอียด ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบและกลไกใน การจัดการขยะอย่างครบวงจรบนฐานการมีส่วนร่วม
ของโรงเรียนและชุมชน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ (4C) ได้แก่ 1) การสร้างพื้นที่สาธารณะของกลุ่ม
(Create Public Sphere) เพื่อเป็น พ้ืนที่สาหรับดาเนินการปฏิบัติการส่ือสาร ให้เกิดความคิดเห็น
ท่ีสอดคล้อง ความเข้าใจที่ตรงกัน และ มติเอกฉันท์ ในการร่วมกันค้นหาแนวทางการป้องกัน การ
หลีกเล่ียง หรอื ดาเนนิ การเพ่อื การ เปลีย่ นแปลงผลลัพธ์ที่ไมส่ มเหตสุ มผล ไม่ยง่ั ยนื และไม่ยตุ ิธรรม ให้ดีข้ึน
ในลาดับต่อไป 2) การ เปล่ียนการเรียนรู้ (Change Learning) โดยมีรูปแบบของกิจกรรมการเรียนรู้ 2
ลักษณะด้วยกันคือ กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการลงมือทา (Learning by Doing) และกิจกรรมการเรียนรู้
ผ่านการถ่ายทอด ทางสังคม (Learning by Socialization) 3) การเปล่ียนความเข้าใจ (Change
Understanding) เป็นผลลัพธ์ของการทากิจกรรมการเรียนรู้ที่นามาซ่ึงเปลี่ยนแปลงความเข้าใจ
ประกอบด้วย ด้าน ความรู้สึก ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตนเอง เกิดเจตคติที่ดีต่อการจัดการขยะ และ
การตระหนักต่อ ปัญหาและผลกระทบจากปัญหาขยะ ด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการ
ขยะและวิธีการ คัดแยกขยะ 4) การเปล่ียนพฤติกรรม (Change Behavioral) เป็นผลลัพธ์ของการทา
กิจกรรมการเรียนรู้ที่นามาซ่ึงเกิดพฤติกรรมการลดขยะ พฤติกรรมการแยกขยะ และพฤติกรรมการกาจัด

34

ขยะ ภายใต้เง่ือนไขแห่งการปฏิบัติ 3 ด้าน ได้แก่ เงื่อนไขด้านรายได้ เงื่อนไขด้านการตระหนัก
ต่อส่ิงแวดล้อม และเงื่อนไขด้านบุญ

วิมลชญาน์ สถิตสุนทรพันธ์. (2563) ได้ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะมูล ฝอย ใน
สถานศึกษา ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ในสถานศึกษา จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) จาก
ข้อมูลผู้ตอบ แบบสอบถามที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 118 ตัวแปร แต่มีตัวแปรที่คุณสมบัติไม่ได้ตาม
เกณฑ์ 27 ตัวแปร ผู้วิจัยจึงได้ตัดออกเหลือเพียง 91 ตัวแปร สามารถกาหนดเป็น 8 องค์ประกอบ ดังนี้
1.1 องค์ประกอบท่ี 1 ภาวะผู้นาของผู้บริหารประกอบตัวแปรสาคัญ 21 ตัวแปร มีค่าน้าหนัก ตัวแปร
ในองคป์ ระกอบอยรู่ ะหวา่ ง.580 -.796 มคี ่า Eigen values = 35.353 คา่ ร้อยละของความ แปรปรวนรวม
ที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 1= 29.960 องค์ประกอบน้ีสามารถอธิบายความแปรปรวน ได้ร้อยละ
29.960 และเม่ือเทียบกับค่า Eigenvalues กับองค์ประกอบอ่ืนแล้ว องค์ประกอบนี้มีความ สาคัญเป็น
อันดับ 1 ผู้วิจัยตั้งช่ือองค์ประกอบน้ีว่า “ภาวะผู้นาของผู้บริหาร” 1.2 องค์ประกอบท่ี 2 องค์กรแห่งการ
เรียนรู้ประกอบด้วยตัวแปรสาคัญ 15 ตัวแปร มีค่า น้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .513 -
.756 มีค่า Eigen values = 9.366 คา่ ร้อยละของ ความแปรปรวนรวมที่อธิบายไดด้ ว้ ยองค์ประกอบท่ี 3=
7.938 องค์ประกอบน้ีสามารถอธิบายความ แปรปรวนไดร้ อ้ ยละ 7.938 และเม่ือเทยี บกบั คา่ Eigenvalues
กับองค์ประกอบอ่ืนแล้ว องค์ประกอบน้ี มีความสาคัญเป็นอันดับ 2 ผู้วิจัยต้ังชื่อองค์ประกอบน้ีว่า
“องค์กรแห่งการเรียนรู้” 1.3 องค์ประกอบที่ 3 การจัดองค์กร ประกอบด้วยตัวแปรสาคัญ 14 ตัวแปร มี
ค่าน้าหนัก ตัวแปรในองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .554 - .678 มีค่า Eigen values = 6.737 ของความ
แปรปรวนรวม ทอี่ ธบิ ายได้ด้วยองคป์ ระกอบที่ 3=5.709 องค์ประกอบนสี้ ามารถอธบิ ายความแปรปรวนได้
ร้อยละ 5.709 และเมื่อเทียบกับค่า Eigenvalues กับองค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้ มีความสาคัญ
เป็นอันดับ 3 ผู้วิจัยตั้งชื่อองค์ประกอบน้ีว่า “การจัดองค์กร” 1.4 องค์ประกอบท่ี 4 การบริหารจัดการท้ัง
ระบบประกอบด้วยตัวแปรสาคัญ 13 ตวั แปร มคี า่ น้าหนกั ตัวแปรในองคป์ ระกอบอยูร่ ะหว่าง .679 - .817
มีค่า Eigen values = 4.821 ค่าร้อยละ ของความแปรปรวนรวมที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 4=
4.085 องคป์ ระกอบนส้ี ามารถอธิบายความ แปรปรวนไดร้ อ้ ยละ 4.085 และเมอ่ื เทียบกับค่า Eigenvalues
กับองค์ประกอบอ่ืนแล้ว องค์ประกอบน้ี มีความสาคัญเป็นอันดับ 4 ผู้วิจัยตั้งช่ือองค์ประกอบน้ีว่า “การ
บรหิ ารจัดการทั้งระบบ” 1.5 องค์ประกอบที่ 5 ปฏิบัตกิ ารเรยี นรู้ ประกอบด้วยตวั แปรสาคัญ 9 ตวั แปร มี
ค่าน้าหนัก ตัวแปรในองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .510 - .710 มีค่า Eigen values = 3.682 ค่าร้อยละของ
ความ 12. ( 157-173).indd 161 29/11/2563 11:05:02 162 วารสารมหาจุฬาวชิ าการ ปีที่ 7 ฉบับท่ี 3
แปรปรวนรวมท่ีอธิบายได้ด้วยองค์ประกอบท่ี 5= 3.121 องค์ประกอบน้ีสามารถอธิบายความแปรปรวน
ได้ร้อยละ 3.121 และเม่ือเทียบกับค่า Eigenvalues กับองค์ประกอบอ่ืนแล้วองค์ประกอบนี้ มีความ
สาคัญเป็นอันดับ 5 ผู้วิจัยตั้งชื่อองค์ประกอบน้ีว่า “ปฏิบัติการเรียนรู้” 1.6 องค์ประกอบที่ 6 เครือข่าย
ความร่วมมือ ประกอบด้วยตัวแปรสาคัญ 8 ตัวแปร มีค่าน้าหนัก ตวั แปรในองคป์ ระกอบอยู่ระหว่าง .546
- .612 มีค่า Eigen values = 2.512 ค่าร้อยละของ ความแปรปรวนรวมท่ีอธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่
6= 2.129 องค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความ แปรปรวนได้ร้อยละ 2.129 และเม่ือเทียบกับค่า
Eigenvalues กับองค์ประกอบอ่ืนแล้ว องค์ประกอบนี้ มีความสาคัญเป็นอันดับ ๖ ผู้วิจัยตั้งชื่อ
องค์ประกอบน้ีว่า “เครือขา่ ยความรว่ มมือ” 1.7 องค์ประกอบท่ี 7 การพฒั นาแผนกลยุทธ์ประกอบด้วยตัว
แปรสาคญั 6 ตวั แปร มีค่า น้าหนกั ตวั แปรในองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .672 - .765 มคี ่า Eigen values =

35

2.265 ค่าร้อยละของ ความแปรปรวนรวมที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 7= 1.919 องค์ประกอบนี้
สามารถอธิบายความ แปรปรวนได้ร้อยละ 1.919 และเมื่อเทียบกับค่า Eigenvalues กับองค์ประกอบอ่ืน
แล้ว องค์ประกอบนี้ มีความสาคัญเป็นอันดับ 7 ผู้วิจัยต้ังช่ือองค์ประกอบน้ีว่า “การพัฒนาแผนกลยุทธ์”
1.8 องค์ประกอบท่ี 8 แผนปฏิบัติการสู่คุณภาพ ประกอบด้วยตัวแปรสาคัญ 5 ตัวแปร มีค่า น้าหนัก ตัว
แปรในองคป์ ระกอบอย่รู ะหว่าง .534 - .799 มีค่า Eigen values = 2.114 ค่าร้อยละของ ความแปรปรวน
รวมท่ีอธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 7= 1.792 องค์ประกอบน้ีสามารถอธิบายความ แปรปรวนได้ร้อยละ
1.792 และเม่ือเทียบกับค่า Eigenvalues กับองค์ประกอบอ่ืนแล้ว องค์ประกอบน้ี มีความสาคัญเป็น
อันดับ 8 ผู้วิจัยตั้งช่ือองค์ประกอบน้ีว่า “แผนปฏิบัติการสู่คุณภาพ” 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา 2.1 รปู แบบการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา ประกอบด้วย
3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ส่วนนา หมายถึง ส่วนแรกของรูปแบบที่กล่าวถึง แนวคิดพ้ืนฐาน หลักการและ
เหตุผล

มาลัย เอ่ียมจาเริญ (2557) ได้ศึกษาการบริหารจดั การขยะมูลฝอย ในพื้นที่องค์การบริหารสว่ น
ตาบลบางโฉลง อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ผลการวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การ
บริหารจัดการขยะมูลฝอย และปัญหาในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
ในเขตอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็น ประชาชนท่ีมี
ภูมิลาเนาอยู่ในพ้ืนที่อาเภอบางพลี จานวน 400 คน การศึกษาเป็นการศึกษาเชิงสารวจ (Survey
Research) โดยใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) ผลการศึกษา พบว่า การบริหารจัดการขยะมูล
ฝอย ในด้านการทิ้งขยะมูลฝอย พบว่า มีจานวนถังขยะอย่างเหมาะสม มีการจัดทาข้อบัญญัติในด้านการ
จับปรับในการท้ิงขยะไม่ถูกท่ี และประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะ ในด้านการจัดการ ขยะ
มูลฝอย มีเจ้าหน้าที่ทาการเก็บขยะอย่างเพียงพอ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติต่อประชาชนด้วยความสุภาพ และ
สามารถ แกป้ ญั หาร้องเรียนเรอื่ งขยะได้เปน็ อย่างดี และมีการกาหนดช่วงเวลาในการใหบ้ ริการเก็บขยะ ใน
ด้านการเก็บรวบรวม และการขนส่ง มีการกาหนดเส้นทางการจัดเก็บขยะครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี จัดเก็บขยะ
ตรงเวลาและสม่าเสมอ มีการ กาหนดเวลาและจานวนเท่ียวรถเก็บขยะ และมีการตรวจสอบและจัดเก็บ
ขยะที่ตกหล่นจากการขนย้ายไปกาจัด และ สุดท้ายในด้านการกาจัดขั้นสุดท้าย มีสถานท่ีทาลายขยะมูล
ฝอย มีการกาจัดขยะถูกสุขลักษณะ มีการแปรสภาพขยะมูลฝอยเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ด้านอ่ืน และมีการ
แยกทาลายตามลกั ษณะของขยะ สาหรับปัญหาและขอ้ เสนอแนะ ของประชาชนตอ่ การบริหารจัดการขยะ
มูลฝอย พบว่ายังมีปัญหาต่างๆในการ จัดการขยะมูลฝอย เช่นปริมาณและลักษณะของขยะมูลฝอย การ
คัดแยกจัดเก็บและขนขยะมูลฝอย ยานพาหนะท่ีใช้ในการเก็บขนขยะมูลฝอย นอกจากน้ียังมีปัญหาด้าน
งบประมาณและบุคลากร ส่วนข้อเสนอแนะในการบรหิ ารจัดการขยะ คอื องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินควร
รณรงค์ให้ประชาชนรู้จักวิธีกาจัดขยะที่ถูกต้อง และวิธีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ควรมี การแปรสภาพขยะ
มูลฝอยเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ด้านอ่ืน ควรเพิ่มช่วงเวลา/เท่ียวรถในการจัดเก็บขยะมูลฝอย และเพ่ิม
งบประมาณ เชน่ งบประมาณด้านบคุ ลากร วสั ดุอุปกรณ์ เปน็ ตน้ และอบรมให้ความร้แู กพ่ นักงาน

นิรันดร์ ย่ิงยวด (2560) การพัฒนาความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะ ผลการวิจัย
ออกแบบและดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะสาหรับนักเรียน
ร่วมกับนักวิจัย ครู และผู้นาชุมชนในลักษณะของฐานการเรียนรู้ จานวน 5 ฐาน ได้แก่ 1) แหล่งท่ีมาของ
ขยะ 2) ประเภทและการคัดแยกขยะ 3) สัญลักษณ์เก่ียวกับขยะ 4) หลักการจัดการขยะ และ 5) ขยะใน
ชีวิตประจาวัน หลังจากการดาเนินการจัดกิจกรรม พบว่า มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะหลังการจัด

36

กิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.001 และมีความตระหนัก
เกี่ยวกับการจัดการขยะหลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมแตกต่างกัน ผลจากการสังเกต
พฤติกรรม พบว่านิสิตนาความรู้การคัดแยกขยะมาประยุกต์ในชีวิตประจาวัน กระบวนการทางานเป็นทีม
การนาประสบการณ์ไปปรบั ใชแ้ ละพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้ทางด้านเกษตร

9. กรอบแนวคิดแนวทำงกำรดำเนนิ กำรขบั เคลือ่ นกำรบรหิ ำรจัดกำรโรงเรียนปลอดขยะ ของสำนกั งำน

เขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเพชรบูรณ์ เขต 1

กระทรวงศกึ ษำธิกำร/สพฐ. สำนกั งำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำ สถำนศึกษำ

-นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร - การกาหนดนโยบาย -การกาหนดนโยบาย
-นโยบาย สพฐ. - การสรา้ งความตระหนัก -การสรา้ งความตระหนกั
(ทเี่ กี่ยวข้องกบั การบริหาร - การดาเนนิ งาน - การดาเนนิ งาน
การสง่ เสริม/สนับสนุน -การส่งเสรมิ /สนบั สนนุ
จัดการขยะ) นิเทศ นเิ ทศ
-การบรหิ ารด้วยวงจรคณุ ภาพ -การกากบั ตดิ ตามและ -การกากบั ตดิ ตามและ
-การบรหิ ารผลการปฏบิ ัติงาน ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
การบรหิ ารจัดการโรงเรียน -การปรับปรงุ การ -การปรับปรุงการ
ปลอดขยะ ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน
-เกณฑ์การประเมินโรงเรยี น -การยกย่องเชิดชเู กียรติ -การยกย่องเชิดชเู กียรติ
ปลอดขยะ
-งานวิจัยทเี่ กีย่ วข้อง

แผนภำพ 2 กรอบแนวคดิ แนวทางการดาเนนิ การขบั เคลอื่ นการบริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

37

บทท่ี 3

วิธีกำรดำเนินกำรวิจยั

การศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ(Zero Waste
School) ของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 มีขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้ันตอนที่ 1 ศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของ
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ข้ันตอนที่ 2 สร้างและตรวจสอบแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ข้ันตอนที่ 3 ประเมินแนวทางการดาเนนิ การขบั เคล่ือนการบรหิ ารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ ของ
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

1.วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาแนวทางและศึกษาสภาพการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงปลอดขยะ ของ

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

2. เคร่อื งมือที่ใชใ้ นกำรวิจัย
แบบสงั เคราะหเ์ อกสาร

3. แหลง่ ขอ้ มูล
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จะศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร

งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องในเร่ืองการบริหารจัดการขยะ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินโครงการประกวดโรงเรียนปลอดขยะและ ผลงานของโรงเรียน
ที่ประสบความสาเร็จ

4. กำรวิเครำะหข์ อ้ มูล
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จะดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง

เน้ือหา

ขั้นตอนท่ี 2 สร้างและตรวจสอบแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 1

1.วตั ถุประสงค์
เพ่ือได้แนวทางในการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

2. เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นกำรวิจยั
แบบตรวจสอบความตรงเชงิ เนอ้ื หา

38

3. ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ งำน
1. ประชุมคณะทางานวิจัยการและสร้างจิตสานึกด้านการจัดการขยะโรงเรียนปลอดขยะ

เพ่ือสังเคราะห์เอกสารผลการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 และโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานท่ีดี ในเรื่องการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ

2. ยกร่างแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

3. จัดส่งร่างแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญจานวน 5 คน เพ่ือตรวจสอบความครอบคลุมของ
โครงสรา้ งเน้อื หา ความเหมาะสมและความตรงเชงิ เนื้อหา ความถกู ต้อง ตามหลกั การบรหิ ารจดั การ และ
ความเป็นไปได้และประโยชน์ โดยผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญ ในด้านการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
หรือผ้ทู ี่มคี วามเช่ยี วชาญในด้านการวิจยั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี้

1) นายอานาจ บุญทรง ข้าราชการบานาญ อดีตผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เป็นผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญในด้านการวิจัยและประเมินผล
การศกึ ษา

2) นายทวีศักดิ์ เดชสองชั้น ข้าราชการบานาญ อดีตผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาล
เพชรบูรณ์ วทิ ยฐานะเช่ยี วชาญ เป็นผู้ทีม่ คี วามเชี่ยวชาญในดา้ นการวิจัยและประเมนิ ผลการศึกษา

3) นายพฤฒสภา แย้มพราย ข้าราชการบานาญ อดีตผู้อานวยการโรงเรียนบ้านยาวี-
ห้วยโปง่ วทิ ยฐานะเช่ยี วชาญ เปน็ ผู้ที่มีความเชย่ี วชาญในด้านการวิจัยและประเมินผลการศกึ ษา

4) นายพิน สงค์ประเสริฐ ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา เป็นผ้ทู ่มี ีความเช่ยี วชาญในดา้ นการวิจัยและประเมนิ ผลการศึกษา

5) นายปราโมทย์ วงค์กาอินทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านยางลาด วิทยฐานะชานาญ
การพิเศษ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการ
บริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ

4. ปรับปรุงร่างแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ตามคาแนะนาของผ้เู ช่ียวชาญ

5. จัดทาคู่มือการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีองค์ประกอบ ส่วนที่ 1 บทนา ประกอบด้วยความเป็นมา
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย นิยามศัพท์เฉพาะ ส่วนท่ี 2 แนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ มีทั้งหมด 5 ข้ันตอน ข้ันตอนที่ 1 การกาหนดนโยบาย ข้ันตอนที่ 2 การสร้างความรู้ความ
เข้าใจ ขั้นตอนที่ 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ขั้นตอนท่ี 4 การบริหารจัดการขยะ ขั้นตอนท่ี 5
การประเมินผลการดาเนินงาน และส่วนท่ี 3 การพิจารณาคัดเลือกเพ่ือรับรางวัลโรงเรียนปลอดขยะ
ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ประเภทขนาดสถานศึกษาท่ีเข้ารับการคัดเลือก รางวัล
เกยี รติบตั ร และเกณฑก์ ารพจิ ารณาคัดเลอื ก

39

ขน้ั ตอนที่ 3 ประเมินแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณเ์ ขต 1

1.วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ประเมนิ หาคุณภาพของค่มู ือแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของ

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

2. ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน
ส่งคู่มือการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ให้ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อานวยการโรงเรียน รอง
ผู้อานวยการโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จานวน 126 คน ประเมินแนวทาง ประกอบด้วยประเด็นด้าน
ดา้ นความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์

3. เครอ่ื งมอื
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับการวิจัยครั้งน้ี คือแบบประเมินหาคุณภาพของ

คู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
4. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล

แบบการหาประสิทธิภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย
และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน เปน็ รายข้อ และนาเสนอเป็นตารางประกอบการบรรยาย โดยใชเ้ กณฑ์การ
แปลผล ระดับเกณฑ์การวเิ คราะห์ข้อมลู Best (กนกวรรณ กาญจนวงศ์.2558) ดังนี้

คะแนนเฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมายถงึ มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสม
ความเป็นไปไดแ้ ละเป็นประโยชน์ มากที่สดุ

คะแนนเฉล่ยี 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามถูกตอ้ งเหมาะสม
ความเปน็ ไปได้และเปน็ ประโยชนม์ าก

คะแนนเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความถกู ต้องเหมาะสม
ความเปน็ ไปไดแ้ ละเปน็ ประโยชนป์ านกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มคี วามถูกตอ้ งเหมาะสม
ความเปน็ ไปไดแ้ ละเปน็ ประโยชนน์ ้อย

คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความถกู ต้องเหมาะสม
ความเป็นไปไดแ้ ละเปน็ ประโยชน์นอ้ ยที่สุด

40

บทที่ 4
ผลกำรดำเนินงำนวิจัย

ผลการศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของ
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ประกอบดว้ ย 3 ประเดน็ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ผลจากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เก่ียวข้องในเร่ืองการบริหารจัดการขยะ เอกสารเกณฑ์
การพิจารณาตัดสินโครงการประกวดโรงเรียนปลอดขยะ(Zero Waste School) นโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และผลงานของโรงเรียนท่ีประสบความสาเร็จ สรุปได้ว่า มีหลักการ
และข้ันตอนการดาเนนิ งานท่ีสาคัญ ดงั น้ี

ตำงรำงท่ี 4 แบบการสังเคราะห์แนวทางการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

สพฐ. เก วมิ ลชญาน์ มาลยั นิรันดร์ รร.บา้ น รร.บ้าน

แนวทางการบรหิ ารจดั การขยะ ประเสรฐิ สถิตสุนทร เอยี่ ม ยิ่งยวด วงั โค้ง ยางลาด
สังข์ พันธ์ (2563) จาเรญิ (2560)

(2561) (2557)

ขอ้ 1 การกาหนดนโยบาย /- / --//

ข้อ 2 การสร้างความเขา้ ใจ // / ////

ข้อ 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม // / ////

ขอ้ 4 การบริหารจดั การขยะ // - -///

ข้อ 5 การประเมนิ ผลการดาเนินงาน // - --//

ขอ้ 6 ส่งเสริมให้โรงเรยี นดาเนินการ /- - ----

กิจกรรม 1A3R ลดขยะ

ในสถานศึกษา

ข้อ 7 การดาเนนิ การจัดทาธนาคาร -/ - --//

ขยะโรงเรียน

ข้อ 8 จัดให้มีการทาบนั ทึกขอ้ ตกลง MOU / - / ---/

การดาเนินการจัดการขยะ ในระดับ

สถานศึกษากับหนว่ ยงานและชุมชน

ใหเ้ ปน็ โรงเรียนปลอดขยะ

41

จำกตำรำงท่ี 4 สรุปได้ว่าแนวทางการดาเนินการบริหารจัดการขยะในสถานศึกษาท่ีประสบ
ความสาเร็จและสอดคลอ้ งกบั หลักการดาเนนิ งาน มี 5 องคป์ ระกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 กำรกำหนดนโยบำย ในการดาเนินการกาหนดโนบายในการบริหารจัดการ
ขยะ มีกระบวนการในการดาเนินการโดยมีการกาหนดนโยบายและการส่ือสารนโยบายของผู้บริหารภาย
ในโรงเรียน การสนับสนุนของผู้บริหารโรงเรียน มีแผนการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ และจัดให้มี
การทาบันทึกข้อตกลง MOU การดาเนินการจัดการขยะในระดับสถานศึกษากับหน่วยงานและชุมชนให้
เปน็ โรงเรียนปลอดขยะ

องค์ประกอบที่ 2 กำรสร้ำงควำมเข้ำใจ ในการสร้างความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะ
มีกระบวนการในการดาเนินการโดยมีกระบวนการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจทั้งภายในและ
นอกโรงเรียน การพัฒนาครูบุคลากรเพื่อนาไปสู่การส่งเสริมโรงเรียนปลอดขยะ กระบวนการส่งเสริม
การสร้างวินัยและความรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ผู้เรียนและบุคลากรในโรงเรียน บูรณา
การหลักสูตรการเรียนการสอนและสง่ เสริมให้มีจุดเรยี นร้แู ละแหล่งเรยี นรูใ้ นโรงเรยี น

องค์ประกอบที่ 3 กำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
ขยะ มีกระบวนการในการดาเนินการโดยการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนเพ่ือ
ดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ และการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆภายนอกโรงเรียนเพื่อดาเนินการใน
การบริหารจดั การขยะในโรงเรยี น

องค์ประกอบท่ี 4 กำรบริหำรจัดกำรขยะ ในการบริหารจัดการขยะ มีกระบวนการในการ
ดาเนินการโดยมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรียนปลอดขยะ โดยใช้หลัก A3R คือ มีการจัด
กิจกรรมการหลีกเลี่ยงหรืองด (Avoid) ใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจัด
กิจกรรมการลดปรมิ าณขยะมูลฝอยตัง้ แต่ต้นทาง (Reduce) การใช้ซา้ (Reuse) และการนากลบั มาใช้ใหม่
(Recycle) รวมถึงส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะย่อยสลาย
ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริม
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และมีนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย
ของโรงเรยี น

องค์ประกอบที่ 5 กำรประเมินผลกำรดำเนนิ งำน ในการประเมินการดาเนินงาน มีกระบวนการ
ในการดาเนินการโดยมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานกระบวนการบริหารจัดการขยะ
ในโรงเรียน และการประเมินผลกระบวนการส่งเสริมการสร้างวินัยในการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ผู้เรียน
ครูและบุคลากรในโรงเรียน

ตอนที่ 2 ผลการสร้างและตรวจสอบแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ผลการศึกษาเอกสารและแนวทางการดาเนนิ การขับเคล่ือนบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ขั้นตอนการดาเนินงานโรงเรียนท่ีประสบผลสาเร็จ นาจัดทาร่างแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
มีข้ันตอนการดาเนนิ งาน ดงั น้ี


Click to View FlipBook Version