The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 59

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-18 23:27:51

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 59

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 59

ISSN 1685-0408

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร

จงั หวดั อำนาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตุลาคม – ธันวาคม 2559

สำนกั งานสถติ จิ ังหวดั อำนาจเจริญ
สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร

จังหวัดอำนาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตลุ าคม – ธนั วาคม 2559

สำนกั งานสถติ จิ งั หวัดอำนาจเจริญ
สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

หน่วยงานเจา้ ของเรอ่ื ง สำนักงานสถิติจังหวดั อำนาจเจริญ
ศาลากลางจงั หวัดอำนาจเจรญิ ชั้น 3
หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่ อ.เมืองอำนาจเจรญิ จ.อำนาจเจริญ 37000
โทรศัพท์ 0 4552 3040
ปีท่ีจดั พมิ พ์ โทรสาร 0 4552 3120
จดั พมิ พ์โดย ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

สำนักสถติ พิ ยากรณ์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชน้ั 2
ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 0 2143 1323 ต่อ 17496
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

2560
สำนักงานสถิติจงั หวดั อำนาจเจรญิ

คำนำ

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้เร่ิมจดั ทำโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2506
ในช่วงปี พ.ศ. 2514-2526 ได้ทำการสำรวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเป็นการสำรวจนอกฤดูการเกษตรระหว่าง
เดือนมกราคมถึงเดอื นมีนาคมรอบท่ี 2เปน็ การสำรวจในฤดกู ารเกษตรระหว่าง เดอื นกรกฎาคมถงึ เดือนกนั ยายน
และช่วงปี พ.ศ. 2527-2540 ทำการสำรวจเป็นปีละ 3รอบ คือ รอบท่ี 1 สำรวจในเดือนกุมภาพันธ์ รอบท่ี 2
สำรวจในเดือนพฤษภาคม รอบท่ี 3 สำรวจในเดือนสิงหาคม และช่วงปี พ.ศ. 2541-2543 ทำการสำรวจ
เพิม่ ขน้ึ อกี 1 รอบ เปน็ รอบที่ 4 ในเดอื นพฤศจิกายน ซึ่งทำให้ได้ข้อมูลเปน็ รายไตรมาส

ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป การสำรวจโครงการน้ีได้จัดทำเป็นรายเดือนทุกๆ เดือนส่วนการ
เสนอผลการสำรวจน้ัน ในปี พ.ศ. 2544 นำเสนอผลทุกเดือนตั้งแต่เดือนกุมภาพันธถ์ ึงเดือนธันวาคม โดยเอา
ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจคร้งั ละ 3 เดือน มาประมวลผลและหาค่าเฉลี่ยเคลอ่ื นที่ (ค่าเฉล่ียเคล่อื นท่ี 3 เดือน)
ซ่ึงผลของการสำรวจจะสะท้อนถึงค่าประมาณของเดือนที่อยู่กลางคาบเวลาสำรวจน้ันๆ และการเสนอผล
ต้ังแต่ พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป จะนำเสนอปีละ 4 ฉบับเป็นรายไตรมาส สำหรับผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลเป็นราย
เดอื น ในลกั ษณะเดมิ ยงั สามารถติดต่อขอข้อมลู ไดท้ ีส่ ำนกั งานสถติ ิจงั หวัด

สำหรับรายงานฉบับน้ี เป็นการเสนอผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาสท่ี 4 :
ตลุ าคม – ธันวาคม 2559 ของจงั หวดั อำนาจเจริญ ท่ีได้ดำเนินการสำรวจระหว่างเดือนตุลาคม –ธนั วาคม 2559
เน่ืองจากข้อมูลที่นำเสนอในรายงานฉบับน้ีได้มาจากการสำรวจด้วยระเบียบวิธีตัวอย่างซึ่งอาจจะมีความ
คลาดเคลอื่ นจากการเลอื กตวั อย่างและความคลาดเคลอ่ื นอื่นๆ รวมอยู่ดว้ ย จึงขอให้ผู้ใช้ข้อมลู ได้คำนึงถึงเรอ่ื งนี้
ในการใช้ตวั เลขด้วย

บทสรุปสำหรบั ผู้บริหาร

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือ จงั หวัดอำนาจเจริญ มีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป
เศรษฐกิจและสังคม ดำเนินการสำรวจภาวะการทำงาน จำนวน 219,411 คน เป็นผู้ในกำลังแรงงาน 154,423 คน
ของประชากรหรือสำรวจแรงงานอย่างต่อเนื่องเป็น (ประกอบด้วย ผู้มีงานทำ154,083 คนผู้ว่างงาน 341คนและ
ประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ ปี 2506 โดยในช่วงแรก ผู้อยู่นอกกำลังแรงงานอีก 64,988 คน (ประกอบด้วย
สำรวจเพียงปีละ 2 รอบ รอบแรกเป็นการสำรวจนอก ผ้ทู ำงานบ้าน 12,742คน ผู้เรียนหนงั สือ 17,113 คน และ
ฤดูการเกษตร รอบท่ี 2 เป็นฤดูเกษตร ต่อมาในปี 2527 อืน่ ๆ เช่น ชรา พกิ ารจนไมส่ ามารถทำงานได้ 35,133คน)
ถึง 2540 สำรวจปีละ 3 รอบ โดยเพิ่มสำรวจช่วงเดือน
พ ฤ ษ ภ า ค ม เพ่ื อ ดู แ ร ง ง าน ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ าให ม่ เข้ า สู่ 2. ผมู้ งี านทำ
ตลาดแรงงาน และในปี 2541 ไดเ้ พิ่มการสำรวจข้ึนอีก
1 รอบ ในเดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว 2.1 อาชีพ
ผลผลิตก ารเกษ ตร ทำให้เป็น การสำรวจภาวะ
การทำงานของประชากรครบทงั้ 4 ไตรมาสของปี แผนภมู ิ 1 จำนวนผูม้ ีงานทำ จำแนกตามอาชพี ไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2559

สำนัก งาน สถิติจังห วัดอำน าจเจริญ ได้ จำนวน (คน) 95,684
ดำเนินการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรใน 100,000
ไตรมาสที่ 4 เดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2559 ระหว่าง
วนั ที่ 1-12 ของเดือน มีครัวเรือนท่ีตกเป็นตัวอย่างท้ังส้ิน 80,000
840 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนในเขตเทศบาล 480 ครัวเรือน
และนอกเขตเทศบาล 360 ครัวเรือน สำหรับวิธีการ 60,000
เก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ใช้ วิ ธี ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ส ม า ชิ ก ใน
ครัวเรือน ที่ตกเป็นตัวอย่าง ผลการสำรวจทำให้ทราบ 40,000 19,716 6,836 6,836 6,448
ถึงภาวะ การมีงานทำและว่างงานของประชากรใน 20,000 6,379 6,731 2,957 2,496
จังหวัดอำนาจเจริญสรปุ ขอ้ มูลที่สำคัญได้ ดงั นี้ 78 อาชพี
0 1 2 34 5 6
1. ลกั ษณะของกำลังแรงงาน 9

แผนผังการจำแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน 1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ขา้ ราชการระดบั อาวุโส และผจู้ ดั การ
การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาส ท่ี 4 พ.ศ. 2559 2. ผปู้ ระกอบวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ
3. ผูป้ ระกอบวิชาชพี ดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชพี ที่เกีย่ วขอ้ ง
ผู้มีอายุ 15 ปี ขึน้ ไป 4. เสมยี น
219,411 คน 5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด
6. ผปู้ ฏิบตั งิ านที่มีฝมี อื ในด้านการเกษตร และการประมง
ผู้อยใู่ นกำลังแรงงาน ผู้อย่นู อกกำลงั แรงงาน 7. ผู้ปฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝมี อื และธุรกิจอน่ื ๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
(ผู้ท่ีพรอ้ มทำงาน) (ผไู้ ม่พรอ้ มทำงาน) 8. ผปู้ ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครอื่ งจักร และผปู้ ฏบิ ตั ิงานดา้ นการประกอบ
154,423 คน (70.4 %) 64,988 คน (29.6 %) 9. อาชีพขนั้ พ้นื ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ รกิ าร
ผ้มู งี านทำ 154,083 คน
ผ้วู า่ งงาน 341 คน ทำงานบ้าน 12,742 คน สำหรับจำนวนผู้มีงานทำ 154,083 คน ส่วนใหญ่
เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือด้านการเกษตรและการประมง
เรยี นหนังสอื 17,113 คน 95,684 คน รองลงมาเป็นพนกั งานบริการและพนักงาน
ในร้านค้าและตลาด 19,716 คน ผู้ปฏิบัติงานด้าน
อน่ื ๆ 35,133 คน ความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
6,836 คน ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเคร่ืองจักรและ
ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 6,836 คน ที่เหลือเป็น
ผู้ประกอบอาชพี อืน่ ๆ

คน

2.2 อุตสาหกรรม 3. การวา่ งงาน

แผนภมู ิ 2 เปรยี บเทียบจำนวนผู้มงี านทำ จำแนกตามภาคอุตสาหกรรม แผนภมู ิ 3 จำนวนและอตั ราการวา่ งงาน พ.ศ. 2558 - 2559
ทีส่ ำคญั ไตรมาสท่ี 4 พ.ศ. 2558 – 2559
จำนวน (คน) รอ้ ยละ
จำนวน (คน)

120,000 108,009 1200 1,153 0.9
100,000
95,684 0.8
0.7
1000 937 0.8

8 0,000 53,107 58,399 800 722 0.6 0.6
60,000 0.5
600 612 528 0.4
0.4
40,000 0.4

400 0.3 207 0.2 341 0.2 0.3
200 92 0.2
20,000
พ.ศ. 0.1 0.1
0
2559 00
2558
ภาคเกษตรกรรม นอ•กภาคเกษตรกรรม Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4

2558 2559

สำห รับ จำน วน ผู้มีงาน ท ำ 1 54 ,08 3 ค น สำหรับจำนวนผู้วา่ งงานในไตรมาสท่ี 4 พ.ศ.2559
ประกอบด้วย ผู้ทำงานภาคเกษตรกรรม 95,684 คน มีจำนวนท้ังส้ิน 341 คน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงาน

แล ะ น อ ก ภ าค เก ษ ต ร ก รร ม 5 8 ,3 99 ค น เมื่ อ ร้อยละ 0.2 เม่ือเปรียบทียบช่วงเวลาเดียวกันของ
เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2558 พบว่า จำนวน ปี 2558 จำนวนผู้ว่างงานเพ่ิมข้ึน 249 คน (จาก 92 คน
ผู้ทำงานในภาคเกษตรกรรมลดลง 12,325 คน (จาก เป็น 341 คน)

108,009 คน เปน็ 95,684 คน) และผู้ทำงานนอกภาค
เกษตรกรรมเพิ่มขึน้ 5,292 คน (จาก 53,107 คน เป็น

58,399 คน)

สารบญั

คำนำ หนา้

บทสรปุ สำหรบั ผบู้ รหิ าร ค

สารบัญตาราง ง

บทท่ี 1 บทนำ ช
1. ความเป็นมาและวตั ถปุ ระสงค์
1
2. คมุ้ รวม 1
3. สปั ดาห์แห่งการสำรวจ 2
4. คำอธิบายศัพท์ แนวคดิ คำจำกดั ความ 2
2
บทที่ 2 ผลการสำรวจท่ีสำคญั
1. ลกั ษณะของกำลังแรงงาน 7
2. การมสี ว่ นรว่ มในกำลังแรงงาน 7
7
3. ผูม้ ีงานทำ 7
3.1 อาชีพ 7
3.2 อุตสาหกรรม 8
9
3.3 สถานภาพการทำงาน 9
3.4 การศกึ ษา 9

3.5 ชวั่ โมงการทำงาน 10

4. การวา่ งงาน 12
14
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ข ตารางสถิติ

สารบญั ตาราง หนา้

ตาราง ก จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จำนวนและอตั ราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน จำแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จำนวนและรอ้ ยละของผ้มู งี านทำ จำแนกตามอาชพี และเพศ 8
ตาราง ง จำนวนและร้อยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จำนวนและร้อยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ 9
ตาราง ฉ จำนวนและร้อยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามการศกึ ษาท่ีสำเร็จและเพศ 9
ตาราง ช จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามช่ัวโมงการทำงานตอ่ สปั ดาห์และเพศ 10
ตาราง ซ จำนวนและอัตราการว่างงาน จำแนกตามเพศ 10

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการสำรวจ กำหนดนโยบายด้านแรงงานมีมากขนึ้ และเรง่ ดว่ นข้ึน
ภาวะการทำงานของประชากรท่ัวประเทศอย่าง ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เร่ิมดำเนินการสำรวจเป็น
ต่อเน่ืองเป็นประจำทุกปี เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506
โดยในช่วงแรกทำการสำรวจปีละ 2 รอบ และใน รายเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพื่อเสนอ
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทำการสำรวจปีละ ข้อมูลเป็นรายไตรมาส โดยข้อมูลท่ีสำคัญสามารถ
3 รอบ โดยรอบท่ี 1 ทำการสำรวจในเดือนกุมภาพันธ์ นำเสนอในระดับจังหวัด สำหรับข้อมูลของเดือนท่ี
เปน็ ช่วงหน้าแล้งนอกฤดูการเกษตร รอบท่ี 2 สำรวจ
ในเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่กำลังแรงงานใหม่ ตรงกับรอบการสำรวจเดิม คือข้อมูลเดอื นกมุ ภาพันธ์
ที่เพ่ิงสำเร็จการศึกษาเร่ิมเข้าสู่ตลาดแรงงาน รอบที่ พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จัดทำสรุปผลการ
3 สำรวจในเดือนสิงหาคม เป็นช่วงฤดูการเกษตร
และต่อมาใน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ได้เพ่ิมการ สำรวจเฉพาะข้อมูลท่ีสำคัญเพ่อื สามารถเปรยี บเทียบ
สำรวจอีก 1 รอบ รวมเป็น 4 รอบ โดยทำการสำรวจ กับข้อมูลแตล่ ะรอบของปที ่ผี า่ นมาได้ และการสำรวจ
ในเดือนพฤศจิกายนของทกุ ปี ซ่ึงเป็นช่วงฤดูการเก็บ ต้ังแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สามารถ
เกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ท้ังนี้เพื่อเป็นการ
น ำ เส น อ ข้ อ มู ล ที่ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ภ า ว ะ ก า ร มี ง าน ท ำ นำเสนอผลของการสำรวจเป็นรายเดือนทุกเดือนโดย
การว่างงานและการประกอบกิจกรรมต่างๆ ของ ส า ม า ร ถ เส น อ ผ ล ใน ร ะ ดั บ ภ า ค เท่ า น้ั น เน่ื อ ง จ า ก
ประชากรทั้งประเทศเป็นรายไตรมาสและต่อเนื่อง
ครบทุกชว่ งเวลาของปี ตัวอย่างไม่มากพอที่จะนำเสนอในระดับย่อยกว่านี้
และในขณะเดียวกันได้มีการปรับอายุผู้อยู่ในกำลัง
เนื่องจากความจำเป็นต้องการใช้ข้อมูล เพอื่ ใช้ แรงงานจาก 13 ปีข้ึนไปเป็น 15 ปีข้ึนไป เพ่ือให้
ในการวางแผนและกำหนดนโยบายในระดับจังหวดั มี
มากขึ้น สำนักงานสถิติแห่งชาติจึงได้กำหนดขนาด สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุง
ตัวอยา่ งเพิม่ ข้ึนโดยเร่มิ ต้งั แต่ พ.ศ. 2537 ทั้งนเี้ พื่อให้ การจัดจำแนกประเภทของอาชีพ อุตสาหกรรมและ
สามารถนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ
เฉพาะรอบการสำรวจของเดือนกมุ ภาพันธ์และเดือน ส ถ า น ภ า พ ก า ร ท ำ ง า น ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
สิงหาคมเท่าน้ัน การสำรวจรอบท่ี 4 ในเดือน ม าต ร ฐาน ส าก ล ใน ปั จ จุ บั น เพื่ อ ให้ ส าม าร ถ
พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ซ่ึงจัดทำเป็นครั้งแรกได้ เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตการปกครองจาก
เสนอผลในระดับจงั หวดั ด้วยและตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2542
เป็นต้นมา ผลการสำรวจท้ัง 4 รอบได้เสนอผลใน เดิ ม เข ต สุ ข า ภิ บ า ล ถู ก น ำ เส น อ ร ว ม เป็ น น อ ก เข ต
ระดบั จังหวัด เทศบาล มารวมเป็นในเขตเทศบาล เน่ืองจาก

พระราชบัญญัติเปลย่ี นแปลงฐานะของสขุ าภิบาลเป็น
เทศบาล พ.ศ. 2542

วตั ถุประสงค์ที่สำคญั ของการสำรวจภาวะการ

ท ำ ง าน ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร เพื่ อ ป ร ะ ม า ณ จ ำ น ว น แ ล ะ
ลักษณะของกำลังแรงงานภายในประเทศและใน

จังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละไตรมาสของข้อมูลสถิติท่ีได้
จากการสำรวจ

หลังจากเกิดภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจกลางปี 1. จำนวนประชากรในวัยทำงาน (อายุ 15 ปี
2540 ความต้องการใช้ข้อมูลเพ่ือการวางแผนและ ข้ึนไป) และจำนวนประชากรนอกวัยทำงานจำแนก
ตามเพศ

2
2. จำนวนประชากรในวัยทำงาน จำแนก ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอายุขั้นต่ำของ

ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส ประชากรวัยทำงานเป็น 15 ปี

การศึกษาทสี่ ำเรจ็ คำนิยามที่สำคญั ๆ ที่ใชใ้ นการสำรวจ มดี งั น้ี
3. จำนวนผู้มีงานทำ จำแนกตามลักษณะท่ี

น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาที่สำเร็จ อาชีพ ผมู้ ีงานทำ
อุตสาหกรรม สถานภาพการทำงาน ชั่วโมงทำงาน ผู้มีงานทำ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป
คา่ จ้าง เงินเดอื น และผลประโยชน์อื่น ๆ ทีไ่ ด้รับจาก
และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหน่ึง
การทำงาน อยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี
4. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามลักษณะ
1. ได้ทำงานต้ังแต่ 1 ช่ัวโมงขึ้นไป โดยได้รับ
บางประการท่ีน่าสนใจ เช่น ระยะเวลาในการหางานทำ ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่าตอบแทนท่ีมี
งานทที่ ำครงั้ สดุ ท้าย สาเหตุการว่างงาน เป็นต้น
ลกั ษณะอยา่ งอนื่ สำหรับผลงานที่ทำ เปน็ เงินสด หรือ

2. คมุ้ รวม ส่ิงของ
2. ไม่ได้ทำงาน หรือทำงานนอ้ ยกว่า 1 ช่ัวโมง
ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล
และครวั เรือนกล่มุ บุคคลประเภทคนงาน แต่เป็ น บุคคลที่ มีลัก ษ ณ ะ อ ย่างห น่ึงอ ย่างใด
ดงั ต่อไปนี้ (ซ่ึงจะถอื วา่ เปน็ ผู้ทีป่ กติมงี านประจำ)

3. สปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจ 2.1ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ

หมายถึง ระยะเวลา 7 วัน นับจากวนั ก่อนวัน ผลประโยชน์อ่ืนๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจใน
สัมภาษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภาษณ์คือ ระหว่างท่ไี ม่ได้ทำงาน

วนั ที่ 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 “ ระหว่าง 7 วันก่อนวัน 2.2ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
สมั ภาษณ์ ” คือ ระหว่างวนั ที่ 2 ถึง วันที่ 8 ตุลาคม
พ.ศ. 2559 ผลประโยชนอ์ ืน่ ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกจิ ใน
ระหว่างท่ีไม่ได้ทำงาน แต่ยังมีงานหรือธุรกิจที่จะ
กลบั ไปทำ

4. คำอธิบายศัพท์/แนวคิด/คำจำกัดความ 3. ทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ
ค่ า จ้ า ง ใน วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ไ ร่ น า เก ษ ต ร ข อ ง หั ว ห น้ า
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุงแนวคิด
และคำนิยามท่ีใช้ในการสำรวจภาวะการทำงานของ ครัวเรอื นหรือของสมาชิกในครวั เรอื น

ประชากรหลายครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ ผ้วู ่างงาน
สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จรงิ ทางสงั คมและเศรษฐกิจ ผู้ว่างงาน หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้น
ของประเทศตลอดจนความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล
ไป และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหนึ่ง
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก า ร อยา่ งใด ดังต่อไปน้ี
แรงงาน ระ ห ว่ างป ระ เท ศ (ILO) กั บ องค์ ก าร
1. ไม่ได้ทำงานและไม่มีงานประจำ แต่ได้หา

สหประชาชาติ (UN) แนวคิดและคำนิยามที่ใช้ใน งาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหว่าง 30 วัน
การสำรวจไตรมาสนี้ ได้เร่ิมใช้มาต้ังแต่รอบที่ 1 ก่อนวนั สัมภาษณ์
พ.ศ. 2526 มีการปรับปรุงบ้างตามลำดับ และตั้งแต่
2. ไม่ไดท้ ำงานและไม่มีงานประจำ และไม่ได้
หางานทำในระหว่าง 30 วันก่อนวันสัมภาษณ์ แต่

พรอ้ มทจ่ี ะทำงานในสปั ดาห์แห่งการสำรวจ

3 7. ทำงานให้แก่องค์การ หรือสถาบันการ

กำลงั แรงงานปจั จบุ ัน
กำลังแรงงานปัจจุบัน หมายถึง บุคคลท่ีมี กุศลต่างๆ โดยไม่ได้รับค่าจ้างผลกำไรส่วนแบ่งหรือ
อายุ 15 ปีขึ้นไป ซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีงาน สงิ่ ตอบแทนอย่างใด
8. ไม่พร้อมท่จี ะทำงาน เนื่องจากเหตุผลอ่นื
ทำหรือวา่ งงาน ตามคำนิยามท่ีไดร้ ะบุข้างต้น

กำลังแรงงานทีร่ อฤดูกาล งาน
กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล หมายถงึ บคุ คลท่ี งาน หมายถึง กจิ การท่ีทำท่ีมีลกั ษณะอย่าง

มีอายุ 15 ปีขึน้ ไป ในสปั ดาห์แห่งการสำรวจเป็นผ้ไู ม่ หนงึ่ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปน้ี
เข้าข่ายคำนิยามของผู้มีงานทำ หรือผู้ว่างงาน แต่
เป็นผู้รอฤดูกาลที่เหมาะสมเพื่อท่ีจะทำงาน และเป็น 1. กิจการท่ีทำแล้วได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน
บุคคลท่ีตามปกติจะทำงานท่ีไม่ได้รับส่ิงตอบแทนใน หรือส่ิงของ ค่าตอบแทนที่เป็นเงิน อาจจ่ายเป็น
ไร่นาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทำกิจกรรมตามฤดูกาล รายเดือน รายสปั ดาห์ รายวัน หรือรายชิน้
โดยมีหัวหน้าครัวเรือน หรือสมาชิกคนอื่น ๆ ใน
ครัวเรือนเป็นเจา้ ของหรือผู้ดำเนนิ การ 2. กิจการท่ีทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังท่ีจะ
ไดร้ บั ผลกำไร หรอื ส่วนแบง่ เปน็ การตอบแทน
กำลังแรงงานรวม
กำลงั แรงงานรวม หมายถึง บุคคลทกุ คนทีม่ ี 3. กิจการที่ทำให้กับธุรกิจของสมาชิกในครัวเรือน
โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือผลกำไรตอบแทนอย่างใดซึ่ง
อายุ 15 ปีขึ้นไป ในสัปดาห์แห่งการสำรวจเป็นผู้อยู่ สมาชิกใน ครัวเรือน ที่ประกอบธุรกิจนั้นจะมี
ในกำลังแรงงานปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจำแนกอยู่ สถานภาพการทำงาน เป็นประกอบธุรกิจส่วนตัว
ในประเภทกำลังแรงงานที่รอฤดูกาลตามคำนิยามที่ หรือนายจ้าง
ไดร้ ะบุข้างตน้
อาชพี
ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงาน อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานท่ี
ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน หมายถึง บุคคลท่ี
บคุ คลน้ันทำอยู่ บุคคลสว่ นมากมอี าชีพเดียว สำหรับ
ไ ม่ เข้ า ข่ า ย ค ำ นิ ย าม ข อ ง ผู้ อ ยู่ ใน ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ใน บุคคลท่ีในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอาชีพมากกว่า
สปั ดาหแ์ หง่ การสำรวจ คอื 1 อาชีพให้นับอาชีพที่มีช่ัวโมงทำงานมากท่ีสุด
ถ้าช่ัวโมงทำงานแต่ละอาชีพเท่ากันให้นับอาชีพที่มี
บุคคลซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอายุ 15 รายได้มากกว่า ถ้าชั่วโมงทำงานและรายได้ท่ีได้รับ
ปีข้ึนไป แต่ไม่ได้ทำงาน และไม่พร้อมที่จะทำงาน จากแต่ละอาชีพ เท่ากัน ให้นับอาชีพ ท่ีผู้ตอ บ
เนื่องจากเป็นผ้ทู ี่ สัมภาษณ์พอใจมากท่ีสุด ถ้าผู้ตอบสัมภาษณ์ตอบ
ไม่ได้ให้นับอาชีพท่ีได้ทำมานานที่สุด การจัดจำแนก
1. ทำงานบ้าน ประเภทอาชีพ ตง้ั แต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรบั ใช้
2. เรียนหนังสอื ต า ม International Standard Classification
3. ยงั เดก็ เกนิ ไป หรือชรามาก of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์การ
4. ไม่สามารถทำงานได้ เน่ืองจากพิการ แรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO)
ทางรา่ งกายหรอื จิตใจ หรอื เจ็บปว่ ยเรื้อรัง
5. ไมส่ มัครใจทำงาน ก่อน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอาชีพจำแนก
6. ทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ผลกำไร ตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของประเทศไทย
ส่วนแบ่ง หรือสิ่งตอบแทนอื่น ๆ ให้แก่บุคคลซึ่งมิได้ โดยอ้างอิง International Standard Classification
เป็นสมาชกิ ในครัวเรือนเดยี วกัน of Occupation, 1988 (ISCO – 88)

4

อตุ สาหกรรม ลูกจา้ งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

อุตสาหกรรม หมายถึง ประเภทของกิจกรรม 4.1 ลูกจ้างรัฐบาล หมายถึง ข้าราชการ

ทางเศรษฐกิจท่ีได้ดำเนินการโดยสถานประกอบการ พนักงานเทศบาล พนักงานองค์การบริหารส่วน

ที่บุคคลน้ันกำลังทำงานอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ จังหวัด ตลอดจนลูกจ้างประจำ และช่ัวคราวของ

ซึ่งบุคคลน้ันได้ดำเนินการอยู่ในสัปดาห์แห่งการ รฐั บาล

สำรวจ ถ้าบุคคลหน่ึงมีอาชีพมากกว่าหน่ึงอย่าง 4.2 ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ หมายถึง ผู้ที่

ให้บันทึกอุตสาหกรรมตามอาชีพท่ีบันทึกไว้ การจัด ทำงานให้กับหนว่ ยงานรัฐวสิ าหกิจ
จำแนกประเภทอุตสาหกรรม ต้ังแต่ไตรมาสที่ 1
พ .ศ. 2554 ปรั บ ใช้ ตาม Thailand Standard Industrial 4.3 ลูกจ้างเอกช น หมายถึง ผู้ที่
ทำงานให้กบั เอกชน หรือธรุ กิจของเอกชน รวมทัง้ ผูท้ ่ี
Classification, (TSIC 2009)
รบั จา้ งทำงานบ้าน

กอ่ น พ.ศ. 2553 การจดั ประเภทอตุ สาหกรรม 5. การรวมกลุ่ม หมายถึง กลุ่มคนท่ีมา
จำแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม ร่วมกันทำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพ่ึงตนเอง และ

ของประเทศไทย โดยอ้างองิ International Standard ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความ
Industrial Classification of All Economic เท่าเทียมกันในการกำหนดการทำงานทุกขั้นตอนไม่
Activities, (ISIC : 1989) วา่ เป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการท่ีทำ

สถานภาพการทำงาน ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน
สถานภาพการทำงาน หมายถึง สถานะของ (การรวมกลมุ่ ดงั กล่าวอาจจดทะเบยี นจัดตงั้ ในรูปของ
สหกรณห์ รอื ไมก่ ไ็ ด้)
บุคคลท่ีทำงานในสถานที่ที่ทำงานหรือธุรกิจ แบ่ง
ออกเป็น 5 ประเภท คือ การจัดจำแนกประเภทสถานภาพการทำงาน
ตั้งแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตาม International
1. นายจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Classification of Status in Employment, 1993
ตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้าง (ICSE – 93) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
บุคคลอ่ืนมาทำงานในธรุ กิจในฐานะลูกจ้าง (ILO) มีสถานภาพการทำงานเพ่ิมข้ึนอีก 1 กลุ่มคือ

2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม (Member of Producers’

หมายถงึ ผปู้ ระกอบธุรกิจของตนเองโดยลำพังผู้เดียว Cooperative)

หรืออาจมีบุคคลอ่ืนมาร่วมกิจการด้วยเพ่ือหวังผล
กำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้างลูกจ้างแต่อาจมี ชั่วโมงทำงาน
สมาชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงานมาช่วยทำงานโดย
ไม่ไดร้ ับคา่ จ้าง หรอื ค่าตอบแทนอย่างอืน่ สำหรับงาน ช่ัวโมงทำงาน หมายถึง จำนวนชั่วโมง
ที่ทำ ทำงานจริงท้งั หมด ในสปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจ สำหรับ
บุคคลท่ีมีอาชีพมากกว่าหน่ึงอาชีพ ชั่วโมงทำงาน
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ หมายถึง ยอดรวมของชั่วโมงทำงานทุกอาชีพ

ค่าจ้าง หมายถึง ผู้ท่ีช่วยทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง สำหรบั ผู้ท่ีมงี านประจำซึ่งไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่ง

ในไรน่ าเกษตร หรือในธุรกิจของสมาชกิ ในครวั เรือน การสำรวจให้บนั ทกึ จำนวนชั่วโมงเป็น 0 ชว่ั โมง

4. ลูกจ้าง หมายถึง ผู้ที่ทำงานโดยได้รับ การสำรวจก่อนปี พ.ศ. 2544 ผู้ทมี่ ีงานประจำ
ค่าจ้างเป็นรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน รายชิ้น ซ่ึงไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ให้นับ
หรือเหมาจ่าย ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการทำงาน จำนวนช่ัวโมงทำงานปกติต่อสัปดาห์เป็นชั่วโมง
อาจจะเป็นเงิน หรอื สิ่งของ
ทำงาน

5 ได้จำแนกการศึกษาตามระดับการศึกษาท่ี

รายไดข้ องลูกจา้ ง
รายได้ของลูกจา้ ง หมายถึง รายได้ของผู้ท่ีมี สำเร็จดงั นี้

สถานภาพการทำงานเปน็ ลูกจ้าง ที่ได้รับมาจากการ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลท่ีไม่เคย
ทำงานของอาชีพที่ทำในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ซึ่ง เขา้ ศกึ ษาในโรงเรียน หรอื ไม่เคยไดร้ ับการศกึ ษา
ประกอบด้วยค่าจ้างและผลประโยชน์ตอบแทนอ่ืนๆ
สำหรบั ลกู จ้าง 2. ต่ำกว่าประถมศึกษา หมายถึง บุคคลท่ี
สำเร็จการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถมปีท่ี 6 หรือ
ระยะเวลาของการหางานทำ ชัน้ ประถมปีที่ 7 หรือช้ัน ม.3 เดิม
ระยะเวลาของการหางานทำ หมายถึง
3. สำเร็จประถมศึกษา หมายถึง บุคคลที่
ระยะเวลาที่ผู้ว่างงานได้ออกหางานทำ ให้นับตั้งแต่ สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 6 หรือช้ัน
วนั ที่เริม่ หางานทำจนถงึ วนั สดุ ท้ายกอ่ นวันสัมภาษณ์ ประถมปีที่ 7 หรือชั้น ม.3 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จ
ระดับการศกึ ษาทีส่ ูงกว่า
คาบการแจงนบั
คาบการแจงนับ หมายถึง ระยะเวลาที่ 4. สำเร็จมัธยมศึกษาตอนต้น หมายถึง
บุคคลท่ีสำเร็จการศึกษาตั้งแต่ชั้น ม.3 ม.ศ.3 หรือ
พนกั งานออกไปสมั ภาษณบ์ ุคคลในครวั เรือนตัวอย่าง ม.6 เดิมข้นึ ไป แต่ไมส่ ำเร็จระดบั การศกึ ษาท่สี ูงกวา่
ซ่งึ โดยปกตเิ ปน็ วันที่ 1 - 12 ของทกุ เดือน

ประเภทของครัวเรือนท่ีอยใู่ นขอบข่ายการสำรวจ 5. สำเร็จมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ครัวเรือนที่อยู่ในขอบข่ายการสำรวจแบ่งได้ 5.1 สายสามัญ หมายถึง บุคคลท่ี

เป็น 2 ประเภท คอื สำเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาต้ังแต่ช้ัน ม.6
ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย การศึกษาทส่ี งู กวา่
ครวั เรือนหนึง่ คน คือ บคุ คลเดยี วซึง่ หงุ หาอาหารและ
จัดหาสิ่งอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การครองชีพโดย 5.2 อาชีวศึกษา หมายถึง บุคคลท่ี
ไม่เก่ียวกับผู้ใดซ่ึงอาจพำนักอยู่ในเคหสถานเดียวกัน สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชีพที่
หรือครัวเรือนที่มีบุคคลต้ังแต่สองคนข้ึนไปร่วมกัน เรียนต่อจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
จัดหา และใช้ส่ิงอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การครอง โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จระดับ
ชีพร่วมกัน ครัวเรือนส่วนบุคคลอาจอาศยั อยู่ในเคหะ การศึกษาทสี่ ูงกวา่
ท่ีเป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ห้องชุด เรือแพ

เป็นตน้ 5.3 วิชาการศึกษา หมายถึง บุคคลที่

2. ครัวเรือนกล่มุ บุคคล สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา (การฝึกหัด
2.1 ประเภทคนงาน ได้แก่ ครัวเรือน ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้น

ซ่งึ ประกอบด้วย บคุ คลหลายคนอยกู่ ินร่วมกันในทอี่ ยู่ ไปแต่ไม่สำเรจ็ ระดบั การศกึ ษาทสี่ ูงกวา่

แห่งหนึง่ เชน่ ทพี่ กั คนงาน เปน็ ต้น 6. อดุ มศกึ ษา

2.2 ประเภทสถาบัน ซึ่งหมายถึง 6.1 สายวิชาการ หมายถึง บุคคลท่ี

บคุ คลหลายคนอยู่ร่วมกันในสถานที่อยู่แห่งหนง่ึ เช่น สำเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาหรือสาย
สถานที่กักกัน วัด กรมทหาร โดยไม่แยกที่อยู่เป็น วิชาการ โดยได้รับวุฒิ บัตรระดับอนุปริญ ญ า
สดั ส่วนเฉพาะคนหรือเฉพาะครัวเรือน นักเรยี นท่ีอยู่ ปรญิ ญาตรี โท เอก
ประจำที่โรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น

ไม่อย่ใู นคุ้มรวมของการสำรวจน้ี 6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลที่

ระดบั การศกึ ษาท่สี ำเร็จ สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา หรือสาย

6
วิชาชีพท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือ อาชีวศึกษาที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ

เทียบเท่าอนปุ รญิ ญา ปรญิ ญาตรี ประกาศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสำเร็จการศึกษา

6.3 สายวิชาการศึกษา หมายถึง พื้นความรู้ของผู้เข้าเรียนได้กำหนดให้แตกต่างตาม
บคุ คลที่สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา และ วิชาเฉพาะแต่ละอย่างที่เรียน แต่อย่างต่ำต้องจบ
ไดร้ บั ประกาศนียบัตรระดับอนปุ ริญญาและปรญิ ญาตรี
ประถมปที ี่ 4 หรอื เทยี บเทา่

8. อ่ืน ๆ หมายถึง บุคคลที่สำเร็จการศึกษา

ที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้

7. อาชีวศึกษาระยะสั้น หมายถึง บุคคลที่
สำเร็จก ารศึก ษ าห รือก ารฝึก อบ รม ป ระ เภ ท

บทที่ 2
สรุปผลการสำรวจ

1. ลักษณะของกำลังแรงงาน ตาราง ข จำนวนและอตั ราการมสี ่วนร่วมในกำลังแรงงาน

ผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรใน จำแนกตามเพศ หน่วย : คน
ไตรมาสท่ี 4 : ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2559 พบว่า จังหวัด
อำนาจเจริญ มีจำนวนประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป เพศ ประชากร ผู้อยใู่ นกำลงั อตั ราการมสี ว่ นรา่ ม
อายุ 15 ปีขน้ึ ไป แรงงาน ในกำลงั แรงงาน
จำนวน 219,411 คน ซ่ึงอยู่ในกำลังแรงงานจำนวน
154,423 คน คิดเป็นร้อยละ 70.4 ของประชากรอายุ ยอดรวม 219,411 154,423 70.4

15 ปีขึ้นไป ผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน จำนวน 64,988 คน ชาย 106,345 83,452 78.5
หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.6 หญงิ 113,066 70,971 62.8

ตาราง ก จำนวนและรอ้ ยละของประชากร จำแนกตาม หมายเหตุ : อัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน = กำลังแรงงาน X 100
ประชากรทีม่ ีอายุ 15 ปีข้ึนไป
สถานภาพแรงงาน และเพศ
หน่วย : คน 3. ผูม้ ีงานทำ
3.1 อาชพี
สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญท่ีมีงานทำ
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
จำนวน 154,083 คน นัน้ พบวา่ เปน็ ชายจำนวน 83,285
ผู้มอี ายุ 15 ปีข้ึนไป 219,411 100.0 106,345 100.0 113,066 100.0
คน และหญิงจำนวน 70,797 คน คิดเป็นร้อยละ 54.1
1. ผอู้ ยูใ่ นกำลังแรงงาน 154,423 70.4 83,452 78.5 70,971 62.8
และ 45.9 ของจำนวนผูม้ ีงานทำ
1.1กำลังแรงงานปัจจุบัน 154,423 70.4 83,452 78.5 70,971 92.8
สำหรับอาชีพของผู้มีงานทำ ผลการสำรวจ
1.1.1 ผ้มู งี านทำ 154,083 70.2 83,285 78.3 70,797 92.6 ป ราก ฎ ว่ าส่ว น ให ญ่ เป็ น ผู้ป ฏิ บั ติ งาน ท่ี มี ฝีมื อ ใน
ด้านการเกษตรและการประมง จำนวน 95,684 คน หรือ
1.1.2 ผู้ว่างงาน 341 0.2 167 0.2 173 0.2 คิดเป็นร้อยละ 62.1 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ
ชายร้อยละ 65.5 หญิงร้อยละ 58.0 รองลงมาเป็น
1.2 ผทู้ ่ีรอฤดกู าล -- -- -- พ นั ก ง าน บ ริ ก าร แ ล ะ พ นั ก ง าน ใน ร้ า น ค้ าแ ล ะ ต ล า ด
มจี ำนวน 19,716 คน หรอื คดิ เป็นร้อยละ 12.8 โดยหญิง
2.ผู้ไม่อย่ใู นกำลงั แรงงาน 64,988 29.6 22,893 21.5 42,095 37.2 มีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 18.3 และชาย
ร้อยละ 8.1 ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและ
2.1 ทำงานบ้าน 12,742 5.8 - - 12,742 11.3 ธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน 6,836 คน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 4.4 โดยชายมสี ดั ส่วนสูงกว่าหญงิ คือชายรอ้ ยละ8.2
2.2 เรียนหนงั สือ 17,113 7.8 8,101 7.6 9,012 8.0 และหญิงร้อยละ 2.3 ผปู้ ฏิบัติการโรงงานและเคร่ืองจักร
และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ มีจำนวน 6,836 หรือ
2.3 อืน่ ๆ 35,133 16.0 14,792 13.9 20,341 18.0 คิดเป็นร้อยละ 4.4 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
หญิงร้อยละ 4.7 และชายร้อยละ 4.2 ที่เหลือเป็น
2. การมสี ว่ นร่วมในกำลังแรงงาน ผปู้ ระกอบอาชีพอ่ืนๆ ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชพี ด้านต่างๆ
ผ้ปู ระกอบอาชีพขัน้ พนื้ ฐานต่างๆ ในด้านการขายและการ
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญอยู่ในกำลัง ใหบ้ ริการ ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโสและ
ผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และ
แรงงานทั้งสิ้น จำนวน 154,423 คน เป็นชายจำนวน อาชีพที่เก่ยี วข้องและเสมยี น

83,452 คน และหญิงจำนวน 70,971 คน หรือคิดเป็น

ร้อยละ 54.0 และ 46.0 ของจำนวนผู้อยใู่ นกำลังแรงงาน

ตามลำดบั

สำหรับอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน
ซึง่ หมายถึง ร้อยละของประชากรท่ีอยู่ในกำลังแรงงาน
(ประกอบด้วยผู้มีงานทำ ผู้ว่างงาน และผู้ท่ีรอฤดูกาล)
ต่อประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่าจังหวัดอำนาจเจริญ
มีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน ร้อยละ 69.2
โดยชายมีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานสูงกว่า
หญงิ คือ ชายรอ้ ยละ 76.0 และหญิง รอ้ ยละ 62.8

8

ตาราง ค จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม อุตสาหกรรมและเพศ หนว่ ย : คน

อาชพี และเพศ หน่วย : คน รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
รวม ชาย หญงิ อตุ สาหกรรม
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
อาชพี ยอดรวม 315447,08935 100.0 1839,32,8950 100.0 7105,37,9179 100.1000.0
ภาคเกษตร 98,276 63.8 56,9953 68.4 41,2803 58.3
100ย.0อดรวม 134574,09853 100.0 18393,2,8950 100.0 17503,,71997 100.0
1 6,379 4.1 4,5557 5.5 0 1,823 2.6 1 98,276 63.8 56,993 68.4 41,283 58.3

2 6,731 4.4 1,855 2.2 4,875 6.9 นอกภาค 55,806 36.2 26,292 31.6 29,514 41.7
เกษตร
3 2,957 1.9 1,366 1.6 1,592 2.2
2 8,512 5.5 3,447 4.1 5,065 7.2
4 2,496 1.6 727 0.9 1,769 2.5
3 3,421 2.2 2,961 3.6 460 0.6
5 19,716 12.8 6,737 8.1 12,979 18.3
4 17,867 11.6 7,349 8.8 10,518 14.9
6 95,684 62.1 54,590 65.5 41,094 58.0
5 4,682 3.0 1,515 1.8 3,167 4.5

7 6,836 4.4 5,190 6.2 1,646 2.3 6 9,308 6.0 6,744 8.1 2,564 3.6

8 6,836 4.4 3,531 4.2 3,305 4.7 7 5,754 3.7 1,298 1.6 4,456 6.3

9 6,448 4.2 4,733 5.7 1,715 2.4 8 2,487 1.6 772 0.9 1,715 2.4

หมายเหตุ : อาชีพ 9 3,775 2.5 2,206 2.8 1,569 2.2

1. ผูบ้ ญั ญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวุโส และผ้จู ดั การ หมายเหตุ : อุตสาหกรรม

2. ผปู้ ระกอบวิชาชพี ด้านตา่ งๆ 1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
2. การผลติ
3. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชพี ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 3. การกอ่ สรา้ ง

4. เสมียน 4 การขายส่ง การขายปลีก การซอ่ มยานยนต์และรถจกั รยานยนต์

5. พนกั งานบริการและพนักงานในรา้ นคา้ และตลาด 5. ท่พี กั แรมและการบรกิ ารด้านอาหาร

6. ผปู้ ฏิบตั งิ านท่มี ฝี ีมือในด้านการเกษตร และการประมง 6. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคบั

7. ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝมี อื และธรุ กจิ อนื่ ๆทเ่ี กย่ี วข้อง 7. การศกึ ษา

8. ผูป้ ฏบิ ตั ิการโรงงานและเครือ่ งจกั ร และผปู้ ฏบิ ัติงานด้านการประกอบ 8. กิจกรรมด้านสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์

9. อาชพี ขัน้ พนื้ ฐานต่างๆ ในดา้ นการขาย และการให้บรกิ าร 9. อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ศิลปะ ความบันเทิง และนนั ทนาการ กจิ กรรมบรกิ าร

3.2 อุตสาหกรรม ด้านอ่ืนๆ การจดั หาน้ำ การจัดการ และการบำบัดน้ำเสีย ของเสีย และส่ิง
เมื่อพิจารณาถึงประเภทอุตสาหกรรมหรือ ปฏิกูล การขนส่งและสถานทเี่ กบ็ สนิ คา้ กจิ กรรมทางการเงนิ และการ
ประกันภัยข้อมูลขา่ วสารและการส่อื สาร กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรือน
ลักษณะของการประกอบกิจกรรม ของผ้มู งี านทำในเชิง สว่ นบุคคลกจิ กรรมผลติ สนิ คา้ และบริการ
เศรษฐกิจ จากผู้มีงานทำทั้งสิ้น 154,083 คน พบว่า
เป็นผู้มีงานทำในภาคเกษตรกรรม จำนวน 98,276 คน 3.3 สถานภาพการทำงาน
เมอื่ พิจารณาสถานภาพการทำงานของผู้มีงานทำ
หรือคิดเป็นร้อยละ 63.8 ของผู้มีงานทำ โดยชายมี
สดั ส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ68.4หญิงร้อยละ 58.3 ในไตรมาสนี้ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีทำงานส่วนตัว

สำหรับผู้มีงานทำนอกภาคเกษตรกรรม จำนวน มีจำนวน 69,012 คน คิดเป็นร้อยละ 44.8 โดยชายมี
55,807 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.4 ส่วนใหญ่ทำงาน สัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 54.5 และหญิง
ในสาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ ร้อยละ 33.4 รองลงมาคือ ช่วยธุรกิจครัวเรือน มีจำนวน

และจักรยานยนต์ มีจำนวน 12,905คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8.6 47,371 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 30.7 โดยหญิงมีสัดส่วน
โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิง ร้อยละ 9.8 สูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 41.4 ชายร้อยละ 21.7

ชายร้อยละ 7.5 รองลงมาเป็นผู้ทำงานการบริหารราชการ ลูกจ้างรัฐบาล มีจำนวน 17,834 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.6
การป้องกันประเทศและการประกันสังคมภาคบังคับ โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คอื หญิงร้อยละ 11.8 ชาย
มีจำนวน 11,691 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 โดยชายมี
ร้อยละ 11.4 ลูกจ้างเอกชน มีจำนวน 17,331 คน หรือ
สัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 10.3 และหญิง คิดเป็นร้อยละ 11.2 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
ร้อยละ 4.8 ผู้ทำงานการผลิต มีจำนวน 6,405 คน หญิงร้อยละ 12.2 ชายร้อยละ10.5 นายจ้าง มีจำนวน

คิดเป็นร้อยละ 4.3 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ 1,570 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.0 และการรวมกลุ่ม
หญิงร้อยละ 5.2 ชายร้อยละ 3.4 ส่วนท่ีเหลือกระจาย มจี ำนวน 964 คน หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.6

อยู่ในอุตสาหกรรมประเภทอืน่ ๆ

ตาราง ง จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม

9

ตาราง จ จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตาม โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 68.5 ชาย

สถานภาพการทำงานและเพศ หนว่ ย : คน ร้อยละ 64.6 รองลงมา คือ ผู้ท่ีทำงาน 50 ช่ัวโมงขึ้นไป
มีจำนวน 38,376 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 24.9 โดยชาย
สถานภาพการ รวม ชาย หญงิ มีสัดส่วนสูงกว่าหญิงคือ ชายร้อยละ26.9 หญิงร้อยละ 22.6
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ทำงาน จำนวน ร้อยละ ผู้มีชั่วโมงการทำงาน 10-34 ชั่วโมง มีจำนวน 13,187
คน คดิ เป็นร้อยละ 8.5 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
ยอดรวม 154,083 100.0 83,285 100.0 70,797 100.0
1.0 1,230 1.5 341 0.5 หญิงร้อยละ 8.7 ชายร้อยละ 8.4 ผู้ท่ีทำงาน 1-9 ช่ัวโมง
1.นายจ้าง 1,570 11.6 9,463 11.4 11.8 มจี ำนวน 65 คน
11.2 8,707 10.5 8,371 12.2
2.ลูกจา้ งรฐั บาล 17,834 44.8 45,350 54.5 8,624 33.4
30.7 18,058 21.7 23,662 41.4
3.ลูกจ้างเอกชน 17,331 0.6 0.6 29,313 0.7
477
4.ทำงานสว่ นตัว 69,012 486 ตาราง ช จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม
ช่วั โมงการทำงานต่อสัปดาห์ และเพศ หน่วย : คน
5.ช่วยธุรกิจครวั เรือน 47,371

6. การรวมกลุ่ม 964

3.4 การศึกษา ช่ัวโมงการทำงาน รวม ชาย หญิง
เม่ือพิจารณาระดับการศึกษาท่ีสำเร็จของผู้มี
ต่อสปั ดาห์ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
งานทำในไตรมาสน้ี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่สำเร็จ
ยอดรวม 154,083 100.0 83,285 100.0 70,797 100.0
การศกึ ษาระดับต่ำกว่าประถมศกึ ษา มจี ำนวน49,984คน
หรือคิดเป็นร้อยละ 32.4 โดยสัดส่วนของหญิงสูงกว่า 1. 0 ชั่วโมง1/ 144 0.1 144 0.2 --
ชาย คือ หญิงรอ้ ยละ 36.1 ชายรอ้ ยละ 29.4 รองลงมา 65 --
2. 1-9 ช่ัวโมง 13,187 8.5 - - 65 0.1
คือ ผู้ท่ีสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจำนวน 3. 10-34 ชวั่ โมง 102,311 66.4
44,812 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1 ผู้ท่ีสำเร็จการศึกษา 4. 35-49 ชว่ั โมง 38,376 24.9 6,996 8.4 6,191 8.7
8. 50ชว่ั โมงขึน้ ไป
ระดับมัธยมศึกษา มีจำนวน 41,520 คน คิดเป็น 53,755 64.6 48,556 68.5
ร้อยละ 26.9 ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา
จำนวน 16,956 คน คิดเป็นร้อยละ 11.0 และไม่มี 22,391 26.9 15,986 22.6

การศึกษา 811 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 0.5 หมายเหตุ : 1/ ผไู้ มไ่ ด้ทำงานในสปั ดาหก์ ารสำรวจ แต่มงี านประจำ

ตาราง ฉ จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตาม 4. การว่างงาน

ระดบั การศึกษาทส่ี ำเร็จ และเพศ หนว่ ย : คน ป ร ะ ช าก ร ข อ ง จั ง ห วั ด อ ำ น า จ เจ ริ ญ ว่ าง ง า น
จำนวนท้ังส้ิน 341 คน เป็นหญิง จำนวน 173 คน และ
ระดับการศึกษา รวม ชาย หญิง
ชายจำนวน 167 คน คิดเป็นร้อยละ 50.7 และ 49.0
ทีส่ ำเร็จ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ตามลำดับ

ยอดรวม 154,083 100.0 83,285 100.0 70,797 100.0 ส ำ ห รั บ อั ต ร า ก า ร ว่ า ง ง า น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ซึ่ ง

1.ไมม่ ีการศึกษา 811 0.5 241 0.3 570 0.8 หมายถึง สัดส่วนของผู้ว่างงานต่อจำนวนประชากรท่ีอยู่
ในกำลังแรงงานรวม พบว่า จังหวัดอำนาจเจริญมีอัตรา

การว่างงาน ร้อยละ 0.8 โดยหญิงมีอัตราการว่างงานสูง
กว่าชาย คอื หญงิ ร้อยละ 1.0 และชายรอ้ ยละ 0.5

2.ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา 49,984 32.4 24,451 29.4 25,533 36.1 ตาราง ซ จำนวนและอัตราการว่างงาน จำแนกตามเพศ

3.ประถมศึกษา 44,812 29.1 25,428 30.5 19,384 27.4 หนว่ ย : คน

4.มธั ยมศึกษา 41,520 26.9 25,895 31.1 15,625 22.1 ผู้อยู่ในกำลัง ผวู้ ่างงาน
แรงงาน จำนวน รอ้ ยละ
5.อดุ มศกึ ษา 16,956 11.0 7,270 8.7 9,685 13.7 เพศ

3.5 ชั่วโมงการทำงาน ยอดรวม 154,423 341 0.2

ในจำนวนผู้มีงานทำ 150,583 คนน้ัน เป็นผู้ท่ี ชาย 83,452 167 0.2
ทำงานต่อสัปดาห์ต้ังแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป มีจำนวน
153,939 คน มีผไู้ ม่ได้ทำงานในสปั ดาห์การสำรวจแต่มี หญิง 70,971 173 0.2
งานประจำ (ชั่วโมงทำงานเป็น “0”) จำนวน 144 คน
ในการสำรวจรอบนี้ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีทำงาน หมายเหตุ : อัตราการว่างงาน = ผูว้ ่างงาน 100
35-49 ช่ัวโมง มีจำนวน 102,311 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.4
ผู้อยใู่ นกำลงั แรงงานรวม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

1. วิธีการสำรวจ

การสำรวจนี้คุ้มรวมครัวเรือนส่วนบุคคลและครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรือนคนงานที่อยู่ในเขต
เทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดท่ัวประเทศ ยกเว้น ครัวเรือนชาวต่างชาติท่ีทำงานในสถานทูตหรือ
องค์การระหวา่ งประเทศทม่ี เี อกสิทธิ์ทางการทตู

ในการสำรวจแต่ละเดือนได้ดำเนินการสำรวจทั่วประเทศทุกจังหวัด โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ
Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างขั้นท่ี 1 คือ เขตแจงนับ (Enumeration Area : EA) ซึ่งมี
จำนวน 1,990 EA ตวั อย่าง จากจำนวนทง้ั สิ้น 127,460 EAs และหน่วยตัวอย่างขน้ั ที่ 2 คอื ครวั เรือน ซ่ึงมจี ำนวน
ครัวเรือนท่ีเป็นตัวอย่างทั้งส้ิน 27,960 ครัวเรือน หรือคิดเป็นจำนวนประชากรที่ตกเป็นตัวอย่างประมาณ
95,064 คน ซ่ึงขนาดตัวอย่างในแต่ละเดือนดังกล่าวสามารถนำเสนอข้อมูลในระดับภาคและประเทศจำแนกเขต
การปกครอง แตไ่ ม่เพียงพอท่ีจะนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดหรือพ้ืนท่ีย่อยกว่าน้ี ฉะน้ันเพื่อให้สามารถนำเสนอ
ผลของข้อมูลในระดบั จังหวัดได้ จึงได้ใชข้ ้อมลู ของการสำรวจในแต่ละเดือน 3 เดือนท่ีติดต่อกนั มารวมกันเพื่อให้ได้
ขนาดตัวอย่างเพยี งพอและทำการประมาณคา่ ขอ้ มลู ยอดรวมของจงั หวดั ตอ่ ไป เช่น กรณสี รุปรายงานผลการสำรวจ
ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2559 ก็ได้นำข้อมูลของเดือนตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม 2559 มารวมกัน
เป็นตน้

สำหรับวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลน้ันใช้วธิ ีการสัมภาษณ์หวั หน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนท่ีตกเป็น
ตวั อย่าง โดยข้าราชการและพนักงานของสำนักงานสถติ ิจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน 10 คน และเจ้าหน้าที่ผ้ทู ำ
การสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือการปฏิบัติงานการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับใช้ในการปฏิบัติงานทั้งนี้เพื่อให้ทุกคน
ปฏิบัตงิ านไปในทางเดียวกนั

สว่ นการประมวลผลข้อมูลน้ันดำเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาสถิติ โดยนำข้อมูลที่ได้จากครัวเรือน
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยการถ่วงน้ำหนัก (Weighty) ซ่งึ ค่าน้ำหนักจะได้จากสูตรในการประมาณค่าท่ีเหมาะสม
กับวธิ ีการเลอื กตัวอยา่ ง เพ่อื ให้ได้ค่าประมาณของประชากรในแตล่ ะจงั หวดั ใกลเ้ คยี งกบั คา่ ที่แทจ้ รงิ

2. วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู

การสำรวจได้ดำเนินการพร้อมกนั ทั่วจังหวดั ในระหว่างวนั ที่ 1–12ของเดอื นตุลาคม – ธนั วาคมพ.ศ. 2559
สำหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่าง โดย
พนักงานสัมภาษณ์ของสำนักงานสถิติจังหวัดอำนาจเจริญ ซึ่งมีประสบการณ์ในการสำรวจและพนักงานสัมภาษณ์
ทุกคนจะมีคู่มอื การปฏิบตั งิ านเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เพ่ือใช้ในการปฏบิ ตั งิ านให้เป็นแนวทางเดยี วกนั

3. การปัดตวั เลข

ในตารางสถติ ิ ผลรวมของแต่ละจำนวนอาจไมเ่ ท่ากับยอดรวม เนื่องจากข้อมูลแตล่ ะจำนวนไดม้ ีการ
ปดั เศษเป็นหลักพัน โดยอสิ ระจากกนั

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ

หนา้

ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 15

ตารางที่ 2 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสำเร็จและเพศ 16

ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผ้มู งี านทำ จำแนกตามอาชีพและเพศ 17

ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 18

ตารางท่ี 5 จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ 19

ตารางท่ี 6 จำนวนและร้อยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามช่วั โมงการทำงานต่อสัปดาห์และเพศ 20

ตารางที่ 7 จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามระดับการศกึ ษาที่สำเรจ็ และเพศ 21

15

ตารางท่ี 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผ้มู อี ายุ 15 ปีขึน้ ไป 219,411 จานวน 113,066
1. ผู้อยใู่ นกำลังแรงงำน 154,423 106,345 70,971
154,423 83,452 70,971
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบัน 154,083 83,452 70,797
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 83,285
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 341 173
- 167 -
1.2 ผู้ที่รอฤดกู ำล -
2. ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงำน 64,988 42,095
2.1 ทำงำนบ้ำน 12,742 22,893 12,742
2.2 เรียนหนังสือ 17,113 - 9,012
2.3 อ่ืนๆ 35,133 20,341
8,101
ผู้มอี ายุ 15 ปขี ้นึ ไป 100.0 14,792 100.0
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 70.4 62.8
70.4 ร้อยละ 62.8
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 70.2 62.6
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 0.2 100.0 0.2
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 78.5
- 78.5 -
1.2 ผู้ทร่ี อฤดูกำล 29.6 78.3 37.2
2. ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงำน 5.8 0.2 11.3
2.1 ทำงำนบำ้ น 7.8 8.0
2.2 เรียนหนังสือ 16.0 - 18.0
2.3 อ่ืนๆ 21.5

-
7.6
13.9

16

ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอาย1ุ 5 ปีข้ึนไป จาแนกตามระดับการศกึ ษาที่สาเร็จและเพศ

ระดบั การศึกษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,411 จานวน 113,066
1. ไม่มีการศึกษา 2,828 106,345 1,705
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 77,436 44,630
3. ประถมศึกษา 55,210 1,123 25,844
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 38,756 32,806 16,325
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 25,893 29,366 13,716
22,285 22,431 12,097
5.1 สายสามัญ 3,608 12,176 1,619
5.2 สายอาชีวศึกษา - 10,187 -
5.3 สายวชิ าการศึกษา 19,289 1,989 10,846
6. มหาวทิ ยาลัย 7,614 4,189
6.1 สายวชิ าการ 7,172 - 3,240
6.2 สายวิชาชีพ 4,503 8,442 3,417
6.3 สายวิชาการศึกษา - 3,425 -
7. อืนๆ - 3,932 -
8. ไม่ทราบ 1,085
100.0 100.0
ยอดรวม 1.3 - 1.5
1. ไม่มีการศึกษา 35.3 - 39.5
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 25.2 22.9
3. ประถมศึกษา 17.7 ร้อยละ 14.4
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 11.8 12.1
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 10.2 100.0 10.7
1.6 1.4
5.1 สายสามัญ - 1.1 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 8.8 30.8 9.6
5.3 สายวิชาการศึกษา 3.5 27.6 3.7
6. มหาวิทยาลัย 3.3 21.1 2.9
6.1 สายวิชาการ 2.1 11.4 3.0
6.2 สายวชิ าชีพ - 9.6 -
6.3 สายวิชาการศึกษา - 1.9 -
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ -
7.9
3.2
3.7
1.0

-
-

17 ชาย หญิง
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ จานวน
83,285 70,797
อาชพี รวม 4,557 1,823
1,855 4,875
ยอดรวม 154,083 1,366 1,592
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ 6,379 1,769
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านต่างๆ 6,731 727 12,979
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพทเี่ กี่ยวข้อง 2,957 6,737 41,094
4. เสมียน 2,496 54,590 1,646
5. พนักงานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 19,716 5,190 3,305
6. ผู้ปฏิบตั ิงานทม่ี ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 95,684 3,531 1,715
7. ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอื่นๆทเ่ี ก่ียวข้อง 6,836 4,733
8. ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเคร่อื งจักร และผู้ปฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 6,836 -
9. อาชีพข้ันพ้ืนฐานตา่ งๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ ริการ 6,448 -
10. คนงานซึ่งมิไดจ้ าแนกไวใ้ นหมวดอื่น - ร้อยละ 100.0
100.0 2.6
ยอดรวม 100.0 6.9
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ 4.1 5.5 2.2
2. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นต่างๆ 4.4 2.2 2.5
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชีพที่เก่ียวข้อง 1.9 1.6 18.3
4. เสมียน 1.6 0.9 58.0
5. พนกั งานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 12.8 8.1 2.3
6. ผู้ปฏบิ ตั งิ านทีม่ ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 62.1 65.5 4.7
7. ผู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆทเ่ี ก่ียวข้อง 4.4 6.2 2.4
8. ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครอ่ื งจักร และผู้ปฏิบัตงิ านดา้ นการประกอบ 4.4 4.2 -
9. อาชีพขน้ั พื้นฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย และการใหบ้ ริการ 4.2 5.7
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น -
-

18

ตารางท่ี 4 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อตุ สาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน 70,797
ยอดรวม 154,083 83,285 41,283
98,276 56,993
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง - -
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน 8,512 - 5,065
3. การผลิต 86 3,447
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 423 -
5. การจดั หานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสยี และสิ่งปฏิกูล 3,421 86 -
6. การก่อสร้าง 17,867 423 460
7. การขายส่งและการขายปลีก การซอ่ มยานยนต์และจกั รยานยนต์ 706 2,961 10,518
8. การขนสง่ และสถานที่เก็บสนิ ค้า 4,682 7,349 50
9. ท่ีพักแรมและบริการด้านอาหาร 67 657 3,167
10. ข้อมูลข่าวสารและการส่อื สาร 343 1,515 -
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย - 67 204
12. กิจกรรมอสังหารมิ ทรพั ย์ 538 138 -
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วทิ ยาศาสตร์ และเทคนิค 394 371
14. กิจกรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนับสนุน 9,308 - 161
15. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสงั คมภาคบังคับ 5,754 168 2,564
16. การศึกษา 2,487 233 4,456
17. กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 128 6,744 1,715
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 1,034 1,298 -
19. กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ 56 772 727
20. กิจกรรมการจา้ งงานในครวั เรือนสว่ นบุคคล กิจกรรมผลติ สินค้าและบรกิ าร - 128 56
21. กิจกรรมขององค์การระหวา่ งประเทศและภาคีสมาชิก - 306 -
22. ไม่ทราบ 100.0 -
63.8 - 100.0
ยอดรวม - - 58.3
5.5 - -
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 0.1 ร้อยละ 7.2
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน 0.3 100.0 -
3. การผลิต 2.2 68.4 -
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 11.6 - 0.6
5. การจดั หานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสีย และส่งิ ปฏิกูล 0.5 4.1 14.9
6. การก่อสร้าง 3.0 0.1 0.1
7. การขายส่งและการขายปลีก การซอ่ มยานยนต์และจักรยานยนต์ - 0.5 4.5
8. การขนสง่ และสถานที่เก็บสินค้า 0.2 3.6 -
9. ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร - 8.8 0.3
10. ข้อมูลข่าวสารและการส่ือสาร 0.3 0.8 -
11. กิจกรรมทางการเงนิ และการประกันภัย 0.3 1.8 0.5
12. กิจกรรมอสังหาริมทรพั ย์ 6.0 0.1 0.2
13. กิจกรรมทางวชิ าชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 3.7 0.2 3.6
14. กิจกรรมการบริหารและการบรกิ ารสนับสนุน 1.6 - 6.3
15. การบรหิ ารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสงั คมภาคบังคับ 0.1 0.2 2.4
16. การศึกษา 0.7 0.3 -
17. กิจกรรมด้านสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ - 8.1 1.0
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - 1.6 0.1
19. กิจกรรมบรกิ ารด้านอ่ืนๆ - 0.9 -
20. กิจกรรมการจา้ งงานในครวั เรือนส่วนบุคคล กิจกรรมผลติ สินค้าและบรกิ าร 0.2 -
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 0.4
22. ไม่ทราบ -
-
-

19
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 70,797
341
ยอดรวม 154,083 83,285
8,371
1. นายจ้าง 1,570 1,230 8,624
23,662
2. ลูกจ้างรัฐบาล 17,834 9,463 29,313

3. ลูกจ้างเอกชน 17,331 8,707 486

4. ทางานส่วนตวั 69,012 45,350 100.0
0.5
5. ช่วยธรุ กิจครัวเรือน 47,371 18,058 11.8
12.2
6. การรวมกลุ่ม 964 477 33.4
41.4
ร้อยละ 0.7

ยอดรวม 100.0 100.0

1. นายจ้าง 1.0 1.5

2. ลูกจ้างรัฐบาล 11.6 11.4

3. ลูกจ้างเอกชน 11.2 10.5

4. ทางานส่วนตัว 44.8 54.5

5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 30.7 21.7

6. การรวมกลุ่ม 0.6 0.6

20

ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามช่ัวโมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ

ชั่วโมงการทางาน รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 154,083 จานวน 70,797
144 83,285 -
1. 0 ช่ัวโมง1/ 65
2. 1-9 ช่ัวโมง 146 144 65
3. 10-19 ชั่วโมง - -
4. 20-29 ช่ัวโมง 12,671
5. 30-34 ชั่วโมง 370 146 5,821
6. 35-39 ช่ัวโมง 6,850 370
7. 40-49 ชั่วโมง 25,418
8. 50 ช่ัวโมงข้ึนไป 76,893 - 14,047
38,376 11,371 34,509
42,384 15,986
ยอดรวม 100.0 22,391
1. 0 ชั่วโมง 1/ 0.1 ร้อยละ 100.0
2. 1-9 ช่ัวโมง -- 100.0 -
3. 10-19 ช่ัวโมง 0.1
4. 20-29 ช่ัวโมง 8.2 0.2 0.1
5. 30-34 ชั่วโมง 0.2 - -
6. 35-39 ชั่วโมง 16.5
7. 40-49 ช่ัวโมง 49.9 0.2 8.2
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 24.9 8.2 0.5
หมายเหตุ : 1/ ผู้ไมไ่ ดท้ างานในสปั ดาห์การสารวจ แตม่ งี านประจา 19.8
- 48.7
13.7 22.6
50.9
26.9

21

ตารางท่ี 7 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จและเพศ

ระดับการศกึ ษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง
ยอดรวม 154,083 จานวน
83,285 70,797

1. ไม่มีการศึกษา 811 241 570
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 49,984 24,451 25,533
3. ประถมศึกษา 44,812 25,428 19,384
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 20,999 15,120 5,879
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 20,521 10,775 9,746
17,867 8,871 8,996
5.1 สายสามัญ 2,654 1,904
5.2 สายอาชีวศึกษา 750
5.3 สายวิชาการศึกษา - - -
6. มหาวิทยาลัย 16,956 7,270
6.1 สายวชิ าการ 7,282 3,254 9,685
6.2 สายวิชาชีพ 6,085 3,364 4,028
6.3 สายวิชาการศึกษา 3,589 2,721
7. อืนๆ 652 2,936
8. ไม่ทราบ - -
- - -
ยอดรวม -
1. ไม่มีการศึกษา 100.0 ร้อยละ
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 0.5 100.0 100.0
3. ประถมศึกษา 32.4 0.8
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 29.1 0.3 36.1
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 13.6 29.4 27.4
13.3 30.5 8.3
5.1 สายสามัญ 11.6 18.2 13.8
5.2 สายอาชีวศึกษา 1.7 12.9 12.7
5.3 สายวิชาการศึกษา - 10.7 1.1
6. มหาวิทยาลัย 11.0 2.3 -
6.1 สายวิชาการ 4.7 13.7
6.2 สายวิชาชีพ 3.9 - 5.7
6.3 สายวิชาการศึกษา 2.3 8.7 3.8
7. อืนๆ - 3.9 4.1
8. ไม่ทราบ - 4.0
0.8 -

- -
-


Click to View FlipBook Version