The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-05 03:24:12

ยาเสพติด 62

ยาเสพติด 62

การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน
ในการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารป้องกัน

ปราบปราม และบำบัดรักษายาเสพตดิ
ปี 2562

จังหวดั อำนาจเจริญ

การสำรวจความคดิ เห็นของประชาชน
ในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการปอ้ งกนั

ปราบปราม และบำบดั รักษายาเสพติด
ปี 2562

จงั หวัดอำนาจเจริญ

สำนักงานสถิติจงั หวัดอำนาจเจริญ สำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ
กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม



คำนำ

ตามที่รัฐบาลได้ดำเนินการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดมาอย่างจริงจังและต่อเนื่องนั้น
กำหนดใหป้ ัญหายาเสพติดเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่ตอ้ งไดร้ ับการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา โดยการบังคับใช้กฎหมายท่ี
เข้มงวด และจัดการปัญหาอื่น ๆ ท่ีเช่ือมโยงต่อเน่ืองให้เบ็ดเสร็จ จึงได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน
ปราบปราม และบำบัดรักษายาเสพติดในปี 2562 (วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) เพื่อเป็นกรอบแนว
ทางการดำเนนิ งานใหก้ ับหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

ในการนี้ สำนักงานสถิติจังหวดั อำนาจเจรญิ ได้ดำเนินการสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนเกีย่ วกับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษายาเสพติดในปี 2562 จำนวน 29 ชุมชน/
หมู่บ้านตวั อยา่ ง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกับการพบเห็น/ทราบว่าในชุมชน/หมู่บ้านมีปญั หายาเสพ
ตดิ ประเภทยาเสพติดที่พบเห็น ช่วงอายุ-อาชพี ของผู้เก่ียวขอ้ งกับยาเสพติด ความเดือดรอ้ นท่ีได้รับจากปญั หายาเสพ
ตดิ การแจ้งเบาะแสหรอื ข้อมูลขา่ วสารเกี่ยวกับการกระทำผดิ เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ การยอมรบั /ให้โอกาสผ้เู ลกิ เสพยาเสพ
ตดิ ผู้ผ่านการบาบัดรักษา และผู้ต้องขังในคดียาเสพติด ท่ีพ้นโทษออกมา รวมถึงความพึงพอใจและความเช่ือม่ันของ
ประชาชนท่ีมตี อ่ การดำเนินงานปอ้ งกัน ปราบปราม และบำบัดรกั ษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพตดิ ในปี 2562 เพ่ือเป็นข้อมูลให้
รัฐบาลและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนำไปใช้ในการติดตาม ประเมินผล ปรับปรุง วางแผนการดำเนินงานในการป้องกัน
และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในพื้นทจี่ ังหวัดอำนาจเจรญิ ให้มีประสิทธภิ าพตอ่ ไป

บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ รหิ าร

สำนักงานสถิติแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.)
ไดด้ ำเนนิ การสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนในการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกัน ปราบปราม และการบำบัด

ปี 2562 โดยสรุปผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในจังหวดั อำนาจเจรญิ ทสี่ ำคญั ไดด้ งั นี้

แผนภมู ิ ก รอ้ ยละของประชาชนฯ จาํ แนกตามการทราบ/ 1. สถานการณปัญหา า ส ิ
พบเหน็ ปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น 1.1 การทราบปัญหา า ส ิ ในชมุ ชน/หมบู า้ น

มทราบ ทราบ ผลการสำรวจฯ พบว่า ประชาชนร้อยละ 61.9 ทราบ
ปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน โดยพบเห็นด้วยตนเอง
38.1 58.6
61.9 3.3 ร้อยละ 3.3 และทราบแต่ไม่พบเห็นว่ามีปัญหายาเสพติด
รอ้ ยละ 58.6 และในขณะทป่ี ระชาชนรอ้ ยละ 38.1 ระบุวา่ ไม่
ทราบแ ม บ หน
บ หน ้ น ไมท่ ราบและไม่พบเหน็
เมือ่ เปรียบเทยี บกับช่วงปลายปีที่ผา่ นมา (เดือนตุลาคม
แผนภมู ิ ข ร้อยละของประชาชนฯ ทพี่ บเห็น/ทราบวา่ ชุมชน/
หมบู่ ้านมปี ัญหายาเสพติดเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ช่วง 2561) พบว่า ประชาชนยังคงทราบและพบเห็นว่าชุมชน/
ปลายปที ี่ผ่านมา (เดือนตุลาคม 2561)
หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติดเหมือนเดิมฯ ร้อยละ 37.9
เพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 18.9 และสถานการณฯ์ ลดลงรอ้ ยละ 10.9

37.9 32.3 1.2 ปร ภทข า ส ิ ทแ รร บา 1/

18.9 ประเภทของยาเสพตดิ ทีม่ ีการแพรร่ ะบาดมากที่สดุ คือ
10.9 ยาบ้า (ร้อยละ 94.4) รองลงมา ได้แก่ กัญชา (ร้อยละ 1.7)
นอกนน้ั มเี พียงเลก็ นอ้ ย เชน่ กระท่อม ฝนิ่ ไอซ์ สารระเหยฯ

1.3 ผู้ ก ข้ กบั า ส ิ 1/

มิ ขนึ้ หม น มิ มทราบ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านสูงสุดคือ
/ มแนใจ ผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วง 15-19 ปี 20-24 ปี และ 25-29 ปี
ร้อยละ 45 ขึ้นไป และส่วนใหญ่เป็นผู้ว่างงาน/ไม่มีงานทำ
แผนภูมิ ค ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกการได้รบั ความ ร้อยละ 73.0 นักเรียน/นักศึกษาร้อยละ 48.2 เกษตรกร
เดือดรอ้ นจากปญั หายาเสพตดิ ของคนในชมุ ชน/ รอ้ ยละ 21.2 รบั จา้ งทวั่ ไปดา้ นเกษตร ร้อยละ 17.8
หมบู่ ้าน/
1.4 การ ้รับค าม ร้ นจากปัญหา า ส ิ ข
13.1 แก คม ร ิ คนในชุมชน/หมบู ้าน
78.3
กร ทาผิ ก กบั ทรั ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่าไม่ได้รับความเดือดร้อน
สส ั จากปัญหายาเสพติดของคนในชุมชน/หมู่บ้าน ร้อยละ 78.3
ท า ิ าท ได้รบั ความเดือดร้อน ร้อยละ 13.1
กร ทาผิ ก กบั รากา
โดยจะได้รับความเดือดร้อนในเรื่องแก็งค์มอเตอร์
้รบั ค าม ร้ น ม ้รบั ค าม ร้ น ไซด์ซิ่ง ร้อยละ 8.9 การกระทำผดิ เก่ียวกับทรัพย์ ร้อยละ 3.3
การส่งเสยี งดงั กอ่ ความรำคาญ ทะเลาะวิวาท การกระทำผิด
เกี่ยวกับร่างกาย และอื่น ๆ เช่น ประสาทหลอน คลุ้มคล่ัง
การกระทำผดิ เกย่ี วกบั เพศ ฯลฯ

หมา ห ุ : 1/ บ ม้ ากก า 1 คำ บ



แผนภมู ิ รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกการทราบ/ 1 5 การ ้ ขา า ส ิ ในชมุ ชน/หมบู ้าน
การพบเหน็ การซือ้ ขายยาเสพตดิ ในชุมชน/หมบู่ า้ น
จากผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 41.2 ทราบ
มทราบ ทราบ การซื้อขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน โดยประชาชนที่
ทราบแต่ไม่พบเห็น ร้อยละ 40.0 และพบการซื้อขายได้ง่าย
41.2 40.0 ร้อยละ 1.2 และในขณะที่ประชาชนรอ้ ยละ 58.8 ระบุว่าไม่
58.8 1.2 ไม่ทราบและไมพ่ บเหน็

ทราบแต่ไม่พบเห็น โดยประชาชนร้อยละ 61.5 ยังคงพบเห็นคนในชุมชน/
พบการซือ้ ขายได้ง่าย หมู่บ้านซื้อขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านตนเอง
ส่วนประชาชนร้อยละ 25.1 ระบุว่าคนนอกชุมชน/หมู่บ้าน
แผนภูมิ ฉ ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามท่ีมาของผู้เสพ/ มาซ้ือขายยาเสพติดในชมุ ชน/หมู่บ้านตนเอง
ผตู้ ิดท่ยี งั มีพฤติการณก์ ารใช้ยาเสพตดิ ในชมุ ชน/
หมูบ่ ้าน 1 ผู้ ส /ผู้ ิ า ส ิ ในชมุ ชน/หมูบา้ น

72.5 จากผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 60.7 ระบุ
ว่าทราบ/พบเห็นผเู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพติดในชุมชน/หมู่บา้ น โดย
17.0 10.5 พบเห็นด้วยตนเอง ร้อยละ 2.8 และทราบแต่ไม่พบเห็น
รอ้ ยละ 57.9 สว่ นผู้ทไ่ี มท่ ราบและไมพ่ บเห็น รอ้ ยละ 39.3
คนในชมุ ชน/ คนน กชุมชน/ มทราบ
โดยส่วนใหญ่ยังคงพบเห็นคนในชุมชน/หมู่บ้านมี
หมบู า้ น หมบู ้าน พฤติการณก์ ารใชย้ าเสพตดิ ในชมุ ชน/หมู่บ้านตนเอง ร้อยละ
72.5 และพบเห็นพฤติการณก์ ารใชย้ าเสพติดมาจากคนนอก
แผนภูมิ ช ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามการแจ้ง ชุมชน/หมู่บา้ น ร้อยละ 17.0
เบาะแสหรอื ขอ้ มูลข่าวสารเม่ือพบเห็นการกระทำ
ผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ . การแจ้ บา แสหร ข้ มู ขา สาร ม บ หนการ
กร ทำผิ ก กับ า ส ิ
มช ทา รบั แจ้
ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนฯ ส่วนใหญ่มากถึง
4.8 บา แสฯ ทส ก ร้อยละ 86.2 ระบุว่าทราบช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือ
13.4 ร ร แ ้ใจ ้ ข้อมูลข่าวสารการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และร้อยละ
13.8 ระบุวา่ ไม่ทราบ
ก ั ปัญหา า ๆ ทจ
โดยประชาชน รอ้ ยละ 69.8 ระบุวา่ แจ้งเบาะแสเม่ือพบ
21.2 กิ ามมาสบ น เห็นการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และไม่แจ้งเบาะแส
จากปัญหา า ส ิ ร้อยละ 30.2

69.8 ก ั ปญั หา า ส ิ ช่องทางที่ประชาชนต้องการแจ้งเบาะแสฯ มาก
30.2 ที่สุด คือ ผู้นำชุมชน/ผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน ร้อยละ 62.6
30.4 ข้ามา ก ข้ กบั รองลงมา ได้แก่ แจ้งทางสายด่วน 191 ร้อยละ 40.9 และ
แจ้งเบาะแสฯ ูกห าน สถานตี ำรวจในพน้ื ท่ี รอ้ ยละ 39.5
ไมแ่ จ้งเบาะแสฯ
้ การให้ จ้าหน้าท

ข้ามาแก้ ขปญั หา

31..67 มสนใจ/คิ า มใช
รข น

5.3 มมันใจ จ้าหน้าทรฐั
ในการแก้ ขปัญหา
6.2 กร ก ั ิทธิ

13.4 ช าแจ้ ปก มม ร
กิ ขึ้น

ก ั ผู้กร ทาผิ มาทา
ร้า



แผนภมู ิ ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามการยอมรบั การ มรับหร ให้โ กาสผู้ ิก ส /ผู้ผ าน
การบำบั รักษาแ ผู้ ้ ขั ค า ส ิ
หรอื ให้โอกาสผูเ้ ลิกเสพยาเสพติด/ผ้ผู า่ นการบำบัด
และผ้ตู ้องขงั คดียาเสพติดที่พน้ โทษกลับเขา้ สู่ ประชาชน ร้อยละ 90.5 ระบุว่าพร้อมที่จะยอมรับ/
ชุมชน/หม่บู า้ น ให้โอกาสผู้ ิก ส /ผู้ผานการบำบั รักษา ส่วนประชาชน
รอ้ ยละ 4.5 ระบวุ ่าไม่ยอมรบั ฯ
5.0 97..18
สว่ นประชาชนร้อยละ 83.1 ระบุว่าพรอ้ มที่จะยอมรับ/
4.5 ให้โอกาสผู้ ้ ขั คดียาเสพติดที่พ้นโทษกลับเข้าสู่ชุมชน/
83.1 หมูบ่ ้าน สว่ นประชาชนร้อยละ 7.1 ระบวุ า่ ไม่ยอมรับฯ

90.5 โดยเหตุผลของประชาชนผู้พร้อมที่จะยอมรับและ
ให้โอกาสท้ังผู้เลิกเสพ/ผู้ผ่านการบำบัดรกั ษาและผู้ต้องขังให้
ผู้ ิก ส ผู้ ้ ขั เหตุผลเดียวกัน คือ เพื่อให้โอกาสกลับมาอยู่กับครอบครัว/
/ผู้ผานการบาบั รักษา ชุมชน ส่วนเหตุผลผู้ท่ีไม่ยอมรับและไม่ให้โอกาสทั้งผู้เลิก
เสพ/ผู้ผ่านการบำบัดรักษา และผู้ต้องขังให้เหตุผลเดียวกัน
ยอมรบั /ใหโ้ อกาส ไม่ยอมรับ/ไมใ่ ห้โอกาส ไม่ทราบ/ไมแ่ นใ่ จ คือ การกลับมาอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิมจะนำไปสู่การ
กระทำผิดซ้ำ
แผนภมู ิ ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามความพงึ พอใจ
4. ค าม ึ ใจ ผ การ ำ นิน านโ ร มข รัฐบา
ตอ่ การดำเนินงานในการป้องกนั ปราบปรามและ ในการป้ กัน ปราบปราม แ การบำบั
การบำบัด
ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนฯ ร้อยละ 50.5 มคี วาม
50.5 พึงพอใจต่อผลการดำเนินงานโดยรวมของรัฐบาลใน
41.5 การป้องกัน ปราบปราม และการบำบัด ระดับปานกลาง
(5 – 6 คะแนน) รองลงมา ระดับมาก – มากที่สุด (7 – 10
8.0 คะแนน) รอ้ ยละ 41.5 และระดับไม่พงึ พอใจ – พงึ พอใจนอ้ ย
(0 – 4 คะแนน) ร้อยละ 8.0
มาก - มากทสุ ปานก า ม ึ ใจ - ึ ใจน้
(7 – 1 ค แนน) 5. ค าม ช มั น นโ บา รัฐบา ในการป้ กั น
(5 – ค แนน) ( – 4 ค แนน) ปราบปราม แ การบำบั

แผนภมู ิ ซ ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามระดับความ ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนฯ รอ้ ยละ 54.3 มคี วาม
เชอ่ื ม่นั ต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม เชื่อมั่นต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และ
และการบำบดั การบำบดั ระดบั ปานกลาง (5 – 6 คะแนน) รองลงมา ระดบั
มาก – มากที่สุด (7 – 10 คะแนน) ร้อยละ 32.7 และระดับ
54.3 ไมเ่ ชื่อมั่น – เชอ่ื มน่ั น้อย (0 – 4 คะแนน) รอ้ ยละ 13.0

32.7 . ข้ สน แน แน ทา การป้ กันแ แก้ ขปัญหา
13.0 า ส ิ 1/

มาก - มากทสุ ปานก า ม ช มนั - ช มนั น้ ปร ะ ชาชน ไ ด้ให้ข้อ เสน อ แน ะ ที่สำคัญ ดังนี้
การปราบปรามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ร้อยละ 60.7
(7 – 1 ค แนน) (5 – ค แนน) ( – 4 ค แนน) การใช้กฎหมายลงโทษผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่าง
เด็ดขาด ร้อยละ 52.8 การตั้งจุดตรวจหรือจุดสกัดเพื่อเฝ้า
หมา ห ุ : 1/ บ ้มากก า 1 คำ บ ระวังในชุมชน/หมู่บ้าน ร้อยละ 20.0 การจัดกิจกรรมเพื่อ
ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 19.0 การส่งเสริม
อาชพี ให้แกผ่ ู้ที่เกี่ยวข้องกบั ยาเสพตดิ ร้อยละ 17.8 เปน็ ตน้



สารบญั

หนา้

คำนำ ค

บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร ง
สารบัญ ช

บทท่ี 1 บทนำ 1
1.1 ความเปน็ มา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 การนำขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์ 2
1.4 คุ้มรวม 2
1.5 คำอธบิ าย 2

บทท่ี 2 ระเบียบวธิ ี 3
2.1 วิธีการเลอื กตวั อยา่ ง 3
2.2 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3
2.3 หลักเกณฑก์ ารคำนวณคะแนน 4
2.4 การเสนอผล 4

บทที่ 3 ผลการสำรวจที่สำคัญ 5
3.1 ข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบสัมภาษณ์ 5
3.2 สถานการณปัญหายาเสพตดิ 7
3.2.1 การพบเหน็ ปญั หายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน 7
3.2.2 ประเภทของยาเสพตดิ ท่ีแพร่ระบาดในชมุ ชน/หมู่บ้าน 7
3.2.3 สถานการณ์ปญั หายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้าน เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงปลายปีท่ีผา่ นมา
(เดอื นตลุ าคม 2561) 8
3.2.4 ผูเ้ กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หายาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน 9
3.2.5 การไดร้ ับความเดือดร้อนจากปญั หายาเสพตดิ ของคนในชมุ ชน/หมู่บา้ น 10
3.2.6 การซอื้ ขายยาเสพติดในชมุ ชน/หมู่บา้ น 11
3.2.7 ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในชุมชน/หมู่บา้ น 12
3.3 การแจง้ เบาะแสหรือขอ้ มลู ข่าวสารการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 13
3.4 การให้โอกาส/การยอมรับผูเ้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน 15
3.5 ความพึงพอใจตอ่ ผลการดำเนนิ งานของรฐั บาล 18
3.6 ความเชือ่ ม่นั ต่อนโยบายรฐั บาล 20
3.7 ข้อเสนอแนะแนวทางการป้องกนั ปราบปราม และบำบัดรกั ษาผ้เู สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 21

ภาคผนวก 23

สารบัญตาราง

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมา
ตามที่ คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กำหนดให้ปัญหายาเสพติดเป็น

ปัญหาเฉพาะหน้า ที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขปัญหา โดยการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มงวด และจัดการปัญหา
อื่น ๆ ทีเ่ ชอื่ มโยงตอ่ เน่ืองให้เบ็ดเสรจ็ เมือ่ วันท่ี 10 กันยายน 2561 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด
ได้มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษายาเสพติด ปี 2562 (วันท่ี 1 ตุลาคม 2561 –
30 กันยายน 2562) เพอื่ เป็นกรอบแนวทางการดำเนินงานใหก้ ับหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง

ในการนี้ สำนักงานสถิติแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(สำนักงาน ป.ป.ส.) ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนจาก 2,300 ชุมชน/หมู่บ้านทั่วประเทศ
จังหวัดอำนาจเจริญดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ท้ังหมดจำนวน 29 ชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง
จำนวนผู้ตอบแบบข้อถาม 580 คน โดยแบ่งเป็น หมู่บ้านป้องกัน 23 ชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง จำนวนผู้ตอบแบบ
ขอ้ ถาม 460 คน หมู่บา้ นเฝ้าระวัง 4 ชมุ ชน/หมู่บา้ นตวั อยา่ ง จำนวนผู้ตอบแบบข้อถาม 80 คน และหมู่บ้านแก้ไข 2
ชมุ ชน/หมบู่ ้านตวั อย่าง จำนวนผู้ตอบแบบขอ้ ถาม 40 คน

1.2 วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการพบเห็น/ทราบว่าในชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ประเภท
ยาเสพติดท่ีพบเห็น ช่วงอายุ-อาชีพ ของผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ความเดือดร้อนท่ีได้รับจากปัญหายาเสพติด
การแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกระทำผิดเก่ียวกับยาเสพติด การยอมรับ/ให้โอกาสผู้เลิกเสพยาเสพติด
ผู้ผ่านการบำบัดรักษา และผู้ต้องขังในคดียาเสพติด ท่ีพ้นโทษออกมา รวมถึงความพึงพอใจ ความเชื่อม่ัน
ความปลอดภัยของประชาชนที่มีต่อการดำเนินงานฯ และการดำเนินงาน/กิจกรรมเก่ียวกับแผนจังหวัดนำร่อง
พ้นภัย ยาเสพติด ปี 2562 เพ่ือเป็นข้อมูลให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องนำไปใช้ในการติดตาม ปรับปรุง
และวางแผนการดำเนนิ งานต่อไป

1.3 การนำขอ้ มูลไปใช้ประโยชน์
ข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจคร้งั นี้ ผูใ้ ช้ทง้ั ภาครัฐ และภาคประชาชน สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ดังน้ี
ภาครัฐ : ใช้ในการติดตาม ประเมินผล และวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานการป้องกัน

และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในระยะต่อไป
ภาคประชาชน : สะท้อนสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นในชุมชน/หมู่บ้าน และโรงเรียน/

สถานศึกษา รวมทั้งการสร้างความเขม็ แข็งในชุมชน/หมู่บ้าน และใหข้ ้อเสนอแนะแนวทางการป้องกนั /แก้ไขปญั หา
ยาเสพตดิ

2

1.4 คมุ้ รวม
ตามกรอบการศึกษา กำหนดให้สำรวจประชาชนท่มี อี ายุ 18 ปีขนึ้ ไป ในครวั เรือนสว่ นบุคคล

ครัวเรอื นละ 1 คน การสำรวจครั้งนี้ ไมร่ วมผทู้ ่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนคนงานท่ีมีครวั เรือนคนงานมาอาศยั อยูร่ วมกนั
ในสถานท่ที ่นี ายจ้างจดั หาให้โดยไมเ่ สียคา่ ที่พัก รวมทงั้ ผทู้ ี่อาศยั อยู่ในครวั เรือนสถาบัน เชน่ เรือนจำ คา่ ยทหาร
โรงแรม วดั หอพักนกั เรียน/นักศกึ ษา เป็นต้น

1.5 คำอธบิ าย
1.5.1 ยาเสพติด ในการสำรวจครงั้ น้ี ไมร่ วม สุรา บุหร่ี หรือเครอ่ื งดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอล์
1.5.2 ผู้ค้า/ผู้ลักลอบค้ายาเสพติด หมายถึง นักค้าท่ีขายยาเสพติดให้กับผู้เสพยาเสพติด ผู้ค้า

รายย่อย รวมทง้ั การสง่ ยาเสพตดิ ในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ และมีพฤติการณ์การผลติ นำเข้า สง่ ออกยาเสพติด
1.5.3 ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ในการสำรวจคร้ังนี้ ไม่รวม ผู้ท่ีเคยได้รับการบำบัดรักษาหรืออยู่

ระหว่างการบำบดั รักษา
1.5.4 ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด หมายถึง ผู้ที่ใช้ยา/สารเสพติดเป็นประจำ และผู้ที่ใช้ยา/สารเสพติด

เปน็ ครง้ั คราวไม่ตอ่ เน่ือง

บทที่ 2
ระเบียบวิธี

2.1 วิธีการเลอื กตัวอย่าง

2.1.1 กรอบตัวอยา่ ง กรอบตัวอย่างในการสำรวจคร้ังนี้ เป็นชุมชน/หมู่บ้านเป้าหมายที่ได้รับมา

จากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส) และไม่มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้นของแต่ละ

ชุมชน/หมู่บ้าน ดังนั้น ให้สอบถามจำนวนครัวเรือนท้ังส้ินในแต่ละชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง (N) จากผู้นำชุมชน/

หมู่บ้าน เพื่อนำมาใช้ในเลอื กครัวเรือนตวั อยา่ งในขัน้ ตอนตอ่ ไป

2.1.2 ชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง รายช่ือชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง ในแต่ละจังหวัด ให้ดูจากบัญชี

รายช่อื ชมุ ชน/หมู่บ้านตัวอย่างทไ่ี ด้รับ

2.1.3 ครัวเรือนตัวอย่างในแต่ละชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่างให้ทำการเลือกครัวเรือนตัวอย่าง

ดว้ ยวธิ ีการเลอื กตัวอยา่ งแบบมีระบบ จำนวน 20 ครวั เรอื น โดยให้ดำเนนิ การ ดังน้ี

2.1.3.1 ให้เริ่มตน้ เขา้ ปฏิบตั ิงานตามหลกั การเดินแผนทเี่ ม่ือเข้าพ้นื ท่ีตัวอยา่ ง โดยกำหนดให้

ครวั เรอื นแรกท่ีพบตามคมุ้ รวมท่ีกำหนดไว้ เป็น ครวั เรอื นตวั อยา่ ง ลำดับที่ 1

2.1.3.2 จากน้ันให้เดินนับครัวเรือนตามหลักการเดินแผนที่ ไปอีกจำนวน I ครัวเรือน

( I คือ ช่วงของการสุ่ม ) โดยค่า I ของแต่ละชุมชน/หมู่บ้านตัวอย่าง เท่ากับ N ดังน้ัน ครัวเรือนดังกล่าวจะเป็น
20
ครัวเรอื นตวั อยา่ งลำดับท่ี 2

2.1.3.3 สำหรบั ครัวเรือนตัวอยา่ ง ลำดับที่ 3 ให้ดำเนนิ การนบั ครวั เรอื นตามหลักการใน ข้อ

2.1.3.2 ไปอีกจำนวน I ครัวเรือน จากนั้น ดำเนินการเช่นนี้ไปเร่ือย ๆ จนถึง ครัวเรือนตัวอย่าง ลำดับท่ี 20

ตามขนาดตวั อยา่ งที่กำหนด

2.1.4 ประชาชนตัวอย่าง ในแต่ละครัวเรือนตัวอย่าง ให้ทำการเลือกประชาชนตัวอย่าง ท่ีมอี ายุ

18 ปขี ึน้ ไป ครวั เรือนละ 1 คน เพ่อื ทำการสัมภาษณ์ในรายละเอยี ดต่อไป

2.2 วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู รายละเอียดในแบบสอบถามโดยใช้เคร่อื ง Tablet ในการสัมภาษณ์ ใช้วิธีส่ง

เจ้าหน้าทข่ี องสำนักงานสถิติจังหวัดอำนาจเจริญ ไปทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครวั เรือนตัวอย่างท่ีมีอายุตั้งแต่ 18
ปีข้ึนไปครัวเรือนละ 1 คน โดยกำหนดจำนวนประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปท้ังหมด 20 คน ต่อ 1 ชุมชน/หมู่บ้าน
ตัวอย่าง โดยให้กระจายตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และสถานภาพการทำงาน โดยมีคาบเวลาการปฏิบัติงาน

เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ระหว่างวันท่ี 10 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2562

2.3 หลักเกณฑก์ ารคำนวณคะแนน
การคำนวณคะแนนของความพึงพอใจต่อการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข

ปญั หายาเสพติด มีหลกั เกณฑ์ดังน้ี

ตัวแปรความพึงพอใจ/ความเชื่อม่ัน ซึ่งมีคะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้มีการแปลงคำตอบทีไ่ ด้จากแต่
ละตวั แปรเป็นคะแนน มีหลกั เกณฑ์ ดงั นี้

4

ระดบั ความพงึ พอใจ/ความเชอื่ มั่น คะแนน
พงึ พอใจ/เชื่อมน่ั มากที่สุด 9-10
พงึ พอใจ/เชอื่ ม่นั มาก 7-8
พึงพอใจ/เช่อื มน่ั ปานกลาง 5-6
พึงพอใจ/เชื่อมั่นน้อย 3-4
พงึ พอใจ/เชือ่ มั่นนอ้ ยท่ีสุด 1-2
ไม่พึงพอใจ/ไม่เชือ่ ม่นั 0

2.4 การเสนอผล
เสนอผลการสำรวจในระดบั จงั หวัด ในรปู ของร้อยละ

บทที่ 3
ผลการสำรวจท่สี ำคญั

3.1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบสัมภาษณ์

จากผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการดำเนินงานตามแผนประชารัฐร่วมใจ
ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2562 (วันท่ี 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ของจังหวัดอำนาจเจริญ ในคร้ังนี้
มีรายละเอียดของประชาชนผู้ตอบสัมภาษณ์ในชมุ ชนเป้าหมายในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งมีอายุ 18 ปีขนึ้ ไป
จำแนกดังน้ี

3.1.1 เพศ

ชาย หญงิ
48.1% 51.9%

3.1.2 อายุ

18 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 –59 ปี 60 ปขี ึ้นไป
16.4% 12.6%
19.1% 26.4% 25.5%

3.1.2 ระดบั การศกึ ษา

ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช./ปวส./ปวท./ ปริญญาตรี
หรอื ต่ำกว่า หรอื สูงกวา่
37.2% อนปุ รญิ ญา
46.8% 10.3% 5.7%

6

3.1.4 สถานภาพการทำงาน (รอ้ ยละ)

3.6% 3.4% 0.3% 0.2% เกษต รกร
4.1% ค้าขาย ประกอบ ุรกจสวนตวั
ขา้ รา การ พนกั งานรั พนกั งานรั วสา กจ
5.9% 47.0% รบั จ้างทั่วไป ขบั รถรับจา้ ง กรรมกร
8 .1% พอบ้าน มบ้าน(อยบู า้ นเ ย )
พนักงาน ลกู จา้ งเอก น
10.7% วางงาน ไมมงี านทา
นกั เรยี น นักศกึ ษา
16.7% ข้ารา การบานาญ
กรรมกร

3.1.5 รายได้ครวั เรอื นเ ลีย่ ตอเดอื น

55.9%

15.3% 17.1%
9.7%
1.7% 0.3%

7

3.2 สถานการณก์ ารปัญ ายาเสพตด (ยาเสพตดไมรวมสุรา บุ รี่ รอื เครื่องดม่ื ที่มี อลกอฮอล์)

รัฐบาลได้ดำเนินการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดมาอย่างจริงจังและต่อเนื่องนั้น ในปี 2562
(วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2561 – 30 กนั ยายน 2562 โดยมีเป้าหมายในการนำนโยบายและระบบบริหารจดั การอำนวยการ
ป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ อย่างมเี อกภาพ สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

3.2.1 การทราบ พบเ ็นปญั ายาเสพตดใน มุ น/ มูบา้ น

เม่ือสอบถามประชาชนจังหวัดอำนาจเจริญ ในช่วงการสำรวจเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2562

พบว่า ประชาชนร้อยละ 61.9 ทราบปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน โดยพบเห็นด้วยตนเองร้อยละ 3.3 และ
ทราบแต่ไม่พบเห็นว่ามีปัญหายาเสพติด ร้อยละ 58.6 และในขณะที่ประชาชนร้อยละ 38.1 ระบุวา่ ไม่ทราบและ
ไม่พบเหน็ (ตาราง 1)

ตาราง 1 ร้อยละของประชาชนฯ จําแนกตามการทราบ/พบเห็นปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน

การทราบ พบเ น็ ปัญ ายาเสพตดใน ุม น มูบ้าน รอ้ ยละ

รวม 100.0

ทราบปญั ายาเสพตดใน ุม น มบู ้าน 61.9

-พบเหน็ ด้วยตนเอง 3.3
-ทราบแต่ไมพ่ บเหน็ ว่าในชุมชน/หมู่บา้ นมีปญั หายาเสพติด 58.6
ไมทราบ ละไมพบเ ็นใน ุม น มบู ้านมปี ญั ายาเสพตด 38.1

3.2.2 ประเภทของยาเสพตดท่ี พรระบาดใน มุ น/ มูบา้ น
ผลการสำรวจ พบว่าประเภทของยาเสพติดท่ีแพร่ระบาดในชุมชน/หมู่บ้าน มากที่สุด คือ ยาบ้า

ร้อยละ 94.4 รองลงมา ได้แก่ กัญชา ร้อยละ 1.7 และประเภทอื่น ๆ มีเพียงเล็กน้อย เช่น กระท่อม ฝิ่น ไอซ์
สารระเหยฯ (ตาราง 2)

ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชนฯ จําแนกตามประเภทของยาเสพตดิ ท่ีแพร่ระบาดในชุมชน/หมบู่ า้ น

ประเภทยาเสพตด ร้อยละ
รวม 100.0

ยาบ้า 94.4
กญั ชา 1.7
กระทอ่ ม ฝ่นิ --
--
ไอซ์ --
สารระเหย --
ยาแกไ้ อ --
ยาอี --
--
โปรโคดลิ
อ่ืน ๆ เชน่ เฮโรอีน ทามาดอล ยาเค/คตี ามนี ฯลฯ
มายเ ตุ 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ

ยาแก้ไอตำรับท่มี โี คเดอนิ เป็นสว่ นผสม
-- ขอ้ มูลมีจำนวนเล็กน้อย

8

3.2.3 สถานการณ์ปัญ ายาเสพตดใน ุม น มูบ้าน เมื่อเปรียบเทียบกับ วงปลายปีท่ีผานมา
(เดือนตลุ าคม 2561)

ผลการสำรวจปัจจุบันเมื่อเทียบกับปลายปีที่ผ่านมา (เดือนตุลาคม 2561) พบว่า ประชาชนยังคง
ทราบและพบเห็นว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติดเหมือนเดิมฯ ร้อยละ 37.9 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 18.9 และ
สถานการณ์ปัญหายาเสพติด ลดลงร้อยละ 10.9 (ตาราง 2)

ตาราง 2 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บา้ น เมื่อเปรียบเทียบกับ
ชว่ งปลายปีที่ผา่ นมา (เดือนตลุ าคม 2561)

สถานการณ์ปัญ ายาเสพตดใน ุม น มูบ้าน รอ้ ยละ
เม่ือเปรยี บเทยี บกบั วงปลายปีที่ผานมา(เดือนตุลาคม 2561)
100.0
รวม 37.9
เ มือนเดม 24.1
7.2
เหตผุ ล - พบเหน็ ผู้เสพ/ผ้คู า้ ยาเสพตดิ อยู่เหมือนเดิม 5.8
- ผูเ้ กี่ยวข้องไม่เกรงกลัวกฎหมาย 0.8
- กฎหมายไมส่ ามารถใช้จัดการปญั หายาเสพติดได้ 18.9
- อน่ื ๆ เชน่ ยังมีการปล้น/จ้ี การม่วั สมุ ของเยาวชน ฯลฯ 8.4
10.5
เพ่มข้ึน --
เหตผุ ล - พบเหน็ ผู้เสพ/ผู้ค้ายาเสพตดิ เพิม่ ข้นึ 32.3
- การมว่ั สุมของเด็กและเยาวชนเพมิ่ ข้ึน 22.0
- อนื่ ๆ เช่น มีการ ปลน้ /จ้ี มรี ้านอบายมุขรอบสถาน ศึกษา ฯลฯ 6.4
3.6
ลดลง 0.3
เหตุผล - การมว่ั สุมของเดก็ และเยาวชนลดลง 10.9
- ผู้เสพ/ผู้ค้ายาเสพตดิ ลดลง
- มีการตง้ั จุดตรวจ จุดสกัดอย่างเขม้ งวด
- อน่ื ๆ เชน่ มกี ารควบคมุ สถานบันเทิง เจ้าหน้าที่ปราบปรามอยา่ งจรงิ จัง

ไมทราบ ไม น ใจ
มายเ ตุ -- ขอ้ มลู มีจำนวนเล็กนอ้ ย

9

3.2.4 ผู้เก่ยี วข้องกบั ปัญ ายาเสพตดใน ุม น มบู ้าน

3.2.4.1 วงอายุของผ้เู กี่ยวข้องกับปญั ายาเสพตดใน มุ น มบู ้าน

ผลการสำรวจพบว่า ผู้ท่ีเกีย่ วข้องกับยาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมบู่ ้านส่วนใหญจ่ ะมอี ายุอยู่ในช่วง15-34 ปี
โดยสูงสดุ คือ ผู้ท่ีมีอายอุ ยใู่ น 20-24 ปี ร้อยละ 70.2 รองลงมา ได้แก่ อายุ 15-19 ปี อายุ 25-29 ปี ร้อยละ 68.0
ร้อยละ 46.8 และอายุ 30-34 ปี ร้อยละ 18.9 ตามลำดับ (ตาราง 3)

ตาราง 3 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกชว่ งอายขุ องผู้เก่ยี วข้องกบั ปัญหายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมู่บ้าน

วงอายุของผูเ้ ก่ียวขอ้ งกับปัญ ายาเสพตดใน ุม น มูบา้ น 1 ร้อยละ

ต่ำกวา่ 15 ปี 8.9
15 -19 ปี 68.0
20 -24 ปี 70.2
25 -29 ปี 46.8
30 – 34 ปี 18.9
35 – 39 ปี 7.0
มากกวา่ 39 ปขี ้ึนไป 5.6

มายเ ตุ 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ

3.2.4.1 อา ีพของผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั ปัญ ายาเสพใน มุ น มูบ้าน

ผลการสำรวจ พบว่า อาชพี ของผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้าน สูงสดุ คือ ผูว้ า่ งงาน/ไมม่ ีงาน
ทำ รอ้ ยละ 73.0 รองลงมา ไดแ้ ก่ นักเรียน/นกั ศกึ ษา ร้อยละ 48.2 เกษตรกร ร้อยละ 21.2 และรับจา้ งท่ัวไปด้าน
การเกษตร รอ้ ยละ 17.8 (ตาราง 4)

ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกตามอาชีพของผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหายาเสพในชุมชน/หมบู่ า้ น

อา พี ของผู้เก่ยี วข้องกบั ปัญ ายาเสพตด 1 ร้อยละ

ว่างงาน/ไมม่ ีงานทำ 73.0
นกั เรยี น/นักศึกษา 48.2
เกษตรกร 21.2
รบั จา้ งทั่วไปดา้ นการเกษตร 17.8
รับจา้ งทัว่ ไปในครวั เรอื น 7.5
กรรมกร 7.5
พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น (อยู่บ้านเฉยๆ) 6.7
พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชนในโรงงาน 0.8
พนักงาน/ลกู จา้ งเอกชนในบรษิ ัท 0.6
คา้ ขาย/ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัว 0.3
ขบั รถรับจา้ ง 0.3
เจ้าหนา้ ท่ีรัฐ --

มายเ ตุ 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
-- ข้อมลู มีจำนวนเล็กน้อย

10

3.2.5 การไดร้ บั ความเดือดร้อนจากปัญ ายาเสพตดของคนใน มุ น มูบา้ น

ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ระบวุ ่าไม่ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติดของคนใน
ชุมชน/หมบู่ า้ น รอ้ ยละ 78.3 ระบุว่าได้รับความเดือดร้อน รอ้ ยละ 13.1

โดยได้รับความเดือดร้อนในเร่ืองแก็งค์มอเตอร์ไซด์ซ่ิง ร้อยละ 8.9 การกระทำผิดเกี่ยวกับทรัพย์
รอ้ ยละ 3.3 การส่งเสียงดังก่อความรำคาญ ร้อยละ 2.8 ทะเลาะวิวาท ร้อยละ 2.2 การกระทำผิดเกี่ยวกับร่างกาย
ร้อยละ 0.6 และอื่น ๆ เช่น ประสาทหลอน คลุ้มคล่ัง การกระทำผิดเก่ียวกับเพศ การฆาตกรรม ฯลฯ มีเพียง
เล็กนอ้ ย (ตาราง 5)

ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกการไดร้ ับความเดอื ดรอ้ นจากปัญหายาเสพติดของคนในชมุ ชน/หมบู่ ้าน

การได้รบั ความเดือดรอ้ นจากปัญ ายาเสพตดของคนใน ุม น มบู ้าน ร้อยละ

รวม 100.0
ไมไดร้ ับความเดือดร้อน 78.3
13.1
ได้รบั ความเดือดรอ้ น
เร่อื งท่ไี ด้รับความเดือดร้อน 1/ 8.9
- แกง็ คม์ อเตอรไ์ ซดซ์ ง่ิ 3.3
- การกระทำผดิ เกย่ี วกบั ทรัพย์ 2.8
2.2
- การส่งเสียงดังกอ่ ความรำคาญ 0.6
- ทะเลาะววิ าท --
- การกระทำผิดเก่ียวกับรา่ งกาย --
- ประสาทหลอน คลมุ้ คล่ัง --
8.6
- การกระทำผิดเกี่ยวกับเพศ
- อน่ื ๆ เช่น การฆาตกรรม ทำใหเ้ กิดความรู้สึกไมป่ ลอดภัยในชวี ิต
ไมทราบ ไม น ใจ

มายเ ตุ 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ
-- ขอ้ มลู มีจำนวนเลก็ นอ้ ย

11

3.2.6 การซื้อขายยาเสพตดใน ุม น/ มูบา้ น

3.2.6.1 การพบเ ็นการซื้อขายยาเสพตดใน มุ น/ มบู า้ น

จากผลการสำรวจ พบว่าประชาชนร้อยละ 58.8 ระบวุ า่ ไม่ทราบและไม่พบเหน็ การซ้ือขายยาเสพติด
ในชุมชน/หมู่บ้าน ส่วนผู้ท่ีทราบและพบเห็น ร้อยละ 41.2

โดยพบเห็นมกี ารซื้อขายยาเสพติดไดง้ ่ายรอ้ ยละ 1.2 และทราบแต่ไม่พบเห็นว่ามกี ารซอื้ ขายยาเสพติด
ในชุมชน/หมู่บ้าน ร้อยละ 40.0 (ตาราง 6)

ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนฯ จําแนกการพบเห็นการซื้อขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน

การพบเ ็นการซ้อื ขายยาเสพตดใน ุม น มบู ้าน รอ้ ยละ

รวม 100.0
ทราบ 41.2
-พบเห็นการซอ้ื ขายยาเสพติดไดง้ ่าย 1.2
-พบเหน็ การซอ้ื ขายยาเสพตดิ ได้ยาก --
-ทราบแต่ไมพ่ บเหน็ ว่ามีการซอ้ื ขายยาเสพติด 40.0
ไมทราบ 58.8
มายเ ตุ -- ข้อมลู มีจำนวนเลก็ น้อย

3.2.6.2 ท่มี าของการซื้อขายยาเสพตดใน ุม น มูบา้ น

จากผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 61.5 ระบุวา่ ยงั คงพบเหน็ คนในชุมชน/หมูบ่ ้านซื้อขายยา
เสพติดในชุมชน/หมูบ่ ้านตนเอง ส่วนประชาชนร้อยละ 25.1 ระบวุ ่าคนนอกชุมชน/หมู่บา้ นมาซ้ือขายยาเสพติดใน
ชมุ ชน/หมู่บา้ นตนเอง (ตาราง 7)

ตาราง 7 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามที่มาของการซ้ือขายยาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น

ทีม่ าของการซอื้ ขายยาเสพตดใน มุ น มูบ้าน รอ้ ยละ

รวม 100.0
61.5
คนในชุมชน/หมู่บา้ น 25.1
คนนอกชมุ ชน/หมู่บ้าน 13.4
ไม่ทราบ

12

3.2.7 ผู้เสพ ผู้ตดยาเสพตดใน ุม น มูบ้าน

3.2.7.1 การทราบ พบเ ็นผ้เู สพ ผตู้ ดยาเสพตดทย่ี ังมีพฤตการณก์ ารใ ้ยาเสพตดใน ุม น มูบ้าน
จากผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 60.7 ระบุว่าทราบ/พบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดท่ียังมี

พฤติการณ์การใช้ยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน ส่วนผู้ท่ีไม่ทราบและไม่พบเห็น ร้อยละ 39.3

โดยมีการพบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่ยังมีพฤติการณ์การใช้ยาเสพติดด้วยตนเอง ร้อยละ 2.8
และทราบแต่ไม่พบเห็นว่ามีเสพ/ผู้ติดยาเสพติด ร้อยละ 57.9 (ตาราง 8)

ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกการทราบ/พบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพตดิ ทีย่ ังมพี ฤตกิ ารณ์การใชย้ าเสพติด
ในชุมชน/หมู่บ้าน

การทราบ พบเ น็ ผู้เสพ ผตู้ ดยาเสพตด ร้อยละ
ท่ียงั มพี ฤตการณ์การใ ย้ าเสพตด
100.0
รวม 60.7
ทราบ 2.8
-พบเห็นด้วยตนเอง 57.9
-ทราบแต่ไม่พบเห็นว่ามผี ู้เสพ/ผู้ติดยาเสพตดิ 39.3

ไมทราบ ละไมพบเ น็

3.2.7.2 ท่ีมาของผู้เสพ ผู้ตดท่ียังมีพฤตการณ์การใ ้ยาเสพตดใน ุม น มูบ้าน

จากผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 72.5 ระบุว่ายังคงพบเห็นคนในชุมชน/หมู่บ้านยังมี
พฤติการณ์การใช้ยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านตนเอง ส่วนประชาชนร้อยละ 17.0 ระบุว่ายังคงพบเห็นคนนอก
ชุมชน/หมูบ่ า้ นพฤติการณ์การใช้ยาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้านตนเอง (ตาราง 9)

ตาราง 9 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกตามที่มาของผูเ้ สพ/ผูต้ ิดทีย่ งั มีพฤตกิ ารณ์การใชย้ าเสพตดิ ในชุมชน/หมูบ่ ้าน

ที่มาของผูเ้ สพ ผูต้ ดทย่ี ังมีพฤตการณ์การใ ย้ าเสพตด ร้อยละ
ใน ุม น มบู า้ น
รวม 100.0
72.5
คนในชมุ ชน/หมู่บ้าน 17.0
คนนอกชมุ ชน/หมู่บ้าน 10.5
ไมท่ ราบ

13

3.3 การ จ้งเบาะ ส รือข้อมูลขาวสารการกระทำผดเก่ียวกับยาเสพตด

3.3.1 การทราบ องทางการ จ้งเบาะ ส รือข้อมูลขาวสารการกระทำผดเก่ียวกับยาเสพตด ละ
องทางท่ีต้องการ จ้งเบาะ ส รือข้อมูลขาวสารการกระทำผดเกี่ยวกับยาเสพตด

ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนฯ ร้อยละ 86.2 ระบุว่าทราบช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูล
ข่าวสารการกระทำผิดเก่ียวกับยาเสพติด และร้อยละ 13.8 ระบุว่าไม่ทราบ

ช่องทางที่ประชาชนต้องการแจ้งเบาะแสฯ มากที่สุด คือ ผู้นำชุมชน/ผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน ร้อยละ
62.6 รองลงมา ได้แก่ สายด่วน 191 ร้อยละ 40.9 และสถานีตำรวจในพ้ืนท่ี ร้อยละ 39.5 (ตาราง 10 และ 11)

ตาราง 10 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามการทราบช่องทางการแจง้ เบาะแสหรอื ข้อมูลข่าวสารการกระทำ
ผิดเก่ียวกับยาเสพติด

การทราบ องทางการ จ้งเบาะ ส รอ้ ยละ
รือข้อมูลขาวสารการกระทำผดเก่ียวกับยาเสพตด
รวม 100.0
ทราบ 86.2
13.8
ไมท่ ราบ

ตาราง 11 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามช่องทางท่ีต้องการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารฯ

องทาง 1 ท่ีต้องการ จ้งเบาะ ส รือข้อมูลขาวสารฯ ร้อยละ

ผู้นำชุมชน/ผู้ใหญ่บ้าน/กำนนั 62.6
สายด่วน 191 40.9
สถานีตำรวจในพ้ืนที่ 39.5
ทหาร 11.4
ป.ป.ส. สายด่วน 1386 9.3
ศูนย์ดำรงธรรม 6.9
สำนักงาน ป.ป.ส. ในพนื้ ท่ี 3.8
สำนักนายก รัฐมนตรี ตู้ปณ. 1111 2.6
อ่ืน ๆ เช่น ที่ว่าการอำเภอ อบต. ฯลฯ 1.0

มายเ ตุ 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ
-- ข้อมลู มีจำนวนเล็กนอ้ ย

14

3.3.2 การ จ้งเบาะ ส รอื ขอ้ มูลขาวสารเมอื่ พบเ น็ การกระทำผดเกี่ยวกับยาเสพตด

ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนฯ ร้อยละ 69.8 ระบุว่าจะแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารการเม่ือ
พบเห็นการกระทำผิดเก่ียวกับยาเสพติด โดยระบุเหตุผลการแจ้งเบาะแสฯ สูงสุดคือต้องการให้เจ้าหน้าที่เข้ามา
แก้ไขปัญหา ร้อยละ 30.4 รองลงมาคือกลัวปัญหายาเสพติดเข้ามาเก่ียวข้องกับลูกหลาน ร้อยละ 30.4

ประชาชนฯ ที่ไม่แจ้งเบาะแสฯ ร้อยละ 30.2 โดยระบุเหตุผลการไม่แจ้งเบาะแสฯ สูงสุดคือ กลัว
ผู้กระทำผิดมา ทำร้าย ร้อยละ 13.4 (ตาราง 12)

ตาราง 12 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามการแจ้งเบาะแสหรือขอ้ มูลข่าวสารเมือ่ พบเห็นการกระทำผิด
เกี่ยวกับยาเสพติด

การ จ้งเบาะ ส รอื ขอ้ มูลขาวสาร รอ้ ยละ
เม่ือพบเ ็นการกระทำผดเก่ียวกบั ยาเสพตด
100.0
รวม 69.8
30.4
จง้ เบาะ สฯ
เหตุผล - ตอ้ งการใหเ้ จ้าหน้าทีเ่ ขา้ มาแก้ไขปญั หา

- กลัวปัญหายาเสพติดเข้ามาเกยี่ วขอ้ งกบั ลกู หลาน 21.2
- กลัวปญั หาตา่ ง ๆ ท่ีจะเกดิ ตามมาสืบเนอ่ื งจากปัญหายาเสพตดิ 13.4
- มีช่องทางรับแจง้ เบาะแสฯ ทสี่ ะดวก รวดเรว็ และไว้ใจได้ 4.8
- อน่ื ๆ เชน่ ต้องการใหย้ าเสพตดิ หมดไป ไมอ่ ยากใหค้ นในชุมชนกระทำผดิ ฯลฯ --
ไม จง้ เบาะ สฯ 30.2
เหตผุ ล - กลวั ผกู้ ระทำผิดมาทำร้าย 13.4
- เชือ่ วา่ แจง้ ไปก็ไม่มีอะไรเกดิ ขึน้ 6.2
- เกรงกลัวอทิ ธิพล 5.3
- ไมม่ นั่ ใจต่อเจา้ หน้าทร่ี ัฐในการแกไ้ ขปญั หา 3.6
- ไม่สนใจ/คดิ วา่ ไมใ่ ชเ่ ร่ืองของตนเอง 1.7
- อน่ื ๆ เชน่ ตอ้ งการใหม้ กี ารตกั เตอื นกอ่ น เปน็ คนรู้จัก ฯลฯ --
มายเ ตุ -- ขอ้ มลู มีจำนวนเล็กนอ้ ย

15

3.4 การใ ้โอกาส การยอมรับผู้เสพ ผู้ตดยาเสพตดใน ุม น มูบ้าน

3.4.1 การทราบนโยบาย “ผเู้ สพคอื ผู้ป่วย”

ผลการสำรวจเกยี่ วกบั การทราบนโยบาย “ผูเ้ สพคือผ้ปู ่วย” ประชาชนฯ รอ้ ยละ 66.7 ระบวุ า่
ทราบ โดยชอ่ งทางการทราบนโยบายฯ สูงสุดคอื การทราบนโยบายฯจากโทรทัศน์ รอ้ ยละ 51.2 รองลงมาคอื ผนู้ ำ

ชมุ ชน/ผู้ใหญ่บ้าน/กำนนั ร้อยละ 30.3 และน้อยที่สดุ คอื อน่ื ๆ เช่น คนรู้จัก การอบรม หอกระจายข่าว ฯลฯ
รอ้ ยละ 0.2 สำหรับประชาชนท่รี ะบวุ า่ ไม่ทราบ ร้อยละ 33.3 (ตาราง 13)

ตาราง 13 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกการทราบนโยบาย “ผเู้ สพคอื ผปู้ ว่ ย”

การทราบนโยบาย “ผูเ้ สพคือผ้ปู ่วย” รอ้ ยละ

รวม 100.0
ทราบ 66.7

ชอ่ งทางทีร่ บั ทราบนโยบายฯ 1/ 51.2
30.3
- โทรทัศน์ 10.9
- ผู้นำชมุ ชน/ผ้ใู หญบ่ า้ น/กำนัน 7.9
- หนว่ ยงานภาครัฐตา่ ง ๆ เช่น สำนักงาน ป.ป.ส. 6.2
- การแถลงนโยบาย ของรฐั บาล 5.9
- เฟสบุ๊ค 5.3
- วทิ ยุ 3.3
- สื่อส่ิงพมิ พ์ 0.2
- ไลน์ 33.3
- อน่ื ๆ เชน่ คนร้จู กั การอบรม หอกระจายขา่ ว ฯลฯ
ไมทราบ
มายเ ตุ 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ

16

3.4.2 การยอมรบั รือใ ้โอกาสผูเ้ ลกเสพยาเสพตด ผผู้ านการบำบัดรกั ษากลบั เขา้ สู ุม น มูบา้ น

จากผลการสำรวจพบว่า ประชาชนร้อยละ 90.5 ยอมรับ/ให้โอกาส โดยเหตุผลสูงสุด ร้อยละ 69.5
คอื ใหโ้ อกาสกลบั มาอยู่กบั ครอบครวั /ชุมชน

ประชาชนร้อยละ 4.5 ไม่ยอมรับ/ไม่ให้โอกาส โดยให้เหตุผลว่าการกลับมาอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิม
จะนำไปสกู่ ารกระทำผดิ ซำ้ ร้อยละ 2.2 (ตาราง 14)

ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกตามการยอมรับหรือใหโ้ อกาสผเู้ ลิกเสพยาเสพติด/ผ้ผู ่านการบำบดั รักษา
กลบั เขา้ สู่ชมุ ชน/หมบู่ า้ น

การยอมรับ รือใ โ้ อกาส ร้อยละ
ผู้เลิกเสพยาเสพตดิ /ผ้ผู า่ นการบำบดั รกั ษากลบั เข้าสู มุ น มบู า้ น
100.0
รวม 90.5
ยอมรบั ใ ้โอกาส 69.5
เหตผุ ล - ใหโ้ อกาสกลบั มาอยูก่ ับครอบครัว/ชุมชน 15.5
3.3
- เชอื่ ว่าจะไมก่ ลบั ไปกระทำผดิ ซำ้ 2.2
- เชอ่ื ว่าจะไม่ทำใหเ้ กดิ อันตราย 4.5
- เปน็ คนร้จู กั /คนุ้ เคยกัน 2.2
ไมยอมรบั ไมใ ้โอกาส 1.6
เหตผุ ล - การกลบั มาอยู่ในสภาพแวดล้อมเดมิ จะนำไปสกู่ ารกระทำผิดซ้ำ 0.7
- เชอ่ื วา่ ไมส่ ามารถกลบั ตวั กลับใจได้ 5.0
- เช่อื วา่ จะกลบั มาสร้างความเดือดร้อน ให้ชุมชน
ไมทราบ ไม นใจ

17

3.4.3 การยอมรบั รอื ใ โ้ อกาสผู้ต้องขังในคดียาเสพตดท่พี น้ โทษออกมากลบั เข้าสู มุ น มบู า้ น

จากผลการสำรวจการยอมรับหรือให้โอกาสผู้ต้องขังในคดียาเสพติดที่พ้นโทษออกมากลับเข้าสู่
ชุมชน/หมู่บ้าน พบว่าประชาชนร้อยละ 83.1 ระบุว่ายอมรับ/ให้โอกาส โดยสูงสุดระบุว่าให้โอกาสกลับมาอยู่กับ
ครอบครวั /ชุมชน ร้อยละ 71.9

ประชาชนร้อยละ 7.1 ระบุว่าไม่ยอมรับ/ไม่ให้โอกาส โดยสูงสุดระบุว่าการกลับมาอยู่ใน
สภาพแวดล้อมเดมิ จะนำไปสู่การกระทำผดิ ซำ้ รอ้ ยละ 3.1 (ตาราง 15)

ตาราง 15 รอ้ ยละของประชาชนฯ จำแนกตามการยอมรับหรือใหโ้ อกาสผู้ต้องขังในคดียาเสพตดิ ท่ีพ้นโทษออกมา
กลับเข้าส่ชู มุ ชน/หมบู่ า้ น

การยอมรับ รือใ ้โอกาส รอ้ ยละ
ผู้ต้องขงั ในคดียาเสพติดที่พ้นโทษออกมากลับเขา้ สู ุม น มบู า้ น

รวม 100.0
ยอมรบั ใ โ้ อกาส 83.1
เหตผุ ล - ใหโ้ อกาสกลับมาอยกู่ บั ครอบครัว/ชุมชน 71.9

- เชือ่ ว่าจะไม่กลับไปกระทำผิดซ้ำ 11.2

- อืน่ ๆ เชน่ เปิดโอกาส ใหก้ ลับตัว เปน็ คนรูจ้ กั /คนุ้ เคยกัน ฯลฯ --

ไมยอมรับ ไมใ โ้ อกาส 7.1
เหตผุ ล - การกลบั มาอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มเดิมจะนำไปสูก่ ารกระทำผดิ ซ้ำ 3.1

- เชื่อว่าไมส่ ามารถกลับตวั กลบั ใจได้ 2.8

- เช่ือว่าจะกลบั มาสรา้ งความเดอื ดร้อนให้ชมุ ชน 1.2

ไมทราบ ไม นใจ 9.8

มายเ ตุ -- ข้อมลู มจี ำนวนเล็กนอ้ ย

18

3.5 ความพงึ พอใจตอผลการดำเนนงานของรั บาล

3.5.1 ความพงึ พอใจตอผลการดำเนนงานในการป้องกัน ปราบปราม ละการบำบดั

ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานของรัฐบาล พบว่า ด้านการป้องกันปัญหายาเสพติด
ดา้ นการปราบปรามปัญหายาเสพติด และด้านการบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่ามี

ระดับความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 49.5 48.8 และ 47.2 (ตามลำดับ) โดยมีคะแนนเฉล่ีย 6.2 คะแนนจาก
คะแนนเตม็ 10 คะแนน (ตาราง 16)

ตาราง 16 ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชนฯจำแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานของ
รัฐบาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และการบำบดั

การดำเนนงาน ระดบั ความพึงพอใจ คะ นนเ ลีย่
ของรั บาล
(เต็ม 10 คะ นน)
รวม มาก - มากที่สุด ปานกลาง ไมพึงพอใจ – น้อย

(7 – 10 คะ นน) (5 – 6 คะ นน) (0 – 4 คะ นน)

รวม 100.0 41.5 50.5 8.0 6.2
1.ดา้ นการป้องกนั 100.0 40.3 49.5 10.2 6.2
2.ด้านการปราบปราม 100.0 38.8 48.8 12.4 6.1
3.ด้านการบำบดั รกั ษา 100.0 40.8 47.2 12.0 6.2

19

3.5.2 ความพงึ พอใจตอการดำเนนงานในการป้องกัน ปราบปราม ละการบำบัด เม่ือเปรียบเทียบกับ
วงปลายปีที่ผานมา (เดือนตลุ าคม 2561)

สำหรับความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการป้องกัน ปราบปราม และการบำบัด เปรียบเทียบกับ
เดอื นตุลาคม 2561 ประชาชนร้อยละ 33.8 มคี วามพงึ พอใจเพิ่มข้ึน โดยเหตผุ ลทม่ี ีความพึงพอใจเพ่ิมขึ้นสูงสุด คือ

มกี ารจับกุมผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ เพิ่มขน้ึ และมีการปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง
ประชาชนร้อยละ 45.7 มีความพึงพอใจเหมือนเดิม โดยเหตุผลท่ีมีความพึงพอใจเหมือนเดิมสูงสุด

คือ ยังคงพบเหน็ ผเู้ สพ/ผู้ติดยาเสพติดเหมอื นเดิม และยงั คงพบเห็นผู้เขา้ รบั การบำบัดยาเสพติดเหมือนเดมิ
ประชาชนร้อยละ 10.3 มีความพึงพอใจลดลง โดยเหตุผลที่มีความพึงพอใจลดลง คือ มีการจับกุม

ผู้เสพ/ผ้ตู ิดยาเสพตดิ ลดลง และมกี ารตง้ั จดุ ตรวจหรอื จุดสกดั ลดลง (ตาราง 17)

ตาราง 17 ร้อยละของประชาชนฯ จำแนกตามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการป้องกัน ปราบปราม และ
การบำบดั เม่อื เปรยี บเทียบกับช่วงปลายปที ีผ่ ่านมา (เดอื นตุลาคม 2561)

ความพึงพอใจตอการดำเนนงาน ร้อยละ
ในการปอ้ งกัน ปราบปราม ละการบำบดั

เพม่ ขึน้ 33.8

เหตุผล 15.8
- มกี ารจับกมุ ผเู้ สพ/ผ้ตู ิดยาเสพตดิ เพม่ิ ขึ้น 6.9
- มีการปราบ ปรามยาเสพตดิ อยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนอื่ ง 4.7
- มผี เู้ ขา้ รบั การบำบัด ยาเสพตดิ เพิ่มขึ้น 2.8
- มกี ารปิดล้อม ตรวจคน้ จบั กมุ ผู้คา้ ยาเสพติดเพิ่มข้ึน 2.8
- มกี ารตงั้ จดุ ตรวจ หรอื จุดสกัดเพมิ่ ขึ้น 0.5
- มกี ารควบคุมสถานบันเทงิ อยา่ งเขม้ งวดเพมิ่ ขึน้ 0.3
- มีการควบคุมเจา้ หน้าทร่ี ฐั ที่เกีย่ วข้องกับยาเสพติดเพม่ิ ขน้ึ 0.3
- มีการควบคุมเจ้าหนา้ ทร่ี ฐั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพติดเพม่ิ ขึน้ 0.3
- อนื่ ๆ ไดแ้ ก่เยาวชนมีการมวั่ สมุ นอ้ ยลงผคู้ ้า/ผู้เสพ/ผูต้ ดิ มีจำนวนลดลง 45.7

เ มือนเดม 26.2
11.9
เหตุผล 5.5
- ยงั คงพบเห็น ผ้เู สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ เหมือนเดมิ 2.1
- ยังคงพบเห็น ผเู้ ขา้ รบั การบำบดั ยาเสพติดเหมอื นเดิม --
- มีการตั้งจุดตรวจหรอื จดุ สกัดเท่าเดิม 10.3
- มเี จ้าหนา้ ท่ีรัฐเข้าไปเกย่ี วข้องกับยาเสพติดเหมอื นเดมิ
- อน่ื ๆ เชน่ สถานการณ์ยาเสพติดยังคงเหมือนเดมิ เจ้าหนา้ ท่ปี ฏบิ ัติงานจริงจังเหมอื นเดมิ ฯลฯ 4.8
2.4
ลดลง 1.9
0.3
เหตุผล 0.2
- มกี ารจับกุม ผ้เู สพ/ผู้ติดยาเสพติดลดลง 10.2
- มีการตง้ั จดุ ตรวจหรือจุดสกดั ลดลง
- มผี ู้เข้ารับการบำบัดยาเสพตดิ ลดลง
- มีแหลง่ ม่วั สมุ เพิม่ ขึน้
- อน่ื ๆ เชน่ สถานการณย์ ังคงมีอยูเหมอื นเดมิ การปราบปรามไม่จรงิ จงั /ไมต่ ่อเน่อื งฯลฯ

ไมทราบ ไม นใจ

หมายเหตุ -- ข้อมูลมีจำนวนเลก็ นอ้ ย

20

3.6 ความเ ่ือมั่นตอนโยบายรั บาล

จากผลการสำรวจระดับความเชื่อมั่นต่อนโยบายรัฐบาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และการบำบัด พบว่า
มคี ะแนนเฉลย่ี 5.9 คะแนนจากคะแนนเตม็ 10 คะแนน โดย

ประชาชนร้อยละ 54.3 ระบุว่ามีความเช่ือมั่นปานกลาง โดยให้เหตุผลว่าการปราบปรามยาเสพติดไม่

จริงจงั และไมต่ อ่ เน่ือง และการจับกุมผ้เู สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ อยา่ งจรงิ จงั เพิ่มขน้ึ
ประชาชนร้อยละ 32.7 ระบวุ ่ามีความเช่ือมั่นมาก - มากทสี่ ุด โดยให้เหตุผลวา่ มกี ารปราบปรามยาเสพติด

อยา่ งจรงิ จังและต่อเน่ือง และมีการจับกุมผ้เู สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ อย่างจริงจงั เพ่มิ ข้ึน
ประชาชนร้อยละ 13.0 ระบุว่าไม่มีความเชื่อมั่น – เชอ่ื มัน่ นอ้ ย โดยให้เหตุผลว่าการปราบปรามยาเสพติด

ไมจ่ ริงจังและไม่ต่อเนือ่ ง และผคู้ ้า/ผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ มจี ำนวนมาก (ตาราง 18)

ตาราง 18 ร้อยละและคะแนนเฉล่ียของประชาชนฯ จำแนกตามระดับความเชื่อม่ันต่อนโยบายรัฐบาลในการ
ป้องกัน ปราบปราม และการบำบัด

ระดับความเ ือ่ มน่ั ตอนโยบายรั บาล ร้อยละ
รวม 100.0
32.7
มาก - มากท่สี ุด (7 – 10 คะ นน)
เหตผุ ล 16.4
- มกี ารปราบปรามยาเสพตดิ อยา่ งจรงิ จงั และต่อเนอ่ื ง 6.0
- มีการจบั กุมผู้เสพ/ผูต้ ิดยาเสพติดอย่างจริงจังเพม่ิ ขึน้ 3.3
- มีการต้งั จดุ ตรวจหรอื จุดสกดั เพม่ิ ขน้ึ 3.1
- มีผู้เขา้ รบั การบำบัดยาเสพตดิ เพม่ิ ขึ้น 2.6
- มกี ารปิดลอ้ มตรวจคน้ ผกู้ ระทำผิดเกีย่ วกับยาเสพติดอยา่ งจริงจัง 1.0
- มกี ารควบคมุ เจ้าหนา้ ที่รฐั ทเี่ กย่ี วข้องกบั ยาเสพติดอยา่ งจรงิ จงั 0.3
- ผคู้ ้า/ผูเ้ สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ มจี ำนวนลดลง --
- ไมแ่ สดงความคิดเห็น 54.3

ปานกลาง (5 – 6 คะ นน) 19.5
9.5
เหตผุ ล 8.4
- การปราบปรามยาเสพติดไม่จรงิ จงั และไม่ตอ่ เน่ือง 5.0
- การจบั กมุ ผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ อยา่ งจริงจงั เพ่มิ ข้ึน 4.7
- มีการปราบปรามยาเสพตดิ อยา่ งจรงิ จงั และต่อเนื่อง 3.8
- ผู้คา้ /ผเู้ สพ/ ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ มีจำนวนมาก 2.4
- มผี ูเ้ ขา้ รับการบำบดั ยาเสพติดเพ่มิ ขึ้น 0.5
- มกี ารตัง้ จดุ ตรวจ หรือจุดสกดั เพ่ิมขึ้น 0.5
- มกี ารปดิ ล้อม ตรวจค้น ผู้กระทำผดิ เกี่ยวกบั ยาเสพติดอย่างจริงจัง --
- มีการควบคมุ เจ้าหนา้ ทร่ี ฐั ท่ีเกย่ี วข้องกบั ยาเสพติดอยา่ งจริงจงั 13.0
- มเี จา้ หน้าที่รัฐกระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ
- ไม่แสดงความคดิ เหน็ 6.9
3.1
ไมเ ือ่ มนั่ - นอ้ ย (0 – 4 คะ นน) 2.1
0.5
เหตุผล 0.4
- การปราบปรามยาเสพตดิ ไม่จรงิ จงั และไม่ตอ่ เน่ือง 5.9
- ผคู้ า้ /ผูเ้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติดมีจำนวนมาก
- มีเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เขา้ ไปกระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพติด
- การตง้ั จุดตรวจ/จดุ สกดั หรอื การตรวจคน้ จับกมุ ไม่เข้มงวด
- อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ มีผู้เข้ารบั การบำบัดยาเสพติดเพม่ิ ข้นึ ไม่สามารถแก้ปญั หายาเสพตดิ

คะ นนเ ลย่ี (เต็ม 10 คะ นน)

มายเ ตุ -- ขอ้ มูลมีจำนวนเล็กน้อย

21

3.7 ข้อเสนอ นะ นวทางการปอ้ งกนั ปราบปราม ละการบำบดั

จากผลการสำรวจข้อเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั ปราบปราม และการบำบัด พบว่า อนั ดับแรกควร
มกี ารปราบปรามอย่างจรงิ จังและตอ่ เนื่องรอ้ ยละ 60.7 รองลงมา ได้แก่ ควรมีการใชก้ ฎหมายลงโทษผู้ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
กบั ยาเสพตดิ อย่างเดด็ ขาด ร้อยละ 52.8 (ตาราง 19)

ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามขอ้ เสนอแนะแนวทาง1/ การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด

ข้อเสนอ นะ นวทาง1 รอ้ ยละ

การปราบปรามอยา่ งจริงจงั และต่อเน่ือง 60.7
การใช้กฎหมายลงโทษผทู้ ีเ่ กย่ี วข้องกบั ยาเสพติดอยา่ งเด็ดขาด 52.8
การตั้งจุดตรวจหรือจุดสกัดเพอ่ื เฝา้ ระวังในชมุ ชน/หมบู่ ้าน 20.0
การจดั กจิ กรรมเพอ่ื ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 19.0
การสง่ เสรมิ อาชพี ใหแ้ กผ่ ทู้ ่เี กีย่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ 17.8
การปลกู ฝงั ให้ครอบครวั ชว่ ยกนั สอดสอ่ ง ดูแล 17.1
การแก้ปญั หายาเสพตดิ ท้งั ในสถานศกึ ษาและบริเวณโดยรอบ 14.5
การใหท้ ุกภาคส่วนรว่ มมอื กนั แกป้ ญั หายาเสพตดิ 14.0
การจัดกจิ กรรมรณรงคส์ ร้างจิตสำนึก 13.8
การควบคมุ เจา้ หน้าทรี่ ัฐ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั ยาเสพตดิ 12.2
ทหารชว่ ยดแู ล ปราบปรามอยา่ งจรงิ จัง 11.2
ใหค้ วามร้เู ร่อื งยาเสพตดิ แก่เด็กและเยาวชน 9.7
ประหารชีวติ ผผู้ ลติ และผ้คู ้ายาเสพตดิ 8.1
อื่น ๆ 36.4
มายเ ตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ

ภาคผนวก



ตาราง 1 สารบญั ตารางสถิติ หน้า
ตาราง 2 26
ตาราง 3 ร้อยละของประชาชนผู้ตอบสัมภาษณ์ จำแนกตามเพศ และระดับการศกึ ษา เป็นรายจงั หวดั 27
ตาราง 4 28
ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชนผตู้ อบสัมภาษณ์ จำแนกตามอายุ เปน็ รายจังหวดั 29
ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนผู้ตอบสมั ภาษณ์ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน เป็นรายจงั หวัด 30
ร้อยละของประชาชนผู้ตอบสัมภาษณ์ จำแนกตามรายได้ของครัวเรือนเฉล่ียต่อเดือน 31
ตาราง 7 เป็นรายจงั หวดั
ตาราง 8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการพบเห็นปัญหายาเสพติด 32
ตาราง 9 ในชุมชน/หม่บู ้าน เป็นรายจังหวดั 33
ตาราง 10 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม 34
ตาราง 11 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดที่มีอยู่ในปัจจุบัน (เมษายน – พฤษภาคม 2562) 35
เปรียบเทยี บกบั เดือนตุลาคม 2561 เป็นรายจงั หวัด 36
ตาราง 12 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม
ตาราง 13 ความคดิ เห็นเก่ียวกับประเภทของยาเสพตดิ ท่ีแพร่ระบาดในชมุ ชน/หม่บู ้าน เปน็ รายจังหวัด 37
ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการพบเห็นการซื้อขายยาเสพติด 38
ในชุมชน/หมู่บ้าน เปน็ รายจังหวัด 39
ตาราง 15
ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่ามีการซ้ือขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน จำแนกตาม 40
ตาราง 16 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ทมี่ าของการซือ้ ขายยาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมูบ่ ้าน เป็นรายจังหวัด
41
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการพบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
ทย่ี งั มพี ฤตกิ ารณ์การใช้ยาเสพตดิ ในชุมชน/หมบู่ ้าน เป็นรายจงั หวดั
ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่ามีผู้เสพ/ผู้ติดที่ยังมีพฤติการณ์การใช้ยาเสพติด
ในชุมชน/หมู่บ้าน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับท่ีมาของผู้เสพ/ผู้ติดฯ ในชุมชน/
หมู่บา้ น เป็นรายจังหวดั
ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม
ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ช่วงอายขุ องผู้เก่ียวขอ้ งกบั ปัญหายาเสพติด เป็นรายจงั หวัด
ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม
ความคิดเห็นเก่ียวกับอาชพี ของผเู้ กี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด เปน็ รายจังหวดั
ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการได้รับความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติดของคนในชุมชน/
หมู่บ้าน เป็นรายจงั หวัด
ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จำแนกตาม
ค ว าม คิ ด เห็ น เก่ี ย ว กั บ ก าร ป ร ะ ส บ ค ว า ม เดื อ ด ร้อ น จ าก ปั ญ ห า ย าเส พ ติ ด ข อ ง ส ม าชิ ก
ในครัวเรือน เป็นรายจงั หวัด

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการทราบชอ่ งทางการแจ้งเบาะแส
หรือข้อมูลขา่ วสารการกระทำผิดเก่ียวกบั ยาเสพติดและชอ่ งทางที่ตอ้ งการแจ้งเบาะแสหรือ
ข้อมูลขา่ วสารการกระทำผิดเกีย่ วกับยาเสพติด เป็นรายจังหวัด

ตาราง 17 สารบญั ตารางสถติ ิ (ต่อ) หน้า
ตาราง 18 42
ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการแจ้งเบาะแสหรือขอ้ มลู ข่าวสาร 43
ตาราง 20 เมอ่ื พบเห็นการกระทำผดิ เก่ียวกับยาเสพติด เป็นรายจังหวัด 44
ตาราง 21 45
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการทราบนโยบาย “ผู้เสพคือผู้ป่วย” 46
ตาราง 22 เปน็ รายจงั หวดั
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการยอมรับหรือให้โอกาส 47
ตาราง 23 ผูเ้ ลิกเสพยาเสพติด/ผผู้ า่ นการบำบัดรกั ษากลับเข้าสูช่ ุมชน/หม่บู ้าน เปน็ รายจงั หวดั
รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกยี่ วกับการยอมรับหรือใหโ้ อกาสผูต้ ้องขงั ใน 48
ตาราง 24 คดยี าเสพติดท่พี ้นโทษออกมากลับเขา้ สชู่ มุ ชน/หมูบ่ า้ น เป็นรายจังหวดั
ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ 49
ตาราง 25 ดำเนินงานโดยรวมของรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษา ผู้เสพ/ผู้ติดยา
ตาราง 26 เสพตดิ เป็นรายจงั หวดั 50
ตาราง 27 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการป้องกัน 51
ตาราง 28 ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในปัจจุบัน (เมษายน – พฤษภาคม 52
2562) เปรียบเทียบกับเดอื นตุลาคม 2561 และเหตุผลที่มีความพึงพอใจเพิ่มข้ึน เป็นราย 53
จังหวัด

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการป้องกัน
ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในปัจจุบัน (เมษายน – พฤษภาคม
2562) เปรียบเทียบกับเดือนตุลาคม 2561 และเหตุผลท่ีมีความพึงพอใจเหมือนเดิม
เป็นรายจังหวัด
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการป้องกัน
ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในปัจจุบัน (เมษายน – พฤษภาคม
2562) เปรียบเทียบกับเดือนตุลาคม 2561 และเหตุผลที่มีความพึงพอใจลดลง เป็นราย
จงั หวดั
ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ
ดำเนินงานดา้ นการปราบปรามยาเสพติด เปน็ รายจังหวัด

ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ
ดำเนินงานดา้ นการปอ้ งกนั ปัญหายาเสพตดิ เปน็ รายจังหวดั

ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ
ดำเนินงานดา้ นการบำบดั รักษาผ้เู สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด เป็นรายจงั หวัด
ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความเชื่อมั่นต่อนโยบายรัฐบาล
ในการปอ้ งกัน ปราบปรามและบำบัดรกั ษาผ้เู สพ/ผ้ตู ิดยาเสพติด เป็นรายจงั หวัด

สารบัญตารางสถิติ (ต่อ)

ตาราง 29 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความเชื่อมั่นต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน หน้า
ตาราง 30 ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และเหตุผลท่ีให้คะแนนความเช่ือมั่น 54
ตาราง 31 0 – 4 คะแนน เปน็ รายจงั หวดั 55
ตาราง 32
ตาราง 33 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความเช่ือม่ันต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน 56
ตาราง 34 ปราบปราม และบำบัดรกั ษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และเหตุผลที่ให้คะแนน ความเช่ือมั่น 57
ตาราง 35 5 – 6 คะแนน เป็นรายจังหวดั 58
ตาราง 36 59
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความเชื่อมั่นต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน 60
ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และเหตุผลท่ีให้คะแนน ความเชื่อมั่น
7 – 10 คะแนน เป็นรายจงั หวัด 61

ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จำแนกตามระดับความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินจากสถานการณ์ปัญหายาเสพติด เปน็ รายจงั หวดั

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจาก
สถานการณ์ปัญหายาเสพติด และเหตุผลท่ีให้คะแนนความปลอดภัยฯ 0 – 4 คะแนน
เปน็ รายจงั หวดั

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจาก
สถานการณ์ปัญหายาเสพติด และเหตุผลท่ีให้คะแนนความปลอดภัยฯ 5 – 6 คะแนน
เป็นรายจงั หวดั

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามคะแนนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจาก
สถานการณ์ปัญหายาเสพติด และเหตุผลที่ให้คะแนนความปลอดภัยฯ 7 – 10 คะแนน
เปน็ รายจงั หวัด

ร้อยละของประชาชน จำแนกตามข้อเสนอแนะแนวทางการป้องกัน ปราบปราม และ
บำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด รวมถึงการติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษาหรือ
ผู้ต้องขงั ในคดยี าเสพตดิ ท่พี ้นโทษออกมาในชมุ ชน/หมบู่ ้าน เปน็ รายจงั หวดั

ตาราง 1 ร้อยละของประชาชนผตู้ อบสัมภาษณ์ จำแนกตามเพศ และระดบั การศึกษา

เพศ
จังหวดั รวม ชาย หญงิ

ทัว่ ประเทศ 100.0 49.3 50.7

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 100.0 49.2 50.8

ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 49.4 50.6

นครราชสีมา 100.0 48.8 51.2

บรุ รี มั ย์ 100.0 48.1 51.9

สุรินทร์ 100.0 49.8 50.2

ศรีสะเกษ 100.0 50.0 50.0

อบุ ลราชธานี 100.0 50.2 49.8

ยโสธร 100.0 50.2 49.8

ชยั ภูมิ 100.0 50.0 50.0

อำนาจเจรญิ 100.0 48.1 51.9

ป.ป.ส. ภาค 4 100.0 49.1 50.9

บงึ กาฬ 100.0 47.8 52.2

หนองบัวลำภู 100.0 46.6 53.4

ขอนแก่น 100.0 50.5 49.5

อุดรธานี 100.0 48.6 51.4

เลย 100.0 49.7 50.3

หนองคาย 100.0 45.3 54.7

มหาสารคาม 100.0 51.4 48.6

ร้อยเอด็ 100.0 48.8 51.2

กาฬสนิ ธุ์ 100.0 49.0 51.0

สกลนคร 100.0 51.2 48.8

นครพนม 100.0 48.8 51.2

มุกดาหาร 100.0 51.2 48.8

า เปน็ รายจงั หวดั ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี 26

รวม ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา ปวช./ปวส./ปวท./ หรอื สูงกว่า
หรือตำ่ กวา่ อนุปรญิ ญา
8.1
100.0 45.8 35.1 11.0
5.9
100.0 49.3 37.7 7.1 5.8
100.0 50.4 37.7 6.1 3.6
100.0 53.4 39.7 3.3 9.3
100.0 47.4 37.4 5.9 6.6
100.0 50.3 36.7 6.4 1.7
100.0 60.9 34.1 3.3 8.4
100.0 38.8 45.4 7.4 6.6
100.0 48.9 36.9 7.6 4.7
100.0 56.3 34.3 4.7 5.7
100.0 46.8 37.2 10.3 5.9
100.0 48.7 37.7 7.7 2.1
100.0 56.5 36.4 5.0 4.1
100.0 69.9 22.6 3.4 10.0
100.0 46.8 34.1 9.1 3.3
100.0 47.7 35.0 14.0 6.6
100.0 47.9 40.7 4.8 5.7
100.0 53.9 30.2 10.2 10.7
100.0 44.8 39.0 5.5 6.2
100.0 44.2 42.2 7.4 4.8
100.0 41.0 45.4 8.8 5.2
100.0 47.0 41.9 5.9 7.4
100.0 44.2 41.2 7.2 4.5
100.0 40.7 43.6 11.2

ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชนผู้ตอบสมั ภาษณ์ จำแนกตามอายุ เปน็ รายจงั หวัด

จงั หวดั รวม
18 – 19 ปี 20 – 24 ปี 25 – 29 ปี 30 –
ทว่ั ประเทศ
100.0 4.2 5.2 6.7 8
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 4.1 5.0 6.1
นครราชสมี า 100.0 4.5 5.3 6.0
บรุ รี ัมย์ 100.0 2.9 6.4 6.0
สรุ ินทร์ 100.0 4.8 6.0 6.4
ศรีสะเกษ 100.0 4.8 6.9 5.2
อุบลราชธานี 100.0 2.9 3.4 5.9
ยโสธร 100.0 7.1 5.5 8.6
ชยั ภูมิ 100.0 5.3 5.3 6.7
อำนาจเจริญ 100.0 3.1 4.0 2.9
ป.ป.ส. ภาค 4 100.0 5.0 5.2 6.2
บึงกาฬ 100.0 3.9 4.8 6.1
หนองบวั ลำภู 100.0 1.4 1.4 3.4
ขอนแก่น 100.0 2.2 1.6 2.9
อดุ รธานี 100.0 5.2 8.3 6.2 1
เลย 100.0 4.1 4.3 6.9
หนองคาย 100.0 3.3 3.8 7.1
มหาสารคาม 100.0 2.6 4.1 6.7
ร้อยเอด็ 100.0 2.6 6.0 6.0
กาฬสินธ์ุ 100.0 2.2 3.4 5.7
สกลนคร 100.0 8.1 7.9 8.4
นครพนม 100.0 6.0 6.6 6.0 1
มกุ ดาหาร 100.0 4.7 4.5 7.6
100.0 4.5 6.0 6.6

– 34 ปี อายุ 45 – 49 ปี 50 – 54 ปี 55 – 59 ปี 60 ปขี ้นึ ไป 27

8.3 35 – 39 ปี 40 – 44 ปี 12.5 14.5 10.6 15.4

8.0 10.1 12.5 13.5 15.7 10.9 13.8
7.7 14.1 15.9 10.5 12.7
7.1 9.9 13.0 15.2 13.3 12.4 16.0
8.4 10.0 13.3 15.3 15.9 7.9 8.4
6.7 9.3 11.4 11.7 16.9 10.9 18.0
7.9 10.3 16.6 16.9 16.6 11.2 12.1
9.8 7.2 11.7 11.7 13.8 8.6 6.6
6.9 10.2 12.9 14.1 14.1 12.2 13.2
6.4 11.0 17.3 14.0 20.1 11.6 15.0
7.9 11.2 11.0 14.0 16.7 8.8 12.6
8.2 9.3 13.6 13.1 15.6 11.2 14.6
8.1 11.2 12.4 18.3 18.7 13.3 11.7
4.7 9.8 12.7 10.2 17.9 14.3 27.4
10.5 9.7 14.0 9.7 13.1 7.1 14.3
7.8 9.7 9.1 11.2 15.5 11.9 17.1
7.9 10.2 15.4 13.4 15.6 12.4 11.6
7.2 8.3 12.9 13.6 15.9 13.4 17.7
8.4 10.9 14.0 14.3 15.3 11.6 18.6
7.1 9.0 9.8 13.8 19.6 9.0 11.6
9.0 8.6 8.6 11.4 11.2 10.7 12.9
10.3 10.7 16.9 11.6 16.8 9.8 9.3
8.4 10.7 9.7 13.3 12.1 11.4 13.4
8.4 8.6 15.0 16.1 15.0 9.5 9.8
11.7 12.9
9.8 14.3

ตาราง 3 รอ้ ยละของประชาชนผตู้ อบสัมภาษณ์ จำแนกตามสถานภาพการทำงาน เป็น

จังหวัด เกษตรกร คา้ ขาย/ รับจ้างทวั่ ไป/ พนกั

รวม ประกอบธุรกจิ ขบั รถรับจ้าง ลูกจ้าง

สว่ นตัว

ทัว่ ประเทศ 100.0 29.1 18.7 13.2 1

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 100.0 38.1 16.3 12.0
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 40.3 15.5 11.3

นครราชสมี า 100.0 37.3 16.4 11.4 1
บรุ รี มั ย์ 100.0 34.0 16.6 14.5
สรุ ินทร์ 100.0 33.0 16.7 11.9

ศรสี ะเกษ 100.0 53.2 14.3 8.3
อบุ ลราชธานี 100.0 31.6 14.3 14.8 1
ยโสธร 100.0 49.1 14.7 8.3 1

ชยั ภมู ิ 100.0 37.0 14.3 12.9
อำนาจเจริญ 100.0 47.0 16.7 8.1

ป.ป.ส. ภาค 4 100.0 36.7 16.9 12.4
บึงกาฬ 100.0 59.0 13.1 7.1
หนองบวั ลำภู 100.0 43.3 19.1 9.5

ขอนแก่น 100.0 28.5 15.3 13.4 1
อุดรธานี 100.0 31.9 17.9 18.1
เลย 100.0 40.5 18.6 9.8

หนองคาย 100.0 28.5 19.1 14.1
มหาสารคาม 100.0 34.8 18.8 9.1
รอ้ ยเอด็ 100.0 32.7 16.7 16.7
กาฬสนิ ธ์ุ 100.0 33.0 15.7 11.2 1

สกลนคร 100.0 39.8 12.1 18.4
นครพนม 100.0 37.5 17.6 12.4
มกุ ดาหาร 100.0 31.4 18.4 9.3 1

หมายเหตุ -- ขอ้ มลู มจี ำนวนเลก็ นอ้ ย

นรายจังหวัด

สถานภาพการทำงาน

กงาน/ พ่อบ้าน/ ข้าราชการ นักเรยี น/ ว่างงาน/ กรรมกร ข้าราชการ
งเอกชน แม่บ้าน พนักงาน นกั ศึกษา ไม่มีงานทำ บำนาญ
ลกู จา้ งของรัฐ/ 1.8
(อยบู่ ้านเฉยๆ) พนักงาน 4.7 1.9 2.2 1.0
4.5 1.8 2.2 0.6
รัฐวสิ าหกิจ 4.6 2.2 0.9 0.5
3.4 2.8 2.9 0.2
13.0 10.5 6.1 5.3 2.4 3.4 1.0
4.5 3.6 4.0 0.9
8.1 8.2 8.2 3.4 1.0 1.7 0.3
7.5 7.0 8.9 7.8 1.0 0.5 0.3
5.0 0.7 4.1 0.5
12.4 10.9 4.3 3.8 2.8 0.2 0.3
8.6 3.8 10.9 3.4 3.6 2.1 0.3
4.8 9.5 11.7 4.5 1.6 1.9 0.6
1.6 -- 0.7 0.3
4.0 5.5 6.0 1.6 1.0 2.8 0.5
10.0 4.7 13.8 7.4 1.4 1.0 1.2
10.3 3.3 7.6 4.5 1.4 1.4 --
3.6 1.0 2.2 0.5 28
3.1 2.4 1.4 0.9
6.0 12.4 6.4 5.0 0.9 3.3 0.9
4.1 5.9 10.7 4.3 2.1 3.6 0.5
8.1 1.0 2.1 0.5
8.5 9.0 7.7 6.7 3.3 2.4 0.2
2.6 11.6 2.8 3.6 2.9 2.6 0.9
3.1 16.4 4.8 4.1 1.6 0.7

15.7 6.9 7.4
7.8 11.2 6.2
9.1 8.6 6.9

7.9 14.0 7.8
7.4 6.7 15.0
7.2 7.2 9.3
11.4 8.4 7.1

6.2 5.5 5.7
7.6 4.8 10.3
15.9 6.7 9.3

ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชนผู้ตอบสัมภาษณ์ จำแนกตามรายไดข้ องครวั เรอื นเฉลย่ี

จังหวัด รวม ต่ำกวา่ 3,501 บาท 3,501 – 10,000 บาท 10,00

ทัว่ ประเทศ 100.0 5.4 32.5

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 100.0 8.1 46.4
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 8.7 49.1
นครราชสีมา 100.0 7.8 48.5
บุรรี มั ย์ 100.0 8.1 51.6
สุรนิ ทร์ 100.0 15.5 42.8
ศรีสะเกษ 100.0 11.4 55.4
อุบลราชธานี 100.0 3.4 43.3
ยโสธร 100.0 4.7 53.8
ชัยภมู ิ 100.0 3.6 41.0
อำนาจเจรญิ 100.0 15.3 55.9
ป.ป.ส. ภาค 4 7.7 44.8
บงึ กาฬ 100.0 6.6 34.0
หนองบวั ลำภู 100.0 9.0 55.6
ขอนแก่น 100.0 7.6 28.7
อดุ รธานี 100.0 9.7 43.5
เลย 100.0 2.9 34.1
หนองคาย 100.0 4.0 39.1
มหาสารคาม 100.0 6.2 38.3
ร้อยเอ็ด 100.0 10.3 55.3
กาฬสินธุ์ 100.0 3.8 52.4
สกลนคร 100.0 15.3 63.3
นครพนม 100.0 10.3 53.7
มกุ ดาหาร 100.0 6.2 38.5
100.0
หมายเหตุ -- ข้อมลู มจี ำนวนเล็กนอ้ ย

ยต่อเดอื น เป็นรายจังหวดั

รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดอื น

01 – 15,000 บาท 15,001 – 30,000 บาท 30,001 – 50,000 บาท 50,001 – 100,000 บาท มากกว่า 100,000 บาท

28.0 24.7 7.8 1.4 0.2

27.8 14.4 2.8 0.5 --

26.4 13.0 2.3 0.5 --

27.4 14.5 1.6 0.2 --

26.7 11.2 2.2 -- 0.2

24.5 13.1 2.9 1.0 0.2

22.4 9.8 0.7 0.3 --

34.5 15.7 2.4 0.7 --

22.6 13.1 4.8 1.0 --

36.0 16.7 2.4 0.3 --

17.1 9.7 1.7 0.3 -- 29

28.6 15.3 3.1 0.5 --

38.1 19.0 1.9 0.2 0.2

21.9 11.6 1.2 0.5 0.2

27.6 25.2 10.0 0.9 --

32.2 11.2 2.9 0.3 0.2

35.7 22.8 4.0 0.5 --

34.3 20.9 1.7 -- --

31.0 20.2 4.1 0.2 --

25.9 6.9 1.4 0.2 --

28.4 11.6 2.8 1.0 --

16.4 4.5 0.5 -- --

20.9 9.0 4.5 1.6 --

31.2 21.2 2.2 0.7 --

ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกับการพบเห็นปัญหาย

จงั หวัด รวม
พบเห็นด
ทัว่ ประเทศ
100.0
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0
นครราชสีมา 100.0
บรุ รี มั ย์ 100.0
สุรินทร์ 100.0
ศรีสะเกษ 100.0
อุบลราชธานี 100.0
ยโสธร 100.0
ชยั ภูมิ 100.0
อำนาจเจริญ 100.0
ป.ป.ส. ภาค 4 100.0
บึงกาฬ 100.0
หนองบัวลำภู 100.0
ขอนแก่น 100.0
อดุ รธานี 100.0
เลย 100.0
หนองคาย 100.0 1
มหาสารคาม 100.0
รอ้ ยเอด็ 100.0
กาฬสนิ ธ์ุ 100.0
สกลนคร 100.0
นครพนม 100.0
มกุ ดาหาร 100.0
100.0

ยาเสพติดในชมุ ชน/หมบู่ ้าน เป็นรายจงั หวัด

ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การพบเหน็ ปญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หม่บู า้ น

ดว้ ยตนเอง ไม่พบเห็น ไม่พบเหน็
แต่ทราบวา่ ในชมุ ชน/หมบู่ ้าน และไมท่ ราบวา่ ในชมุ ชน/หมู่บ้าน

มปี ญั หายาเสพตดิ มีปญั หายาเสพติด

5.8 40.9 53.3

3.2 48.2 48.6 30
2.5 46.8 50.7
1.7 36.9 61.4
1.6 70.0 28.4
4.1 35.7 60.2
2.9 26.0 71.1
4.3 72.3 23.4
0.9 30.3 68.8
0.9 38.4 60.7
3.3 58.6 38.1

3.8 49.7 46.5
1.9 81.2 16.9
5.0 45.3 49.7
4.7 46.9 48.4
3.4 59.2 37.4
13.6 56.4 30.0
2.2 29.7 68.1
2.1 36.2 61.7
0.5 51.7 47.8
0.7 48.1 51.2
6.7 46.6 46.7
3.8 58.1 38.1
1.7 44.3 54.0

ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนทีพ่ บเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมบู่ า้ นมปี ัญหายาเสพตดิ

พฤษภาคม 2562 ) เปรียบเทียบกับเดือนตุลาคม 2561 เปน็ รายจังหวดั

ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ปญั หายาเสพตดิ ท่ีม

เหตผุ ลท่ีเพมิ่ ขนึ้

พบเห็นผู้ การม่ัวสุม อนื่ ๆเชน่ มีการ พบเหน็

จังหวัด รวม เสพ/ผคู้ า้ ยา ของเด็กและ ปล้น/จี้ ทำ ผู้เสพ/ผ

เพ่มิ ขึ้น เสพตดิ เยาวชน รา้ ยรา่ งกาย เหมอื นเดิม ยาเสพต
เพ่มิ ขึ้น เพ่ิมขนึ้ มรี ้านอบายมขุ อยู่

รอบสถานศกึ ษา เหมอื นเ

ฯลฯ

ท่ัวประเทศ 100.0 18.0 10.4 7.2 0.4 36.4 22.0
0.5 37.3 22.5
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 100.0 20.4 10.5 9.4 0.5 35.3 22.5
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 22.1 10.5 11.1 -- 27.2 21.9
นครราชสมี า 100.0 21.0 9.8 11.2 0.7 36.4 32.1
บรุ ีรมั ย์ 100.0 31.8 13.3 17.8 0.4 42.4 25.9
สรุ ินทร์ 100.0 25.5 14.7 10.4 -- 28.6 22.6
ศรีสะเกษ 100.0 19.0 10.7 8.3 1.1 37.6 14.4
อุบลราชธานี 100.0 19.4 8.1 10.2 -- 45.3 25.9
ยโสธร 100.0 9.4 3.9 5.5 -- 36.8 22.8
ชยั ภูมิ 100.0 17.1 12.3 4.8 -- 37.9 24.1
อำนาจเจริญ 100.0 18.9 8.4 10.5 0.5 39.2 22.5
ป.ป.ส. ภาค 4 100.0 18.9 10.5 7.9 0.8 52.0 35.4
บึงกาฬ 100.0 23.9 9.3 13.8 0.3 25.3 20.9
หนองบัวลำภู 100.0 52.8 29.9 22.6 0.7 30.8 13.8
ขอนแก่น 100.0 15.1 8.4 6.0 -- 46.6 27.0
อุดรธานี 100.0 8.5 4.6 3.9 0.7 48.0 36.7
เลย 100.0 29.1 26.7 1.7 1.1 35.6 23.2
หนองคาย 100.0 22.7 10.3 11.3 2.3 36.0 5.0
มหาสารคาม 100.0 14.4 2.3 9.8 -- 49.1 26.3
รอ้ ยเอ็ด 100.0 9.9 5.9 4.0 -- 22.3 14.5
กาฬสินธ์ุ 100.0 9.2 1.8 7.4 0.3 45.9 29.3
สกลนคร 100.0 28.2 15.9 12.0 0.3 32.3 18.4
นครพนม 100.0 28.7 17.8 10.6 1.5 38.9 25.7
มกุ ดาหาร 100.0 21.0 7.1 12.4

หมายเหตุ -- ขอ้ มลู มจี ำนวนเล็กน้อย

จำแนกตามความคดิ เห็นเกีย่ วกับปัญหายาเสพตดิ ทมี่ ีอยู่ในปัจจุบนั (เมษายน –

มอี ย่ใู นปจั จบุ ัน (เมษายน – พฤษภาคม 2562) เปรียบเทยี บกบั เดือนตลุ าคม 2561

เหตผุ ลท่ีเหมอื นเดิม เหตผุ ลท่ีลดลง

น ผ้เู กย่ี วข้อง กฎหมาย ยงั มกี าร การมัว่ สุม ผู้เสพ/ผู้คา้ มกี ารต้ัง อื่นๆเช่น มี การ
ผคู้ า้ ไม่เกรงกลวั ไมส่ ามารถ ปล้น/จี้ ยาเสพตดิ จุดตรวจ ควบคุม สถาน
ติด กฎหมาย ใช้จดั การ การมั่วสมุ ลดลง ของเด็ก ลดลง จุดสกัด บันเทิงแหลง่ ไมท่ ราบ/
และ
ปญั หา ของเยาวชน อย่าง ยาเสพติด ถูก ไม่แนใ่ จ
เดิม ยาเสพติดได้ เยาวชน
ลดลง เขม้ งวด ทำลายเจา้ หน้าที่
ปราบปรามอย่าง

จรงิ จงั ฯลฯ

0 7.7 4.4 2.3 30.7 15.0 10.3 4.1 1.3 14.9

5 8.8 4.6 1.4 29.4 16.0 9.1 3.8 0.5 12.9
5 7.4 4.1 1.3 32.5 15.7 10.9 5.4 0.5 10.1
9 3.1 2.2 -- 35.7 13.8 10.3 11.6 -- 16.1
1 3.1 1.2 -- 29.9 19.6 8.9 1.2 0.2 1.9
9 9.5 6.1 0.9 24.7 16.0 6.1 2.6 -- 7.4
6 3.6 1.2 1.2 25.6 12.5 11.3 -- 1.8 26.8 31

4 12.2 8.1 2.9 33.8 14.9 10.8 7.2 0.9 9.2
9 16.6 2.2 0.6 37.0 14.4 19.3 2.2 1.1 8.3
8 9.2 2.2 2.6 38.6 15.8 21.0 1.8 -- 7.5
1 7.2 5.8 0.8 32.3 22.0 6.4 3.6 0.3 10.9
5 10.0 5.1 1.6 26.6 16.4 7.4 2.3 0.5 15.3
4 5.4 3.5 7.7 13.1 9.9 1.2 0.8 1.2 11.0
9 1.0 3.1 0.3 9.2 3.8 4.4 1.0 -- 12.7
8 12.7 4.0 0.3 40.1 24.7 14.4 1.0 -- 14.0
0 11.3 7.7 0.6 30.3 22.6 5.2 2.2 0.3 14.6
7 5.9 5.2 0.2 10.3 3.9 3.4 3.0 -- 12.6
2 3.8 1.6 7.0 19.5 8.1 8.7 1.1 1.6 22.2
0 24.7 6.3 -- 36.5 24.7 1.4 9.0 1.4 13.1
3 10.6 9.6 2.6 31.4 16.1 13.9 0.7 0.7 9.6
5 5.3 2.1 0.4 34.9 22.5 5.7 5.3 1.4 33.6
3 10.4 3.9 2.3 12.3 9.1 1.6 1.3 0.3 13.6
4 7.5 4.7 1.7 16.4 6.7 7.2 1.7 0.8 22.6
7 7.9 1.9 3.4 32.2 17.2 12.0 3.0 -- 7.9

ตาราง 7 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด จ
เป็นรายจงั หวัด

คว
จังหวดั ยาบา้ น้ำกระทอ่ ม กระท่อม กัญชา

ท่ัวประเทศ 80.9 17.7 11.1 10.1

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 92.7 0.1 0.7 9.5
ป.ป.ส. ภาค 3 92.9 0.2 1.2 7.9
นครราชสมี า 92.9 -- -- 9.4
บุรรี ัมย์ 95.9 0.5 0.5 14.0
สุรนิ ทร์ 92.6 -- 0.4 10.4
ศรีสะเกษ 95.8 -- -- 11.3
อบุ ลราชธานี 89.0 0.2 3.6 4.1
ยโสธร 95.0 -- -- 5.5
ชยั ภูมิ 96.1 -- -- 1.3
อำนาจเจรญิ 94.4 -- -- 1.7
ป.ป.ส. ภาค 4 92.4 0.1 0.4 11.0
บึงกาฬ 94.6 -- 0.8 17.0
หนองบัวลำภู 95.9 1.0 -- 15.1
ขอนแกน่ 91.6 -- 0.3 17.4
อดุ รธานี 92.6 -- -- 9.9
เลย 96.1 -- 0.2 5.2
หนองคาย 83.2 -- 0.5 12.4
มหาสารคาม 97.7 0.5 -- 9.9
ร้อยเอด็ 97.7 -- 0.3 5.0
กาฬสนิ ธุ์ 81.6 -- -- 1.8
สกลนคร 90.3 0.3 1.0 15.2
นครพนม 89.7 -- 1.4 10.6
มกุ ดาหาร 96.6 -- -- 9.0

หมายเหตุ 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ, 2/ ยาแก้ไอตำรบั ท่ีมโี คเดอินเป็นสว่ นผสม และ -- ข้อมูลมีจำนว

จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทของยาเสพติดที่แพร่ระบาดในชุมชน/หมู่บา้ น

วามคิดเหน็ เกี่ยวกับประเภท 1/ ของยาเสพตดิ ทีแ่ พรร่ ะบาด ฝ่นิ โปรโคดิล อื่นๆเชน่ เฮโรอนี
า ไอซ์ สารระเหย ยาแกไ้ อ2/ ยาอี ทามาดอลยาเค/คตี า

มีน ฯลฯ

4.2 3.4 1.3 1.1 0.5 0.3 0.6
0.5
0.9 3.4 0.9 0.1 0.1 0.1 0.4 32
0.8 4.4 0.5 -- -- -- --
-- -- 0.4 -- -- -- --
0.2 6.3 -- -- -- -- 0.2
-- 0.9 -- -- -- -- --
1.8 0.6 -- 0.5 0.6 -- --
0.9 10.8 1.6 -- -- -- --
-- 2.2 -- -- -- -- --
4.4 -- -- -- -- -- --
-- -- -- 0.8 -- -- --
0.9 2.4 1.3 0.2 0.1 0.2 0.6
0.2 2.3 -- -- 0.8 -- 0.6
2.4 0.3 -- 2.0 -- 0.3 --
1.7 4.0 -- -- 0.3 -- 1.3
1.1 2.8 -- -- -- -- --
-- 0.2 -- -- -- 0.2 0.7
3.8 8.6 -- -- -- -- 0.5
0.9 1.4 -- -- -- -- --
-- 5.0 3.3 -- 0.3 -- --
-- -- -- -- -- -- --
0.6 0.6 8.7 1.4 -- 1.6 1.9
0.3 1.4 0.8 9.0 -- -- 0.8
2.2 0.4 -- -- -- 1.5

วนเลก็ นอ้ ย

ตาราง 8 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การพบเหน็ การซือ้ ขา

ความคดิ เหน็

พบเหน็ เหตุผลที่พบเหน็ การซื้อขายได้ง

จังหวัด การซ้อื ขาย พบเหน็ พบเหน็ พบเห็น
รวม ยาเสพติด การซื้อขาย การซอ้ื ขาย การซ้อื ขาย

ไดง้ า่ ย ไดท้ ่วั ไป แบบเปิดเผย ใช้ระยะเวลา
เหมอื นซือ้ ไมเ่ กรงกลวั ไมน่ าน (1-2

ของกนิ -ของใช้ กฎหมาย ชั่วโมง)

ทั่วประเทศ 100.0 2.3 1.4 0.6 0.2

ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 100.0 1.1 0.6 0.3 0.2
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0 0.4 0.1 0.2 0.1
นครราชสมี า 100.0 -- -- -- --
บรุ รี ัมย์ 100.0 0.2 0.2 -- --
สุรนิ ทร์ 100.0 0.2 -- -- --
ศรีสะเกษ 100.0 1.2 0.3 0.3 0.6
อบุ ลราชธานี 100.0 0.7 0.2 0.5 --
ยโสธร 100.0 0.5 0.3 0.2 --
ชัยภูมิ 100.0 0.2 -- 0.2 --
อำนาจเจรญิ 100.0 1.2 0.3 0.9 --
ป.ป.ส. ภาค 4 100.0 1.9 1.1 0.4 0.3
บงึ กาฬ 100.0 1.2 0.7 0.5 --
หนองบัวลำภู 100.0 1.6 1.4 -- 0.2
ขอนแกน่ 100.0 1.9 0.3 0.3 1.1
อดุ รธานี 100.0 1.6 1.1 0.3 0.2
เลย 100.0 11.0 9.4 1.6 --
หนองคาย 100.0 0.9 0.2 0.7 --
มหาสารคาม 100.0 -- -- -- --
รอ้ ยเอด็ 100.0 0.2 0.2 -- --
กาฬสนิ ธ์ุ 100.0 -- -- -- --
สกลนคร 100.0 3.4 1.5 1.5 0.2
นครพนม 100.0 2.1 1.1 0.3 0.5
มกุ ดาหาร 100.0 0.3 0.1 0.2 --

หมายเหตุ -- ข้อมลู มีจำนวนเล็กน้อย

ายยาเสพตดิ ในชมุ ชน/หม่บู า้ น เป็นรายจงั หวัด

นเกีย่ วกบั การพบเห็นการซอื้ ขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บา้ น

ง่าย พบเห็น เหตุผลท่พี บเห็นการซื้อขายไดย้ าก ไมพ่ บเหน็ ไมพ่ บเห็น
อ่ืนๆเชน่ มกี าร การซ้อื ขาย แตท่ ราบวา่ และไมท่ ราบ
ซอ้ื ขายตาม ยาเสพตดิ เจ้าหน้าที่ ต้องไปซอ้ื มกี ารต้ัง
รา้ นคา้ ในชุมชน/ ได้ยาก เขม้ งวด นอกชมุ ชน/ จุดตรวจ มกี าร วา่ มีการ
ซอ้ื ขาย ซื้อขาย
หมู่บา้ นมีการซ้ือ หมู่บา้ น จดุ สกัด ยาเสพติด ยาเสพตดิ
ขายทาง
29.9 67.6
อินเตอรเ์ นต็ ฯลฯ 36.2 62.5
35.3 64.1
0.1 0.2 0.1 0.1 -- 26.7 73.1
62.9 36.9
-- 0.2 0.1 0.1 -- 20.3 79.5
-- 0.2 0.1 -- 0.1 16.9 81.7
-- 0.2 0.2 -- -- 57.0 41.4
-- -- -- -- -- 17.8 81.7
0.2 -- -- -- -- 28.4 71.4
-- 0.2 0.2 -- -- 40.0 58.8
-- 0.9 0.3 0.3 0.3 37.1 60.9 33
77.8 21.0
-- -- -- -- -- 31.7 66.2
-- -- -- -- -- 33.8 64.3
-- -- -- -- -- 53.2 45.2
0.1 0.1 -- 0.1 -- 45.9 43.1
-- -- -- -- -- 27.6 71.5
-- 0.5 0.5 -- -- 20.9 78.6
0.2 -- -- -- -- 34.1 65.7
-- -- -- -- -- 24.3 75.5
-- -- -- -- -- 36.6 59.8
-- -- -- -- -- 39.3 58.3
-- 0.5 -- 0.5 -- 38.3 61.4
-- -- -- -- --
-- 0.2 -- 0.2 --
0.2 0.2 -- 0.2 --
0.2 0.3 -- 0.3 --
-- -- -- -- --

ตาราง 9 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่ามกี ารซือ้ ขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ
เปน็ รายจงั หวดั

จงั หวดั รวม คนในชุม
4
ทัว่ ประเทศ 100.0

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 100.0
ป.ป.ส. ภาค 3 100.0
นครราชสมี า 100.0
บุรรี ัมย์ 100.0
สรุ นิ ทร์ 100.0
ศรีสะเกษ 100.0
อุบลราชธานี 100.0
ยโสธร 100.0
ชยั ภูมิ 100.0
อำนาจเจรญิ 100.0
ป.ป.ส. ภาค 4 100.0
บงึ กาฬ 100.0
หนองบวั ลำภู 100.0
ขอนแก่น 100.0
อุดรธานี 100.0
เลย 100.0
หนองคาย 100.0
มหาสารคาม 100.0
รอ้ ยเอ็ด 100.0
กาฬสนิ ธ์ุ 100.0
สกลนคร 100.0
นครพนม 100.0
มุกดาหาร 100.0

หมายเหตุ -- ข้อมูลมจี ำนวนเล็กน้อย


Click to View FlipBook Version