The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถิติจังหวัด 2556

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-07 22:15:09

รายงานสถิติจังหวัด 2556

รายงานสถิติจังหวัด 2556

ii

หน่วยงานทีเผยแพร่ สาํ นกั สถิติพยากรณ์
สาํ นกั งานสถิติแห่งชาติ
ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ช,นั 2 ถนนแจง้ วฒั นะ
เขตหลกั สี กทม. 10210
โทร 0 2141 7497
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์: [email protected]

หรือ สาํ นกั งานสถิติจงั หวดั จงั หวดั อาํ นาจเจริญ
ศนู ยร์ าชการศาลากลางจงั หวดั ช,นั 3
อาํ เภอเมือง จงั หวดั อาํ นาจเจริญ 37000

Distributed by Statistical Forecasting Bureau,
Or National Statistical Office,
The Government Complex Commemorating His Majesty The King’s 80th birthday
Anniversary, Ratthaprasasanabhakti Building, 2nd Floor
Chaeng watthana Rd., Laksi, Bangkok 10210, THAILAND
Tel. +66 (0) 2141 7497
Fax: +66 (0) 2143 8132
E-mail: [email protected]
http://www.nso.go.th

Amnat Charoen Provincial Statistical Office
Amnat Charoen City Town Hall (3 rd Floor).,
Amnat Charoen 37000, THAILAND

ปี ทีจดั พมิ พ์ 2556
Published 2013

จดั พมิ พโ์ ดย สาํ นกั งานสถิติจงั หวดั อาํ นาจเจริญ
Printed by Amnat Charoen Provincial Statistical Office

หน่วยงานเจา้ ของเรือง Division-in-Charge
สาํ นกั งานสถิติจงั หวดั อาํ นาจเจริญ Amnat Charoen Provincial Statistical Office

โทร 0 4552 3040 Tel. +66 (0) 4552 3040
โทรสาร 0 4552 3120 Fax +66 (0) 4552 3120
ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ Email: [email protected]

คาํ นํา

จากวสิ ัยทศั น์ของสาํ นกั งานสถิติแห่งชาติ ทีว่าสังคมทุกภาคส่วนใช้สถิติ และสารสนเทศเป็ น
เข็มทิศนาํ ทางในการพฒั นา เพือประโยชน์ของประชาชน และประเทศชาติ และพนั ธกิจในการให้บริการ
ขอ้ มลู สถิติและสารสนเทศ แก่ผใู้ ชบ้ ริการทุกภาคส่วน สํานกั งานสถิติจงั หวดั อาํ นาจเจริญ ซึงเป็ นหน่วยงาน
หลกั ดา้ นสถิติของจงั หวดั จึงไดจ้ ดั ทาํ รายงานสถิติจงั หวดั ข3ึน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือรวบรวมและนาํ เสนอ
ขอ้ มลู สถิติพ3ืนฐานดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสิงแวดลอ้ ม พร้อมท3งั ตวั ช3ีวดั ต่าง ๆ ของจงั หวดั ทีไดร้ วบรวมจาก
ผลสํามะโนและสํารวจของสํานกั งานสถิติแห่งชาติ และจากหน่วยงานสถิติอืนๆ เพือเผยแพร่แก่หน่วยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบนั การศึกษา และประชาชนทวั ไปนาํ ข้อมูลสถิติไปใช้ในการกาํ หนด นโยบาย
วางแผน ตดั สินใจ และอา้ งอิงต่าง ๆ

สาํ หรับรายงานสถิติจงั หวดั อาํ นาจเจริญ พ.ศ. 2556 ฉบบั น3ี เน3ือหาประกอบดว้ ย 2 ส่วน ดงั น3ี
ส่วนทีหนึง เป็ นการนาํ เสนอ สรุปขอ้ มูลเกียวกบั จงั หวดั อาํ นาจเจริญ แผนทีจงั หวดั และขอ้ มูลสถิติที
น่าสนใจโดยนาํ เสนอในรูปแผนภูมิ ส่วนทีสอง เป็ นการนาํ เสนอขอ้ มูลสถิติในรูปของตาราง และตวั ช3ีวดั ที
สาํ คญั ของจงั หวดั เพือใหผ้ ใู้ ชม้ ีขอ้ มูลสถิติทีครบถว้ น สะดวกในการนาํ ไปใช้ โดยไดน้ าํ เสนอเป็ น 20 บท
ตามสาขาสถิติ คือสถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ สถิติแรงงาน สถิติการศึกษา การฝึ กอบรม
ศาสนาและวฒั นธรรม รวมถึงสถิติสือสารมวลชน สถิติสุขภาพ สถิติเกียวกบั หญิงและชาย สถิติรายไดแ้ ละ
รายจ่ายของครัวเรือน สถิติดา้ นสังคม ประชากรศาสตร์ และสถิติอืนๆ ทีเกียวขอ้ ง สถิติบญั ชีประชาชาติ
สถิติการเกษตรการป่ าไม้ และการประมง สถิติอุตสาหกรรม สถิติพลงั งาน สถิติการขนส่ง สถิติการสือสาร
รวมถึงสถิติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สถิติการท่องเทียว สถิติเงินตรา การเงิน การประกนั ภยั
และดุลการชาํ ระเงิน สถิติการคลงั สถิติราคา สถิติดา้ นเศรษฐกิจอืนๆ สถิติทรัพยากรธรรมชาติและ
สิงแวดลอ้ ม และสถิติอุตุนิยมวิทยา ท3งั น3ีขอ้ มูลสถิติทีนาํ เสนอไดร้ ะบุแหล่งทีมาของขอ้ มูลไวใ้ ตต้ าราง
สถิติทุกตารางเพือให้ผูใ้ ชข้ อ้ มูลสามารถสืบคน้ หารายละเอียดเชิงลึกเพิมเติมไดอ้ ยา่ งสะดวกมากข3ึน

สาํ นักงานสถิติจงั หวดั อาํ นาจเจริญ ขอขอบคุณส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ทีให้ความ
อนุเคราะห์ขอ้ มลู เพือนาํ มาจดั ทาํ รายงานสถิติจงั หวดั ไว้ ณ ทีน3ี และยนิ ดีรับคาํ แนะนาํ ขอ้ คิดเห็นจากผใู้ ช้
ขอ้ มูลสถิติ ซึงจะเป็ นประโยชน์อย่างยิงในการพฒั นาและปรับปรุงรายงานสถิติจงั หวดั ฉบบั ต่อไป ท3งั น3ี
หากสนใจขอ้ มูลของจงั หวดั เพิมเติม สามารถเขา้ ไปคน้ หาไดท้ ี http://www.nso.go.th หรือศูนยข์ อ้ มูลสถิติ
จงั หวดั http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/contact/datprov.html

Preface

As a vision is to provide all public society use statistics and information as guiding light for
country development and benefits of the Thai people, the National Statistical Office has been carrying out
the mission in provide statistical and information service to all users. The Amnat Charoen Provincial
Statistical Office, acting as a core agency of the local statistical office, has therefore, produced provincial
statistical report. This report presents basic statistical data, concerning economic, social and
environmental aspects, including the provincial indicators. Those statistics were from both censuses and
surveys conducted by NSO as well as from other statistical units of Line Ministries. These statistical data
could be used to guide policy planning, decision making and references purposes.

The Amnat Charoen Provincial Statistical Report 2013 consists of; Part 1: Presentation of an
overview of Amnat Charoen, on basic information, its map and statistical data in form of charts. Part 2:
Presentation of statistical data and some major indicators, in the form of statistical tables, which enable
users to use complete data in timely manner. The presentation has been classified into 20 chapters based
on statistical sectors namely: Demographic, Population and Housing Statistics, Labor Statistics,
Education, Training, Religious and Culture Statistics, including Mass Communication Statistics, Health
Statistics, Gender Statistics, Statistics of Household Income and Expenditure and their Distribution, Other
Social, Demographic and Related Statistics, National Accounts, Agricultural, Forestry and Fishery
Statistics, Industrial Statistics, Energy Statistics, Transport Statistics, Communication Statistics including
Information and Communication Technology (ICT) Statistics, Tourism Statistics, Finance, Insurance and
Balance of Payment Statistics, Fiscal Statistics, Price Statistics, Other Economic Statistics, Natural
Resources and Environment Statistics and Meteorology Statistics. Sources of data presented have been
provided under all statistical tables to enable users to seek additional information.

The Amnat Charoen Provincial Statistical Office would like to express our sincere gratitude to all
government agencies and state enterprises for the kind support in providing statistical data for this report.
Any suggestions and comments are welcomed and would be taken into account so as to improve our next
report. For further information, please visit our website at http://www.nso.go.th or Provincial Statistical Data
Center at http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/contact/datprov.html

แผนทจี งั หวดั อาํ นาจเจริญ

จังหวดั อาํ นาจเจริญ

ประวัตคิ วามเปนมา และเสนแวงท่ี 104 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ถึง
105 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ห1างจาก
เม่ือประมาณ ปพุทธศักราช 2393 ทาวอุปราช กรุงเทพมหานครโดยรถยนต@ประมาณ 568 กิโลเมตร
เจาเมืองจําพร แขวงสุวรรณเขตประเทศสาธารณรัฐ แยกออกจากจังหวัดอุบลราชธานี เม่ือป พ.ศ. 2536
ประชาธิปไตยประชาชนลาวในปจ( จุบัน ไดอพยพครอบครัว มีเนื้อท่ีท้ังสิ้น 1,975,780 ไร1 หรือ 3,161.248
เขามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภาณพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดต1อ ดังน้ี
เจาอย1ูหัวมาตั้งถิ่นฐานอย1ูบานคอใหญ1 (ป(จจุบันคือบาน
อํานาจ ต.อํานาจ อ.ลอื อาํ นาจ) ทิศเหนือ ติดเขตจังหวัดยโสธร ท่ีอําเภอ
เลิงนกทา และจงั หวัดมกุ ดาหารที่อาํ เภอดอนตาล
พุทธศักราช 2401 ทาวจันทบุรม (เสือ) ผูครอง
เมืองในสมัยต1อมา ไดกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระ ทิศตะวันออก ติดเขตประเทศสาธารณรัฐ
จอมเกลาเจาอย1ูหัว ยกฐานะบานคอใหญ1 ข้ึนเป=นเมือง ประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามแนวฝJ(งแม1น้ําโขง
อํานาจเจริญ และทาวจันทบุรม (เสือ) ไดรับพระกรุณา ดานอําเภอชานุมานเป=นระยะทาง 38 กิโลเมตร
โปรดเกลาใหเป=นเจาเมือง มียศเป=นพระอมรอํานาจ และจังหวัดอุบลราชธานี ท่ีอําเภอเขมราฐ อําเภอ
(เสือ อมรสิน) และเป=นเมือง ในการปกครองของนคร กดุ ขาวปAนุ และอาํ เภอตระการพืชผล
เขมราฐ
ทิศตะวันตก ติดเขตจังหวัดยโสธร ท่ีอําเภอปKาติ้ว
ต1อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา และอาํ เภอเลงิ นกทา
เจาอยู1หัว มีการปฏิรูปการปกครองเมืองอํานาจเจริญไดยก
ฐานะเป=นอําเภออํานาจเจริญ และยายไปขึ้นเป=นอําเภอ ทศิ ใต ตดิ เขตจงั หวดั อบุ ลราชธานีทอี่ ําเภอ
ในการปกครองของจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีนายอําเภอ ม1วงสามสิบ
คนแรก คือ รองอํามาตย@โทหลวงอเนกอํานาจ (เปAย
สุวรรณกูฏ) ภมู ปิ ระเทศและภมู ิอากาศ

พุทธศกั ราช 2459 ไดยายท่ีตั้งอําเภออํานาจเจริญ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
จากสถานที่เดิม (บานอํานาจ อําเภอลืออํานาจในป(จจุบัน)
มาต้ัง ณ ตําบลบุ1ง ซ่ึงเป=นที่ตั้งเมืองในป(จจุบัน และยุบ สภาพภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป=นท่ีลุ1มมีเนินเขา
เมืองอํานาจเจริญเป=นตําบล ช่ือว1าตําบลอํานาจ ชาวบาน เต้ีย ๆ ทอดยาวไปจรดจังหวัดอุบลราชธานีท่ีอําเภอ
ชอบเรียกว1า เมอื งอํานาจนอย ชานุมาน ตั้งอย1ูสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางเฉลี่ย
ประมาณ 68 เมตร (227 ฟุต) สภาพดินโดยทั่วไป
ต1 อ ม า ไ ด มี พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ จั ด ต้ั ง จั ง ห วั ด เป=นดินร1วนปนทรายและดินลูกรังบางส1วน มีแม1นํ้าโขง
อํานาจเจริญ พุทธศักราช 2536 ซึ่งมีผลบังคับต้ังแต1วันที่ เ ป= น แ น ว เ ข ต กั ้น ร ะ ห ว 1า ง จ ัง ห ว ัด อํ า น า จ เ จ ร ิญ ก ับ
1 ธันวาคม 2536 ตรงกับวันพุธ แรม 3 คํ่า เดือน 12 ประกา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวท่ีอําเภอชานุมาน
ยกฐานะอําเภออํานาจเจริญ เป=นจังหวัดอํานาจเจริญ มีลาํ นํา้ สายใหญไ1 หลผ1าน ไดแก1 ลําเซบก และลําเซบาย
ประกอบดวยอําเภอเมืองอํานาจเจริญ อําเภอชานุมาน
อําเภอปทุมราชวงศา อําเภอพนา อําเภอหัวตะพาน ลกั ษณะภูมิอากาศ
อําเภอเสนางคนิคม และกิ่งอําเภอลืออํานาจ (ป(จจุบัน ภูมิอากาศโดยท่ัวไป จังหวัดอํานาจเจริญจัดอยู1
คือ อาํ เภอลืออํานาจ) รวม 6 อาํ เภอ 1 กิ่งอาํ เภอ
ในเขตอากาศแบบ Tropical Savannah คือจะเห็น
ขนาดและท่ีต้ัง ความแตกต1างของฤดูฝนและฤดูแลงอย1างชัดเจนมี
จังหวัดอํานาจเจริญ เป=นจังหวัดในตอนใตของ ช1วงกลางวันยาวในฤดูรอนและมีอุณหภูมิสูงตลอดป
ฤดูฝนเริ่มตั้งแต1เดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้ังอยู1ระหว1าง เสนรุงที่ 15 ตุลาคม ในป พ.ศ. 2555 มีฝนตก 149 วัน ปริมาณ
องศา 30 ลปิ ดาเหนอื ถงึ 16 องศา 30 ลิปดาเหนอื นํ้าฝนวัดได 8,086.1 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด

x

33.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด 22.8 อย1ูที่ อําเภอเมืองอาํ นาจเจริญ 217 คน และต่ําสุดอยู1
องศาเซลเซียส ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต1เดือนพฤศจิกายน ท่ีอาํ เภอชานุมาน 71 คน
ถึงมกราคม ฤดูรอนเริ่มตั้งแต1เดือนกุมภาพันธ@ถึง
เดือนเมษายน ทรัพยากรธรรมชาติ แหล"งนํ้าและสภาพทาง
เศรษฐกิจ
การปกครองและประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในป พ.ศ. 2555 จังหวัดอํานาจเจริญ แบ1งการ
ปกครองส1วนภูมิภาคออกเป=น 7 อําเภอ 56 ตําบล ปาไม" สภาพปKาไมโดยท่ัวไปของจังหวัด
607 หม1ูบาน โดยมีอาํ เภอดังนี้ อาํ เภอเมืองอาํ นาจเจริญ อํานาจเจริญ เป=นปKาเบญจพรรณ ปKาเต็งรังหรือปKา
อําเภอชานุมาน อําเภอปทุมราชวงศา อําเภอพนา ไมแดงทมี่ อี ยูท1 วั่ ไปในเขตอาํ เภอตา1 งๆ
อําเภอเสนางคนิคม อําเภอหัวตะพาน และอําเภอ
ลอื อํานาจ แหล$งนา้ํ ท่ีสําคัญของจังหวัดอํานาจเจริญ คือ
อ1างเก็บนํ้าพุทธอุทยาน อ1างเก็บนํ้าหวยโพธ์ิ อ1างเก็บ
การปกครองส1วนทองถิ่นประกอบดวย องค@การ นํ้าหวยสีโท ลําเซบก และลําเซบาย ซ่ึงใชสําหรับการ
บริหารส1วนจังหวัด 1 แห1ง เทศบาลเมือง 1 แห1ง คือ อุปโภคบริโภค และใชประโยชน@ในการเกษตรไดเป=น
เทศบาลเมืองอํานาจเจริญ มีเทศบาลตําบล 21 แห1ง อย1างดี
คือ เทศบาล ตําบล น้ําปลีก เทศบาล ตําบล นายม
เทศบาลตาํ บลนาวัง เทศบาลตําบลไก1คํา เทศบาลตําบล สภาพทางเศรษฐกิจ
นาหมอมา เทศบาลตําบลนาหวาใหญ1 เทศบาลตําบล
หวย เทศบาลตําบลหนองข1า เทศบาลตําบลนาปKาแซง อาชีพ ประชาชนชาวจังหวัดอํานาจเจริญส1วน
เทศบาลตําบลหัวตะพาน เทศบาลตําบลรัตนวารีศรีเจริญ ใหญ1มีอาชีพทําการเกษตร ทํานาขาว เพาะปลูกพืชไร1
เทศบาลตําบลอํานาจ เทศบาลตําบลสามหนอง เทศบาล ชนิดต1าง ๆ เช1น มันสําปะหลัง ออย และถ่ัวลิสง
ตาํ บลดงมะยาง เทศบาลตําบลเป\อย เทศบาลตําบลโคกกลาง รองลงมาคือ การประกอบธุรกิจทางการคาและการ
เทศบาลตําบลเสนางคนิคม เทศบาลตําบลชานุมาน บริการ ส1วนภาคอุตสาหกรรมยังมีสัดส1วนค1อนขาง
เทศบาลตาํ บลโคกก1ง เทศบาลตําบลพนา เทศบาลตําบลพระ นอย
เหลา และมีองค@การบริหารส1วนตําบล (อบต.) จํานวน
41 แหง1 ในป พ.ศ. 2555 มีเนื้อที่ปลูกขาว ใชสําหรับ
ปลูกขาวจาว 798,801 ไร1 ผลผลิตที่ไดจากการเก็บ
จากสถิติกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยป เกี่ยว 289,457 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 418 กิโลกรัมต1อไร1
พ.ศ. 2555 จังหวัดอํานาจเจริญ มีจํานวนประชากรทั้งส้ิน ในป 2555 พืชไร1ที่นิยมปลูกกันมาก เช1น มัน
373,494 คน เป=นชาย 187,031 คน เป=นหญงิ 186,463 คน สําปะหลัง ออยโรงงาน ถั่วลิสงฤดูแลง ถั่วลิสงฤดูฝน
จํานวนผูชายคิดเป=น รอยละ 50.1 และจํานวนผูหญิงคิด ฯลฯ ส1วนไมผลและไมยืนตนที่นิยมปลูก เช1น
เป=นรอยละ 49.9 ของประชากรทั้งหมด ประชากรท่ี ยางพารา มะม1วง ปาล@มน้ํามัน กลวยนํ้าวา ฯลฯ
อาศัยอย1ูในเขต เทศบาล 66,675 คน คิดเป=นรอยละ สาํ หรับพืชผักท่ีนิยมปลูกกันมาก ไดแก1 ขาวโพดฝ(กสด
17.9 ส1วนที่เหลือ 306,819 คน หรือรอยละ 82.1 ฤดูแลง แตงโมเนื้อ กระเทียม แตงกวา ถั่วฝ(กยาว
อาศัยอยใ1ู นนอกเขตเทศบาล ความหนาแน1นของประชากร เป=นตน จาํ นวนครัวเรือนที่เพาะเล้ียงสัตว@นํา้ จืด 8,684
เฉล่ยี 118 คน ตอ1 ตารางกิโลเมตร โดยท่ีความหนาแน1นสูงสุด ครัวเรือน ปริมาณสัตว@น้ําจืดที่จับได 1,600 กิโลกรัม

จ า ก ร า ย ง า น สํา นัก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห1งชาติ ในป

พ.ศ. 2554 จังหวัดอํานาจเจริญ มีมูลค1าผลิตภัณฑ@จังหวัด xi
(GPP) ตามราคาประจําป 12,099 ลานบาท มูลค1า
ผลิตภัณฑ@เฉลี่ยต1อหัว (Per capita GPP) 30,231 บาท การไฟฟาA ปงบประมาณ 2554 มีปริมาณการใช
จัดเป=นอันดับท่ี 77 ของประเทศและเป=นอันดับท่ี 20 ของ กระแสไฟฟAาในจังหวัดทั้งสิ้น 144.51 ลานกิโลวัตต@/ชั่วโมง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสาขาการผลิตที่ทํารายได ส1วนมากจะใชในที่อยู1อาศัยประมาณ รอยละ 49.1
ใหแก1จังหวัดมากที่สุด คือ สาขาเกษตรกรรม ซึ่งมีมูลค1า ของกระแสไฟฟAาทั้งหมด
3,095 ลานบาท (รอยละ 25.6 ) รองลงมาสาขา
การศึกษา 2,220 ลานบาท (รอยละ 19.0) สาขาการ การศกึ ษา
บริหารราชการ 1,216 ลานบาท (รอยละ 10.1 ) และ
สาขาการขายสง1 ขายปลีกฯ 1,065 ลานบาท (รอยละ 8.8) ในปการศึกษา 2555 จังหวัดอํานาจเจริญ
มีสถานศึกษาระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษา
การคมนาคมและขนสง" 305 แ ห1ง มีสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาและ
ระดับอุดมศึกษา รวม 7 แห1ง มีอาจารย@ 402 คน มี
จังหวัดอํานาจเจริญ มีการคมนาคมติดต1อกับ จํานวนนกั ศึกษารวม 6,180 คน
จังหวัดต1างๆ ไดเฉพาะทางรถยนต@เท1านั้น และภายใน
จังหวัดมีถนนเชื่อมระหว1างตัวอําเภอต1าง ๆ สามารถใชได ประชาชนส1วนใหญ1ของจังหวัดอํานาจเจริญ
ทุกฤดูกาล การเดินทางไปกรุงเทพฯ มีเสนทางที่ใชในการ นับถือศาสนาพุทธโดยมีวัดจํานวน 365 แห1ง
เดินทาง คือ ที่พักสงฆ@ 165 แห1ง โดยมีพระภิกษุ 1,778 รูป
และสามเณร 553 รูป ซ่ึงกระจายอยู1ท่ัวไปในจังหวัด
- เสนทางจากอํานาจเจริญ – จังหวัดยโสธร –
อําเภอสุวรรณภูมิ (จังหวัดรอยเอ็ด) - อําเภอเกษตรวิสัย การสาธารณสุข
(จงั หวัดรอยเอด็ ) – อาํ เภอพยัคฆภูมิ (จังหวัดมหาสารคาม)
– อําเภอประทาย (จังหวัดนครราชสีมา) – จังหวัด ในปงบประมาณ 2555 มีโรงพยาบาลของรัฐ
นครราชสีมา – จงั หวดั สระบรุ ี และกรงุ เทพฯ ครบทุกอําเภอรวม 7 แห1ง มีโรงพยาบาลส1งเสริม
สุขภาพตําบล 76 แห1ง มีคลินิกทุกประเภท 49 แห1ง มี
การไปรษณีย@ ในปงบประมาณ 2555 มีท่ีทํา แพทย@ 42 คน โดยมีอัตราส1วนแพทย@ 1 คนตอ1 ประชากร
การไปรษณีย@ จํานวน 6 แห1ง มีจํานวนบริการ 8,863 คน พยาบาล 469 คน อัตราส1วนพยาบาล 1 คน
ไปรษณียภัณฑ@ธรรมดา 952,000 ชิ้น พัสดุไปรษณีย@ ตอ1 ประชากร 794 คน และมีจํานวนเตียงผปู วK ย 510 เตียง
7,000 ช้ิน และบริการพิเศษ 248,000 ชิ้น อตั ราสว1 นเตียง 1 เตยี งตอ1 ประชากร 732 คน

การบริการโทรศัพท@ปงบประมาณ 2555 สถานที่นา" สนใจและแหล"งท"องเท่ียว
จ ัง ห ว ัด อํ า น า จ เ จ ร ิญ ม ีจํ า น ว น ห ม า ย เ ล ข ข อ ง
องค@การโทรศัพท@ 15,736 เลขหมาย มีผูเช1า 9,777 จังหวัดอํานาจเจริญมีแหล1งท1องเที่ยวทาง
เลขหมาย และจํานวนเลขหมายของบริษัทสัมปทาน ธรรมชาติ ประวัติศาสตร@ และวัฒนธรรมประเพณี
1,952 เลขหมาย มีผูเช1า 864 เลขหมาย (บริษัท ทีโอที สําหรบั นกั ทอ1 งเท่ียวทเ่ี ดินทางมาเยี่ยมชม ดังน้ี
จาํ กัด (มหาชน))
1. พุทธอุทยาน คนท่ัวไปเรียกว1า “เขา
การสาธารณูปโภค ดานพระบาท” มีพื้นที่เป=นดานหินธรรมชาติ สูงจาก
ระดับพื้นดินเป=นตอน ๆ มีรอยพระพุทธบาทจารึกอยู1
การประปา ในปงบประมาณ 2555 การประปา ดวย และมี “พระมงคลมิ่งเมือง” เป=นพระพุทธรูปปาง
ส1วนภูมิภาค สามารถผลิตน้ําได 2,566,032 ลูกบาศก@เมตร มารวิชัยขนาดใหญ1 บุดวยกระเบ้ืองโมเสดสีทอง โดยใช
โดยมีจํานวนผูใชน้ํา 14,452 ราย (อ.เมืองอํานาจเจริญ พุทธลักษณะสกุลศิลปะอินเดียเหนือแบบปาระ เป=น
อ.พนา และอ.ลืออํานาจ) พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวจังหวัดอํานาจเจริญและ
จังหวัดใกลเคียงใหความเคารพและกราบไหวบูชา วันข้ึน
15 คํ่า เดือน 3 (วันมาฆบูชา) ของทุกปชาวบานจะ
จัดงานนมัสการพระมงคลม่ิงเมืองและถือไดว1าเป=นงาน

xii แห1งชาติ ปKาดงหัวกอง ดงบักอี่ มีจุดชมวิวธรรมชาติท่ี
สวยงามและนา1 สนใจหลายจุด
ประจําปท่ีย่ิงใหญ1 ของจังหวัดอํานาจเจริญท่ีถือปฏิบัติกัน
มาจนถึงปจ( จุบัน 9. พระเจ"าใหญ$ศรีเจริญ ประดิษฐานอย1ูใน
พระอุโบสถวัดพระศรีเจริญ บานหัวตะพาน ตําบลหัว
2. อ$างเก็บน้ําพุทธอุทยาน อย1ูห1างจากเมือง ตะพาน อําเภอหัวตะพาน พระเจาใหญ1ศรีเจริญ เป=น
อาํ นาจเจริญประมาณ 3 กโิ ลเมตร มภี ูมทิ ศั น@ท่ีสวยงาม เป=น พระพุทธรูปขัดสมาธิราบปางมารวิชัย สรางดวยอิฐถือ
สถานที่พกั ผอ1 นหยอ1 นใจ และเป=นอ1างเก็บน้ําขนาดใหญ1ของ ปูนลงรักปiดทอง หนาตักกวาง 1.30 เมตร (51 น้ิว) สูง
กรมชลประทาน ป(จจุบันมีการปรับภูมิทัศน@ใหเป=น จากยอดพระสงฆ@เบ้ืองล1างถึงพระเกศสูง 2.00 เมตร
สวนสาธารณะและสถานทท่ี อ1 งเท่ียวของจังหวดั (80 นิ้ว) พระเจาใหญ1ศรีเจริญเป=นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธ์ิ
ค1ูบานค1ูเมือง เล1ากันว1าสรางมาแลว 750 ป ใน
3. วัดถํ้าแสงเพชร หรือ วัดศาลาพันห"อง เป=น เดือน 4 ขึ้น 8 คํ่า และ 15 คํ่าของทุกป ชาวบานจะจัด
สาขาหนึ่งของวัดหนองปKาพง อย1ูห1างจากเมืองอํานาจเจริญ งานนมัสการปiดทององค@พระเจาใหญ1ศรีเจริญเพื่อเป=น
ไปทางอําเภอเขมราฐ ประมาณ 15 กิโลเมตร มีศาลา ศริ มิ งคลแก1ตนเองและครอบครัว
ขนาดใหญ1อยู1บนยอดเขาสูง ทางดาน ทิศเหนือของศาลา
มีถํ้าขนาดใหญ1 ภายในถ้ํามีพระพุทธรูปท่ีสวยงามเป=นท่ี 10. ประเพณี “ฮีตสิบสอง” ชาวจังหวัด
สักการะของชาวจงั หวดั อาํ นาจเจรญิ และจงั หวัดใกลเคียง อํานาจเจริญยังคงถือปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรม
ดั้งเดิมของชาวอีสาน ตลอดมาจนถึงป(จจุบันคือ
4. พระเหลาเทพนิมิต อยู1ท่ีวัดพระเหลาเทพนิมิต “ฮีตสิบสองครองสิบส่ี” จึงกําหนดใหจัดงานประจําป
อําเภอพนา องค@พระเหลาเทพนิมิตเป=น พระประธาน “ฮีตสิบสอง” และงานกาชาด ซึ่งตรงกับวันสถาปนา
ประดิษฐานอยู1ในพระอุโบสถวัดพระเหลาเทพนิมิตสรางดวย จงั หวดั อาํ นาจเจรญิ คือ วันที่ 1 ธันวาคม ของทกุ ป
อฐิ ถือปูนลงรกั ปดi ทองสงู 2.70 เมตร หนาตักกวาง 2.85
เมตร เป=นพระพุทธรูปปางมารวิชัย แหล"งโบราณคดีทสี่ ําคัญของอาํ นาจเจริญ

5. วนอุทยานดอนเจ"าปู อําเภอพนา เดิม แ ห ล1 ง โ บ ร า ณ ค ดี ท่ี สํ า คั ญ ข อ ง จั ง ห วั ด
เป=นปKาดงดิบประกอบดวยปKาเบญจพรรณนานาชนิดเป=นท่ี อํานาจเจริญ ส1วนใหญ1จะอยู1ในเขตล1ุมน้ําเซบก และเซ
อย1ูอาศัยของสัตว@ปKานานาพันธุ@ มีเน้ือที่ประมาณ 260 ไร1 บายทส่ี ําคัญมี ดงั น้ี
สภาพโดยท่ัวไปเปน= ปาK ดงดิบ
1. แหล"งโบราณคดีบ2านเป3อยหัวดง ตําบล
6. แก$งต$างหลาง อําเภอชานุมาน เป=นแหล1ง เป\อย อําเภอลืออาํ นาจ ถอื เป=นแหลง1 โบราณคดีที่สําคัญ
ท1องเทยี่ วท่ีสวยงามท่ีสุดของอําเภอชานุมาน โดยเฉพาะใน มากท่ีสุดแห1งหน่ึงของจังหวัดอํานาจเจริญ ดังปรากฏว1ามี
ฤดูรอนจะเห็นแกง1 อย1างชัดเจนอย1ูริมแม1นํ้าโขง ท่ีหม1ูบาน การสรางเสมาบริเวณใกลเคยี งกนั ถึง 3 แหง1 ดวยกนั ไดแก1
ศรสี มบรู ณ@ ต. ชานุมาน
กลุ"มเสมาในเขตวัดโพธิ์ศิลา บ2านเป3อย
7. อุทยานแห$งชาติภูสระดอกบัว อําเภอชานุมาน หัวดง เป=นเนินศาสนสถานที่มีกลุ1มเสมาหินทรายป(กอยู1
อยห1ู า1 งจาก อําเภอชานุมาน ประมาณ 32 กโิ ลเมตร เน้ือ มีการสลักเป=นรูปหมอนํ้าหรือบูรณฆฏะ (เป=นสัญลักษณ@
ท่ีอยู1บนรอยต1อของ 3 จังหวัด คือ อําเภอเลิงนกทา ของความเจริญงอกงาม พบมากในศิลปะอินเดียแบบ
จังหวดั ยโสธร อาํ เภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอ อมราวดี) และคลายคลึงกับลวดลายสลักบนเสากลม
ชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ สภาพภูมิประเทศเป=น ประดับกรอบประตูสมัยก1อนเมืองพระนครท่ีมีอายุราว
ภูเขาสลับซับซอน ประกอบดวยปKาไมอันอุดมสมบูรณ@ พุทธศตวรรษที่ 12- 13 พบในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
บางแห1งเป=นลานหิน ชาวบานเรียกว1า “ดาน” จุดเด1นของ (ป(จจุบันคือจังหวัดอํานาจเจริญ) นับเป=นกล1ุมเสมาหิน
ที่นี่มีหลายอย1าง เช1น ภาพสีของประวัติศาสตร@ ลานดอกไม ทรายท่ีมีความเก1าแก1ท่ีสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บนภผู าหอมเป=นจุดชมววิ ทีส่ วยงาม ภูสระดอกบัวเป=นแอ1ง ป(จจุบันเสมาท่ียังมีสภาพดี 2 ใบ จัดแสดงอย1ูใน
หินมีดอกบัวหลากสี พิพิธภัณฑสถานแห1งชาติอุบลราชธานี นอกจากนี้ยังได
ขุดพบหมอดินเผาขนาดใหญ1 ลายเชือกทาบ ภายใน
8. วนอุทยานภูสิงห< – ภูผาผ้ึง ต้ังอยู$บนเส"นทาง
สายอํานาจเจริญ – เขมราฐ ระยะทางประมาณ 20
กิโลเมตร ลักษณะพืน้ ทเ่ี ปน= ภูเขาหินทราย อย1ูในเขตปKาสงวน

xiii

หมอบรรจุพระพุทธรูปประทับน่ังขนาดเล็กบุเงินจํานวน 300-500 เมตร เนินดินส1วนยอดอย1ูสูงจากพื้นที่นา
มาก โดยรอบประมาณ 3.50 เมตร โบราณวัตถุที่สํารวจพบ
ไดแก1 เศษภาชนะดินเผา ลูกป(ดหินและแกวโบราณวัตถุ
กลุ"มเสมาบริเวณวัดป5าเรไร บ2านเป3อยหัว ที่ทําจากทองเหลือง โครงกระดูกมนุษย@และเสมาหิน
ดง วัดปKาเรไรป(จจุบันเป=นที่พักสงฆ@ นับเป=น กลุ1มเสมา ทราย
ที่มีความหนาแน1นแห1งหน่ึงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป=นกล1ุมเสมาที่ทําดวยศิลาแลง ไม1มีการสลักลวดลายมาก หลักฐานที่ไดจากการสํารวจสามารถสรุปได
นัก เพียงแต1ตกแต1งรูปร1างใหเป=นเสมาและมีการสลักฐานบัว วา1 แหล1งโบราณคดีบานโพนเมืองน้ีเป=นแหล1งที่มีการอยู1
ควาํ่ บวั หงาย มีสนั นูนคลายยอดสถปู ตรงกลาง อาศัยของกล1ุมชนหลายสมัยดวยกัน โดยเร่ิมตนจาก
สมัยก1อนประวัติศาสตร@ตอนปลาย สมัยประวัติศาสตร@
นอกจากน้ันยังพบร1องรอยของแนวศิลาแลงและ ตอนตน เรอื่ ยมาจนถึงสมัยปจ( จบุ นั
อิฐ (ป(จจุบันเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแห1งชาติ
อุบลราชธานี) ซ่ึงแสดงว1าน1าจะมีการก1อสรางอาคารขึ้น จากการที่ไดพบภาชนะดินเผาแบบรอยเอ็ด
ดวย และยังพบเสมาหินทราย 2 หลัก ตรงแกนมีภาพสลัก (Roi Et Wear) และลูกป(ดหินคอร@นีเลียน (Cornelian)
นกแกว 2 ตัว ซึ่งไม1เคยพบในเสมาอื่นเลย สันนิษฐานว1า น้ัน ทําใหสามารถกําหนดอายุเปรียบเทียบไดว1าแหล1ง
น1าจะเคลอ่ื นยายมาจากล1ุมเสมาในเขตวัดโพธิศ์ ลิ า โบราณคดีแห1งนี้น้ันคงเริ่มมีการตั้งถ่ินท่ีอยู1อาศัยเมื่อ
ประมาณ 2,000 ป มาแลวอย1างแน1นอน และจากการ
ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล เ คี ย ง ยั ง พ บ เ ศ ษ ภ า ช น ะ ดิ น เ ผ า สํ า ร ว จ แ ล ะ ขุ ด ค น อ ย1 า ง ก ว า ง ข ว า ง ใ น ภ า ค
กระจายอย1หู นาแน1น มีลวดลายกดประทับเป=นรูปคล่ืนลาย ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยกรมศิลปากร
กานขดหรือลายหวี ซ่ึงเหมือนกันกับท่ีพบที่เมืองออกแกว และมหาวิทยาลัยโอกาโก ประเทศนิวซีแลนด@ พบว1า
ประเทศเวยี ดนาม ชุมชนก1อนประวัติศาสตร@ ที่เป=นเจาของภาชนะดินเผา
แบบรอยเอ็ด มีการแพร1กระจายอยู1ในบริเวณกวางขวาง
กลุ"มเสมาหลังโรงเรียนชุมชนเป3อยหัวดง ของล1ุมแม1น้ํามูลตอนกลางและตอนปลาย หลังจาก
ป(กลอมฐานหินทรายท่ีตั้งรูปเคารพ และพระพุทธรูปที่ สิ้นสุดการอาศัยของคนสมัยก1อนประวัติศาสตร@แลวก็
นัง่ ขดั สมาธิราบ สมยั ทวารวดีตอนปลายองค@หน่ึง ลักษณะ เร่ิมเขาส1ูสมัยประวัติศาสตร@ตอนตน โดยเร่ิมจากสมัย
ของเสมาเรยี บไม1มีลวดลาย แต1ตรงกลางเป=นแกนสันที่เรียว ทวารวดี ลพบุรี เรอ่ื ยมาจนถงึ สมยั ปจ( จบุ นั
ไปถึงยอด ศาสนสถานแห1งนี้ สันนิษฐานว1าน1าจะมีอายุราว
พุทธศตวรรษท่ี 16-17 แสดงว1ากล1ุมเสมาทั้ง 3 แหล1งซ่ึง 3. แหล"งโบราณคดีวัดดงเฒ"าเก"า บาน
เป=นเสมาหินน้ัน ไดแสดงใหเห็นถึงการสืบเน่ืองของชุมชน ท่ี หนองเรอื ตาํ บลนาหมอมา อําเภอเมืองอํานาจเจริญ
น1าจะมีมาตั้งแต1พุทธศตวรรษท่ี 12 - 13 และนับเป=น เป=นแหล1งที่มีการป(กเสมาในพื้นที่กวาง มีการสลัก
แหลง1 ชมุ ชนขนาดใหญ1 ท่มี กี ารนบั ถือพระพุทธศาสนาอย1าง ลวดลายนูนต่ําเป=นรูปดอกไม รูปหมอนํ้าและตอนบน
ตอ1 เนอ่ื ง เปน= รปู วงกลมคลายธรรมจกั ร ซ่ึงมีอายุไม1นอยกว1าพุทธ
ศตวรรษท่ี 12 - 13 และยังพบพระพุทธรูปหินทราย
จากหลักฐานท่ีพบท้ังกล1ุมเสมาในเขตวัดโพธ์ิศิลา แบบ ทวารวดีตอนปลายดวย
กล1ุมเสมาบริเวณวัดปKาเรไรและกล1ุมเสมาหลังโรงเรียน
ชุมชนเป\อยหัวดง แสดงใหเห็นถึงการสืบเน่ืองของชุมชน 4. แหล"งโบราณคดีดอนยาง บานดอนเมย
ที่น1าจะมีการรวมกลุ1มกันอยู1เป=นชุมชนขนาดใหญ1 ในเขต ตําบลนาจกิ อาํ เภอเมืองอํานาจเจริญ พบภาชนะท่ีเป=น
บานเป\อยหัวดง ตําบลเป\อยหัวดง อําเภอลืออํานาจ ชามดินเผาลายเชือกทาบและผิวเรียบ พบหัวขวาน
จังหวัดอํานาจเจริญ มาต้ังแต1พุทธศตวรรษท่ี 12-13 สําริดที่มีแกลบขาวตดิ อยทู1 ผ่ี ิวรวมอย1ดู วย สนั นิษฐานว1า
และมีการนับถือศาสนาพุทธมาอย1างต1อเน่ืองจากอดีต น1 า จ ะ อ ย1ู ต อ น ป ล า ย ยุ ค ก1 อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร@ กั บ ยุ ค
จนถึงป(จจบุ ัน ประวัติศาสตร@ตอนตน

2. แหลง" โบราณคดบี า2 นโพนเมอื ง ตําบลไมกลอน
อําเภอพนา สภาพภูมิศาสตรข@ องแหล1งโบราณคดีบานโพน
เมือง มีลักษณะเป=นเนินดินรูปร1างยาวรี มีขนาดประมาณ

xiv ศาสนสถานดวยเพราะพบกลุ1มใบเสมา ซ่ึงเป=นคติความ
เช่ือในพุทธศาสนาที่ไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมมอญ
5. แหล"งโบราณคดีเมืองง้ิว บานชาด ตําบล (ทวารวดี) ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12 – 16
เค็งใหญ1 อําเภอหัวตะพาน สภาพทั่วไปเป=นเนินดิน
ค1อนขางกลม เป=นปKาโปร1งมีคูนํ้าคันดินลอมรอบ ป(จจุบัน 7. แหล"งโบราณคดีบ2านหนองแสง ตําบล
ถูกไถปรบั เป=นผืนนา พ้ืนที่โดยรอบเป=นพื้นนา มีการสํารวจ รัตนวารี อําเภอหัวตะพานสภาพท่ัวไปเป=นเนินดิน
พบหลกั ฐานทางโบราณวัตถุ ดังนี้ รูปร1างกลมรี กวางยาวประมาณ 250 x 400 เมตร
สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ประมาณ 130 เมตร
- เศษภาชนะดนิ เผาเน้ือหยาบ เผาดวยอุณหภูมิตํ่า พื้นท่ีเป=นปKาโปร1ง ส1วนรอบ ๆ เป=นพ้ืนท่ีนาสลับปKาโปร1ง
ส1วนมากเป=นแบบผิวเรียบ มีการชุบนํ้าโคลน เขียนสี และ มีการสาํ รวจพบโบราณวตั ถุดงั น้ี
ลายขดู ขดี บางเล็กนอย
- ภาชนะดินเผาและเศษภาชนะดินเผาเนื้อ
- กลุ1มเสมาหินทรายสีชมพู ยอดเรียวแหลม สลัก หยาบ เผาดวยอุณหภูมิต่ํา ผิวมีสีขาวนวล และเหลือง
เปน= แนวเสนนนู ตรงกลางแผน1 เปน= ลวดลายประดบั อ1อน ตกแต1งผิวโดยการเคลือบนํ้าโคลนเสียเป=น
สว1 นมาก มีการเขียนสีบาง เป=นสีเหลืองปนแดง ชิ้นส1วน
- คันน้าํ คนั ดนิ มคี ูนํ้าลอมรอบ 1 ชั้น คันดิน 2 ช้ัน ท่ีพบนอกจากลําตัวภาชนะแลวยังพบหูจับและพวยกา
รอบตัวเนิน ดินเผา

- เคร่ืองประดบั สาํ รดิ ไดแก1 แหวน กาํ ไล - โบราณวัตถุทําจากหิน เป=นแหล1งหินรูป
- ข้แี ร1 ซ่ึงเกิดจากการหลอมโลหะ ทรงกระบอกคลายหินบด และพบแท1งเสมา 6 หลัก
แหล1งโ บราณคดีเมืองง้ิว พบหลักฐ านทาง ทําจากหินทรายสีชมพู แผ1นเสมาหลักมีแนวสันนูนตรง
โบราณวัตถุจํานวนเล็กนอย แสดงว1าแหล1งโบราณคดี แห1ง กลาง
น้คี งมขี นาดไมใ1 หญน1 กั และคงจะเปน= ศาสนสถานมากกว1าที่
จะเป=นที่อยู1อาศัยโดยพิจารณาจากกลุ1มใบเสมาหินทราย - โบราณวัตถุทําจากดินเผา จําพวกแต1งดิน
จากรูปแบบของเสมาน้นั ทําใหเชื่อไดว1ากลุ1มชนกลุ1มน้ีคงจะ เผา มลี กั ษณะคลายหนิ ดุ
มคี วามเชอื่ ในพทุ ธศาสนา โดยไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม
มอญในช1วงพทุ ธศตวรรษที่ 12 – 16 - ขี้แร1 พบในปริมาณมากพอสมควรที่บริเวณ
โนนขเี้ หล็ก ทางตอนใตของบานหนองแสง
6. แหล"งโบราณคดีโนนเมือง บานกุดซวย
ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน สภาพท่ัวไปเป=นเนิน มี แหล1งโ บราณคดีบานหนองแส งนี้มี
รูปร1างยาวรีไม1สมํ่าเสมอ กวางยาวประมาณ 250 x 850 ลกั ษณะเป=นทอ่ี ยอ1ู าศัย มีขนาดไม1ใหญ1มากนัก บริเวณที่
เมตร สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 130 พบโบราณวัตถุหนาแน1น ไดแก1 บริเวณวัดแสงอรุณ
เมตร เป=นปKาโปร1ง พื้นท่ีโดยรอบเป=นผืนนามีการคนพบ จากการที่พบกล1ุมเสมาทําใหเขาใจไดว1าสถานท่ีแห1งนี้
หลักฐานโบราณวตั ถุดงั นี้ เป=นท่ีอยู1ของนักบวชในศาสนา เมื่อพิจารณาสถานท่ีต้ัง
แลวเช่ือว1ากลุ1มชนในชุมชนนี้มีความสามารถดัดแปลง
- ภาชนะดินเผาและเศษภาชนะดินเผาเน้ือหยาบ ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ และมีความสามารถในการ
เผาดวยอุณหภูมิตํ่า ส1วนใหญ1เป=นแบบผิวเรียบ นอกน้ัน เกษตรกรรมสูงพอควร และการที่พบเสมาหินทรายน้ัน
เป=นลายเชือกทาบ ลายขดู ขดี และลายเขียนสี ชี้ใหเห็นว1าชุมชนนี้มีความเช่ือในศาสนาท่ีแสดงถึง
อทิ ธิพลของมอญ สามารถกําหนดอายุของแหล1งไดอย1าง
- โบราณวัตถทุ ําจากหิน ไดแก1 ใบเสมาจํานวน 8 คร1าวๆ ไดว1า มีอายุอยู1ในช1วงพุทธศตวรรษท่ี
หลกั ตงั้ ลอมซากโบราณสถาน 12 – 16 หรอื อาจเกา1 กวา1 นั้น

- ซากโบราณสถานกอ1 ดวยอิฐรูปสเี่ หล่ียมผนื ผา ประเพณีฮตี สบิ สอง

จากหลักฐานท่ีสํารวจพบแสดงใหเห็นว1า แหล1ง ประเพณีฮีตสิบสอง คือ จารีตประเพณีฮีต
ชุมชนนี้มีขนาดใหญ1และมีความสําคัญพอสมควร สังเกต
จากจํานวนเศษภาชนะดินเผา สันนิษฐานว1าคงใชเป=นที่อย1ู สิ บ ส อ ง เ ดื อ น ที่ ช า ว อี ส า น ถื อ ป ฏิ บั ติ สื บ ท อ ด กั น ม า
อาศัย และมีสระนํ้าโบราณ คงมีการใช พ้ืนที่เป= น
ส1วนใหญ1จะเป=นงานบุญ เกี่ยวของกับพุทธศาสนาเป=น

หลัก เดือนอาย(ธันวาคม) เป=นเดือนแรกของการเริ่ม xv
งานบญุ ซ่ึงในแตล1 ะเดือนมงี านบญุ ดังน้ี 9. เดือนเกา บุญข2าวประดับดิน นิยมทํากันใน
วันแรม 14 ค่ํา เดือนเกา เป=นการทําบุญเพ่ือ อุทิศ
1. เดือนอาย บุญเข2ากรรม พิธีทําบุญถวาย แก1ญาติผูล1วงลับ โดยการจัดหาอาหาร หมากพลู
พระภิกษุผูตองอาบัติ ซ่ึงเขาอยู1ในเขตจํากัดเพื่อทรมาน เหลาบุหรี่ ไปวางไวใตตนไม หรือที่ใดที่หน่ึงแลว
ร1างกายใหพนกรรม หรือพนจากอาบัติที่ไดกระทําและ ขอเชิญวิญญาณของญาติมิตรที่ล1วงลับไปแลวมารับเอา
เป=นการชาํ ระจิตใจใหสะอาด อาหารไป จะทาํ พิธใี นเวลาประมาณ 04.00 น.- 06.00 น.
10. เดอื นสิบ บุญข2าวสาก นิยมทํากันในวันข้ึน
2. เดือนยี่ บุญคูณลาน พิธีทําบุญขวัญขาวท่ีนวด 15 คํ่า เดือนสิบ เป=นการทําบุญเพ่ืออุทิศส1วนกุศล
เสร็จและกองไวบนลานบาน กําหนดจัดในเดือนมกราคม ใหแก1เปรตหรือญาติมิตรที่ล1วงลับไปแลวอีกคร้ัง ห1าง
ทง้ั น้ี เพือ่ เพิ่มความมง่ั มศี รสี ุขและความเปน= ศิรมิ งคล จากบุญขาวประดับดิน 15 วัน ซึ่งเป=นเวลาท่ีเปรตจะ
กลับภูมลิ าํ เนาของตน
3. เดอื นสาม ทาํ บุญขา2 วจ่ี นยิ มทํากันในราวกลาง 11. เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา วันขึ้น 15
หรือปลายเดือนกุมภาพันธ@ ภายหลังการทําบุญวัน ค่าํ เดือน 11 เป=นวันทาํ บญุ ตอนเชาร1วมกัน ตักบาตร
มาฆบูชา คําว1าจ่ี คือปirง วิธีการทําขาวจี่ คือการนําขาว เทโวในวันน้ีพระสงฆ@จะร1วมกันทําพิธีออกวัสสาปวารณา
เหนียวที่น่ึงสุกแลวมาปr(นเป=นกอน ทาเกลือ ทาไข1นําไป คอื การเปดi โอกาสใหวา1 กลา1 วตักเตอื นกันได
ยา1 งไฟ 12. เดอื นสบิ สอง บญุ กฐิน เป=นการถวายผาแด1
พระภิกษสุ ามเณร ซง่ึ จําพรรษาแลว กาํ หนดตั้งแต1วัน
4. เดือนส่ี ทําบุญผะเหวด นิยมทํากันในระหว1าง แรม 1 คํา่ เดอื น 11 ถงึ วันเพญ็ เดอื น 12
ออกพรรษาหรือในเดือนมีนาคม เป=นงานใหญ1ของชุมชน
วันแรกเรียกว1า วันโฮม หรือวันรวม ตอนเชามืดจะทํา คําขวญั จังหวัดอํานาจเจรญิ
การนมิ นตพ@ ระอปุ คุตอรหันต@
พระมงคลม่ิงเมือง
5. เดือนหา ประเพณีสงกรานตA นิยมทํากันใน แหล1งรุง1 เรืองเจ็ดลม1ุ น้ํา งามลํ้าถ้ําศักด์สิ ิทธิ์
วันท่ี 13 - 15 เมษายน มีการสรงน้ําพระพุทธรูปโดยทาง เทพนิมติ พระเหลา เกาะแก1งเขาแสนสวย
วดั จะสรางหอสรงแลวอญั เชญิ พระมาเพอ่ื ทาํ พธิ สี รงนา้ํ เลอคา1 ดวยผาไหม ราษฎรเ@ ล่ือมใสใฝKธรรม

6. เดือนหก บุญบ้ังไฟ นิยมทํากันในเดือน วิสยั ทัศนจ< ังหวัดอาํ นาจเจรญิ (Vision)
พฤษภาคม เป=นการบูชาอารักษ@หลักเมืองและประเพณี
ทําบุญขอฝน ขาวหอมมะลิคุณภาพดีสต1ู ลาดโลก
ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี
7. เดือนเจ็ด บุญซําฮะ นิยมทํากันในเดือน เสนทางการคาสสู1 ากล
มถิ ุนายน “ซําฮะ” คอื การชาํ ระลางส่ิงท่ีเป=นเสนียดจัญไร
อันทําใหเกิดความเดือดรอนแก1บานเมือง จึงมีการบูชาเทวดา
อารักษ@ มเหศักดิ์ หลักเมือง ผีพ1อแม1 ผีเมือง (บรรพบุรุษ)
ตลอดจนผีประจาํ ไรน1 า เรยี กวา1 “ผีตาแฮก”

8. เดือนแปด บุญเข2าพรรษา ถือเอาวันแรม 1
คํ่า เดือนแปด มีการถวายเครื่องสําหรับให แสงสว1าง
เช1น เทียน ตะเกียง นํ้ามัน เพราะถือว1าการถวายทาน
แสงสว1างแด1พระภิกษุสงฆ@ ไดอานิสงส@แรงเกิดสติป(ญญา
มองเห็นธรรม

สารบญั

คาํ นาํ หน้า
แผนทีจงั หวดั iii
จงั หวดั อาํ นาจเจริญ vii
สารบญั ตารางสถิติ ix
สญั ลกั ษณ์ xvii
แผนภมู ิ
xxix
xxxiii

สารบัญตารางสถติ ิ

สถติ ิด้านสังคมและประชากรศาสตร์

บทที 1 สถติ ปิ ระชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ

ตาราง 1.1 ประชากรจากการทะเบียน อตั ราการเปลียนแปลง และความหนาแน่นของประชากร 3
จาํ แนกเป็นรายอาํ เภอ พ.ศ. 2551 - 2555 4
ตาราง 1.2 ประชากรจากการทะเบียน จาํ แนกตามเพศ เป็นรายอาํ เภอ และเขตการปกครอง พ.ศ. 2553 - 2555 5
ตาราง 1.3 ประชากรจากการทะเบียน จาํ แนกตามหมวดอายุ เป็นรายอาํ เภอ พ.ศ. 2555
ตาราง 1.4 การเกิด การตาย การลงทะเบียนยา้ ยเขา้ และการลงทะเบียนยา้ ยออก จาํ แนกตามเพศ เป็นรายอาํ เภอ 8
พ.ศ. 2555 9
ตาราง 1.5 จาํ นวนและอตั ราการเกิดมีชีพ การตาย ทารกตาย และมารดาตาย พ.ศ. 2551 - 2555 10
ตาราง 1.6 การจดทะเบียนสมรส และหยา่ จาํ แนกเป็นรายอาํ เภอ พ.ศ. 2551 - 2555 11
ตาราง 1.7 ร้อยละของครัวเรือน จาํ แนกตามลกั ษณะบางประการของครัวเรือน จงั หวดั อาํ นาจเจริญ พ.ศ. 2552 - 2555 13
ตาราง 1.8 บา้ นจากการทะเบียน จาํ แนกเป็นรายอาํ เภอ พ.ศ. 2553 - 2555

ตาราง 2.1 บทที 2 สถิติแรงงาน 17
ตาราง 2.2 18
ตาราง 2.3 ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไป จาํ แนกตามสถานภาพแรงงาน ภาค และเพศ พ.ศ. 2555 19
ตาราง 2.4 ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไป จาํ แนกตามสถานภาพแรงงาน เป็นรายไตรมาส พ.ศ. 2553 - 2556
ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไปทีมีงานทาํ จาํ แนกตามอาชีพ เป็นรายไตรมาส และเพศ พ.ศ. 2555 - 2556 20
ตาราง 2.5 ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไปทีมีงานทาํ จาํ แนกตามอุตสาหกรรม เป็นรายไตรมาส และเพศ
พ.ศ. 2555 - 2556 21
ตาราง 2.6 ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไปทีมีงานทาํ จาํ แนกตามสถานภาพการทาํ งาน เป็นรายไตรมาส และเพศ
พ.ศ. 2555 - 2556 22
ประชากรอายุ 15 ปี ข>ึนไปทีมีงานทาํ จาํ แนกตามระดบั การศึกษาทีสาํ เร็จ เป็นรายไตรมาส และเพศ
พ.ศ. 2555 - 2556








































































Click to View FlipBook Version