The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 1 ปี 59

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-18 23:07:19

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 1 ปี 59

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 1 ปี 59

ISSN 1685-0408

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จังหวดั อานาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 1 : มกราคม – มีนาคม 2559

สานักงานสถิติจังหวดั อานาจเจรญิ
สานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จงั หวดั อานาจเจริญ

ไตรมาสที่ 1 : มกราคม – มีนาคม 2559

สานักงานสถติ จิ งั หวดั อานาจเจริญ
สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

หนว่ ยงานเจา้ ของเรอ่ื ง สานักงานสถิตจิ ังหวัดอานาจเจรญิ
ศาลากลางจงั หวัดอานาจเจรญิ ชนั้ 3
หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่ อ.เมืองอานาจเจริญ จ.อานาจเจรญิ 37000
โทรศัพท์ 0 4552 3040
ปที จ่ี ดั พิมพ์ โทรสาร 0 4552 3120
จดั พมิ พโ์ ดย ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

สานักสถติ ิพยากรณ์
สานักงานสถติ ิแห่งชาติ
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชนั้ 2
ถนนแจง้ วัฒนะ เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 0 2143 1323 ตอ่ 17496
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ : [email protected]

2559
สานักงานสถิติจังหวดั อานาจเจรญิ

คำนำ

สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ได้เร่มิ จดั ทาโครงการสารวจภาวะการทางานของประชากร มาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2506
ในช่วงปี พ.ศ. 2514-2526 ได้ทาการสารวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเป็นการสารวจนอกฤดูการเกษตรระหว่าง
เดอื นมกราคมถึงเดอื นมีนาคมรอบที่ 2 เปน็ การสารวจในฤดูการเกษตรระหว่าง เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน
และช่วงปี พ.ศ. 2527-2540 ทาการสารวจเป็นปีละ 3 รอบ คือ รอบที่ 1 สารวจในเดือนกุมภาพันธ์ รอบท่ี 2
สารวจในเดือนพฤษภาคม รอบที่ 3 สารวจในเดือนสิงหาคม และช่วงปี พ.ศ. 2541-2543 ทาการสารวจ
เพ่มิ ข้ึนอีก 1 รอบ เปน็ รอบท่ี 4 ในเดือนพฤศจกิ ายน ซง่ึ ทาให้ไดข้ ้อมลู เป็นรายไตรมาส

ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2544 เปน็ ต้นไป การสารวจโครงการนี้ได้จดั ทาเป็นรายเดอื นทุกๆ เดอื นสว่ นการเสนอ
ผลการสารวจนัน้ ในปี พ.ศ. 2544 นาเสนอผลทกุ เดอื นตั้งแต่เดอื นกมุ ภาพันธถ์ ึงเดอื นธันวาคม โดยเอาข้อมลู ที่
ได้จากการสารวจครั้งละ 3 เดือน มาประมวลผลและหาค่าเฉลี่ยเคล่ือนที่ (ค่าเฉล่ียเคล่ือนที่ 3 เดือน) ซ่ึงผล
ของการสารวจจะสะท้อนถึงค่าประมาณของเดือนที่อยู่กลางคาบเวลาสารวจน้ันๆ และการเสนอผลต้ังแต่
พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป จะนาเสนอปีละ 4 ฉบับเป็นรายไตรมาส สาหรับผู้ท่ีต้องการใช้ข้อมูลเป็นรายเดือน
ในลักษณะเดมิ ยงั สามารถติดต่อขอขอ้ มลู ไดท้ ีส่ านกั งานสถิติจังหวดั

สาหรับรายงานฉบับน้ี เป็นการเสนอผลการสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาสที่ 1 :
มกราคม – มนี าคม 2559 ของจังหวัดอานาจเจริญ ทีไ่ ดด้ าเนินการสารวจระหว่างเดือน มกราคม –มีนาคม 2559
เนื่องจากข้อมูลท่ีนาเสนอในรายงานฉบับน้ีได้มาจากการสารวจด้วยระเบียบวิธีตัวอย่างซ่ึงอาจจะมีความ
คลาดเคลอ่ื นจากการเลอื กตวั อย่างและความคลาดเคลือ่ นอ่นื ๆ รวมอยู่ด้วย จึงขอให้ผู้ใช้ข้อมูลได้คานึงถึงเร่ืองนี้
ในการใช้ตัวเลขดว้ ย

บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร

สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยี จังหวัดอานาจเจริญ มีประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป
สารสนเทศและการสื่อสาร ดาเนินการสารวจภาวะการ จานวน 219,158 คน เป็นผู้ในกาลังแรงงาน 144,824 คน
ทางานของประชากรหรือสารวจแรงงานอย่างต่อเนื่อง (ประกอบด้วย ผู้มีงานทา 140,737 คน ผู้ว่างงาน 937 คน
เป็นประจาทุกปี เร่ิมต้ังแต่ ปี 2506 โดยในช่วงแรก ผูท้ ี่รอฤดกู าล 3,150 คน) และผู้อยู่นอกกาลังแรงงานอีก
สารวจเพียงปีละ 2 รอบ รอบแรกเป็นการสารวจนอก 74,334 คน (ประกอบด้วย ผู้ทางานบ้าน 16,917 คน
ฤดูการเกษตร รอบท่ี 2 เป็นฤดูเกษตร ต่อมาในปี 2527 ผู้เรียนหนงั สือ 18,183 คน และอื่นๆ เช่น ชรา พิการจน
ถึง 2540 สารวจปีละ 3 รอบ โดยเพ่ิมสารวจช่วงเดือน ไมส่ ามารถทางานได้ 39,234 คน)
พ ฤ ษ ภ า ค ม เ พ่ื อ ดู แ ร ง ง า น ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห ม่ เ ข้ า สู่
ตลาดแรงงาน และในปี 2541 ได้เพิ่มการสารวจขึ้นอีก 2. ผมู้ งี านทา
1 รอบ ในเดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว
ผลผลิตการเกษตร ทาให้เป็นการสารวจภาวะการ 2.1 อาชพี
ทางานของประชากรครบท้งั 4 ไตรมาสของปี
แผนภูมิ 1 จานวนผมู้ ีงานทา จาแนกตามอาชีพ ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2559
สานักงานสถิติจังหวัดอานาจเจริญ ได้
ดาเนินการสารวจภาวะการทางานของประชากรใน จานวน (คน) 61,819
ไตรมาสที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม 2559 ระหว่าง 80,000
วันท่ี 1-12 ของเดือน มีครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่างท้ังส้ิน
840 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนในเขตเทศบาล 480 ครัวเรือน 60,000
และนอกเขตเทศบาล 360 ครัวเรอื น สาหรับวิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือน 40,000
ทตี่ กเปน็ ตวั อย่าง ผลการสารวจทาให้ทราบถงึ ภาวะการ
มีงานทาแล ะว่างงานของประชากรในจังหวัด 26,607
อานาจเจรญิ สรปุ ขอ้ มลู ท่สี าคัญได้ ดังน้ี
20,000 6,068 6,916 16,790
1. ลักษณะของกาลังแรงงาน 0 2,694 2,548 7,834 9,462

แผนผงั การจาแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน 1 2 34 5 6 อาชพี
การสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส ที่ 1 พ.ศ. 2559
7 89
ผมู้ ีอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
219,158 คน 1. ผบู้ ัญญตั กิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผ้จู ดั การ
2. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ
ผู้อยูใ่ นกาลังแรงงาน ผอู้ ยนู่ อกกาลงั แรงงาน 3. ผู้ประกอบวิชาชพี ด้านเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชพี ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
(ผทู้ ีพ่ รอ้ มทางาน) (ผู้ไม่พร้อมทางาน) 4. เสมียน
144,824 คน (66.1 %) 74,334 คน (33.9 %) 5. พนกั งานบรกิ ารและพนักงานในร้านคา้ และตลาด
6. ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทมี่ ฝี ีมอื ในด้านการเกษตร และการประมง
ผู้มงี านทา 140,737 คน ทางานบา้ น 16,917 คน 7. ผูป้ ฏิบตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝีมอื และธุรกจิ อื่นๆท่เี ก่ียวข้อง
8. ผู้ปฏบิ ัตกิ ารโรงงานและเครอื่ งจักร และผู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นการประกอบ
ผู้วา่ งงาน 937 คน เรยี นหนังสือ 18,183 คน 9. อาชีพขน้ั พื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ รกิ าร

ผู้รอฤดกู าล 3,150 คน อ่นื ๆ 39,234 คน สาหรับจานวนผู้มีงานทา 140,737 คน ส่วนใหญ่
เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือด้านการเกษตรและการประมง
61,819 คน รองลงมาเป็นพนักงานบริการและพนักงาน
ในร้านค้าและตลาด 26,607 คน ผู้ปฏิบัติงานด้าน
ความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง
16,790 คน ทเ่ี หลอื เป็นผปู้ ระกอบอาชพี อน่ื ๆ

2.2 อุตสาหกรรม 3. การว่างงาน

แผนภมู ิ 2 เปรยี บเทียบจานวนผมู้ ีงานทา จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม แผนภูมิ 3 จานวนและอตั ราการวา่ งงาน ไตรมาสท่ี 1
พ.ศ. 2558 - 2559
ทส่ี าคญั ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2558 – 2559

จานวน (คน) 76,897 จานวน (คน) ร้อยละ

80,000 68,895 69,966

63,840 1000 937 0.7

60,000 800 722 0.6 0.6
0.5
40,000 612 0.4 0.4

600 0.4 528

400 0.3 0.3

20,000 พ.ศ. 200 92 0.2
0.1 0.1
0 2559
นอกภาคเกษตรกรรม 00
2558 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
ภาคเกษตรกรรม  2558 2559

สาหรับจานว นผู้มีงาน ทา 161, 116 คน สาหรับจานวนผู้ว่างงานในไตรมาสท่ี 1พ.ศ. 2559
ประกอบด้วย ผู้ทางานภาคเกษตรกรรม 63,840 คน มีจานวนท้ังสิ้น 937 คน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงาน
และนอกภาคเกษตรกรรม 76,897 คน เม่ือเปรียบเทียบ ร้อยละ 0.6 เม่ือเปรียบทียบช่วงเวลาเดียวกันของ
กับไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2558 พบว่า จานวนผู้ทางานใน ปี 2558 จานวนผู้ว่างงานเพ่ิมข้ึน 325 คน (จาก 612 คน
ภาคเกษตรกรรมลดลง 5,055 คน (จาก 68,895 คน เป็น 937 คน)
เป็น 63,840 คน) และนอกภาคเกษตรกรรม มีจานวน
ผู้ทางานเพิ่มขึ้น 6,931 คน (จาก 69,966 คน เป็น
76,897 คน)

สารบัญ

คานา หนา้

บทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร ค

สารบัญตาราง ง

บทท่ี 1 บทนา ช

1. ความเป็นมาและวตั ถปุ ระสงค์ 1
2. ค้มุ รวม
3. สัปดาห์แห่งการสารวจ 1
4. คาอธบิ ายศพั ท์ แนวคดิ คาจากัดความ 2
2
บทที่ 2 ผลการสารวจทส่ี าคัญ 2

1. ลกั ษณะของกาลงั แรงงาน 7
2. การมสี ่วนรว่ มในกาลงั แรงงาน
3. ผมู้ งี านทา 7
7
3.1 อาชีพ 7
3.2 อตุ สาหกรรม 7
3.3 สถานภาพการทางาน 8
3.4 การศึกษา 9
3.5 ช่ัวโมงการทางาน 9
9
4. การว่างงาน
10
ภาคผนวก
12
ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี 14
ภาคผนวก ข ตารางสถติ ิ

สารบญั ตาราง หนา้

ตาราง ก จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จานวนและอัตราการมสี ว่ นร่วมในกาลังแรงงาน จาแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 8
ตาราง ง จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผูม้ งี านทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 9
ตาราง ฉ จานวนและร้อยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามการศกึ ษาท่ีสาเร็จและเพศ 9
ตาราง ช จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชวั่ โมงการทางานต่อสัปดาหแ์ ละเพศ 10
ตาราง ซ จานวนและอัตราการวา่ งงาน จาแนกตามเพศ 10

บทที่ 1
บทนา

1. ความเปน็ มาและวัตถปุ ระสงค์

สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทาการสารวจ หลังจากเกิดภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจกลางปี
ภาวะการทางานของประชากรท่ัวประเทศอย่าง 2540 ความต้องการใช้ข้อมูลเพ่ือการวางแผนและ
ต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 กาหนดนโยบายดา้ นแรงงานมีมากข้ึนและเร่งด่วนขึ้น
โดยในช่วงแรกทาการสารวจปีละ 2 รอบ และใน ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เริ่มดาเนินการสารวจเป็น
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทาการสารวจปีละ รายเดือนแล้วนาข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพื่อเสนอ
3 รอบ โดยรอบที่ 1 ทาการสารวจในเดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลเป็นรายไตรมาส โดยข้อมูลท่ีสาคัญสามารถ
เป็นช่วงหน้าแล้งนอกฤดูการเกษตร รอบที่ 2 สารวจ นาเสนอในระดับจังหวัด สาหรับข้อมูลของเดือนที่
ในเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงท่ีกาลังแรงงานใหม่ ตรงกบั รอบการสารวจเดิม คือข้อมูลเดือนกุมภาพันธ์
ที่เพิ่งสาเร็จการศึกษาเร่ิมเข้าสู่ตลาดแรงงาน รอบท่ี พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จัดทาสรุปผลการ
3 สารวจในเดือนสิงหาคม เป็นช่วงฤดูการเกษตร สารวจเฉพาะข้อมูลท่ีสาคัญเพ่ือสามารถเปรียบเทียบ
และต่อมาใน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ได้เพ่ิมการ กับข้อมูลแตล่ ะรอบของปีที่ผ่านมาได้ และการสารวจ
สารวจอกี 1 รอบ รวมเป็น 4 รอบ โดยทาการสารวจ ต้ังแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สามารถ
ในเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงฤดูการเก็บ นาเสนอผลของการสารวจเป็นรายเดือนทุกเดือนโดย
เก่ียวผลผลิตทางการเกษตร ท้ังนี้เพื่อเป็นการ สามารถเสนอผลในระดับภาคเท่านั้นเนื่องจาก
น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ท่ี ส ะ ท้ อ น ถึ ง ภ า ว ะ ก า ร มี ง า น ท า ตัวอย่างไม่มากพอที่จะนาเสนอในระดับย่อยกว่าน้ี
การว่างงานและการประกอบกิจกรรมต่างๆ ของ และในขณะเดียวกันได้มีการปรับอายุผู้อยู่ในกาลัง
ประชากรทั้งประเทศเป็นรายไตรมาสและต่อเนื่อง แรงงานจาก 13 ปีขึ้นไปเป็น 15 ปีขึ้นไป เพ่ือให้
ครบทุกช่วงเวลาของปี สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุง
การจัดจาแนกประเภทของอาชีพ อุตสาหกรรมและ
เนอ่ื งจากความจาเป็นต้องการใช้ข้อมูล เพ่ือใช้ ส ถ า น ภ า พ ก า ร ท า ง า น ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ในการวางแผนและกาหนดนโยบายในระดับจังหวัดมี ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ใ น ปั จ จุ บั น เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ
มากขึ้น สานักงานสถิติแห่งชาติจึงได้กาหนดขนาด เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตการปกครองจาก
ตัวอยา่ งเพิ่มข้ึนโดยเร่มิ ต้ังแต่ พ.ศ. 2537 ทั้งน้ีเพื่อให้ เดิมเขตสุขาภิบาลถูกนาเสนอรวมเป็นนอกเขต
สามารถนาเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ เทศบาล มารวมเป็นในเขตเทศบาล เนื่องจาก
เฉพาะรอบการสารวจของเดือนกุมภาพันธ์และเดือน พระราชบัญญตั ิเปลยี่ นแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็น
สิงหาคมเท่านั้น การสารวจรอบที่ 4 ในเดือน เทศบาล พ.ศ. 2542
พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ซ่ึงจัดทาเป็นคร้ังแรกได้
เสนอผลในระดับจังหวัดด้วยและตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 วตั ถุประสงค์ที่สาคัญของการสารวจภาวะการ
เป็นต้นมา ผลการสารวจทั้ง 4 รอบได้เสนอผลใน ทางานของประชากรเพื่อประมาณจานวนและ
ระดับจังหวัด ลักษณะของกาลังแรงงานภายในประเทศและใน
จังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละไตรมาสของข้อมูลสถิติที่ได้
จากการสารวจ

2

1. จานวนประชากรในวัยทางาน (อายุ 15 ปี ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ได้กาหนดอายุข้ันต่าของ

ขึ้นไป) และจานวนประชากรนอกวัยทางานจาแนก ประชากรวยั ทางานเปน็ 15 ปี

ตามเพศ คานยิ ามท่สี าคญั ๆ ท่ใี ชใ้ นการสารวจ มดี งั น้ี
2. จานวนประชากรในวัยทางาน จาแนก

ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส ผมู้ งี านทา
การศกึ ษาทีส่ าเร็จ ผู้มีงานทา หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

3. จานวนผู้มีงานทา จาแนกตามลักษณะท่ี และในสัปดาห์แห่งการสารวจมีลักษณะอย่างหน่ึง
น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาที่สาเร็จ อาชีพ อยา่ งใด ดังต่อไปน้ี
อุตสาหกรรม สถานภาพการทางาน ชั่วโมงทางาน
คา่ จ้าง เงนิ เดือน และผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ได้รับจาก 1. ได้ทางานตั้งแต่ 1 ช่ัวโมงขึ้นไป โดยได้รับ
การทางาน ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกาไร เงินปันผลค่าตอบแทนที่มี
ลกั ษณะอย่างอ่ืนสาหรับผลงานท่ที า เป็นเงินสด หรือ
4. จานวนผู้ว่างงาน จาแนกตามลักษณะ ส่งิ ของ
บางประการที่น่าสนใจ เช่น ระยะเวลาในการหางานทา
งานทีท่ าคร้งั สุดท้าย สาเหตกุ ารวา่ งงาน เปน็ ตน้ 2. ไม่ไดท้ างาน หรือทางานนอ้ ยกว่า 1 ชั่วโมง
แ ต่ เ ป็ น บุ ค ค ล ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ อ ย่ า ง ห นึ่ ง อ ย่ า ง ใ ด

2. คุ้มรวม ดงั ตอ่ ไปน้ี (ซึง่ จะถือวา่ เป็น ผู้ท่ีปกติมงี านประจา)

ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล 2.1 ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
และครวั เรอื นกลมุ่ บุคคลประเภทคนงาน ผลประโยชน์อื่นๆ หรือผลกาไรจากงานหรือธุรกิจใน
ระหวา่ งท่ีไม่ไดท้ างาน

3. สัปดาหแ์ หง่ การสารวจ 2.2 ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
ผลประโยชน์อนื่ ๆ หรือผลกาไรจากงานหรือธุรกิจใน
หมายถึง ระยะเวลา 7 วัน นับจากวันก่อนวัน ระหว่างท่ีไม่ได้ทางาน แต่ยังมีงานหรือธุรกิจท่ีจะ
สัมภาษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภาษณ์คือ กลับไปทา

วันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ. 2558 “ ระหว่าง 7 วันก่อน 3. ทางานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ

วันสัมภาษณ์ ” คือ ระหว่างวันท่ี 2 ถึง วันท่ี 8 ค่ า จ้ า ง ใ น วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ไ ร่ น า เ ก ษ ต ร ข อ ง หั ว ห น้ า
ธนั วาคม พ.ศ. 2558 ครัวเรือนหรือของสมาชกิ ในครัวเรอื น

4. คาอธบิ ายศพั ท์/แนวคิด/คาจากดั ความ ผวู้ ่างงาน
ผู้ว่างงาน หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้น
สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุงแนวคิด
และคานิยามที่ใช้ในการสารวจภาวะการทางานของ ไป และในสัปดาห์แห่งการสารวจมีลักษณะอย่างหนึ่ง
ประชากรหลายคร้ัง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี
สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริงทางสังคมและเศรษฐกิจ
ของประเทศตลอดจนความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล 1. ไม่ได้ทางานและไม่มีงานประจา แต่ได้หา
และสอดคล้องกับมาตรฐานสากลขององค์การ งาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหว่าง 30 วัน
แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) กับองค์การ กอ่ นวนั สัมภาษณ์
สหประชาชาติ (UN) แนวคิดและคานิยามที่ใช้ใน
การสารวจไตรมาสนี้ ได้เริ่มใช้มาต้ังแต่รอบที่ 1 2. ไม่ได้ทางานและไม่มีงานประจา และไม่ได้
พ.ศ. 2526 มีการปรับปรุงบ้างตามลาดับ และตั้งแต่ หางานทาในระหว่าง 30 วันก่อนวันสัมภาษณ์ แต่
พร้อมท่ีจะทางานในสัปดาห์แห่งการสารวจ

3

กาลังแรงงานปัจจบุ นั 7. ทางานให้แก่องค์การ หรือสถาบันการ

กาลังแรงงานปัจจุบัน หมายถึง บุคคลที่มี กุศลต่างๆ โดยไม่ได้รับค่าจ้างผลกาไรส่วนแบ่งหรือ
อายุ 15 ปีข้ึนไป ซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสารวจมีงาน ส่ิงตอบแทนอยา่ งใด
8. ไม่พรอ้ มทีจ่ ะทางาน เนื่องจากเหตผุ ลอน่ื
ทาหรอื วา่ งงาน ตามคานยิ ามทไ่ี ดร้ ะบุขา้ งตน้

กาลังแรงงานทีร่ อฤดกู าล งาน
กาลังแรงงานที่รอฤดูกาล หมายถึง บุคคล งาน หมายถึง กิจการที่ทาท่ีมีลักษณะอย่าง

ท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดาห์แห่งการสารวจเป็นผู้ หนึง่ อยา่ งใด ดงั ต่อไปนี้
ไม่เข้าข่ายคานิยามของผู้มีงานทา หรือผู้ว่างงาน แต่
เป็นผู้รอฤดูกาลท่ีเหมาะสมเพื่อท่ีจะทางาน และเป็น 1. กิจการท่ีทาแล้วได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน
บุคคลท่ีตามปกติจะทางานที่ไม่ได้รับส่ิงตอบแทนใน หรือส่ิงของ ค่าตอบแทนท่ีเป็นเงิน อาจจ่ายเป็น
ไร่นาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทากิจกรรมตามฤดูกาล รายเดอื น รายสปั ดาห์ รายวัน หรอื รายชน้ิ
โดยมีหัวหน้าครัวเรือน หรือสมาชิกคนอื่น ๆ ใน
ครวั เรือนเป็นเจ้าของหรอื ผดู้ าเนินการ 2. กิจการที่ทาแล้วได้ผลกาไร หรือหวังท่ีจะ
ไดร้ บั ผลกาไร หรือส่วนแบง่ เปน็ การตอบแทน
กาลังแรงงานรวม
กาลงั แรงงานรวม หมายถึง บุคคลทุกคนท่ีมี 3. กิจการที่ทาให้กับธุรกิจของสมาชิกในครัวเรือน
โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือผลกาไรตอบแทนอย่างใดซึ่ง
อายุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดาห์แห่งการสารวจเป็นผู้อยู่ ส ม า ชิ ก ใ น ค รั ว เ รื อ น ท่ี ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ นั้ น จ ะ มี
ในกาลังแรงงานปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจาแนกอยู่ สถานภาพการทางาน เป็นประกอบธุรกิจส่วนตัว
ในประเภทกาลังแรงงานที่รอฤดูกาลตามคานิยามท่ี หรอื นายจา้ ง
ได้ระบุขา้ งตน้
อาชีพ
ผู้ไมอ่ ยูใ่ นกาลังแรงงาน อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานท่ี
ผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน หมายถึง บุคคลท่ี
บุคคลนน้ั ทาอยู่ บุคคลส่วนมากมีอาชีพเดียว สาหรับ
ไม่เข้าข่ายคานิยามของผู้อยู่ในกาลังแรงงานใน บุคคลที่ในสัปดาห์แห่งการสารวจมีอาชีพมากกว่า
สัปดาหแ์ หง่ การสารวจ คือ 1 อาชีพให้นับอาชีพที่มีชั่วโมงทางานมากที่สุด
ถ้าช่ัวโมงทางานแต่ละอาชีพเท่ากันให้นับอาชีพที่มี
บุคคลซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสารวจมีอายุ 15 รายได้มากกว่า ถ้าชั่วโมงทางานและรายได้ที่ได้รับ
ปีข้ึนไป แต่ไม่ได้ทางาน และไม่พร้อมที่จะทางาน จากแต่ละอาชีพเท่ากัน ให้นับอาชีพท่ีผู้ตอบ
เนือ่ งจากเปน็ ผูท้ ่ี สัมภาษณ์พอใจมากที่สุด ถ้าผู้ตอบสัมภาษณ์ตอบ
ไม่ได้ให้นับอาชีพท่ีได้ทามานานที่สุด การจัดจาแนก
1. ทางานบ้าน ประเภทอาชพี ต้งั แต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรับใช้
2. เรยี นหนงั สือ ตาม International Standard Classification
3. ยังเดก็ เกินไป หรือชรามาก of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์การ
4. ไม่สามารถทางานได้ เน่ืองจากพิการ แรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO)
ทางร่างกายหรอื จิตใจ หรือเจบ็ ปว่ ยเร้อื รงั
5. ไมส่ มคั รใจทางาน ก่อน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอาชีพจาแนก
6. ทางานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ผลกาไร ตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของประเทศไทย
ส่วนแบ่ง หรือส่ิงตอบแทนอ่ืน ๆ ให้แก่บุคคลซ่ึงมิได้ โดยอ้างอิง International Standard Classification
เป็นสมาชิกในครวั เรือนเดยี วกนั of Occupation, 1988 (ISCO – 88)

4

อุตสาหกรรม ลกู จา้ งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

อุตสาหกรรม หมายถึง ประเภทของกิจกรรม 4.1 ลูกจ้างรัฐบาล หมายถึง ข้าราชการ

ทางเศรษฐกิจท่ีได้ดาเนินการโดยสถานประกอบการ พนักงานเทศบาล พนักงานองค์การบริหารส่วน

ท่ีบุคคลน้ันกาลังทางานอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ จังหวัด ตลอดจนลูกจ้างประจา และช่ัวคราวของ

ซ่ึงบุคคลนั้นได้ดาเนินการอยู่ในสัปดาห์แห่งการ รฐั บาล

สารวจ ถ้าบุคคลหนึ่งมีอาชีพมากกว่าหนึ่งอย่าง 4.2 ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ หมายถึง ผู้ท่ี

ให้บันทึกอุตสาหกรรมตามอาชีพที่บันทึกไว้ การจัด ทางานให้กบั หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกิจ
จาแนกประเภทอุตสาหกรรม ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1
พ.ศ. 2554 ปรับใช้ตาม Thailand Standard Industrial 4.3 ลูกจ้างเอกชน หมายถึง ผู้ที่

Classification, (TSIC 2009) ทางานใหก้ ับเอกชน หรือธรุ กิจของเอกชน รวมทั้งผู้ที่

รบั จ้างทางานบ้าน

ก่อน พ.ศ. 2553 การจดั ประเภทอตุ สาหกรรม 5. การรวมกลุ่ม หมายถึง กลุ่มคนที่มา
จาแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม
ของประเทศไทย โดยอา้ งอิง International Standard ร่วมกันทางานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพ่ึงตนเอง และ
Industrial Classification of All Economic ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความ
Activities, (ISIC : 1989) เท่าเทียมกันในการกาหนดการทางานทุกข้ันตอนไม่
ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอ่ืนๆ ของกิจการท่ีทา

สถานภาพการทางาน ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน
สถานภาพการทางาน หมายถึง สถานะของ (การรวมกล่มุ ดงั กล่าวอาจจดทะเบียนจัดต้ังในรูปของ
สหกรณ์หรอื ไมก่ ไ็ ด้)
บุคคลที่ทางานในสถานที่ท่ีทางานหรือธุรกิจ แบ่ง
ออกเป็น 5 ประเภท คือ การจัดจาแนกประเภทสถานภาพการทางาน
ตั้งแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตาม International
1. นายจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Classification of Status in Employment, 1993
(ICSE – 93) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ตนเองเพื่อหวังผลกาไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้าง (ILO) มีสถานภาพการทางานเพิ่มข้ึนอีก 1 กลุ่มคือ
บุคคลอืน่ มาทางานในธุรกิจในฐานะลูกจ้าง

2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง การรวมกลมุ่ (Member of Producers’ Cooperative)

หมายถงึ ผูป้ ระกอบธุรกิจของตนเองโดยลาพังผู้เดียว
หรืออาจมีบุคคลอ่ืนมาร่วมกิจการด้วยเพ่ือหวังผล ชว่ั โมงทางาน
กาไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้างลูกจ้างแต่อาจมี
สมาชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงานมาช่วยทางานโดย ชั่วโมงทางาน หมายถึง จานวนชั่วโมง
ไมไ่ ด้รับค่าจ้าง หรือค่าตอบแทนอย่างอ่ืนสาหรับงาน
ท่ที า ทางานจริงทงั้ หมด ในสปั ดาห์แห่งการสารวจ สาหรับ
บุคคลท่ีมีอาชีพมากกว่าหนึ่งอาชีพ ชั่วโมงทางาน
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ หมายถึง ยอดรวมของชั่วโมงทางานทุกอาชพี สาหรบั
ผู้ท่ีมีงานประจาซึ่งไม่ได้ทางานในสัปดาห์แห่งการ
ค่าจ้าง หมายถึง ผู้ท่ีช่วยทางานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง สารวจให้บนั ทกึ จานวนชวั่ โมงเป็น 0 ช่ัวโมง

ในไร่นาเกษตร หรอื ในธรุ กจิ ของสมาชิกในครวั เรอื น การสารวจกอ่ นปี พ.ศ. 2544 ผู้ที่มีงานประจา

4. ลูกจ้าง หมายถึง ผู้ท่ีทางานโดยได้รับ ซึ่งไม่ได้ทางานในสัปดาห์แห่งการสารวจ ให้นับ
จานวนชั่วโมงทางานปกติต่อสัปดาห์เป็นช่ัวโมง
ค่าจ้างเป็นรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน รายช้ิน ทางาน
หรือเหมาจ่าย ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการทางาน

อาจจะเปน็ เงิน หรือสง่ิ ของ

5

รายได้ของลูกจา้ ง ระดับการศกึ ษาทส่ี าเร็จ

รายได้ของลูกจ้าง หมายถึง รายได้ของผู้ท่ีมี ได้จาแนกการศึกษาตามระดับการศึกษาที่

สถานภาพการทางานเป็น ลูกจ้าง ที่ได้รับมาจากการ สาเรจ็ ดงั น้ี

ทางานของอาชีพที่ทาในสัปดาห์แห่งการสารวจ ซ่ึง 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลท่ีไม่เคย
ประกอบด้วยค่าจ้างและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ
สาหรับลกู จา้ ง เข้าศกึ ษาในโรงเรียน หรือไม่เคยไดร้ ับการศกึ ษา

ระยะเวลาของการหางานทา 2. ต่ากว่าประถมศึกษา หมายถึง บุคคลที่

ระยะเวลาของการหางานทา หมายถึง สาเร็จการศึกษาต่ากว่าช้ันประถมปีที่ 6 หรือ
ระยะเวลาที่ผู้ว่างงานได้ออกหางานทา ให้นับตั้งแต่ ชั้นประถมปที ี่ 7 หรอื ชั้น ม.3 เดิม
วนั ทเ่ี ริ่มหางานทาจนถงึ วนั สดุ ทา้ ยก่อนวันสัมภาษณ์
3. สาเร็จประถมศึกษา หมายถึง บุคคลที่

คาบการแจงนับ สาเร็จการศึกษาตั้งแต่ช้ันประถมปีท่ี 6 หรือชั้น
คาบการแจงนับ หมายถึง ระยะเวลาท่ี ประถมปีท่ี 7 หรือชั้น ม.3 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สาเร็จ
ระดับการศกึ ษาทีส่ งู กวา่
พนกั งานออกไปสัมภาษณ์บุคคลในครัวเรือนตัวอย่าง
ซ่ึงโดยปกติเป็นวนั ท่ี 1 - 12 ของทกุ เดอื น 4. สาเร็จมัธยมศึกษาตอนต้น หมายถึง

ประเภทของครวั เรอื นทอ่ี ยใู่ นขอบขา่ ยการสารวจ บุคคลท่ีสาเร็จการศึกษาตั้งแต่ช้ัน ม.3 ม.ศ.3 หรือ
ม.6 เดิมข้นึ ไป แตไ่ มส่ าเรจ็ ระดบั การศึกษาทส่ี งู กว่า
ครัวเรือนท่ีอยู่ในขอบข่ายการสารวจแบ่งได้
เป็น 2 ประเภท คอื 5. สาเร็จมัธยมศึกษาตอนปลาย
5.1 สายสามัญ หมายถึง บุคคลที่
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย
สาเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาตั้งแต่ชั้น ม.6
ครัวเรอื นหนง่ึ คน คอื บคุ คลเดยี วซึ่งหงุ หาอาหารและ ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สาเร็จระดับ
จัดหาสิ่งอุปโภคบริโภคที่จาเป็นแก่การครองชีพโดย การศึกษาทส่ี งู กว่า
ไม่เก่ียวกับผู้ใดซ่ึงอาจพานักอยู่ในเคหสถานเดียวกัน
5.2 อาชีวศึกษา หมายถึง บุคคลท่ี
หรือครัวเรือนท่ีมีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมกัน
จัดหา และใช้ส่ิงอุปโภคบริโภคท่ีจาเป็นแก่การครอง สาเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชีพท่ี
ชพี ร่วมกัน ครัวเรอื นส่วนบุคคลอาจอาศัยอยู่ในเคหะ เรียนต่อจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
ที่เป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ห้องชุด เรือแพ โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สาเร็จระดับ
เปน็ ต้น การศึกษาทีส่ ูงกว่า

2. ครวั เรือนกลุ่มบุคคล 5.3 วิชาการศึกษา หมายถึง บุคคลท่ี
2.1 ประเภทคนงาน ได้แก่ ครัวเรือน
สาเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา (การฝึกหัด
ซง่ึ ประกอบด้วย บุคคลหลายคนอยู่กนิ รว่ มกันในท่ีอยู่ ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้น
แห่งหนึง่ เชน่ ทพ่ี กั คนงาน เป็นตน้ ไปแต่ไม่สาเรจ็ ระดับการศึกษาที่สูงกว่า

2.2 ประเภทสถาบัน ซึ่งหมายถึง 6. อุดมศกึ ษา
6.1 สายวิชาการ หมายถึง บุคคลที่
บคุ คลหลายคนอยู่ร่วมกันในสถานที่อยู่แห่งหน่ึง เช่น
สถานท่ีกักกัน วัด กรมทหาร โดยไม่แยกท่ีอยู่เป็น สาเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาหรือสาย
สัดส่วนเฉพาะคนหรือเฉพาะครัวเรือน นักเรียนท่ีอยู่ วิชาการ โดยได้รับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญา
ประจาที่โรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น ปรญิ ญาตรี โท เอก

ไม่อยใู่ นคุม้ รวมของการสารวจนี้

6

6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลท่ี 7. อาชีวศึกษาระยะส้ัน หมายถึง บุคคลท่ี

สาเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา หรอื สายวชิ าชีพ สาเร็จการศึกษาหรือการฝึกอบรมประเภ ท

ท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือเทียบเท่า อาชีวศึกษาที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ

อนปุ รญิ ญา ปรญิ ญาตรี ประกาศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสาเร็จการศึกษา

6.3 สายวิชาการศึกษา หมายถึง พ้ืนความรู้ของผู้เข้าเรียนได้กาหนดให้แตกต่างตาม
วิชาเฉพาะแต่ละอย่างท่ีเรียน แต่อย่างต่าต้องจบ
บุคคลท่ีสาเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา และ ประถมปที ่ี 4 หรือเทยี บเท่า
ได้รบั ประกาศนยี บัตรระดับอนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี
8. อื่น ๆ หมายถึง บุคคลท่ีสาเร็จการศึกษา

ทไ่ี มส่ ามารถเทยี บช้ันได้

บทท่ี 2
สรุปผลการสารวจ

1. ลกั ษณะของกาลงั แรงงาน โดยชายมีอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงานสูงกว่าหญิง
คอื ชายร้อยละ 77.7 และหญงิ ร้อยละ 55.1
ผลการสารวจภาวะการทางานของประชากรใน
ไตรมาสที่ 1 : มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2559 พบว่า จังหวัด ตาราง ข จานวนและอัตราการมีส่วนรว่ มในกาลงั แรงงาน
อานาจเจริญ มีจานวนประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป
จานวน 219,158 คน ซึ่งอยู่ในกาลังแรงงานจานวน จาแนกตามเพศ หน่วย : คน
144,824 คน คิดเป็นร้อยละ 66.1 ของประชากรอายุ
15 ปีขึ้นไป ผู้ที่ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน จานวน 74,334 คน เพศ ประชากร ผอู้ ยใู่ นกาลัง อตั ราการมีส่วนร่าม
หรือคิดเป็น ร้อยละ 33.9 ซึ่งเป็นผู้ท่ีทางานบ้าน จานวน อายุ 15 ปีขึน้ ไป แรงงาน ในกาลงั แรงงาน
16,917 คน เรียนหนังสือ จานวน 18,183 คน และอ่ืนๆ
อกี จานวน 39,234 คน ยอดรวม 219,158 144,824 66.1

ชาย 106,260 82,601 77.7

หญิง 112,898 62,223 55.1

ตาราง ก จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตาม หมายเหตุ : อัตราการมสี ว่ นร่วมในกาลังแรงงาน = กาลังแรงงาน X 100
ประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้นึ ไป
สถานภาพแรงงาน และเพศ หน่วย : คน
3. ผ้มู ีงานทา
สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง 3.1 อาชีพ

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ ประชากรของจังหวัดอานาจเจริญท่ีมีงานทา

ผู้มอี ายุ 15 ปขี น้ึ ไป 219,158 100.0 106,260 100.0 112,898 100.0 จานวน 140,737 คน น้ัน พบว่า เป็นชายจานวน 80,725 คน

1. ผอู้ ยูใ่ นกาลังแรงงาน 144,824 66.1 82,601 77.7 62,223 55.1 และหญิงจานวน 60,012 คน คิดเป็นร้อยละ 57.4 และ

1.1กาลงั แรงงานปัจจบุ นั 141,674 64.6 80,905 76.1 60,770 53.8 42.6 ของจานวนผ้มู ีงานทา

1.1.1 ผมู้ ีงานทา 140,737 64.2 80,725 76.0 60,012 53.2 สาหรับอาชีพของผู้มีงานทา ผลการสารวจ
ปรากฎว่าส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติงานท่ีมีฝีมือในด้าน
1.1.2 ผ้วู ่างงาน 937 0.4 179 0.2 758 0.7 การเกษตรและการประมง จานวน 61,819 คน หรือ
คิดเป็นร้อยละ 43.9 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
1.2 ผูท้ ี่รอฤดกู าล 3,150 1.4 1,696 1.6 1,454 1.3 หญิงร้อยละ 44.8 ชายร้อยละ 43.3 รองลงมาเป็น
พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด
2.ผ้ไู มอ่ ยูใ่ นกาลงั แรงงาน 74,334 33.9 23,659 22.3 50,675 44.9 มีจานวน 26,607 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.9 โดยหญิง
มีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 26.1 และชาย
2.1 ทางานบ้าน 16,917 7.7 269 0.3 16,648 14.7 รอ้ ยละ 13.6 ผปู้ ฏบิ ตั ิงานด้านความสามารถทางฝีมือและ
ธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีจานวน 16,790 หรือคิดเป็น
2.2 เรียนหนังสือ 18,183 8.3 8,358 7.9 9,826 8.7 ร้อยละ 11.9 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชาย
รอ้ ยละ 17.9 และหญงิ รอ้ ยละ 4.0 ท่ีเหลือเป็นผู้ประกอบ
2.3 อืน่ ๆ 39,234 17.9 15,033 14.1 24,201 21.4 อาชีพอ่ืนๆ ได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพข้ันพื้นฐานต่างๆ ใน
ด้านการขายและการให้บริการ ผู้ปฏิบัติการโรงงานและ
2. การมสี ่วนร่วมในกาลงั แรงงาน เครื่องจกั ร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ ผู้ประกอบ
วิชาชีพด้านต่างๆ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับ
ประชากรของจังหวัดอานาจเจริญอยู่ในกาลัง อาวุโสและผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขา
ตา่ งๆ และอาชพี ท่ีเกีย่ วข้องและเสมยี น
แรงงานท้ังสิ้น จานวน 144,824 คน เป็นชายจานวน

82,601 คน และหญิงจานวน 62,223 คน หรือคิดเป็น

ร้อยละ 57.0 และ 43.0 ของจานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงาน

ตามลาดบั

สาหรับอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงาน
ซ่ึงหมายถึง ร้อยละของประชากรที่อยู่ในกาลังแรงงาน
(ประกอบด้วยผู้มีงานทา ผู้ว่างงาน และผู้ท่ีรอฤดูกาล)
ต่อประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป พบว่า จังหวัดอานาจเจริญ
มีอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงาน ร้อยละ 66.1

8

ตาราง ค จานวนและร้อยละของผูม้ ีงานทา จาแนกตาม ตาราง ง จานวนและรอ้ ยละของผ้มู งี านทา จาแนกตาม

อาชีพและเพศ หนว่ ย : คน อุตสาหกรรมและเพศ หนว่ ย : คน

อาชพี รวม ชาย หญงิ อตุ สาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

100ย.0อดรวม 31407,703975 100.0 18903,7,9205 100.0 16503,,01192 100.0 ยอดรวม 31470,703975 100.0 18903,7,9205 100.0 6105,30,192 1001.000.0
1 6,068 4.3 4,7152 5.8 0 1,356 2.3 ภาคเกษตร 63,840 45.4 36,6665 45.4 27,1703 45.3

2 6,916 4.9 2,190 2.7 4,726 7.9 1 63,840 45.4 36,666 45.4 27,173 45.3

3 2,694 1.9 1,756 2.2 938 1.6 นอกภาคเกษตร 76,897 54.6 44,060 54.6 32,836 54.7

4 2,548 1.8 833 1.0 1,715 2.9 2 9,491 6.7 4,503 5.6 4,987 8.3

5 26,607 18.9 10,958 13.6 15,648 26.1 3 11,033 7.8 10,260 12.7 773 1.3

6 61,819 43.9 34,960 43.3 26,859 44.8 4 23,542 16.7 12,063 14.9 11,479 19.1

7 16,790 11.9 14,416 17.9 2,374 4.0 5 6,728 4.8 2,449 3.0 4,279 7.1

8 7,834 5.6 5,356 6.6 2,478 4.1 6 9,607 6.8 6,531 8.1 3,076 5.1

9 9,462 6.7 5,544 6.9 3,917 6.5 7 5,958 4.2 1,628 2.0 4,330 7.2

หมายเหตุ : อาชพี 8 2,129 1.5 1,002 1.2 1,127 1.9

1. ผบู้ ญั ญตั ิกฎหมาย ขา้ ราชการระดับอาวุโส และผูจ้ ัดการ 9 8,409 6.1 5,624 7.1 2,785 4.7

2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านตา่ งๆ หมายเหตุ : อตุ สาหกรรม

3. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชพี ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
2. การผลติ
4. เสมยี น 3. การกอ่ สร้าง

5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 4 การขายสง่ การขายปลกี การซ่อมยานยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์
5. ที่พักแรมและการบรกิ ารด้านอาหาร
6. ผู้ปฏิบัตงิ านทม่ี ฝี ีมอื ในด้านการเกษตร และการประมง

7. ผปู้ ฏิบตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอน่ื ๆที่เกี่ยวข้อง 6. การบรหิ ารราชการ การปอ้ งกนั ประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคับ

8. ผ้ปู ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครื่องจักร และผูป้ ฏบิ ัติงานด้านการประกอบ 7. การศึกษา
8. กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์
9. อาชีพขัน้ พื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บรกิ าร 9. อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ศลิ ปะ ความบันเทงิ และนนั ทนาการ กจิ กรรมบริการ

3.2 อุตสาหกรรม ดา้ นอ่ืนๆ การจดั หาน้า การจดั การ และการบาบดั นา้ เสยี ของเสีย และสิ่ง
ปฏิกูล การขนส่งและสถานทีเ่ ก็บสนิ คา้ กจิ กรรมทางการเงนิ และการ
เมื่อพิจารณาถึงประเภทอุตสาหกรรมหรือ ประกันภยั ขอ้ มลู ข่าวสารและการสอ่ื สาร กจิ กรรมการจ้างงานในครัวเรอื น
ลกั ษณะของการประกอบกิจกรรม ของผู้มีงานทาในเชิง ส่วนบคุ คลกิจกรรมผลิตสินค้าและบรกิ าร
เศรษฐกิจ จากผู้มีงานทาท้ังสิ้น 140,737 คน พบว่า
เป็นผู้มีงานทาในภาคเกษตรกรรม จานวน 63,840 คน 3.3 สถานภาพการทางาน
หรือคิดเป็นร้อยละ 45.4 ของผู้มีงานทา โดยชายและ
หญิงมีสัดส่วนใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 45.4 และ 45.3 เม่อื พจิ ารณาสถานภาพการทางานของผู้มีงานทา
ตามลาดับ สาหรับผู้มีงานทานอกภาคเกษตรกรรม ในไตรมาสนี้ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ทางานส่วนตัว
จานวน 76,897 คน ส่วนใหญ่ทางานในสาขาการขาย มีจานวน 61,009 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 โดยชายมี
ส่ ง แ ล ะ ก า ร ข า ย ป ลี ก ก า ร ซ่ อ ม ย า น ย น ต์ แ ล ะ สัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 49.9 และหญิง
จักรยานยนต์ มีจานวน 23,542 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ร้อยละ 34.5 รองลงมาคือ ช่วยธุรกิจครัวเรือน มีจานวน
โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 19.1 31,414 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 22.3 โดยหญิงมีสัดส่วน
ชายร้อยละ 14.9 รองลงมาเป็นผู้ทางานการก่อสร้าง สูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 36.0 ชายร้อยละ 12.2
มีจานวน 11,033 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 โดยชายมี ลกู จ้างเอกชน มจี านวน 25,945 คน คิดเป็นร้อยละ 18.4
สัดส่วนสูงกว่าหญงิ คือ ชายรอ้ ยละ 12.7 และหญิงร้อย โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 21.4 หญิง
ละ 1.3 ผู้ทางานการบรหิ ารราชการการป้องกันประเทศ ร้อยละ 14.5 ลูกจ้างรัฐบาล มีจานวน 18,474 คน หรือ
และการประกนั สงั คมภาคบังคับ มีจานวน 9,607 คน คิดเป็นร้อยละ 13.1 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
คิดเป็นร้อยละ 6.8 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ หญิงร้อยละ 14.4 ชายร้อยละ 12.2 นายจ้าง มี
ชายรอ้ ยละ8.1หญงิ รอ้ ยละ5.1 ส่วนทเ่ี หลอื กระจายอยู่ใน จานวน 1,534คน หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 1.1 และการรวมกลุ่ม
อุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ มีจานวน2,363คน หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 1.7

9

ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตาม โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 64.6 ชาย
ร้อยละ 47.5 รองลงมา คือ ผู้ท่ีทางาน 50 ช่ัวโมงข้ึนไป
สถานภาพการทางานและเพศ หน่วย : คน มีจานวน 24,549 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.4 โดยหญิง
มีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิงร้อยละ 17.8 ชายร้อยละ 17.1
สถานภาพการ รวม ชาย หญงิ ผู้มีช่ัวโมงการทางาน 10-34 ช่วั โมง มีจานวน 23,014 คน
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ คิดเป็นร้อยละ 16.4 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ
ทางาน จานวน ร้อยละ หญิงร้อยละ 116.7 ชายร้อยละ 16.1 ผู้ท่ีทางาน 1-9 ช่ัวโมง
มีจานวน 457 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.3
ยอดรวม 140,737 100.0 80,7255 100.0 60,012 100.0
246 0.4
1.นายจา้ ง 1,534 1.1 1,287 1.6 14.4
8,653 14.5
2.ลูกจา้ งรฐั บาล 18,474 13.1 9,821 12.2 8,685 34.5
20,711 36.0
3.ลูกจา้ งเอกชน 25,945 18.4 17,260 21.4 21,575 0.2

4.ทางานสว่ นตวั 61,009 43.3 40,297 49.9 142 ตาราง ช จานวนและรอ้ ยละของผูม้ งี านทา จาแนกตาม
ชัว่ โมงการทางานต่อสปั ดาห์ และเพศ หนว่ ย : คน
5.ชว่ ยธรุ กจิ ครวั เรือน 31,414 22.3 9,839 12.2

6. การรวมกล่มุ 2,363 1.7 2,221 2.8

3.4 การศกึ ษา ช่วั โมงการทางาน รวม ชาย หญิง

เม่ือพิจารณาระดับการศึกษาที่สาเร็จของผู้มี ตอ่ สัปดาห์ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
งานทาในไตรมาสน้ี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีสาเร็จ
การศึกษาระดับประถมศึกษา มีจานวน 43,290 คน ยอดรวม 140,737 100.0 80,725 100.0 60,012 100.0
หรือคิดเป็นร้อยละ 30.8 โดยสัดส่วนของหญิงสูงกว่า 1. 0 ชวั่ โมง1/
ชาย คอื หญิงร้อยละ 35.3 ชายร้อยละ 27.4 รองลงมา 3,111 2.2 2,759 3.4 352 0.6
คือ ผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา มีจานวน 2. 1-9 ชัว่ โมง
40,122 คน คิดเป็นร้อยละ 28.5 ผู้ที่สาเร็จการศึกษา 3. 10-34 ช่วั โมง 457 0.3 298 0.4 159 0.3
ระดับต่ากว่าประถมศึกษา จานวน 36,789 คน คิดเป็น 4. 35-49 ช่ัวโมง 23,014 16.4 12,994 16.1 10,020 16.7
ร้อยละ 26.1 ผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา 8. 50ชัว่ โมงขึ้นไป 89,606 63.6 50,837 63.0 38,769 64.6
จานวน 19,079 คน คิดเป็นร้อยละ 13.6 และไม่มี 24,549 17.4 13,837 17.1 10,712 17.8
การศึกษา 1,460 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.0
หมายเหตุ : 1/ ผ้ไู ม่ไดท้ างานในสัปดาห์การสารวจ แตม่ ีงานประจา

ตาราง ฉ จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตาม 4. การว่างงาน

ระดับการศึกษาทสี่ าเร็จ และเพศ หน่วย : คน ประชากรของจังหวดั อานาจเจริญว่างงานจานวน
ทั้งส้ิน 937 คน เป็นหญิงจานวน 758 คน และชาย
ระดบั การศกึ ษา รวม ชาย หญิง จานวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 80.9 และ 19.1
ตามลาดบั
ที่สาเรจ็ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
สาหรับอัตราการว่างงานของประชากรซ่ึง
ยอดรวม 140,737 100.0 80,725 100.0 60,012 100.0 หมายถึง สัดส่วนของผู้ว่างงานต่อจานวนประชากรที่อยู่
ในกาลังแรงงานรวม พบว่า จังหวัดอานาจเจริญมีอัตรา
1.ไมม่ ีการศกึ ษา 1,460 1.0 970 1.2 491 0.8 การว่างงาน ร้อยละ 0.6 โดยหญิงมีอัตราการว่างงานสูง
กวา่ ชาย คอื หญิงร้อยละ 1.2 และชายร้อยละ 0.2

2.ต่ากวา่ ประถมศกึ ษา 36,786 26.1 21,810 27.0 14,976 25.0 ตาราง ซ จานวนและอัตราการว่างงาน จาแนกตามเพศ

3.ประถมศึกษา 43,290 30.8 22,088 27.4 21,202 35.3 หนว่ ย : คน

4.มัธยมศกึ ษา 40,122 28.5 27,141 33.7 12,981 21.7 ผู้อยูใ่ นกาลัง ผูว้ า่ งงาน
แรงงาน จานวน รอ้ ยละ
5.อดุ มศกึ ษา 19,079 13.6 8,717 10.8 10,363 17.3 เพศ

3.5 ช่วั โมงการทางาน ยอดรวม 144,824 937 0.6

ในจานวนผู้มีงานทา 140,737 คนนั้น เป็นผู้ท่ี ชาย 82,601 179 0.2
ทางานต่อสัปดาห์ตั้งแต่ 1 ช่ัวโมงขึ้นไป มีจานวน
137,626 คน มีผู้ไม่ได้ทางานในสัปดาห์การสารวจแต่มี หญงิ 62,223 758 1.2
งานประจา (ชั่วโมงทางานเป็น “0”) จานวน 3,111 คน
ในการสารวจรอบน้ี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ทางาน หมายเหตุ : อตั ราการวา่ งงาน = ผวู้ ่างงาน 100
35-49 ช่ัวโมง มีจานวน 89,606 คน คิดเป็นร้อยละ 63.6
ผ้อู ยู่ในกาลังแรงงานรวม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบยี บวธิ ี

1. วธิ กี ารสารวจ

การสารวจนี้คุ้มรวมครัวเรือนส่วนบุคคลและครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรือนคนงานที่อยู่ในเขต
เทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวดั ทัว่ ประเทศ ยกเวน้ ครวั เรอื นชาวตา่ งชาติทีท่ างานในสถานทูตหรือองค์การ
ระหวา่ งประเทศที่มเี อกสทิ ธ์ิทางการทตู

ในการสารวจแต่ละเดือนได้ดาเนินการสารวจท่ัวประเทศทุกจังหวัด โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ
Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างขั้นที่ 1 คือ เขตแจงนับ (Enumeration Area : EA) ซึ่งมี
จานวน 1,990 EA ตวั อย่าง จากจานวนท้ังสน้ิ 127,460 EAs และหน่วยตัวอย่างขั้นที่ 2 คือ ครัวเรือน ซ่ึงมีจานวน
ครัวเรือนที่เป็นตัวอย่างท้ังสิ้น 27,960 ครัวเรือน หรือคิดเป็นจานวนประชากรท่ีตกเป็นตัวอย่างประมาณ
95,064 คน ซ่ึงขนาดตัวอย่างในแต่ละเดือนดังกล่าวสามารถนาเสนอข้อมูลในระดับภาคและประเทศจาแนกเขต
การปกครอง แต่ไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะนาเสนอข้อมูลในระดับจังหวดั หรอื พ้ืนท่ียอ่ ยกวา่ น้ี ฉะนัน้ เพ่อื ใหส้ ามารถนาเสนอผล
ของข้อมูลในระดับจังหวัดได้ จึงได้ใช้ข้อมูลของการสารวจในแต่ละเดือน 3 เดือนที่ติดต่อกันมารวมกันเพ่ือให้ได้
ขนาดตวั อยา่ งเพียงพอและทาการประมาณค่าขอ้ มูลยอดรวมของจังหวัดต่อไป เช่น กรณีสรุปรายงานผลการสารวจ
ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2558 ก็ได้นาข้อมูลของเดือนตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม 2558 มารวมกัน
เป็นต้น

สาหรับวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนท่ีตกเป็น
ตัวอย่าง โดยข้าราชการและพนักงานของสานักงานสถิติจังหวัดอานาจเจริญ จานวน 10 คน และเจ้าหน้าท่ีผู้ทา
การสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือการปฏิบัติงานการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับใช้ในการปฏิบัติงานทั้งนี้เพื่อให้ทุกคน
ปฏบิ ตั งิ านไปในทางเดียวกัน

ส่วนการประมวลผลข้อมูลน้ันดาเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาสถิติ โดยนาข้อมูลที่ได้จากครัวเรือน
ตวั อย่างมาประมาณค่า โดยการถ่วงน้าหนัก (Weighty) ซึ่งค่าน้าหนักจะได้จากสูตรในการประมาณค่าท่ีเหมาะสม
กับวิธีการเลือกตัวอย่าง เพอ่ื ใหไ้ ดค้ ่าประมาณของประชากรในแตล่ ะจังหวดั ใกลเ้ คียงกบั คา่ ท่ีแท้จริง

2. วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล

การสารวจได้ดาเนินการพร้อมกันท่ัวจังหวัด ในระหว่างวันท่ี 1 – 12 ของเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2559
สาหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนท่ีตกเป็นตัวอย่าง โดย
พนักงานสัมภาษณ์ของสานักงานสถิติจังหวัดอานาจเจริญ ซึ่งมีประสบการณ์ในการสารวจและพนักงานสัมภาษณ์
ทุกคนจะมีคู่มือการปฏบิ ตั งิ านเกบ็ รวบรวมข้อมูล เพือ่ ใช้ในการปฏบิ ตั งิ านให้เปน็ แนวทางเดียวกนั

3. การปัดตัวเลข

ในตารางสถิติ ผลรวมของแต่ละจานวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม เน่ืองจากข้อมูลแต่ละจานวนได้มีการ
ปัดเศษเป็นหลกั พัน โดยอิสระจากกัน

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ หนา้
15
ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 16
ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสาเร็จและเพศ 17
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 18
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผมู้ งี านทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 19
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 20
ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามช่วั โมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ 21
ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาท่ีสาเรจ็ และเพศ

15

ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผมู้ อี ายุ 15 ปีขึน้ ไป 219,158 จานวน 112,898
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 144,824 106,260 62,223
141,674 82,601 60,770
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 140,737 80,905 60,012
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 80,725
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 937 758
3,150 179 1,454
1.2 ผู้ทีร่ อฤดกู ำล 74,334 1,696 50,675
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 16,917 23,659 16,648
2.1 ทำงำนบำ้ น 18,183 9,826
2.2 เรียนหนงั สือ 39,234 269 24,201
2.3 อื่นๆ 8,358
100.0 15,033 100.0
ผู้มอี ายุ 15 ปขี ้ึนไป 66.1 55.1
1. ผู้อยูใ่ นกำลังแรงงำน 64.6 ร้อยละ 53.8
64.2 53.2
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบัน 0.4 100.0 0.7
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 1.4 77.7 1.3
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 33.9 76.1 44.9
7.7 76.0 14.7
1.2 ผู้ทร่ี อฤดูกำล 8.3 0.2 8.7
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 17.9 1.6 21.4
2.1 ทำงำนบำ้ น 22.3
2.2 เรียนหนังสือ 0.3
2.3 อ่ืนๆ 7.9
14.1

16

ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอาย1ุ 5 ปีข้ึนไป จาแนกตามระดบั การศึกษาที่สาเร็จและเพศ

ระดับการศกึ ษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,158 จานวน 112,898
1. ไม่มีการศึกษา 3,672 106,260 1,815
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 70,068 40,043
3. ประถมศึกษา 60,086 1,857 31,700
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 37,979 30,024 16,930
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 26,134 28,386 10,489
22,021 21,049 8,593
5.1 สายสามัญ 4,113 15,644 1,896
5.2 สายอาชีวศึกษา - 13,427 -
5.3 สายวชิ าการศึกษา 21,220 2,217 11,921
6. มหาวิทยาลัย 9,184 5,577
6.1 สายวิชาการ 7,320 - 3,396
6.2 สายวชิ าชีพ 4,716 9,300 2,948
6.3 สายวชิ าการศึกษา - 3,607 -
7. อืนๆ - 3,925 -
8. ไม่ทราบ 1,768
100.0 100.0
ยอดรวม 1.7 - 1.6
1. ไม่มีการศึกษา 32.0 - 35.5
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 27.4 28.1
3. ประถมศึกษา 17.3 ร้อยละ 15.0
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 11.9 9.3
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 10.0 100.0 7.6
1.9 1.7
5.1 สายสามัญ - 1.7 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 9.7 28.3 10.6
5.3 สายวิชาการศึกษา 4.2 26.7 4.9
6. มหาวิทยาลัย 3.3 19.8 3.0
6.1 สายวชิ าการ 2.2 14.7 2.6
6.2 สายวิชาชีพ - 12.6 -
6.3 สายวิชาการศึกษา - 2.1 -
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ -
8.8
3.4
3.7
1.7

-
-

17 ชาย หญิง
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอาชพี และเพศ จานวน
80,725 60,012
อาชพี รวม 4,712 1,356
2,190 4,726
ยอดรวม 140,737 1,756
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวโุ ส และผู้จัดการ 6,068 938
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านต่างๆ 6,916 833 1,715
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพท่ีเก่ียวข้อง 2,694 10,958 15,648
4. เสมียน 2,548 34,960 26,859
5. พนกั งานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 26,607 14,416 2,374
6. ผู้ปฏบิ ตั ิงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 61,819 5,356 2,478
7. ผู้ปฏิบัติงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอ่ืนๆทเ่ี ก่ียวข้อง 16,790 5,544 3,917
8. ผู้ปฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเคร่ืองจักร และผู้ปฏิบัติงานดา้ นการประกอบ 7,834
9. อาชีพขัน้ พนื้ ฐานตา่ งๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ 9,462 - -
10. คนงานซึ่งมิไดจ้ าแนกไวใ้ นหมวดอื่น - ร้อยละ
100.0 100.0
ยอดรวม 100.0 2.3
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ 4.3 5.8 7.9
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านตา่ งๆ 4.9 2.7 1.6
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชีพทเี่ ก่ียวข้อง 1.9 2.2 2.9
4. เสมียน 1.8 1.0 26.1
5. พนกั งานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 18.9 13.6 44.8
6. ผู้ปฏบิ ตั งิ านท่มี ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 43.9 43.3 4.0
7. ผู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้อง 11.9 17.9 4.1
8. ผู้ปฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเคร่อื งจักร และผู้ปฏิบตั งิ านด้านการประกอบ 5.6 6.6 6.5
9. อาชีพขน้ั พื้นฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย และการใหบ้ ริการ 6.7 6.9 -
10. คนงานซ่ึงมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น -
-

18

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน 60,012
ยอดรวม 140,737 80,725 27,173
63,840 36,666
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง -
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน - - 4,987
3. การผลิต 9,491 4,503
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ -
5. การจดั หานา การจัดการ และการบาบัดนาเสยี ของเสยี และส่งิ ปฏิกูล 102 102 64
6. การกอ่ สรา้ ง 529 465 773
7. การขายส่งและการขายปลกี การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ 11,033 10,260 11,479
8. การขนสง่ และสถานท่ีเกบ็ สินค้า 23,542 12,063 384
9. ท่ีพักแรมและบริการดา้ นอาหาร 2,258 1,873 4,279
10. ข้อมูลข่าวสารและการส่อื สาร 6,728 2,449 -
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 645 645 49
12. กิจกรรมอสงั หารมิ ทรัพย์ 111 62 -
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 726
14. กิจกรรมการบรหิ ารและการบริการสนับสนุน - - 84
15. การบรหิ ารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคับ 1,014 288 3,076
16. การศึกษา 186 4,330
17. กจิ กรรมดา้ นสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 270 6,531 1,127
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 9,607 1,628 69
19. กิจกรรมบริการดา้ นอ่นื ๆ 5,958 1,002 1,240
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรอื นสว่ นบุคคล กจิ กรรมผลติ สินค้าและบริการ 2,129 375 169
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 1,435 -
22. ไม่ทราบ 443 193 -
2,675 100.0
ยอดรวม - 45.3
362 - -
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง - ร้อยละ 8.3
2. การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน - 100.0 -
3. การผลติ 45.4 0.1
4. ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 100.0 - 1.3
5. การจัดหานา การจดั การ และการบาบัดนาเสยี ของเสีย และสิง่ ปฏิกลู 45.4 5.6 19.1
6. การก่อสร้าง 0.1 0.6
7. การขายสง่ และการขายปลกี การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ - 0.6 7.1
8. การขนสง่ และสถานท่ีเกบ็ สินค้า 6.7 12.7 -
9. ท่ีพักแรมและบริการดา้ นอาหาร 0.1 14.9 0.1
10. ข้อมูลข่าวสารและการสือ่ สาร 0.4 2.3 -
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภยั 7.8 3.0 1.2
12. กจิ กรรมอสังหาริมทรัพย์ 16.7 0.8 0.1
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 1.6 0.1 5.1
14. กิจกรรมการบริหารและการบรกิ ารสนับสนุน 4.8 - 7.2
15. การบรหิ ารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 0.5 0.4 1.9
16. การศึกษา 0.1 0.2 0.1
17. กิจกรรมดา้ นสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 8.1 2.1
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - 2.0 0.3
19. กิจกรรมบรกิ ารดา้ นอ่นื ๆ 0.7 1.2 -
20. กจิ กรรมการจ้างงานในครวั เรือนสว่ นบุคคล กิจกรรมผลติ สนิ ค้าและบริการ 0.2 0.5 -
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 6.8 1.8
22. ไม่ทราบ 4.2 0.2
1.5 -
0.3 -
1.9
0.3

-
-

19
ตารางท่ี 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 60,012
246
ยอดรวม 140,737 80,725
8,653
1. นายจ้าง 1,534 1,287 8,685
20,711
2. ลูกจ้างรัฐบาล 18,474 9,821 21,575

3. ลูกจ้างเอกชน 25,945 17,260 142

4. ทางานส่วนตัว 61,009 40,297 100.0
0.4
5. ช่วยธรุ กิจครัวเรือน 31,414 9,839 14.4
14.5
6. การรวมกลุ่ม 2,363 2,221 34.5
36.0
ร้อยละ 0.2

ยอดรวม 100.0 100.0

1. นายจ้าง 1.1 1.6

2. ลูกจ้างรัฐบาล 13.1 12.2

3. ลูกจ้างเอกชน 18.4 21.4

4. ทางานส่วนตวั 43.3 49.9

5. ช่วยธรุ กิจครัวเรือน 22.3 12.2

6. การรวมกลุ่ม 1.7 2.8

20

ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ

ชวั่ โมงการทางาน รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 140,737 จานวน 60,012
3,111 80,725 352
1. 0 ช่ัวโมง1/ 457 2,759 159
2. 1-9 ช่ัวโมง 4,111
3. 10-19 ชั่วโมง 17,679 298 2,356
4. 20-29 ช่ัวโมง 1,224 1,755 7,150
5. 30-34 ชั่วโมง 27,492 10,529
6. 35-39 ชั่วโมง 62,114 514
7. 40-49 ช่ัวโมง 24,549 710 13,386
8. 50 ช่ัวโมงข้ึนไป 14,106 25,383
36,731 10,712
ยอดรวม 100.0 13,837
1. 0 ช่ัวโมง 1/ 2.2 ร้อยละ 100.0
2. 1-9 ช่ัวโมง 0.3 100.0 0.6
3. 10-19 ช่ัวโมง 2.9 0.3
4. 20-29 ชั่วโมง 12.6 3.4 3.9
5. 30-34 ชั่วโมง 0.9 0.4 11.9
6. 35-39 ชั่วโมง 19.5 2.2 0.9
7. 40-49 ชั่วโมง 44.1 13.0 22.3
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 17.4 0.9 42.3
หมายเหตุ : 1/ ผู้ไม่ไดท้ างานในสัปดาหก์ ารสารวจ แต่มีงานประจา 17.5 17.8
45.5
17.1

21

ตารางท่ี 7 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสาเร็จและเพศ

ระดบั การศกึ ษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง
ยอดรวม 140,737 จานวน
80,725 60,012

1. ไม่มีการศึกษา 1,460 970 491
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 36,786 21,810 14,976
3. ประถมศึกษา 43,290 22,088 21,202
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 21,404 14,411 6,993
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 18,718 12,730 5,988
16,002 10,822 5,180
5.1 สายสามัญ 2,716 1,908
5.2 สายอาชีวศึกษา 808
5.3 สายวิชาการศึกษา - - -
6. มหาวทิ ยาลัย 19,079 8,717
6.1 สายวิชาการ 8,344 3,545 10,363
6.2 สายวิชาชีพ 6,685 3,848 4,799
6.3 สายวชิ าการศึกษา 4,050 1,324 2,838
7. อืนๆ 2,726
8. ไม่ทราบ - -
- - -
ยอดรวม ร้อยละ -
1. ไม่มีการศึกษา 100.0 100.0
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 1.0 1.2 100.0
3. ประถมศึกษา 26.1 27.0 0.8
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 30.8 27.4 25.0
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 15.2 17.9 35.3
13.3 15.8 11.7
5.1 สายสามัญ 11.4 13.4 10.0
5.2 สายอาชีวศึกษา 1.9 2.4 8.6
5.3 สายวิชาการศึกษา - - 1.3
6. มหาวทิ ยาลัย 13.6 10.8 -
6.1 สายวิชาการ 5.9 4.4 17.3
6.2 สายวิชาชีพ 4.7 4.8 8.0
6.3 สายวิชาการศึกษา 2.9 1.6 4.7
7. อืนๆ - - 4.5
8. ไม่ทราบ - -
-

-


Click to View FlipBook Version