The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-10 05:07:52

สรง. 3 - ปี 62

สรง. 3 - ปี 62

ISSN 1685-0408

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จงั หวดั อานาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 2 : เมษายน – มิถนุ ายน 2562

สานักงานสถิตจิ งั หวัดอานาจเจรญิ
สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จงั หวัดอานาจเจริญ

ไตรมาสที่ 2 : เมษายน – มถิ นุ ายน 2562

สานกั งานสถติ จิ งั หวดั อานาจเจริญ
สานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ
กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม

หน่วยงานเจา้ ของเรอื่ ง สานกั งานสถิตจิ งั หวัดอานาจเจริญ
ศาลากลางจังหวดั อานาจเจรญิ ช้ัน 3
อ.เมอื งอานาจเจริญ จ.อานาจเจริญ 37000
โทรศัพท์ 0 4552 3040
โทรสาร 0 4552 3120
ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ : [email protected]

หน่วยงานทเ่ี ผยแพร่ กองสถิติพยากรณ์

สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ

ศูนย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษาฯ

อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชน้ั 2

ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210

โทรศัพท์ 0 2143 1323 ต่อ 17496

โทรสาร 0 2143 8132

ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนกิ ส์ : [email protected]

ปีท่ีจดั พิมพ์ 2562
จัดพิมพโ์ ดย สานักงานสถติ ิจังหวดั อานาจเจริญ

คำนำ

สานักงานสถติ ิแห่งชาติ ไดเ้ ร่มิ จัดทาโครงการสารวจภาวะการทางานของประชากรมาต้ังแต่ปพี .ศ. 2506
ในชว่ งปี พ.ศ.2514-2526 ได้ทาการสารวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเป็นการสารวจนอกฤดูการเกษตรระหว่าง
เดอื นมกราคมถึงเดอื นมีนาคมรอบท2ี่ เปน็ การสารวจในฤดกู ารเกษตรระหวา่ ง เดือนกรกฎาคมถงึ เดอื นกนั ยายน
และชว่ งปี พ .ศ. 2527-2540 ทาการสารวจเปน็ ปีละ 3 รอบ คอื รอบท1่ี สารวจในเดือนกุมภาพนั ธ์ รอบท่ี 2
สารวจในเดอื นพฤษภาคม รอบท่ี 3 สารวจในเดอื นสงิ หาคม และชว่ งปี พ .ศ. 2541-2543 ทาการสารวจ
เพิ่มขึ้นอีก 1 รอบ เปน็ รอบท่ี 4 ในเดอื นพฤศจิกายน ซงึ่ ทาให้ไดข้ ้อมูลเป็นรายไตรมาส

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นตน้ ไป การสารวจโครงการนี้ไดจ้ ดั ทาเปน็ รายเดอื นทุกๆ เดือนส่วนการ
เสนอผลการสารวจนัน้ ในปี พ.ศ. 2544 นาเสนอผลทกุ เดือนต้ังแตเ่ ดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดอื นธันวาคม โดยเอา
ข้อมูลที่ไดจ้ ากการสารวจครง้ั ละ 3 เดือน มาประมวลผลและหาคา่ เฉล่ยี เคล่อื นท่ี (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดอื น)
ซงึ่ ผลของการสารวจจะสะท้อนถึงคา่ ประมาณของเดอื นท่ีอยู่กลางคาบเวลาสารวจน้ันๆ และการเสนอผล
ตัง้ แต่ พ.ศ. 2545 เป็นตน้ ไป จะนาเสนอปีละ 4 ฉบบั เปน็ รายไตรมาส สาหรบั ผู้ท่ตี ้องการใช้ข้อมูลเปน็ ราย
เดอื น ในลักษณะเดิมยังสามารถตดิ ต่อขอข้อมลู ไดท้ สี่ านักงานสถิติจงั หวัด

สาหรบั รายงานฉบับน้ี เป็นการเสนอผลการสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาสที่ 2 :
เมษายน– มิถุนายน2562 ของจังหวดั อานาจเจริญ ท่ีได้ดาเนนิ การสารวจระหว่าง เดือน เมษายน – มถิ ุนายน 2562
เนือ่ งจากข้อมลู ท่นี าเสนอในรายงานฉบับน้ีไดม้ าจากการสารวจด้วยระเบยี บวิธีตวั อย่างซง่ึ อาจจะมีความ
คลาดเคล่อื นจากการเลือกตวั อย่างและความคลาดเคล่อื นอน่ื ๆ รวมอยู่ด้วย จึงขอให้ผูใ้ ชข้ อ้ มูลได้คานงึ ถึงเรือ่ งนี้
ในการใช้ตัวเลขด้วย

บทสรุปสาหรับผู้บรหิ าร

สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติ กระทรว งดิจิทัลเพ่อื จังหวัดอานาจเจริญ มปี ระชากร อายุ 15 ปขี ้ึนไป
เศรษฐกจิ และสังคม ดาเนินการสารวจภาวะการทางาน จานวน 219,789 คน เป็นผ้ใู นกาลงั แรงงาน136,659คน
ของประชากรหรอื สารวจแรงงานอย่ างต่อเน่อื งเปน็ (ประกอบดว้ ยผมู้ ีงานทา 132,164 คน ผู้ว่างงาน 234 คน
ประจาทุกปี เริม่ ต้งั แต่ ปี 2506 โดยในชว่ งแรก และผรู้ อฤดูกาล4,261 คน) และผูอ้ ยู่นอกกาลงั แรงงาน อีก
สารวจเพียงปลี ะ 2 รอบ รอบแรกเปน็ การสารวจนอก 83,130 คน (ประกอบด้วยผทู้ างานบ้าน 2 1,493 คน
ฤดูการเกษตร รอบที่ 2 เป็นฤกดาู รเกษตรตอ่ มาในปี 2527 ผู้เรยี นหนังสือ 17,329 คน และอ่ืนๆ เชน่ ชรา พิการจน
ถงึ 2540 สารวจปลี ะ 3 รอบ โดยเพ่มิ สารวจชว่ งเดอื น ไม่สามารถทางานได้ 44,308 คน)
พฤษภาคมเพอ่ื ดแู รงงานทจ่ี บการศกึ ษาใหม่เข้าสู่
ตลาดแรงงาน และในปี 2541 ได้เพิม่ การสารวจข้นึ อีก 2. ผมู้ งี านทา
1 รอบ ในเดือนพฤศจกิ ายน เป็นชว่ งฤดูกาลเกบ็ เกย่ี ว
ผลผลติ การเกษตร ทาให้เปน็ การสารวจภาวะ 2.1 อาชีพ
การทางานของประชากรครบทง้ั 4 ไตรมาสของปี
แผนภูมิ 1 จานวนผู้มีงานทา จาแนกตามอาชพี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562
สานกั งานสถติ จิ งั หวัดอานาจเจริญ ได้
ดาเนนิ การ สารวจภาวะการทางานของประชากรใน จานวน (คน) 67,521
ไตรมาสที่ 2 เดอื นเมษายน – มิถุนายน 2562 ระหว่าง 80,000
วันที่ 1-12 ของเดอื นมคี รวั เรือนที่ตกเป็นตวั อย่างทั้งสิน้
840 ครวั เรือน เปน็ ครวั เรอื นในเขตเทศบา4ล80ครัวเรือน 60,000
และนอกเขตเทศบาล 360 ครวั เรือน สาหรบั วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลใชว้ ิธกี ารสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือน 40,000
ทีต่ กเปน็ ตวั อยา่ ง ผลการสารวจทาให้ทราบถงึ ภาวะ
การมีงานทาและว่างงานของประชากรในจังหวัด 20,000 21,665 10,0025,414 9,629
อานาจเจรญิ สรปุ ขอ้ มูลทีส่ าคัญได้ ดังนี้ 0 5,807 7,799
อาชพี
1. ลักษณะของกาลงั แรงงาน 1,867 2,460
78 9
แผนผังการจาแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน 1 23456
การสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส ที่ 2 พ.ศ. 2562
1. ผบู้ ัญญตั กิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ
ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป 2. ผปู้ ระกอบวิชาชีพดา้ นต่างๆ
219,789 คน 3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชีพที่เกี่ยวขอ้ ง
4. เสมยี น
ผู้อยใู่ นกาลังแรงงาน ผ้อู ยู่นอกกาลังแรงงาน 5. พนกั งานบริการและพนกั งานในรา้ นค้า และตลาด
(ผู้ที่พร้อมทางาน) (ผไู้ ม่พร้อมทางาน) 6. ผ้ปู ฏิบัติงานทม่ี ีฝีมอื ในดา้ นการเกษตร และการประมง
136,659 คน (62.1 %) 83,130 คน (37.9 %) 7. ผปู้ ฏบิ ัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝีมอื และธรุ กจิ อื่นๆทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
8. ผู้ปฏบิ ัตกิ ารโรงงานและเครื่องจกั ร และผู้ปฏิบตั งิ านด้านการประกอบ
ผู้มีงานทา 132,164 คน ทางานบา้ น 21,493 คน 9. อาชีพขน้ั พืน้ ฐานตา่ งๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ ริการ

ผู้วา่ งงาน 234 คน เรียนหนังสอื 17,329 คน สาหรับจานวนผมู้ งี านทา 132,164 คน ส่วนใหญ่
เปน็ ผูป้ ฏิบตั งิ านทมี่ ีฝมี ือในด้านการเกษตรและ
รอฤดกู าล 4,261 คน อ่ืนๆ 44,308 คน การประมง 67,521 คน รองลงมา เป็นพนักงานบริการ
คน และพนักงานในรา้ นคา้ และตลาด 21, 66 5 คน
ผ้ปู ฏิบัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอ่ืน ๆ
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 10,002 คนอาชีพ ข้ันพื้นฐานตา่ ง ๆ ในดา้ น
การขาย และการใหบ้ ริการ 9,629 คน ท่เี หลือเป็นผู้
ประกอบอาชีพอ่นื ๆ

2.2 อุตสาหกรรม 3. การว่างงาน

แผนภูมิ 2 เปรียบเทยี บจานวนผู้มงี านทา จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม แผนภูมิ 3 จานวนและอัตราการวา่ งงาน พ.ศ. 2561 - 2562
ที่สาคัญไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2561 – 2562
จานวน (คน) รอ้ ยละ
จานวน (คน)
2,000 1,546 1.2
100,000
1.1
8 0,000 75,743 1
60,000 68,516 63,648 1,600
62,172 1,021
0.8 0.8
1,200 0.7
0.6
40,000 847 626 0.4
0.4
800

20,000 400 193 234

พ.ศ. 0.1 0.2 0.2

0 00

ภ2า5ค6เ1กษตรกรรม น2อ5ก6ภ2าคเกษตรกรรม Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

 2561 2562

สาหรับจานวนผมู้ งี านทา 132,164 คน สาหรับ จานวนผู้ว่างงานในไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562
มจี านวนทง้ั ส้นิ 234 คน หรือคิดเปน็ อัตราการว่า งงาน
ประกอบด้วย ผู้ทางานภาคเกษตรกรรม 68,516 คน รอ้ ยละ 0.2 เมอื่ เปรยี บทียบชว่ งเวลาเดียวกันของ
ปี 256 1 จานวนผู้วา่ งงาน ลดลง1,312 คน (จาก1,546 คน
และนอกภาคเกษตรกรรม 63,648 คน เป็น 234 คน)

เมือ่ เปรยี บเทียบกับไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 25 61 พบว่า

จานวนผู้ทางานในภาคเกษตรกรรม ลดลง 7,227 คน

(จาก 75,743 คน เปน็ 68,516 คน) และผูท้ างานนอก

ภาคเกษตรกรรม เพ่ิมขึน้ 1,476 คน (จาก 62,172 คน

เปน็ 63,648 คน)

สารบัญ

คานา หน้า

บทสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร ค

สารบญั ตาราง ช
1
บทท่ี 1 บทนา 1
2
1. ความเปน็ มาและวตั ถปุ ระสงค์ 2
2. คมุ้ รวม 2
3. สัปดาห์แหง่ การสารวจ 7
4. คาอธิบายศพั ท์ แนวคิด คาจากัดความ 7
7
บทท่ี 2 ผลการสารวจทส่ี าคญั 7
7
1. ลักษณะของกาลังแรงงาน 8
2. การมสี ว่ นรว่ มในกาลังแรงงาน 8
3. ผูม้ งี านทา
9
3.1 อาชีพ
3.2 อตุ สาหกรรม 11
3.3 สถานภาพการทางาน 13
3.4 การศึกษา 9
3.5 ชวั่ โมงการทางาน 9

4. การวา่ งงาน

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ระเบียบวิธี
ภาคผนวก ข ตารางสถติ ิ

สารบัญตาราง หนา้

ตาราง ก จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จานวนและอัตราการมสี ว่ นร่วมในกาลงั แรงงาน จาแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จานวนและร้อยละของผูม้ งี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 8
ตาราง ง จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 9
ตาราง ฉ จานวนและรอ้ ยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามการศึกษาท่ีสาเรจ็ และเพศ 9
ตาราง ช จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชว่ั โมงการทางานตอ่ สปั ดาห์และเพศ 9
ตาราง ซ จานวนและอตั ราการว่างงาน จาแนกตามเพศ 9

บทที่ 1
บทนา

1. ความเปน็ มาและวัตถปุ ระสงค์

สานักงานสถติ ิแห่งชาติ ได้ทาการสารวจ หลังจากเกดิ ภาวะวกิ ฤติทางเศรษฐกจิ กลางปี

ภาวะการทางานของประชากรทั่วประเทศอยา่ ง 2540 ความต้องการใช้ข้อมลู เพื่อการวางแผนและ
กาหนดนโยบายด้านแรงงานมมี ากขนึ้ และเร่งดว่ นขนึ้
ตอ่ เนอ่ื งเป็นประจาทกุ ปี เรม่ิ ตัง้ แต่ปี พ .ศ. 2506 ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เร่ิมดาเนนิ การสารวจเป็น
รายเดอื นแลว้ นาขอ้ มลู 3 เดอื นรวมกันเพ่ือเสนอ
โดยในชว่ งแรกทาการสารวจปลี ะ 2 รอบ และใน ขอ้ มลู เปน็ รายไตรมาส โดยขอ้ มูลทส่ี าคญั สามารถ
นาเสนอในระดับจงั หวัด สาหรับขอ้ มลู ของเดือนท่ี
พ.ศ. 2527 ถงึ พ.ศ. 2540 ไดท้ าการสารวจปีละ ตรงกบั รอบการสารวจเดิม คอื ขอ้ มลู เดือนกุมภาพันธ์
พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จดั ทาสรุปผลการสารวจ
3 รอบ โดยรอบที่1 ทาการสารวจในเดอื นกุมภาพันธ์ เฉพาะขอ้ มลู ท่สี าคัญเพอ่ื สามารถเปรยี บเทียบกับ
ข้อมูลแตล่ ะรอบของปีท่ผี ่านมาได้ และการสารวจ
เปน็ ชว่ งหน้าแลง้ นอกฤดูการเกษตร รอบที่ 2 สารวจ ต้ังแตเ่ ดือนกันยายน พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา สามารถ
นาเสนอผลของการสารวจเปน็ รายเดอื นทุกเดือนโดย
ในเดอื นพฤษภาคม เปน็ ช่วงท่กี าลงั แรงงานใหม่ ที่ สามารถเสนอผลในระดับภาคเทา่ น้นั เนอ่ื งจาก
ตวั อยา่ งไมม่ ากพอที่จะนาเสนอในระดับยอ่ ยกว่าน้ี
เพิ่งสาเรจ็ การศกึ ษาเริ่มเขา้ สู่ตลาดแรงงาน รอบท่ี 3 และในขณะเดียวกนั ได้มกี ารปรบั อายผุ ู้อยใู่ นกาลงั
แรงงานจาก 13 ปีขน้ึ ไปเป็น 15 ปีขน้ึ ไป เพ่ือให้
สารวจในเดือนสงิ หาคม เปน็ ชว่ งฤดูการเกษตร และ สอดคล้องกับกฎหมายการใชแ้ รงงานเด็ก ปรบั ปรุง
การจดั จาแนกประเภทของอาชีพ อตุ สาหกรรมและ
ต่อมาใน พ.ศ. 2541 เปน็ ต้นมา ได้เพิม่ การสารวจอีก สถานภาพการทางานให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล
ในปจั จุบันเพอื่ ใหส้ ามารถเปรยี บเทียบข้อมูลกนั ได้
1 รอบ รวมเป็น 4 รอบ โดยทาการสารวจในเดอื น ปรบั เขตการปกครองจากเดมิ เขตสุขาภบิ าลถกู
นาเสนอรวมเปน็ นอกเขตเทศบาล มารวมเปน็ ในเขต
พฤศจกิ ายนของทุกปี ซึ่งเป็นชว่ งฤดูการเก็บเก่ียว เทศบาล เนื่องจากพระราชบญั ญัติเปลย่ี นแปลงฐานะ
ของสุขาภิบาลเปน็ เทศบาล พ.ศ. 2542
ผลผลิตทางการเกษตร ทง้ั น้ีเพ่อื เปน็ การนาเสนอ
วัตถปุ ระสงค์ทสี่ าคัญของการสารวจภาวะการ
ขอ้ มูลทีส่ ะทอ้ นถึงภาวะการมงี านทา การ ทางานของประชากรเพ่ือประมาณจานวนและ
ลักษณะของกาลงั แรงงานภายในประเทศและใน
ว่างงานและการประกอบกิจกรรมตา่ งๆ ของ จงั หวัดต่าง ๆ ในแตล่ ะไตรมาสของขอ้ มลู สถติ ิทีไ่ ด้
จากการสารวจ
ประชากรทงั้ ประเทศเป็นรายไตรมาสและต่อเนอื่ ง

ครบทกุ ชว่ งเวลาของปี

เนือ่ งจากความจาเป็นต้องการใช้ขอ้ มูล เพอื่ ใช้

ในการวางแผนและกาหนดนโยบายในระดับจังหวัดมี

มากขึ้น สานักงานสถติ ิแหง่ ชาตจิ งึ ได้กาหนดขนาด

ตวั อยา่ งเพ่มิ ข้ึนโดยเรม่ิ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ทง้ั นี้เพื่อให้

สามารถนาเสนอข้อมูลในระดบั จังหวัดได้ โดยเสนอ

เฉพาะรอบการสารวจของเดอื นกมุ ภาพันธแ์ ละเดือน

สิงหาคมเท่านัน้ การสารวจรอบท่ี 4 ในเดือน

พฤศจกิ ายน พ .ศ. 2541 ซึ่งจดั ทาเปน็ ครัง้ แรกได้

เสนอผลในระดับจงั หวดั ด้วยและต้ังแตป่ ี พ .ศ. 2542

เป็นตน้ มา ผลการสารวจทัง้ 4 รอบได้เสนอผลใน

ระดบั จังหวดั

1. จานวนประชากรในวัยทางาน (อายุ 15 ปี
ข้ึนไป) และจานวนประชากรนอกวยั ทางานจาแนก
ตามเพศ

2 ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ได้กาหนดอายุขนั้ ตา่ ของ
2. จานวนประชากรในวัยทางาน จาแนก ประชากรวัยทางานเปน็ 15 ปี
ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส
การศกึ ษาท่สี าเรจ็ คานยิ ามท่ีสาคัญ ๆ ทีใ่ ชใ้ นการสารวจ มดี งั นี้
3. จานวนผูม้ ีงานทา จาแนกตามลกั ษณะท่ี
น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาทีส่ าเรจ็ อาชีพ ผู้มีงานทา
อตุ สาหกรรม สถานภาพการทางาน ชว่ั โมงทางาน ผมู้ ีงานทา หมายถึง บุคคลท่มี อี าย1ุ 5 ปีข้ึนไป
ค่าจ้าง เงนิ เดอื น และผลประโยชนอ์ ื่น ๆ ท่ไี ดร้ ับจาก
การทางาน และในสปั ดาหแ์ หง่ การสารวจมีลกั ษณะอยา่ งหน่ึง
4. จานวนผู้วา่ งงาน จาแนกตามลักษณะ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้
บางประการทีน่ ่าสนใจ เชน่ ระยะเวลาในการหางานทา
งานที่ทาคร้ังสดุ ท้าย สาเหตุการว่างงาน เปน็ ต้น 1. ไดท้ างานตั้งแต่ 1 ช่วั โมงขึ้นไป โดยไดร้ ับ
คา่ จา้ ง เงนิ เดือน ผลกาไร เงินปันผลคา่ ตอบแทนท่ีมี
2. คุ้มรวม ลักษณะอยา่ งอืน่ สาหรบั ผลงานทท่ี า เป็นเงนิ สด หรอื
สิ่งของ
ประชากรท่อี าศยั อยใู่ นครวั เรือนสว่ นบุคคล
และครัวเรอื นกล่มุ บคุ คลประเภทคนงาน 2. ไม่ได้ทางาน หรือทางานน้อยกวา่ 1 ชว่ั โมง
แต่เปน็ บุคคลทม่ี ลี กั ษณะอย่างหนง่ึ อยา่ งใด
3. สัปดาห์แหง่ การสารวจ ดงั ต่อไปนี้ (ซ่ึงจะถือว่าเปน็ ผูท้ ี่ปกตมิ งี านประจา)

หมายถึง ระยะเวลา 7 วนั นบั จากวันก่อนวนั 2.1 ยงั ได้รบั ค่าตอบแทน คา่ จา้ ง หรือ
สัมภาษณ์ยอ้ นหลังไป 7 วัน เชน่ วันสมั ภาษณค์ อื ผลประโยชน์อน่ื ๆ หรือผลกาไรจากงานหรือธรุ กิจใน
วนั ท่ี 9 เมษายน พ.ศ. 2562 “ ระหวา่ ง 7 วันก่อน ระหวา่ งทไ่ี มไ่ ด้ทางาน
วันสมั ภาษณ์ ” คือ ระหว่างวนั ที่ 2 ถึง วันที่ 8
เมษายน พ.ศ. 2562 2.2 ไมไ่ ด้รับคา่ ตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
ผลประโยชน์อื่น ๆ หรอื ผลกาไรจากงานหรือธุรกิจใน
4. คาอธิบายศัพท/์แนวคิด/คาจากดั ความ ระหว่างท่ีไมไ่ ด้ทางาน แตย่ ังมีงานหรือธุรกิจที่จะ
กลับไปทา
สานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ ไดป้ รบั ปรงุ แนวคดิ
และคานิยามท่ีใชใ้ นการสารวจภาวะการทางานของ 3. ทางานอยา่ งน้อย 1 ชว่ั โมง โดยไมไ่ ด้รบั
ประชากรหลายครัง้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อให้ คา่ จา้ งในวสิ าหกจิ หรอื ไรน่ าเกษตรของหัวหนา้
สอดคลอ้ งกับสภาพทแ่ี ท้จรงิ ทางสังคมและเศรษฐกจิ ครัวเรือนหรือของสมาชิกในครวั เรอื น
ของประเทศตลอดจนความตอ้ งการของผูใ้ ช้ขอ้ มูล
และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลขององคก์ าร ผวู้ ่างงาน
แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) กับองคก์ าร ผ้วู ่างงาน หมายถงึ บุคคลทม่ี ีอายุ 15 ปขี ึ้น
สหประชาชาติ (UN) แนวคดิ และคานยิ ามทใ่ี ช้ใน
การสารวจไตรมาสนี้ ได้เริ่มใชม้ าตั้งแต่รอบที่ 1 ไป และในสปั ดาห์แห่งการสารวจมีลักษณะอยา่ งหน่งึ
พ.ศ. 2526 มกี ารปรบั ปรงุ บ้างตามลาดับ และตงั้ แต่ อยา่ งใด ดงั ต่อไปนี้

1. ไม่ได้ทางานและไม่มงี านประจา แตไ่ ด้หา
งาน สมคั รงานหรอื รอการบรรจุ ในระหว่าง 30 วัน
ก่อนวันสมั ภาษณ์

2. ไมไ่ ดท้ างานและไมม่ งี านประจา และไมไ่ ด้
หางานทาในระหว่าง 30 วันกอ่ นวนั สัมภาษณ์ แต่
พรอ้ มทจี่ ะทางานในสปั ดาหแ์ หง่ การสารวจ

3

กาลงั แรงงานปจั จบุ นั 7. ทางานให้แก่องคก์ าร หรอื สถาบันการ

กาลังแรงงานปจั จบุ นั หมายถึง บคุ คลทมี่ ี กศุ ลต่างๆ โดยไมไ่ ด้รบั ค่าจ้างผลกาไรส่วนแบ่งหรอื
อายุ 15 ปขี น้ึ ไป ซง่ึ ในสัปดาห์แหง่ การสารวจมงี าน ส่งิ ตอบแทนอย่างใด
ทาหรอื ว่างงาน ตามคานยิ ามทไ่ี ดร้ ะบขุ ้างต้น
8. ไม่พร้อมท่จี ะทางาน เนื่องจากเหตผุ ลอน่ื

กาลังแรงงานทีร่ อฤดกู าล งาน
กาลงั แรงงานทีร่ อฤดูกาล หมายถงึ บุคคลท่ี งาน หมายถึง กิจการทีท่ าทม่ี ีลักษณะอยา่ ง

มีอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ในสปั ดาห์แหง่ การสารวจเป็นผไู้ ม่ หน่งึ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้
เข้าข่ายคานยิ ามของผูม้ ีงานทา หรือผู้วา่ งงาน แตเ่ ป็น
ผู้รอฤดูกาลท่ีเหมาะสมเพ่ือทีจ่ ะทางาน และเปน็ 1. กจิ การที่ทาแลว้ ได้รับคา่ ตอบแทนเป็นเงิน
บุคคลทตี่ ามปกติจะทางานท่ไี ม่ได้รับสง่ิ ตอบแทนใน หรอื สิ่งของ ค่าตอบแทนทีเ่ ปน็ เงิน อาจจ่ายเปน็
ไรน่ าเกษตร หรือธุรกิจซ่งึ ทากจิ กรรมตามฤดูกาล รายเดอื น รายสัปดาห์ รายวัน หรือรายชน้ิ
โดยมหี ัวหนา้ ครวั เรอื น หรอื สมาชิกคนอนื่ ๆ ใน
ครัวเรอื นเปน็ เจา้ ของหรอื ผู้ดาเนินการ 2. กจิ การท่ที าแลว้ ได้ผลกาไร หรือหวังท่ีจะ
ได้รบั ผลกาไร หรอื ส่วนแบ่งเป็นการตอบแทน
กาลงั แรงงานรวม
กาลงั แรงงานรวม หมายถึง บคุ คลทุกคนทมี่ ี 3. กจิ การท่ีทาให้กับธุรกจิ ของสมาชิกในครวั เรือน
โดยไมไ่ ด้รับคา่ จา้ งหรือผลกาไรตอบแทนอยา่ งใดซงึ่
อายุ 15 ปีขึ้นไป ในสปั ดาห์แห่งการสารวจเป็นผู้อยู่ สมาชิกในครวั เรือนท่ปี ระกอบธรุ กจิ น้ันจะมี
ในกาลังแรงงานปัจจบุ ัน หรอื เปน็ ผถู้ กู จดั จาแนกอยู่ สถานภาพการทางาน เปน็ ประกอบธุรกจิ สว่ นตัว
ในประเภทกาลังแรงงานที่รอฤดูกาลตามคานิยามที่ หรือนายจา้ ง
ไดร้ ะบขุ า้ งตน้
อาชีพ
ผูไ้ มอ่ ย่ใู นกาลงั แรงงาน อาชีพ หมายถงึ ประเภทหรอื ชนดิ ของงานที่
ผไู้ มอ่ ยู่ในกาลงั แรงงาน หมายถงึ บุคคลท่ี
บุคคลนัน้ ทาอยู่ บุคคลสว่ นมากมีอาชีพเดยี ว สาหรบั
ไมเ่ ข้าข่ายคานยิ ามของผอู้ ยใู่ นกาลังแรงงานใน บคุ คลท่ีในสปั ดาหแ์ ห่งการสารวจมีอาชพี มากกวา่ 1
สปั ดาหแ์ หง่ การสารวจ คอื อาชพี ใหน้ ับอาชีพทมี่ ชี ่ัวโมงทางานมากท่สี ดุ ถ้า
ชว่ั โมงทางานแต่ละอาชพี เท่ากนั ให้นบั อาชพี ทมี่ ี
บคุ คลซึง่ ในสัปดาห์แห่งการสารวจมอี ายุ 15 ปี รายไดม้ ากกว่า ถา้ ชัว่ โมงทางานและรายไดท้ ไี่ ดร้ ับ
ขนึ้ ไป แตไ่ ม่ไดท้ างาน และไมพ่ ร้อมที่จะทางาน จากแต่ละอาชีพเท่ากนั ใหน้ บั อาชพี ท่ผี ูต้ อบ
เนอ่ื งจากเป็นผทู้ ี่ สมั ภาษณพ์ อใจมากท่สี ุด ถ้าผตู้ อบสมั ภาษณต์ อบ
ไม่ได้ใหน้ ับอาชีพทไ่ี ดท้ ามานานทส่ี ดุ การจดั จาแนก
1. ทางานบ้าน ประเภทอาชพี ต้ังแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรบั ใช้
2. เรยี นหนงั สอื ตาม International Standard Classification
3. ยงั เด็กเกนิ ไปหรือชรามาก of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์การ
4. ไมส่ ามารถทางานได้ เน่อื งจากพิการ แรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
ทางรา่ งกายหรือจิตใจ หรือเจ็บปว่ ยเรือ้ รัง
5. ไมส่ มคั รใจทางาน กอ่ น พ.ศ. 2553 การจดั ประเภทอาชีพจาแนก
6. ทางานโดยไมไ่ ดร้ บั ค่าจา้ ง ผลกาไร ตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของประเทศไทย
ส่วนแบง่ หรอื สง่ิ ตอบแทนอืน่ ๆ ให้แก่บุคคลซ่ึงมไิ ด้ โดยอ้างองิ International Standard Classification
เป็นสมาชกิ ในครวั เรือนเดยี วกัน of Occupation, 1988 (ISCO – 88)

4

อุตสาหกรรม ลูกจา้ งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

อุตสาหกรรม หมายถงึ ประเภทของกจิ กรรม 4.1 ลูกจา้ งรัฐบาล หมายถึง ขา้ ราชการ

ทางเศรษฐกจิ ท่ีได้ดาเนนิ การโดยสถานประกอบการ พนกั งานเทศบาล พนักงานองคก์ ารบริหารส่วน

ท่ีบคุ คลนัน้ กาลังทางานอยู่ หรือประเภทของธุรกจิ จงั หวัด ตลอดจนลกู จ้างประจา และช่วั คราวของ

ซึง่ บุคคลนนั้ ไดด้ าเนินการอยูใ่ นสัปดาหแ์ ห่งการ รฐั บาล

สารวจ ถา้ บคุ คลหนง่ึ มอี าชพี มากกวา่ หนึง่ อย่าง 4.2 ลูกจา้ งรฐั วสิ าหกิจ หมายถงึ ผู้ท่ี

ใหบ้ นั ทกึ อตุ สาหกรรมตามอาชพี ท่บี นั ทึกไว้ การจัด ทางานให้กบั หนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจ

จาแนกประเภทอตุ สาหกรรม ตั้งแตไ่ ตรมาสท่ี 1 4.3 ลกู จ้างเอกชน หมายถงึ ผู้ที่
พ.ศ. 2554 ปรับใชต้ ามThailand Standard Industrial ทางานใหก้ ับเอกชน หรือธรุ กิจของเอกชน รวมทงั้ ผ้ทู ่ี
Classification, (TSIC 2009) รบั จ้างทางานบา้ น

กอ่ น พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอตุ สาหกรรม 5. การรวมกล่มุ หมายถึง กลมุ่ คนท่มี า
จาแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม
ของประเทศไทย โดยอ้างองิ International Standard ร่วมกันทางานโดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือพึง่ ตนเอง และ
Industrial Classification of All Economic ช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกัน สมาชิกแต่ละคนมคี วาม
Activities, (ISIC : 1989) เท่าเทียมกนั ในการกาหนดการทางานทุกขั้นตอนไม่
วา่ เปน็ การลงทุน การขาย งานอ่ืนๆ ของกจิ การที่ทา

สถานภาพการทางาน ตลอดจนการแบง่ รายไดใ้ ห้แกส่ มาชกิ ตามที่ตกลงกนั
สถานภาพการทางาน หมายถงึ สถานะของ (การรวมกลุม่ ดงั กลา่ วอาจจดทะเบียนจดั ตั้งในรปู ของ
สหกรณ์หรอื ไม่ก็ได้)
บคุ คลที่ทางานในสถานทท่ี ่ที างานหรือธรุ กจิ แบง่
ออกเป็น 5 ประเภท คอื การจดั จาแนกประเภทสถานภาพการทางาน
ตั้งแตไ่ ตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใชต้ าม International
1. นายจ้าง หมายถงึ ผ้ปู ระกอบธรุ กิจของ Classification of Status in Employment, 1993
ตนเองเพ่อื หวงั ผลกาไร หรือสว่ นแบง่ และไดจ้ ้าง (ICSE – 93) ขององคก์ ารแรงงานระหว่างประเทศ
บคุ คลอื่นมาทางานในธุรกิจในฐานะลกู จา้ ง (ILO) มสี ถานภาพการทางานเพิ่มข้ึนอกี 1 กลุ่มคือ

2. ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัวโดยไม่มีลูกจา้ ง การรวมกลุ่ม(Member of Producers’ Cooperative)

หมายถึง ผ้ปู ระกอบธรุ กิจของตนเองโดยลาพังผู้เดียว ชั่วโมงทางาน

หรืออาจมีบคุ คลอ่ืนมารว่ มกจิ การด้วยเพ่อื หวงั ผล

กาไร หรือส่วนแบ่งและไมไ่ ดจ้ า้ งลูกจ้างแต่อาจมี ช่ัวโมงทางาน หมายถงึ จานวนช่วั โมง
สมาชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงานมาช่วยทางานโดย
ไม่ได้รบั คา่ จา้ ง หรอื คา่ ตอบแทนอยา่ งอืน่ สาหรับงาน ทางานจรงิ ท้ังหมด ในสัปดาหแ์ หง่ การสารวจ สาหรับ
ที่ทา บคุ คลท่มี อี าชีพมากกวา่ หนงึ่ อาชีพ ชว่ั โมงทางาน
หมายถงึ ยอดรวมของชว่ั โมงทางานทุกอาชพี สาหรบั
3. ช่วยธุรกจิ ในครัวเรอื นโดยไมไ่ ด้รับ ผู้ท่มี ีงานประจาซึ่งไม่ไดท้ างานในสปั ดาหแ์ ห่งการ

ค่าจา้ ง หมายถึง ผูท้ ช่ี ่วยทางานโดยไม่ได้รับคา่ จ้าง สารวจให้บนั ทกึ จานวนชั่วโมงเปน็ 0 ชัว่ โมง

ในไรน่ าเกษตร หรอื ในธรุ กจิ ของสมาชิกในครวั เรอื น การสารวจกอ่ นปี พ.ศ. 2544 ผูท้ ีม่ งี านประจา

4. ลกู จา้ ง หมายถึง ผทู้ ีท่ างานโดยได้รบั ซ่ึงไม่ไดท้ างานในสัปดาห์แห่งการสารวจ ให้นบั
คา่ จา้ งเป็นรายเดือน รายสปั ดาห์ รายวนั รายชนิ้ จานวนชั่วโมงทางานปกติตอ่ สัปดาหเ์ ป็นชั่วโมง
หรือเหมาจา่ ย คา่ ตอบแทนทีไ่ ด้รับจากการทางาน ทางาน

อาจจะเป็นเงิน หรือส่งิ ของ

รายไดข้ องลกู จา้ ง

5

รายได้ของลูกจา้ ง หมายถึง รายไดข้ องผทู้ มี่ ี ได้จาแนกการศึกษาตามระดับการศึกษาที่
สาเร็จดงั น้ี
สถานภาพการทางานเปน็ ลูกจ้าง ที่ได้รบั มาจากการ
ทางานของอาชพี ท่ีทาในสัปดาหแ์ ห่งการสารวจ ซง่ึ 1. ไมม่ กี ารศึกษา หมายถงึ บคุ คลท่ไี มเ่ คย
ประกอบด้วยคา่ จา้ งและผลประโยชนต์ อบแทนอนื่ ๆ เขา้ ศึกษาในโรงเรียน หรอื ไม่เคยได้รับการศกึ ษา
สาหรบั ลกู จา้ ง
2. ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา หมายถึง บคุ คลท่ี
ระยะเวลาของการหางานทา สาเร็จการศึกษาตา่ กว่าชัน้ ประถมปที ี่ 6 หรือ
ชัน้ ประถมปีที่ 7 หรือช้ัน ม.3 เดมิ
ระยะเวลาของการหางานทา หมายถึง
ระยะเวลาทผี่ ู้ว่างงานได้ออกหางานทา ให้นับตง้ั แต่ 3. สาเร็จประถมศึกษา หมายถงึ บุคคลท่ี
วันทเ่ี ริ่มหางานทาจนถงึ วนั สดุ ท้ายกอ่ นวนั สมั ภาษณ์ สาเร็จการศกึ ษาตง้ั แตช่ ัน้ ประถมปีที่ 6 หรือชนั้
ประถมปที ่ี 7 หรอื ชนั้ ม.3 เดิมขนึ้ ไป แตไ่ ม่สาเร็จ
คาบการแจงนับ ระดับการศกึ ษาท่สี งู กว่า

คาบการแจงนบั หมายถึง ระยะเวลาที่ 4. สาเร็จมัธยมศกึ ษาตอนต้น หมายถงึ
พนักงานออกไปสัมภาษณบ์ ุคคลในครวั เรือนตวั อย่าง บคุ คลท่สี าเร็จการศกึ ษาตัง้ แตช่ น้ั ม.3 ม.ศ.3 หรือ
ซ่งึ โดยปกตเิ ป็นวนั ท่ี 1 - 12 ของทุกเดอื น ม.6 เดิมขึน้ ไป แต่ไม่สาเร็จระดบั การศึกษาท่สี งู กวา่

ประเภทของครวั เรอื นที่อยู่ในขอบข่ายการสารวจ 5. สาเร็จมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ครวั เรอื นที่อยู่ในขอบขา่ ยการสารวจแบ่งได้ 5.1 สายสามญั หมายถงึ บคุ คลที่

เปน็ 2 ประเภท คอื สาเร็จการศกึ ษาประเภทสามัญศึกษาตงั้ แต่ชั้น ม.6
ม.ศ.5 หรอื ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สาเรจ็ ระดบั
1. ครัวเรือนสว่ นบุคคล ประกอบดว้ ย การศกึ ษาที่สงู กวา่

ครวั เรอื นหนึ่งคน คอื บคุ คลเดียวซง่ึ หงุ หาอาหารและ 5.2 อาชวี ศึกษา หมายถงึ บุคคลท่ี
จดั หาสิง่ อุปโภคบรโิ ภคทจี่ าเปน็ แก่การครองชีพโดย สาเรจ็ การศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวชิ าชีพที่
ไม่เกย่ี วกับผู้ใดซึง่ อาจพานักอยู่ในเคหสถานเดยี วกนั เรียนตอ่ จากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
หรือครวั เรือนท่มี ีบุคคลตง้ั แต่สองคนข้นึ ไปรว่ มกัน โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สาเร็จระดบั
จัดหา และใช้ส่ิงอปุ โภคบริโภคทจี่ าเป็นแก่การครอง การศึกษาทส่ี งู กว่า
ชพี ร่วมกัน ครัวเรอื นสว่ นบุคคลอาจอาศัยอยู่ในเคหะ
ท่เี ปน็ เรือนไม้ ตึกแถว หอ้ งแถว ห้องชุด เรือแพ เป็น 5.3 วิชาการศกึ ษา หมายถงึ บุคคลท่ี
ต้น สาเรจ็ การศกึ ษาประเภทวชิ าการศกึ ษา (การฝกึ หัด
ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขนึ้
2. ครวั เรือนกลมุ่ บุคคล ไปแต่ไมส่ าเรจ็ ระดับการศกึ ษาทส่ี ูงกวา่

2.1 ประเภทคนงาน ได้แก่ ครวั เรอื น 6. อุดมศึกษา
ซงึ่ ประกอบด้วย บคุ คลหลายคนอยกู่ ินรว่ มกันในทอ่ี ยู่ 6.1 สายวชิ าการ หมายถงึ บุคคลท่ี
แห่งหนงึ่ เช่น ที่พักคนงาน เปน็ ตน้
สาเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาหรอื สาย
2.2 ประเภทสถาบนั ซ่งึ หมายถงึ วชิ าการ โดยไดร้ บั วุฒบิ ตั รระดบั อนุปริญญา
บคุ คลหลายคนอยู่รว่ มกันในสถานท่อี ยู่แห่งหนงึ่ เช่น ปริญญาตรี โท เอก
สถานทก่ี กั กัน วดั กรมทหาร โดยไมแ่ ยกท่ีอย่เู ปน็
สัดสว่ นเฉพาะคนหรอื เฉพาะครัวเรือน นักเรียนท่อี ยู่ 6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลที่
ประจาทีโ่ รงเรียนหรอื ในหอพกั นกั เรยี น เปน็ ต้น สาเร็จการศกึ ษาประเภทอาชีวศึกษา หรอื สายวชิ าชีพ

ไม่อยู่ในคุ้มรวมของการสารวจนี้

ระดบั การศกึ ษาทส่ี าเร็จ

6

ท่ีไดร้ ับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง หรือเทยี บเท่า 7. อาชวี ศึกษาระยะสั้น หมายถึง บุคคลท่ี

อนุปริญญา ปริญญาตรี สาเร็จการศึกษาหรือการฝกึ อบรมประเภท

6.3 สายวิชาการศกึ ษา หมายถงึ อาชีวศกึ ษาท่มี หี ลักสูตรไมเ่ กิน 1 ปี และได้รบั
บคุ คลที่สาเร็จการศกึ ษาประเภทวิชาการศึกษา และ ประกาศนยี บตั รหรอื ใบรับรองเมื่อสาเรจ็ การศึกษา
ไดร้ ับประกาศนียบตั รระดับอนปุ รญิ ญแาละปริญญาตรี พนื้ ความรู้ของผเู้ ข้าเรยี นได้กาหนดให้แตกตา่ งตาม
วิชาเฉพาะแตล่ ะอยา่ งท่เี รียน แตอ่ ย่างตา่ ตอ้ งจบ

ประถมปีที่ 4 หรอื เทียบเทา่

8. อน่ื ๆ หมายถึง บุคคลทสี่ าเรจ็ การศึกษา
ที่ไมส่ ามารถเทยี บช้ันได้

บทท่ี 2
สรุปผลการสารวจ

1. ลกั ษณะของกาลังแรงงาน ตาราง ข จานวนและอตั ราการมีสว่ นร่วมในกาลังแรงงาน

ผลการสารวจภาวะการทางานขอ งประชากใรน จาแนกตามเพศ หน่วย : คน
ไตรมาสที่ 2: เมษายน–มิถนุ ายนพ.ศ.2562 พบว่าจงั หวัด
อานาจเจริญ มีจานวนประชากร อายุ 15 ปขี น้ึ ไป เพศ ประชากร ผู้อย่ใู นกาลงั อัตราการมีส่วนรา่ ม
จานวน 219,789คน ซงึ่ อย่ใู นกาลังแรงงาน จานวน อายุ 15 ปีข้ึนไป แรงงาน ในกาลังแรงงาน
136,659 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 62.1 ของประชากร อายุ
15 ปีขึ้นไป ผูท้ ไ่ี ม่อยูใ่ นกาลงั แรงงาน จานวน83,130คน ยอดรวม 219,789 136,659 62.1
หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 37.9
ชาย 106,381 76,706 72.1
หญิง 113,408 59,953 52.9

ตาราง ก จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตาม หมายเหตุ : อัตราการมสี ่วนร่วมในกาลงั แรงงาน = กาลังแรงงาน X 100
ประชากรทีม่ ีอายุ 15 ปีขน้ึ ไป
สถานภาพแรงงาน และเพศ
หน่วย : คน 3. ผู้มงี านทา
3.1 อาชพี
รวม ชาย หญงิ
สถานภาพแรงงาน ประชากรของจังหวัดอานาจเจริญท่ีมงี านทา

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน 132,164 คนน้ัน พบว่าเปน็ ชาย จานวน 73,246 คน

ผ้มู อี ายุ 15 ปีข้นึ ไป 219,789 100.0 106,381 100.0 113,408 100.0

1. ผู้อยู่ในกาลงั แรงงาน 136,659 62.1 76,706 72.1 59,953 52.9

1.1 กาลังแรงงานปัจจุบนั 132,398 60.2 73,413 69.0 58,985 52.0 และหญิง จานวน 58,918 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.4 และ

1.1.1 ผู้มีงานทา 132,164 60.1 73,246 68.8 58,918 51.9 44.6 ของจานวนผู้มงี านทา
1.1.2 ผวู้ ่างงาน 234 0.1 167 0.2 67 0.1 สาหรับอาชีพของผมู้ งี านทา ผลการสารวจ
1.2 ผ้ทู ่ีรอฤดกู าล 4,261 1.9 3,293 3.1 968 0.9 ปรากฎวา่ สว่ นใหญ่เปน็ ผปู้ ฏิบัตงิ านทมี่ ีฝีมอื ใน
2. ผูไ้ มอ่ ยู่ในกาลงั แรงงาน 83,130 37.9 29,675 27.9 53,455 47.1 ดา้ น
9.8 60 0.1 21,433 18.9
2.1 ทางานบ้าน 21,493 7.9 7.8 9,076 8.0 การเกษตรและการประมง จานวน 67,521 คน หรือ
20.2 8,253 20.0 22,946 20.2 คิดเป็นร้อยละ 51.0 โดย หญิงมีสดั ส่วนสูงกว่า ชาย คือ
2.2 เรยี นหนงั สือ 17,329 21,362 หญิง รอ้ ยละ 53.8 ชาย ร้อยละ 48.9 รองลงมาเปน็

2.3 อน่ื ๆ 44,308 พนกั งานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด

2. การมีส่วนร่วมในกาลังแรงงาน มีจานวน 21,665 คน หรอื คดิ เป็นร้อยละ 16.4 โดยหญงิ

ประชากรของจงั หวัดอานาจเจรญิ อยใู่ นกาลงั มสี ัดส่วน สงู กว่า ชาย คือ หญงิ รอ้ ยละ 19.9 และชาย

แรงงานท้งั สน้ิ จานวน 136,659 คน เป็นชายจานวน รอ้ ยละ 13.6 ผู้ปฏบิ ตั งิ านด้านความสามารถทางฝมี อื
76,706 คน และหญงิ จานวน 59,953 คน หรือคิดเปน็รอ้ ย และธุรกิจอื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง มีจานวน 10,002 คน หรือ
ละ 56.1 และ 43.9 ของจานวนผู้ อยใู่ น กาลงั แรงงาน คิดเปน็ ร้อยละ 7.6 โดยชายมีสดั ส่วนสูงกว่าหญิง คอื ชาย
ร้อยละ 10.6 และหญงิ รอ้ ยละ 3.7 ทเ่ี หลอื เปน็ ผปู้ ระกอบ
ตามลาดับ
อาชพี อ่ืนๆ ได้แก่ อาชีพข้นั พนื้ ฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย
สาหรบั อัตราการ มสี ว่ นรว่ มในกาลังแรงงาน
ซึง่ หมายถึง รอ้ ยละของประชากรทอี่ ย่ใู นกาลังแรงงาน และการใหบ้ รกิ าร ผูป้ ระกอบวิชาชพี ดา้ นตา่ งๆ ผ้บู ัญญัติ
(ประกอบดว้ ยผูม้ ีงานทา ผู้วา่ งงาน และผู้ทีร่ อฤดูกาล)
ต่อประชากรท่มี ีอายุ 15 ปีข้ึนไปพบว่า จงั หวดั อานาจเจริญ กฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวุโสและผจู้ ัดการ ผู้
มีอตั รากา รมสี ว่ นร่วมในกาลังแรงงาน รอ้ ยละ 62.1
โดยชายมอี ัตราการ มีส่วนร่วมในกาลังแรงงาน สูงกว่า ปฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเคร่ืองจักรและผปู้ ฏบิ ัติงาน ดา้ น

การประกอบ เสมียน และผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านเทคนิค

สาขาตา่ งๆ และอาชีพที่เก่ียวข้อง

หญงิ คอื ชายร้อยละ 72.1 และหญงิ ร้อยละ 52.9

8

ตาราง ค จานวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทา จาแนกตาม ตาราง ง จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตาม

อาชีพและเพศ หนว่ ย : คน อตุ สาหกรรมและเพศ หนว่ ย : คน

อาชีพ รวม ชาย หญงิ อุตสาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

100ย.0อดรวม 314372,0,19654 110000.0 17933,2,9406 100.0 15538,19198 110000.0 ยอดรวม 314372,019654 100.0 1739,32,4960 100.0 5185,39,1891001.00.0
1 5,807 4.4 4,9154 6.7 0 893 1.5 ภาคเกษตร 68,516 51.9 36,5925 49.9 31,9240 54.2

2 7,799 5.9 2,318 3.2 5,481 9.3 1 68,516 51.9 36,592 49.9 31,924 54.2

3 1,867 1.4 877 1.2 990 1.7 นอกภาคเกษตร 63,648 48.1 36,654 50.1 26,994 45.8

4 2,460 1.9 766 1.0 1,694 2.9 2 6,412 4.9 3,146 4.3 3,265 5.5

5 21,665 16.4 9,947 13.6 11,718 19.9 3 7,162 5.4 6,684 9.1 479 0.8

6 67,521 51.0 35,797 48.9 31,724 53.8 4 17,154 13.0 9,416 12.8 7,738 13.2

7 10,002 7.6 7,794 10.6 2,208 3.7 5 7,163 5.4 2,311 3.2 4,852 8.3

8 5,414 4.1 4,316 5.9 1,098 1.9 6 11,821 8.9 8,493 11.5 3,328 5.6

9 9,629 7.3 6,517 8.9 3,112 5.3 7 5,611 4.2 1,947 2.7 3,664 6.3

หมายเหตุ : อาชีพ 8 2,112 1.6 636 0.9 1,477 2.5

1. ผ้บู ญั ญตั ิกฎหมาย ขา้ ราชการระดับอาวุโส และผ้จู ัดการ 9 6,213 4.7 4,021 5.6 2,191 3.6

2. ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านต่างๆ หมายเหตุ : อุตสาหกรรม

3. ผปู้ ระกอบวิชาชพี ดา้ นเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชพี ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
2. การผลติ
4. เสมยี น 3. การกอ่ สร้าง

5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 4 การขายส่ง การขายปลีก การซอ่ มยานยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์

6. ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านท่มี ฝี ีมอื ในดา้ นการเกษตร และการประมง 5. ทพ่ี กั แรมและการบริการด้านอาหาร

7. ผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกจิ อื่นๆท่เี กย่ี วข้อง 6. การบรหิ ารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคบั

8. ผปู้ ฏบิ ัติการโรงงานและเครื่องจกั ร และผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านการประกอบ 7. การศกึ ษา

9. อาชีพขน้ั พ้ืนฐานต่างๆ ในดา้ นการขาย และการให้บริการ 8. กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์
9. อืน่ ๆ ไดแ้ ก่ ศิลปะ ความบันเทงิ และนันทนาการ กจิ กรรมบริการ
3.2 อุตสาหกรรม ดา้ นอน่ื ๆ การจัดหานา้ การจดั การ และการบาบัดน้าเสีย ของเสยี และสงิ่
ปฏิกลู การขนส่งและสถานทีเ่ กบ็ สนิ ค้า กจิ กรรมทางการเงินและการ
เม่อื พจิ ารณาถึงประเภทอตุ สาหกรรมหรอื ประกนั ภยั ขอ้ มูลข่าวสารและการส่อื สาร กจิ กรรมการจ้างงานนคใรวั เรอื น
ลกั ษณะของการประกอบกจิ กรรม ของผูม้ งี านทาในเชงิ ส่วนบคุ คลกจิ กรรมผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร
เศรษฐกิจ จากผมู้ งี านทาทั้งส้ิน 132,164 คน พบว่ า
เปน็ ผมู้ ีงานทาในภาคเกษตร กรรม จานวน 68,516 คน 3.3 สถานภาพการทางาน
หรือ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.9 ของผู้มีงานทา โดยหญงิ
มสี ัดสว่ นสงู กว่าชาย คอื หญิงร้อยละ54.2 ชายรอ้ ยละ49.9 เมอ่ื พจิ ารณาสถานภาพการทางานของผูม้ ีงานทา
สาหรับ ผมู้ ีงานทา นอก ภาคเกษตร กรรม จานวน ในไตรมาสน้ี พบว่า สว่ นใหญเ่ ปน็ ผู้ท่ี ทางานส่วนตัว
63,648 คน หรอื คดิ เป็นร้อยละ 48.1 สว่ นใหญ่ เป็น มีจานวน 56,562 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.8 โดย ชาย
ผูท้ างานในสาขาการขายสง่ และการขายปลกี การซ่อม มีสัดสว่ น สูงกว่า หญงิ คอื ชาย ร้อยละ 46.1 และหญิง
ยานยนต์และจักรยานยนต์ มีจานวน 17,154 คน รอ้ ยละ 38.7 รองลงมาคอื ช่วยธุรกจิ ครัวเรอื น มจี านวน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.0 โดยหญิงมสี ัดส่วน สงู กว่าชาย คือ 31,835 คน หรือ คดิ เป็นรอ้ ยละ 24.1 โดยหญิง มีสดั ส่วน
หญิงรอ้ ยละ 13.2 และชายร้อยละ 12.8 รองลงมาเปน็ สูงกวา่ ชาย คือ หญิงร้อ ยละ 34.7 ชายรอ้ ยละ 15.6
การบริหารราชการ การปอ้ งกันประเทศ และการ ลกู จ้างเอกชน มีจานวน 21,570 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.3
ประกันสงั คมภาคบงั คับ มจี านวน 11,821 คนคิดเป็น โดยชายมสี ดั ส่วนสงู กว่าหญิง คือ ชายรอ้ ยละ 20.1 หญงิ
รอ้ ยละ 8.9โดยชายมีสัดสว่ น สูงกวา่ หญงิ คอื ชายรอ้ ยละ ร้อยละ 11.6 ลกู จ้างรัฐบาล มีจานวน 20,584 คน หรือ
11.5 และหญิงร้อยละ 5.6 ทพ่ี กั แรมและบริการดา้ น คดิ เปน็ ร้อยละ 15.6 โดยชายมีสดั สว่ นสูงกวา่ หญงิ คอื
อาหาร มจี านวน 7 ,163 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.4 โดย ชายรอ้ ยละ 16.2 หญงิ ร้อยละ 14.8 นายจ้าง มจี านวน
หญิงมีสดั สว่ นสงู กว่าชาย คอื หญงิ ร้อยละ 8.3 และชาย 1,233 คน หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 0.9 และการรวมกลมุ่ มี
รอ้ ยละ 3.2 สว่ นทเ่ี หลือกระจายอยู่ในอุตสาหกรรม จานวน 380 คน หรือคดิ เป็นร้อยละ 0.3
ประเภทอื่นๆ

9

ตาราง จ จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตาม ในการสารวจรอบนี้ พบว่า ส่วนใหญเ่ ป็นผูท้ ี่ทางาน 35-
49 ชัว่ โมง มจี านวน 88,385 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66.9
สถานภาพการทางานและเพศ หน่วย : คน โดยชาย มีสดั ส่วนสูงกว่า หญิง คอื ชาย รอ้ ยละ 69.6
หญิงร้อยละ 63.4 รองลงมา คอื ผมู้ ชี ั่วโมงการทางาน
สถานภาพการ รวม ชาย หญงิ 10-34 ชั่วโมง มจี านวน 27,901 คน หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 21.1 โดยหญิงมสี ัดส่วนสงู กวา่ ชาย คอื หญงิ รอ้ ยละ24.6
ทางาน จานวน ร้อยละ ชายรอ้ ยละ 18.4 ผู้มีชัว่ โมงการทางาน 50 ช่ัวโมงข้ึนไป
มจี านวน 14,975 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.3 โดยชายมี
ยอดรวม 132,164 100.0 73,246 100.0 58,918 100.0 สดั สว่ นสงู กว่าหญิง คอื ชายรอ้ ยละ 11.9 หญงิ รอ้ ยละ 160.
0.9 1,105 1.5 128 0.2
1.นายจ้าง 1,233 15.6 11,850 16.2 14.8
16.3 14,724 20.1 8,734 11.6
2.ลกู จา้ งรัฐบาล 20,584 42.8 33,788 46.1 6,846 38.7
24.1 11,399 15.6 22,774 34.7
3.ลูกจ้างเอกชน 21,570 0.3 0.5 20,436 -
380
4.ทางานสว่ นตัว 56,562 -

5.ชว่ ยธรุ กิจครัวเรือน 31,835 ตาราง ช จานวนและร้อยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตาม
ช่ัวโมงการทางานตอ่ สปั ดาห์ และเพศ หนว่ ย : คน
6. การรวมกลุ่ม 380

3.4 การศึกษา ชัว่ โมงการทางาน รวม ชาย หญิง

เมอ่ื พจิ ารณา ระดับการศกึ ษาทส่ี าเร็จ ของผูม้ ี ต่อสัปดาห์ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
งานทาในไตรมาสนี้ พบว่า ส่วนใหญเ่ ป็น ผู้ทีส่ าเรจ็
การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาศกึ ษา มีจานวน40,851 คน ยอดรวม 132,164 100.0 73,246 100.0 58,918 100.0
หรือคิดเปน็ ร้อยละ 30.9 โดยสดั สว่ นขอชงายสูงกวา่ หญิง 1. 0 ชั่วโมง1/
คอื ชายร้อยละ 31.6 หญงิ รอ้ ยละ 30.1 รองลงมาคอื 903 0.7 81 0.1 822 1.4
ผู้ที่สาเรจ็ การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 39,317 2. 1-9 ชว่ั โมง
คนคดิ เปน็ รอ้ ยล ะ 29.8 ผทู้ ส่ี าเรจ็ การศึกษาระดบั ต่า 3. 10-34 ชัว่ โมง - - -- --
กว่าประถมศกึ ษา มจี านวน 33,850 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4. 35-49 ชวั่ โมง 27,901 21.1
25.6 ผทู้ ่สี าเร็จการศกึ ษาระดับอุดมศึกษา มีจานวน 8. 50ชว่ั โมงขนึ้ ไป 88,385 66.9 13,453 18.4 14,448 24.6
17,586 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 13.3 ไมม่ ีการศึกษา397 คน 14,975 11.3
คิดเปน็ ร้อยละ 0. 3 และไมท่ ราบ 163 คน คิดเป็น 50,990 69.6 37,395 63.4
ร้อยละ 0.1 8,722 11.9 6,253 10.6

หมายเหตุ : 1/ ผไู้ มไ่ ดท้ างานในสัปดาหก์ ารสารวจ แตม่ ีงานประจา

ตาราง ฉ จานวนและรอ้ ยละของผูม้ ีงานทา จาแนกตาม 4. การว่างงาน

ระดับการศึกษาที่สาเร็จ และเพศ หน่วย : คน ประชากรของจังหวัดอานาจเจริญว่างงาน
จานวนท้ังสนิ้ 234 คน เป็นชาย จานวน 167 คน และ
ระดับการศึกษา รวม ชาย หญงิ หญงิ จานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 71.4 และ 28.6
ตามลาดบั
ทีส่ าเร็จ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
สาหรบั อัตราการว่างงานของประชากรซ่ึง
ยอดรวม 132,164 100.0 73,246 100.0 58,918 100.0 หมายถงึ สัดสว่ นของผวู้ า่ งงานตอ่ จานวนประชากรท่ีอยู่
ในกาลังแรงงานรวม พบว่า จงั หวดั อานาจเจริญมีอตั รา
1.ไม่มีการศึกษา 397 0.3 - - 397 0.7 การว่างงาน รอ้ ยละ 0.2 โดยชายมอี ตั ราการว่างงานสงู
กว่าหญิง คือ ชายรอ้ ยละ 0.2 และหญิงร้อยละ 0.1

2.ต่ากวา่ ประถมศึกษา 33,850 25.6 18,481 25.2 15,369 26.1 ตาราง ซ จานวนและอัตราการวา่ งงาน จาแนกตามเพศ

3.ประถมศกึ ษา 39,317 29.8 23,246 31.8 16,071 27.2 หน่วย : คน

4.มัธยมศึกษา 40,851 30.9 23,139 31.6 17,712 30.1 ผอู้ ยใู่ นกาลัง ผูว้ า่ งงาน
แรงงาน จานวน รอ้ ยละ
5.อุดมศึกษา 17,586 13.3 8,217 11.2 9,369 15.9 เพศ

6.ไม่ทราบ 163 0.1 163 0.2 -- ยอดรวม 136,659 234 0.2

3.5 ชั่วโมงการทางาน ชาย 76,706 167 0.2

ในจานวนผ้มู งี านทา 132,164 คนนั้น เปน็ ผู้ท่ี หญงิ 59,953 67 0.1
ทางานตอ่ สปั ดาหต์ ั้งแต่ 1 ช่วั โมงขน้ึ ไป มีจานวน
131,261 คน มผี ้ไู มไ่ ดท้ างานในสปั ดาห์การสารวจแตม่ ี หมายเหตุ : อัตราการว่างงาน = ผู้ว่างงาน 100
งานประจา (ช่ัวโมงทางานเปน็ “0”) จานวน 903 คน
ผูอ้ ย่ใู นกาลังแรงงานรวม



ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบยี บวธิ ี

1. วิธกี ารสารวจ

การสารวจนปี้ ระชากรเปา้ หมาย ได้แก่ ครัวเรือนส่วนบคุ คลและครัวเรอื นกลมุ่ บคุ คลประเภทครัวเรือน
คนงานที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดท่ัวประเทศ ยกเว้น ครัวเรอื นชาวต่างชาติท่ี
ทางานในสถานทตู หรอื องค์การระหว่างประเทศท่ีมเี อกสิทธ์ทิ างการทตู

การสารวจแต่ละเดอื น สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติ ไดด้ าเนินการสารวจ ในทกุ จงั หวดั ท่วั ประเทศ แผนการ

เลอื กตัวอย่างท่ีใช้เปน็ แบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างข้นั ท่หี น่ึง คอื เขตแจงนบั
(Enumeration Area : EA) จานวน 1,990 EA ตวั อยา่ ง จากท้งั ส้ินจานวน127,460 EA และหน่วยตัวอยา่ งขัน้
ที่สอง คอื ครวั เรือนส่วนบคุ คลและสมาชิกในทกุ ครวั เรอื นกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรอื นคนงาน จานวน 27,960

ครัวเรอื นตวั อยา่ ง หรือคดิ เป็นจานวนประชาชนตวั อยา่ งประมาณ 95,000 คน ซง่ึ ขนาดตัวอย่างในแตล่ ะ เดือน
สามารถนาเสนอผลการสารวจในระดับภาค (กรงุ เทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจาแนกตาม

เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แตไ่ ม่เพียงพอสาหรบั นาเสนอผลการสารวจใน
ระดบั จังหวัดหรอื พน้ื ท่ยี ่อยกวา่ นี้ สาหรับการนาเสนอผลการสารวจในระดบั จังหวัดไดใ้ ช้ขอ้ มูลของการสารวจ
จานวน 3 เดือน เพ่อื ใหไ้ ดข้ นาดตวั อยา่ งเพียงพอ เช่น กรณีสรุปรายงานผลการสารวจระดบั จังหวัดในไตรมาสท่ี

2 ของปี พ.ศ. 2562 กไ็ ดน้ าข้อมูลของเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถนุ ายน 2562 มารวมกัน เป็นตน้

สาหรบั ขนาดตัวอยา่ งของจังหวัดอานาจเจรญิ ใชห้ น่วยตวั อย่างขัน้ ที่หนึ่ง จานวน 60 EA ตัวอยา่ ง
หนว่ ยตวั อย่างข้ันทส่ี อง จานวน 840 ครวั เรือนตวั อยา่ ง

วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณ์หวั หนา้ ครวั เรือนหรือสมาชกิ ในครวั เรอื นตัวอย่าง
โดยเจา้ หนา้ ท่ี ของสานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ /สานักงานสถติ จิ งั หวดั โดย ผทู้ าการสมั ภาษณ์ทกุ คนจะมีคูม่ อื

การปฏบิ ตั ิงานเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรบั ใช้ในการปฏบิ ัติงานท้ังนเี้ พอื่ ใหท้ กุ คนปฏบิ ัติงานไปในทางเดียวกนั

ส่วนการประมวลผลขอ้ มลู น้ันดาเนินการในสว่ นกลางตามหลกั วิชา การสถติ ิ โดยนาขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ าก

ตวั อย่างมาประมาณคา่ โดยมีการถ่วงน้าหนัก (Weighty) ซง่ึ ค่าถว่ งนา้ หนักคานวณไดจ้ ากสูตรการประมาณคา่

ท่สี อดคลอ้ งกบั วธิ ีการเลอื กตัวอยา่ ง เพ่ือให้ได้คา่ ประมาณประชากรใกล้เคยี งกับคา่ ท่ีแท้จริง

2. คาบการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

การสารวจได้ดาเนินการพรอ้ มกนั ทัว่ ประเทศ ในระหวา่ งวนั ที่ 1 – 12 ของเดือน เมษายน–
มิถุนายน พ.ศ. 2562

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ

หนา้

ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 15

ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดบั การศึกษาทีส่ าเร็จและเพศ 16

ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามอาชพี และเพศ 17

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของผมู้ งี านทา จาแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ 18

ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 19

ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามชว่ั โมงการทางานต่อสปั ดาหแ์ ละเพศ 20

ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาทสี่ าเรจ็ และเพศ 21

15
ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผมู้ อี ายุ 15 ปขี นึ้ ไป 219,789 จานวน 113,408
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 136,659 59,953
132,398 106,381 58,985
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 132,164 76,706 58,918
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 73,413
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 234 73,246 67
4,261 968
1.2 ผู้ทร่ี อฤดูกำล 83,130 167 53,455
2. ผู้ไมอ่ ยู่ในกำลังแรงงำน 21,493 3,293 21,433
2.1 ทำงำนบำ้ น 17,329 29,675 9,076
2.2 เรียนหนงั สือ 44,308 22,946
2.3 อน่ื ๆ 60
8,253 100.0
21,362 52.9
52.0
ผู้มอี ายุ 15 ปขี น้ึ ไป 100.0 100.0 51.9
1. ผู้อย่ใู นกำลังแรงงำน 62.1 72.1 0.1
60.2 69.0 0.9
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 60.1 68.8 47.1
1.1.1 ผู้มงี ำนทำ 0.1 0.2 18.9
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 1.9 3.1 8.0
37.9 27.9 20.2
1.2 ผู้ทร่ี อฤดูกำล 9.8 0.1
2. ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงำน 7.9 7.8
2.1 ทำงำนบำ้ น 20.2 20.0
2.2 เรียนหนงั สือ
2.3 อืน่ ๆ

16

ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอาย1ุ 5 ปีข้ึนไป จาแนกตามระดบั การศกึ ษาที่สาเรจ็ และเพศ

ระดบั การศกึ ษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,789 จานวน 113,408
1. ไม่มกี ารศึกษา 2,938 106,381 1,815
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 71,801 40,743
3. ประถมศึกษา 54,328 1,123 26,179
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 37,534 31,058 19,219
5. มธั ยมศึกษาตอนปลาย 31,203 28,149 14,182
26,453 18,315 12,717
5.1 สายสามัญ 4,750 17,021 1,465
5.2 สายอาชีวศึกษา - 13,736 -
5.3 สายวิชาการศึกษา 21,822 3,285 11,270
6. มหาวิทยาลัย 11,046 5,839
6.1 สายวิชาการ 6,505 - 2,517
6.2 สายวิชาชีพ 4,271 10,552 2,914
6.3 สายวชิ าการศึกษา - 5,207 -
7. อนื ๆ 163 3,988 -
8. ไม่ทราบ 1,357
100.0 100.0
ยอดรวม 1.3 - 1.6
1. ไม่มีการศึกษา 32.7 163 36.0
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 24.7 23.1
3. ประถมศึกษา 17.1 ร้อยละ 16.9
4. มธั ยมศึกษาตอนต้น 14.2 12.5
5. มธั ยมศึกษาตอนปลาย 12.0 100.0 11.2
2.2 1.3
5.1 สายสามญั - 1.1 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 9.9 29.1 9.9
5.3 สายวชิ าการศึกษา 5.0 26.5 5.1
6. มหาวิทยาลัย 3.0 17.2 2.2
6.1 สายวชิ าการ 1.9 16.0 2.6
6.2 สายวชิ าชีพ - 12.9 -
6.3 สายวิชาการศึกษา 0.1 3.1 -
7. อืนๆ
8. ไมท่ ราบ -
9.9
4.9
3.7
1.3

-
0.2

17 ชาย หญิง
ตารางท่ี 3 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอาชีพและเพศ จานวน
58,918
อาชพี รวม 73,246 893
4,914
ยอดรวม 132,164 2,318 5,481
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวุโส และผู้จัดการ 5,807 990
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นต่างๆ 7,799 877
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชีพทเี่ กี่ยวข้อง 1,867 766 1,694
4. เสมียน 2,460 9,947 11,718
5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 21,665 35,797 31,724
6. ผู้ปฏิบตั งิ านทม่ี ีฝีมือในดา้ นการเกษตร และการประมง 67,521 7,794 2,208
7. ผู้ปฏิบัติงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอ่ืนๆทเ่ี กี่ยวข้อง 10,002 4,316 1,098
8. ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครอ่ื งจักร และผู้ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการประกอบ 5,414 6,517 3,112
9. อาชีพขั้นพนื้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ ริการ 9,629
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น - - -
ร้อยละ
ยอดรวม 100.0 100.0 100.0
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ 4.4 1.5
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านตา่ งๆ 5.9 6.7 9.3
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชีพท่ีเก่ียวข้อง 1.4 3.2 1.7
4. เสมียน 1.9 1.2 2.9
5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 16.4 1.0 19.9
6. ผู้ปฏบิ ัตงิ านที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 51.0 13.6 53.8
7. ผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอื่นๆท่ีเก่ียวข้อง 7.6 48.9 3.7
8. ผู้ปฏิบตั กิ ารโรงงานและเครือ่ งจักร และผู้ปฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 4.1 10.6 1.9
9. อาชีพขนั้ พื้นฐานต่างๆ ในดา้ นการขาย และการให้บริการ 7.3 5.9 5.3
10. คนงานซึ่งมิไดจ้ าแนกไวใ้ นหมวดอ่ืน - 8.9 -

-

18

ตารางท่ี 4 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน
ยอดรวม 132,164 73,246 58,918
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 68,516 31,924
2. การทาเหมอื งแร่และเหมืองหิน 36,592
3. การผลิต - -
4. ไฟฟา้ กา๊ ซ ไอนา้ และระบบปรับอากาศ 6,412 - 3,266
5. การจดั หานา้ การจดั การ และการบาบัดน้าเสีย ของเสีย และส่ิงปฏิกลู 3,146
6. การกอ่ สร้าง 381 66
7. การขายสง่ และการขายปลกี การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ 413 315 -
8. การขนส่งและสถานทเี่ กบ็ สนิ ค้า 7,162 413
9. ทีพ่ กั แรมและบริการดา้ นอาหาร 17,154 6,684 478
10. ข้อมลู ขา่ วสารและการส่อื สาร 896 9,416 7,738
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 7,163 632
12. กจิ กรรมอสังหารมิ ทรัพย์ 275 2,311 264
13. กจิ กรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 299 70 4,852
14. กจิ กรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนบั สนนุ 150
15. การบรหิ ารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกนั สงั คมภาคบังคับ - 205
16. การศึกษา 672 - 149
17. กจิ กรรมดา้ นสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 605 481
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 11,821 251 -
19. กจิ กรรมบริการดา้ นอน่ื ๆ 5,611 8,493 191
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กจิ กรรมผลิตสินค้าและบรกิ าร 2,112 1,947 354
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 115 636 3,328
22. ไม่ทราบ 2,430 115 3,664
127 1,594 1,476

- - -
- - 836
- 127
ยอดรวม 100.0
1. เกษตรกรรม การป่าไมแ้ ละการประมง 51.9 ร้อยละ -
2. การทาเหมืองแร่และเหมอื งหิน - 100.0 -
3. การผลติ 4.9
4. ไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนา้ และระบบปรบั อากาศ 0.3 49.9 100.0
5. การจดั หานา้ การจดั การ และการบาบัดน้าเสีย ของเสยี และสง่ิ ปฏกิ ลู 0.3 - 54.2
6. การกอ่ สร้าง 5.4 -
7. การขายส่งและการขายปลกี การซ่อมยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ 13.0 4.3 5.5
8. การขนส่งและสถานทเี่ กบ็ สินค้า 0.7 0.4 0.1
9. ทพ่ี กั แรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 5.4 0.6 -
10. ข้อมูลขา่ วสารและการสื่อสาร 0.2 9.1 0.8
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภยั 0.2 12.8 13.2
12. กจิ กรรมอสังหาริมทรัพย์ - 0.9 0.4
13. กจิ กรรมทางวิชาชพี วิทยาศาสตร์ และเทคนคิ 0.5 3.2 8.3
14. กจิ กรรมการบริหารและการบรกิ ารสนบั สนุน 0.5 0.1 0.3
15. การบริหารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคับ 8.9 0.2 0.3
16. การศึกษา 4.2 -
17. กจิ กรรมดา้ นสุขภาพและงานสงั คมสงเคราะห์ 1.6 - 0.3
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 0.1 0.7 0.6
19. กจิ กรรมบรกิ ารดา้ นอนื่ ๆ 1.8 0.3 5.6
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครวั เรือนส่วนบุคคล กจิ กรรมผลิตสินค้าและบรกิ าร 0.1 11.5 6.3
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชกิ - 2.7 2.5
22. ไมท่ ราบ - 0.9 -
0.2 1.4
2.2 0.2
-
- -
-
-

19
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 58,918
128
ยอดรวม 132,164 73,246
1. นายจ้าง 1,233 1,105 8,734
2. ลูกจ้างรัฐบาล 20,584 11,850 6,846
3. ลูกจ้างเอกชน 21,570 14,724 22,774
4. ทางานส่วนตัว 56,562 33,788 20,436
5. ช่วยธรุ กิจครัวเรือน 31,835 11,399
6. การรวมกลุ่ม 380 -
380
รอ้ ยละ 100.0
0.2
ยอดรวม 100.0 100.0 14.8
11.6
1. นายจ้าง 0.9 1.5 38.7
34.7
2. ลูกจ้างรัฐบาล 15.6 16.2 -

3. ลูกจ้างเอกชน 16.3 20.1

4. ทางานส่วนตวั 42.8 46.1

5. ช่วยธรุ กจิ ครัวเรือน 24.1 15.6

6. การรวมกลุ่ม 0.3 0.5

20
ตารางท่ี 6 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานต่อสัปดาหแ์ ละเพศ

ช่วั โมงการทางาน รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 132,164 จานวน 58,918
1. 0 ชั่วโมง1/ 903 822
2. 1-9 ชั่วโมง - 73,246 -
3. 10-19 ช่ัวโมง 81
4. 20-29 ชั่วโมง 3,004 - 1,952
5. 30-34 ช่ัวโมง 21,141 10,697
6. 35-39 ช่ัวโมง 3,756 1,052 1,799
7. 40-49 ช่ัวโมง 32,569 10,444 14,853
8. 50 ชั่วโมงขน้ึ ไป 55,816 1,957 22,542
14,975 17,716 6,253
33,274
ยอดรวม 100.0 8,722 100.0
ร้อยละ 1.4
1. 0 ช่ัวโมง 1/ 0.7 100.0 -
3.3
2. 1-9 ช่ัวโมง - 0.1 18.2
- 3.1
3. 10-19 ชั่วโมง 2.3 25.2
1.4 38.2
4. 20-29 ชั่วโมง 16.0 14.3 10.6
2.7
5. 30-34 ชั่วโมง 2.8 24.2
45.4
6. 35-39 ช่ัวโมง 24.7 11.9

7. 40-49 ชั่วโมง 42.2

8. 50 ช่ัวโมงขนึ้ ไป 11.3

หมายเหตุ : 1/ ผู้ไมไ่ ดท้ างานในสัปดาหก์ ารสารวจ แต่มีงานประจา

21

ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามระดับการศึกษาท่สี าเรจ็ และเพศ

ระดับการศึกษาทส่ี าเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 132,164 จานวน 58,918
1. ไมม่ ีการศึกษา 397 397
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 73,246
3. ประถมศึกษา 33,850 - 15,369
4. มธั ยมศึกษาตอนต้น 39,317 16,071
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 20,137 18,481 9,525
20,714 23,246 8,187
5.1 สายสามัญ 18,549 10,612 7,923
5.2 สายอาชีวศึกษา 2,165 12,527
5.3 สายวิชาการศึกษา 10,626 264
6. มหาวทิ ยาลัย - 1,901 -
6.1 สายวิชาการ 17,586
6.2 สายวชิ าชีพ 9,493 - 9,369
6.3 สายวิชาการศึกษา 4,255 8,217 5,084
7. อืนๆ 3,838 4,409 1,602
8. ไม่ทราบ 2,653 2,683
- 1,155
ยอดรวม 163 -
1. ไม่มีการศึกษา - -
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 100.0 163
3. ประถมศึกษา 0.3 ร้อยละ 100.0
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 25.6 100.0 0.7
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 29.8 26.1
15.2 - 27.2
5.1 สายสามญั 15.7 25.2 16.2
5.2 สายอาชีวศึกษา 14.1 31.8 13.9
5.3 สายวิชาการศึกษา 1.6 14.5 13.5
6. มหาวิทยาลัย - 17.1 0.4
6.1 สายวิชาการ 13.3 14.5 -
6.2 สายวิชาชีพ 7.2 2.6 15.9
6.3 สายวชิ าการศึกษา 3.2 8.6
7. อนื ๆ 2.9 - 2.7
8. ไม่ทราบ - 11.2 4.6
0.1 6.0 -
3.6 -
1.6

-
0.2


Click to View FlipBook Version