The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatcharoen nso, 2020-06-10 05:12:48

สรง. 4 - ปี 62

สรง. 4 - ปี 62

ISSN 1685-0408

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร

จงั หวดั อำนาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตุลาคม – ธันวาคม 2562

สำนกั งานสถติ จิ ังหวดั อำนาจเจริญ
สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร

จังหวัดอำนาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตลุ าคม – ธันวาคม 2562

สำนกั งานสถติ จิ งั หวัดอำนาจเจริญ
สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร

จังหวัดอำนาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตลุ าคม – ธันวาคม 2562

สำนกั งานสถติ จิ งั หวัดอำนาจเจริญ
สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

คำนำ

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้เริ่มจัดทำโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2506
ในชว่ งปี พ.ศ. 2514-2526 ไดท้ ำการสำรวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเปน็ การสำรวจนอกฤดูการเกษตรระหว่าง
เดอื นมกราคมถงึ เดอื นมีนาคมรอบที่ 2เปน็ การสำรวจในฤดกู ารเกษตรระหวา่ ง เดอื นกรกฎาคมถงึ เดอื นกันยายน
และช่วงปี พ.ศ. 2527-2540 ทำการสำรวจเป็นปีละ 3รอบ คือ รอบที่ 1 สำรวจในเดือนกุมภาพันธ์ รอบท่ี 2
สำรวจในเดือนพฤษภาคม รอบท่ี 3 สำรวจในเดือนสิงหาคม และช่วงปี พ.ศ. 2541-2543 ทำการสำรวจ
เพ่ิมข้ึนอีก 1 รอบ เปน็ รอบท่ี 4 ในเดือนพฤศจกิ ายน ซง่ึ ทำใหไ้ ดข้ ้อมลู เปน็ รายไตรมาส

ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป การสำรวจโครงการน้ีได้จัดทำเป็นรายเดือนทุกๆ เดือนส่วนการ
เสนอผลการสำรวจนั้น ในปี พ.ศ. 2544 นำเสนอผลทุกเดือนตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนธันวาคม โดยเอา
ข้อมูลท่ีได้จากการสำรวจครัง้ ละ 3 เดือน มาประมวลผลและหาค่าเฉลี่ยเคลอ่ื นที่ (ค่าเฉล่ียเคลอื่ นที่ 3 เดือน)
ซึ่งผลของการสำรวจจะสะท้อนถึงค่าประมาณของเดือนท่ีอยู่กลางคาบเวลาสำรวจน้ันๆ และการเสนอผล
ต้ังแต่ พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป จะนำเสนอปีละ 4 ฉบับเป็นรายไตรมาส สำหรับผู้ท่ีต้องการใช้ข้อมูล
เปน็ รายเดือน ในลักษณะเดิมยงั สามารถติดต่อขอข้อมลู ได้ทส่ี ำนกั งานสถิตจิ ังหวดั

สำหรับรายงานฉบับนี้ เป็นการเสนอผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาสที่ 4 :
ตุลาคม – ธันวาคม 2562 ของจังหวัดอำนาจเจริญ ท่ีได้ดำเนินการสำรวจระหว่างเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2562
เนื่องจากข้อมูลท่ีนำเสนอในรายงานฉบับน้ีได้มาจากการสำรวจด้วยระเบียบวิธีตัวอย่างซึ่งอาจจะมีความ
คลาดเคลอื่ นจากการเลือกตัวอยา่ งและความคลาดเคลื่อนอื่นๆ รวมอยู่ดว้ ย จึงขอใหผ้ ใู้ ช้ขอ้ มลู ได้คำนึงถงึ เร่ืองน้ี
ในการใช้ตัวเลขด้วย

บทสรุปสำหรบั ผบู้ รหิ าร

แผนผัง การจำแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน สำนั ก งาน สถิติจังห วัดอ ำน าจเจริญ ได้
การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาส ดำเนินการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรใน
4/2562 ไตรมาสท่ี 4 ระหว่างวันท่ี 1-12 ของเดือนตุลาคม –
ธันวาคม 2562 มคี รวั เรือนตวั อย่างท้งั ส้นิ 840 ครัวเรอื น
ผู้มีอายุ 15 ปขี ้ึนไป (ในเขตเทศบาล 480 ครัวเรือน นอกเขตเทศบาล 360
219,794 คน ครัวเรือน) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์
สมาชิกในครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่าง ผลการสำรวจทำ
ผู้อยู่ในกำลงั แรงงาน ผู้ไมอ่ ยูใ่ นกำลงั แรงงาน ให้ทราบถึงภาวะการมีงานทำและว่างงานของประชากร
134,422 คน 85,372 คน ในจังหวดั อำนาจเจรญิ สรุปขอ้ มลู ทีส่ ำคัญได้ ดงั นี้

แรงงาน ผ้รู อฤดกู าล ทำงานบ้าน 23,572 คน 1. สถานภาพแรงงาน
ปจั จุบัน 174คน เรยี นหนังสอื 18,226 คน จังหวัดอำนาจเจริญมีประชากรที่มีอายุ 15 ปี
134,248 คน
อนื่ ๆ 43,574 คน ขน้ึ ไปจำนวน 219,794 คน โดยเปน็ ผูอ้ ยู่ในกำลังแรงงาน
ผู้มีงานทำ ผู้วา่ งงาน 134,422 คนร้อยละ 61.2 ประกอบด้วยผู้มีงานทำ
133,989คน 259 คน 133,989 คนผวู้ ่างงาน 259 คน ผู้รอฤดูกาล 174 คน

แผนภมู ิ ก รอ้ ยละของผ้มู งี านทำจำแนกตามอุตสาหกรรม ส่วน ผู้ไม่อ ยู่ใน ก ำลังแรงงาน 85,372 คน
ไตรมาส 4/2561- ไตรมาส 4/2562 ร้อยละ38.8 ประกอบด้วยผู้ทำงานบ้าน 23,572 คน
ผ้เู รียนหนงั สือ 18,226 คน และอน่ื ๆ 43,574 คน
ภาคการเกษตร ภาคการผลิต ภาคการบรกิ ารและการคา้
2. อตุ สาหกรรม
64.5 62.1 ในไตรมาส 4/2562 ผู้มีงานทำส่วนใหญ่

28.1 46.0 51.8 65.4 เป็ น ผู้ทำงาน ใน ภาคเก ษตรจำน วน 83 ,193 คน
41.137.3 รองลงมาเป็นผู้ทำงานในภาคการขายส่งและการขาย
32.8 ปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ 14,347 คน
และภาคการบริหารราชการ การป้องกันประเทศ
29.0 และการประกนั สังคมภาคบังคับ 6,915 คน

7.4 12.9 10.9 5.6 ไต5รม.1าส เม่ือเปรียบเทียบช่วงไตรมาสเดียวกันขอ ง ปี
ไตรมาส ไตรมาส 4/62 2 5 6 1 พ บ ว่า ผู้มีง าน ท ำภ า คก าร เก ษ ต ร มีแ ล ะ
ไตรมาส ไตรมาส 3/62 ภาคการผลิตสัดส่วนลดลงร้อยละ 2.4 และ2.3
4/61 1/62 2/62 ต า ม ล ำ ดับ ภ า ค การบริการและการค้ามีสัดส่วน
เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 4.7
แผนภูมิ ข รอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพ
การทำงานไตรมาส 4/2561- ไตรมาส 4/2562 3. สถานภาพการทำงาน
ผู้ ที่ มี ง าน ท ำส่ ว น ให ญ่ ท ำง าน ส่ ว น ตั ว จำ น ว น
การรวมกลุ่ม 0.1 0.6 0.3 209.2.9 0.8
ชว่ ยธุรกิจครัวเรือน 29.4 19.7 24.1 28.0 60,845 คนรองลงมาคือช่วยธรุ กจิ ครัวเรือน 37,453 คน
และการรวมกลุ่มน้อยทสี่ ุด 1,133 คน
ทางานส่วนตวั 43.3 42.8
เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงไตรมาสเดียวกันของปี
45.2 45.9 45.4 2561 พบว่า ผู้ทำงานสว่ นตัวและลกู จ้างเอกชนมีสดั สว่ น
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 และ 2.3 ตามลำดับส่วนการ
ลูกจา้ งเอกชน 20.9 ช่วยธุรกิจครวั เรือนมสี ัดสว่ นลดลงร้อยละ 1.4
14.5
ลกู จ้างรัฐบาล 12.0 16.3 11.2 14.3
12.1 15.6 12.0 10.6
นายจา้ ง 1.2 1.0 0.9 0.8 0.9
ไตรมาส
4/61
ไตรมาส
1/62
ไตรมาส
2/62
ไตรมาส
3/62
ไตรมาส
4/62

แผนภูมิ ค รอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตามระดับการศกึ ษา 4. ระดบั การศึกษา
ท่ีสำเรจ็ ไตรมาส 4/2561- ไตรมาส 4/2562 ใน ไต ร ม าส 4 /2 5 6 2 ผู้ ท ำง าน ส่ ว น ให ญ่

0.8 0.6 00..13 0.4 00..61 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา 40,754 คนร้อยละ 30.5
12.0 14.2 13.3 12.4 11.7 รองลงมาคอื ผทู้ ่ีจบระดับตำ่ กว่าประถมศึกษา 39,991 คน
ร้อยละ 29.8 และระดับมัธยมศึกษา 36,606 คน
32.7 31.2 30.9 28.2 27.3 ไม่ทราบ ร้อยละ 27.3
ไมม่ ีการศกึ ษา
25.5 27.7 29.8 31.8 30.5 มหาวิทยาลยั เมื่อเป รียบเที ยบ กั บช่วงไตรมาสเดียวกั น
มัธยมศึกษา ของปี 2561 พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละของระดับการศึกษา
29.0 26.3 25.6 27.2 29.8 ประถมศกึ ษา ของผู้ที่มีงานทำมีสัดส่วนลดลง มีเพียงระดับต่ำกว่า
ตา่ กวา่ ประถมศึกษา ประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาที่มีสัดส่วนเพ่ิมขึ้น
ร้อยละ 5.0 และ 0.8 ตามลำดับ
ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส
4/61 1/62 2/62 3/62 4/62 5. ชัว่ โมงการทำงานของสัปดาห์

แผนภูมิ ง ร้อยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามช่วั โมงการทำงาน ในไตรมาส 4/2562 ผู้มีงานทำในจังหวัด

ตอ่ สปั ดาหไ์ ตรมาส 4/2561- ไตรมาส 4/2562 อำนาจเจริญส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ทำงาน 35 ชั่วโมงข้ึนไป

88.5 80.2 78.2 91.2 89.4 ต่อสัปดาห์ จำนวน 119,781 คนร้อยละ 89.4 รองลงมา
35 ชวั่ โมง คือผู้ท่ีทำงาน 1-34 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์ จำนวน 13,918 คน

ข้นึ ไป ร้อยละ 10.4 และผทู้ ่ีทำงานน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

1-34 มีเพียง 290 คน รอ้ ยละ 0.2
ช่ัวโมง
19.5 21.1 เม่ือเปรียบเทียบชว่ งไตรมาสเดียวกนั ของปี 2561
11.3 8.7 10.4 พบว่าผู้ที่ทำงาน 35 ช่ัวโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์มีสัดส่วน

0 ชว่ั โมง * 0.2 0.3 0.7 0.1 0.2 เพิ่มข้ึนร้อยละ 0.9 ส่งผลให้ผู้ที่ทำงาน 1-34 ช่ัวโมง
ต่อสปั ดาห์ลดลงรอ้ ยละ 0.9 เช่นกัน
ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส

4/61 1/62 2/62 3/62 4/62

*0 ช่วั โมงต่อสัปดาห์ คอื ผู้ไมไ่ ดท้ ำงานในสปั ดาห์การสำรวจ แต่มงี านประจำทำ 6. ภาวะการวา่ งงาน

สำหรับไตรมาส 4/2562 จังหวัดอำนาจเจริญ
แผนภูมิ จ อัตราการว่างงาน ไตรมาส 4 พ.ศ.2561- ไตรมาส 4 จำนวนผู้ว่างงาน 259 คนและมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.2
พ.ศ.2562
ของผอู้ ยู่ในกำลงั แรงงาน (จำนวน 134,422 คน)

1.3 1.1 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีท่ีแล้ว
1.1 พบวา่ อตั ราการว่างงานเพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ 0.1

0.2 0.4 0.7 0.8 0.4
0.4 0.20.2
0.4
0.1

*หมายเหตุ : อัตราการวา่ งงาน =ผวู้ ่างงาน x 100
ผอู้ ยใู่ นกำลงั แรงงาน

สารบญั

คำนำ หน้า

บทสรุปสำหรับผ้บู ริหาร ค

สารบัญตาราง ง

บทที่ 1 บทนำ ช
1. ความเป็นมาและวัตถปุ ระสงค์
1
2. คมุ้ รวม 1
3. สัปดาห์แห่งการสำรวจ 2
4. คำอธบิ ายศพั ท์ แนวคิด คำจำกัดความ 2
2
บทท่ี 2 ผลการสำรวจที่สำคัญ
1. ลกั ษณะของกำลงั แรงงาน 7
2. การมีส่วนรว่ มในกำลังแรงงาน 7
7
3. ผู้มีงานทำ 7
3.1 อาชพี 7
3.2 อุตสาหกรรม 8
8
3.3 สถานภาพการทำงาน 9
3.4 การศึกษา 9

3.5 ช่วั โมงการทำงาน 9

4. การว่างงาน 11
13
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ระเบยี บวิธี

ภาคผนวก ข ตารางสถิติ

สารบญั ตาราง หนา้

ตาราง ก จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จำนวนและอัตราการมสี ว่ นร่วมในกำลังแรงงาน จำแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จำนวนและรอ้ ยละของผูม้ งี านทำ จำแนกตามอาชพี และเพศ 8
ตาราง ง จำนวนและร้อยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จำนวนและร้อยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ 9
ตาราง ฉ จำนวนและรอ้ ยละของผูม้ ีงานทำ จำแนกตามการศึกษาท่ีสำเร็จและเพศ 9
ตาราง ช จำนวนและร้อยละของผูม้ งี านทำ จำแนกตามช่วั โมงการทำงานตอ่ สปั ดาห์และเพศ 9
ตาราง ซ จำนวนและอัตราการวา่ งงาน จำแนกตามเพศ 9

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเปน็ มาและวัตถุประสงค์

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการสำรวจ หลังจากเกิดภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจกลางปี
ภาวะการทำงานของประชากรท่ัวประเทศอย่าง 2540 ความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผนและ

ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ.2506 กำหนดนโยบายด้านแรงงานมมี ากขึ้นและเร่งด่วนขึ้น
โดยในช่วงแรกทำการสำรวจปีละ 2 รอบและใน ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เร่ิมดำเนินการสำรวจเป็น
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทำการสำรวจปีละ รายเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพ่ือเสนอ

3 ร อบ โดย รอ บ ท่ี 1 ท ำก าร สำรว จใน เดื อ น ข้อมูลเป็นรายไตรมาส โดยข้อมูลที่สำคัญสามารถ
กุมภาพันธ์ เป็นช่วงหน้าแล้งนอกฤดูการเกษตร นำเสนอในระดับจังหวัด สำหรับข้อมูลของเดือนที่

รอบที่ 2 สำรวจในเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงท่ีกำลัง ตรงกับรอบการสำรวจเดิม คือข้อมูลเดอื นกุมภาพันธ์
แรงงาน ให ม่ ท่ี เพ่ิ งสำเร็จก ารศึก ษ าเริ่มเข้าสู่ พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จัดทำสรุปผลการ
ตลาดแรงงาน รอบที่ 3 สำรวจในเดือนสิงหาคม สำรวจเฉพาะข้อมูลที่สำคัญเพอ่ื สามารถเปรยี บเทียบ

เป็นช่วงฤดูการเกษตร และต่อมาใน พ.ศ.2541 กบั ข้อมูลแต่ละรอบของปที ผี่ า่ นมาได้ และการสำรวจ
เป็นต้นมา ได้เพ่ิมการสำรวจอีก 1 รอบ รวมเป็น ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สามารถ

4 รอบ โดยทำการสำรวจในเดอื นพฤศจิกายนของทุกปี นำเสนอผลของการสำรวจเป็นรายเดือนทุกเดือน
ซึ่งเป็นช่วงฤดูการเก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตร โดยสามารถเสนอผลในระดับภาคเท่านั้นเนื่องจาก
ท้ังนี้เพ่ือเป็นการนำเสนอข้อมูลทส่ี ะท้อนถึงภาวะการ ตัวอย่างไม่มากพอท่ีจะนำเสนอในระดับย่อยกว่านี้

มีงานทำ การวา่ งงานและการประกอบกจิ กรรมต่างๆ และในขณะเดียวกันได้มีการปรับอายุผู้อยู่ในกำลัง
ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ทั้ ง ป ร ะ เท ศ เป็ น ร า ย ไต ร ม า ส แ ล ะ แรงงานจาก 13 ปีข้ึนไปเป็น 15 ปีขึ้นไป เพ่ือให้

ตอ่ เน่อื งครบทกุ ช่วงเวลาของปี สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุง
เนื่องจากความจำเป็นต้องการใชข้ ้อมูล เพอ่ื ใช้ การจัดจำแนกประเภทของอาชีพ อุตสาหกรรมและ
ส ถ า น ภ า พ ก า ร ท ำ ง า น ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ในการวางแผนและกำหนดนโยบายในระดับจังหวัด
ม าต ร ฐาน ส าก ล ใน ปั จ จุ บั น เพ่ื อ ให้ ส าม าร ถ
มมี ากขึ้น สำนกั งานสถิติแหง่ ชาติจึงได้กำหนดขนาด เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตการปกครอง
ตัวอย่างเพ่ิมข้ึนโดยเรม่ิ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ทงั้ นเ้ี พ่ือให้
จากเดิมเขตสุขาภิบาลถูกนำเสนอรวมเป็นนอกเขต
สามารถนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ เทศบาล มารวมเป็นในเขตเทศบาล เนื่องจาก
เฉพาะรอบการสำรวจของเดือนกุมภาพันธ์และ พระราชบัญญัติเปล่ียนแปลงฐานะของสุขาภิบาล
เดือนสิงหาคมเท่าน้ัน การสำรวจรอบท่ี 4 ในเดือน
เป็นเทศบาล พ.ศ. 2542
พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ซึ่งจัดทำเป็นครั้งแรก วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการสำรวจภาวะ
ได้เสนอผลในระดับจังหวัดด้วยและตั้งแต่ปี พ.ศ.
การทำงานของประชากรเพื่อประมาณจำนวนและ
2542 เป็นต้นมา ผลการสำรวจท้ัง 4 รอบได้เสนอผล ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ภ า ย ใน ป ร ะ เท ศ แ ล ะ
ในระดบั จังหวัด ในจังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละไตรมาสของข้อมูลสถิติ

ทไ่ี ด้จากการสำรวจ

2
1. จำนวนประชากรในวัยทำงาน (อายุ 15 ปี ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอายุขั้นต่ำ ของ

ขึ้นไป) และจำนวนประชากรนอกวัยทำงานจำแนก ประชากรวัยทำงานเปน็ 15 ปี

ตามเพศ คำนยิ ามทีส่ ำคญั ๆ ทใ่ี ชใ้ นการสำรวจ มีดังนี้
2. จำนวนประชากรในวัยทำงาน จำแนก

ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส ผู้มีงานทำ
การศึกษาทีส่ ำเรจ็ ผู้มีงานทำ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

3. จำนวนผู้มีงานทำ จำแนกตามลักษณะ และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหนึ่ง
อยา่ งใด ดังต่อไปนี้
ที่น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาที่สำเร็จ อาชีพ
อุตสาหกรรม สถานภาพการทำงาน ช่ัวโมงทำงาน 1. ได้ทำงานต้ังแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับ
ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่าตอบแทน
ค่าจ้าง เงนิ เดอื น และผลประโยชน์อ่นื ๆ ทีไ่ ด้รับจาก
การทำงาน ที่มีลักษณะอย่างอื่นสำหรับผลงานที่ทำ เป็นเงินสด
หรือสิง่ ของ
4. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามลักษณะ
2. ไมไ่ ด้ทำงาน หรือทำงานน้อยกว่า 1 ชวั่ โมง
บางประการท่ีน่าสนใจ เช่น ระยะเวลาในการหางานทำ
งานที่ทำครั้งสดุ ท้าย สาเหตุการวา่ งงาน เปน็ ต้น แต่เป็ น บุคคลท่ี มีลัก ษ ณ ะ อ ย่างห น่ึงอ ย่างใด

2. คมุ้ รวม ดังตอ่ ไปน้ี (ซึง่ จะถอื ว่าเป็น ผู้ท่ปี กติมีงานประจำ)

ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล 2.1ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง ห รือ
และครัวเรือนกลุม่ บุคคลประเภทคนงาน ผลประโยชนอ์ ่ืนๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจใน
ระหว่างทีไ่ ม่ไดท้ ำงาน

3. สัปดาหแ์ หง่ การสำรวจ 2.2ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ

หมายถึง ระยะเวลา 7 วัน นับจากวันก่อน ผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจ
วนั สัมภาษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เชน่ วันสัมภาษณ์คือ ในระหว่างที่ไม่ได้ทำงาน แต่ยังมีงานหรือธุรกิจที่
วนั ท่ี 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2562 “ ระหวา่ ง 7 วัน ก่อนวัน
สัมภาษณ์ ” คือ ระหว่างวันท่ี 2 ถึง วันท่ี 8 ตุลาคม จะกลับไปทำ
3. ทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ
พ.ศ. 2562
ค่ า จ้ า ง ใน วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ไ ร่ น า เก ษ ต ร ข อ ง หั ว ห น้ า

ครัวเรอื นหรอื ของสมาชกิ ในครวั เรอื น

4. คำอธิบายศัพท์/แนวคิด/คำจำกัดความ ผู้ว่างงาน
ผู้ว่างงาน หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุงแนวคิด
และคำนิยามท่ีใช้ในการสำรวจภาวะการทำงานของ และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหน่ึง
ประชากรหลายคร้ัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จรงิ ทางสงั คมและเศรษฐกิจ อย่างใด ดังตอ่ ไปน้ี
ของประเทศตลอดจนความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล 1. ไม่ได้ทำงานและไม่มีงานประจำ แต่ได้
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
แรงงาน ระ ห ว่ างป ระ เท ศ (ILO) กั บ องค์ ก าร หางาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหว่าง 30
สหประชาชาติ (UN) แนวคิดและคำนิยามท่ีใช้ใน วันก่อนวันสมั ภาษณ์
การสำรวจไตรมาสนี้ ได้เริ่มใช้มาต้ังแต่รอบที่ 1
พ.ศ. 2526 มีการปรับปรุงบ้างตามลำดับ และต้ังแต่ 2. ไมไ่ ดท้ ำงานและไม่มีงานประจำ และไม่ได้
หางานทำในระหว่าง 30 วันก่อนวันสัมภาษณ์ แต่
พรอ้ มท่ีจะทำงานในสปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจ

3 7. ทำงานให้แก่องค์การ หรือสถาบันการ

กำลังแรงงานปจั จุบัน
กำลังแรงงานปัจจุบัน หมายถึง บุคคลท่ีมี กุศลต่างๆ โดยไม่ได้รับค่าจ้างผลกำไรส่วนแบ่งหรือ
ส่งิ ตอบแทนอยา่ งใด
อายุ 15 ปีข้ึนไป ซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีงาน 8. ไม่พร้อมที่จะทำงาน เนื่องจากเหตุผล
ทำหรือว่างงาน ตามคำนิยามท่ีได้ระบุขา้ งตน้
อื่น
กำลงั แรงงานที่รอฤดกู าล
กำลังแรงงานท่ีรอฤดูกาล หมายถงึ บุคคลที่ งาน
งาน หมายถึง กจิ การที่ทำที่มีลักษณะอย่าง
มีอายุ 15 ปขี ้ึนไป ในสปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจเปน็ ผู้ ไม่
เข้าข่ายคำนิยามของผู้มีงานทำ หรือผู้ว่างงาน แต่ หนึง่ อย่างใด ดงั ตอ่ ไปนี้

เป็นผู้รอฤดูกาลท่ีเหมาะสมเพ่ือท่ีจะทำงาน และเป็น 1. กิจการที่ทำแล้วได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน

บุคคลที่ตามปกติจะทำงานที่ไม่ได้รับสิ่งตอบแทนใน หรือส่ิงของ ค่าตอบแทนที่เป็นเงิน อาจจ่ายเป็น

ไร่นาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทำกิจกรรมตามฤดูกาล รายเดอื น รายสปั ดาห์ รายวัน หรอื รายชิน้

โดยมีหัวหน้าครัวเรือน หรือสมาชิกคนอื่น ๆ 2. กิจการท่ีทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังท่ีจะ

ในครัวเรือนเป็นเจ้าของหรอื ผู้ดำเนนิ การ ไดร้ ับผลกำไร หรอื ส่วนแบ่งเปน็ การตอบแทน

กำลงั แรงงานรวม 3. กิจการท่ีท ำให้กับ ธุรกิจของสมาชิกใน
ครัวเรือน โดยไม่ไดร้ ับค่าจ้างหรอื ผลกำไรตอบแทนอย่าง
กำลงั แรงงานรวม หมายถึง บคุ คลทกุ คนที่มี ใด ซึ่งสมาชิกในครัวเรือนท่ีประกอบธุรกิจน้ัน
อายุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดาห์แห่งการสำรวจเป็นผู้อยู่ จะมีสถานภาพการทำงาน เป็นประกอบธุรกิจ
ในกำลังแรงงานปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจำแนก
อยู่ในประเภทกำลังแรงงานที่รอฤดูกาลตามคำนิยาม ส่วนตัว หรือนายจา้ ง

ทไี่ ดร้ ะบขุ า้ งตน้ อาชพี

ผ้ไู มอ่ ยใู่ นกำลงั แรงงาน อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงาน
ท่ีบุคคลน้ันทำอยู่ บุคคลส่วนมากมีอาชีพเดียว
ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน หมายถึง บุคคลท่ี สำหรับบุคคลที่ในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอาชีพ
ไ ม่ เข้ า ข่ า ย ค ำ นิ ย าม ข อ ง ผู้ อ ยู่ ใ น ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ใน มากกว่า 1 อาชีพให้นบั อาชีพทมี่ ีชั่วโมงทำงานมาก
สปั ดาห์แหง่ การสำรวจ คือ ท่สี ุด ถ้าชวั่ โมงทำงานแต่ละอาชีพเทา่ กันใหน้ ับอาชีพ
ที่มีรายได้มากกว่า ถ้าชั่วโมงทำงานและรายได้ที่
บุคคลซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอายุ 15 ได้รับจากแต่ละอาชีพเท่ากัน ให้นับอาชีพท่ีผู้ตอบ
ปีข้ึนไป แต่ไม่ได้ทำงาน และไม่พร้อมที่จะทำงาน สัมภาษณ์พอใจมากท่ีสุด ถ้าผู้ตอบสัมภาษณ์ตอบ
เนอื่ งจากเปน็ ผูท้ ่ี ไม่ได้ให้นับอาชีพท่ีได้ทำมานานท่ีสุด การจัดจำแนก
ประเภทอาชีพ ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2554 ปรับ
1. ทำงานบ้าน ใช้ ต า ม International Standard Classification
2. เรียนหนงั สอื of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์การ
แรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO)
3. ยังเดก็ เกนิ ไป หรือชรามาก
4. ไม่สามารถทำงานได้ เน่ืองจากพิการ ก่อน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอาชีพจำแนก
ทางรา่ งกายหรือจติ ใจ หรือเจ็บป่วยเรอื้ รัง ตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของประเทศไทย
โดยอ้างอิง International Standard Classification
5. ไม่สมคั รใจทำงาน of Occupation, 1988 (ISCO – 88)
6. ทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ผลกำไร

ส่วนแบ่ง หรือสิ่งตอบแทนอื่น ๆ ให้แก่บุคคลซึ่งมิได้
เป็นสมาชิกในครัวเรือนเดียวกัน

4

อตุ สาหกรรม ลูกจ้างแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท

อตุ สาหกรรม หมายถึง ประเภทของกจิ กรรม 4.1 ลู ก จ้ า ง รั ฐ บ า ล ห ม าย ถึ ง

ทางเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินการโดยสถานประกอบการ ข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานองค์การ

ท่ีบุคคลนั้นกำลังทำงานอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ บริหารส่วนจังหวัด ตลอดจนลูกจ้างประจำ และ

ซึ่งบุคคลนั้นได้ดำเนินการอยู่ในสัปดาห์แห่งการ ชว่ั คราวของรฐั บาล

สำรวจ ถ้าบุคคลหน่ึงมีอาชีพมากกว่าหน่ึงอย่าง 4.2 ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ หมายถึง ผู้ท่ี

ให้บันทึกอุตสาหกรรมตามอาชีพท่ีบันทึกไว้ การจัด ทำงานให้กบั หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกิจ
จำแนกประเภทอุตสาหกรรม ต้ังแต่ไตรมาสที่ 1
พ .ศ . 2554 ป รั บ ใช้ ต า ม Thailand Standard 4.3 ลูกจ้างเอกช น หมายถึง ผู้ท่ี
ทำงานให้กับเอกชน หรือธุรกจิ ของเอกชน รวมทั้งผทู้ ่ี
Industrial Classification, (TSIC 2009)
รบั จ้างทำงานบ้าน

ก่อน พ.ศ. 2553 การจดั ประเภทอุตสาหกรรม 5. การรวมกลุ่ม หมายถึง กลุ่มคนที่มา
จำแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม ร่วมกันทำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพ่ึงตนเอง และ

ของประเทศไทย โดยอ้างองิ International Standard ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความ
Industrial Classification of All Economic เท่าเทียมกันในการกำหนดการทำงานทุกข้ันตอน
Activities, (ISIC : 1989) ไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการ

สถานภาพการทำงาน ท่ีทำ ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่
สถานภาพการทำงาน หมายถงึ สถานะของ ตกลงกนั (การรวมกล่มุ ดงั กลา่ วอาจจดทะเบียนจัดตั้ง
ในรปู ของสหกรณ์หรอื ไมก่ ็ได้)
บุคคลท่ีทำงานในสถานท่ีที่ทำงานหรือธุรกิจ แบ่ง
ออกเปน็ 5 ประเภท คือ การจัดจำแนกประเภทสถานภาพการทำงาน
ต้ังแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตาม International
1. นายจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Classification of Status in Employment, 1993
ตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้าง (ICSE – 93) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
บุคคลอ่นื มาทำงานในธุรกจิ ในฐานะลกู จ้าง (ILO) มีสถานภาพการทำงานเพิ่มข้ึนอีก 1 กลุ่มคือ

2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม (Member of Producers’

หมายถงึ ผ้ปู ระกอบธรุ กิจของตนเองโดยลำพังผู้เดยี ว Cooperative)

หรืออาจมีบุคคลอ่ืนมาร่วมกิจการด้วยเพื่อหวังผล
กำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้างลูกจ้างแต่อาจมี ชั่วโมงทำงาน
สมาชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงานมาช่วยทำงานโดย
ไมไ่ ด้รับคา่ จา้ ง หรือค่าตอบแทนอย่างอื่นสำหรับงาน ช่ัวโมงทำงาน หมายถึง จำนวนช่ัวโมง
ท่ที ำ ทำงานจรงิ ท้งั หมด ในสัปดาห์แห่งการสำรวจ สำหรับ
บุคคลท่ีมีอาชีพมากกว่าหน่ึงอาชีพ ชั่วโมงทำงาน
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ หมายถึง ยอดรวมของชั่วโมงทำงานทุกอาชีพ

ค่าจ้าง หมายถึง ผู้ที่ช่วยทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง สำหรบั ผู้ที่มงี านประจำซ่ึงไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่ง

ในไร่นาเกษตร หรือในธรุ กิจของสมาชกิ ในครัวเรอื น การสำรวจให้บันทึกจำนวนชว่ั โมงเป็น 0 ชัว่ โมง

4. ลูกจ้าง หมายถึง ผู้ท่ีทำงานโดยได้รับ การสำรวจก่อนปี พ.ศ. 2544 ผู้ท่มี งี านประจำ
ค่าจ้างเป็นรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน รายชิ้น ซ่ึงไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ให้นับ
หรือเหมาจ่าย ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการทำงาน จำนวนชั่วโมงทำงานปกติต่อสัปดาห์เป็นช่ัวโมง
อาจจะเป็นเงิน หรือสิง่ ของ
ทำงาน

5

รายได้ของลูกจ้าง ระดับการศึกษาทสี่ ำเร็จ

รายได้ของลูกจ้าง หมายถึง รายไดข้ องผู้ที่มี ไ ด้ จ ำ แ น ก ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า

สถานภาพการทำงานเปน็ ลูกจ้าง ท่ไี ดร้ ับมาจากการ ที่สำเรจ็ ดงั นี้

ทำงานของอาชีพท่ีทำในสัปดาห์แห่งการสำรวจ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลท่ีไม่เคย
ซ่ึงประกอบด้วยค่าจ้างและผลประโยชน์ตอบแทน เขา้ ศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยไดร้ บั การศึกษา
อื่นๆ สำหรบั ลูกจา้ ง
2. ต่ำกว่าประถมศึกษา หมายถึง บุคคล
ระยะเวลาของการหางานทำ ที่สำเร็จการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถมปีที่ 6 หรือ
ระยะเวลาของการหางานทำ หมายถึง ช้ันประถมปีท่ี 7 หรอื ชั้น ม.3 เดิม

ระยะเวลาที่ผู้ว่างงานได้ออกหางานทำ ให้นับตั้งแต่ 3. สำเร็จประถมศึกษา หมายถึง บุคคล
วนั ทเี่ รมิ่ หางานทำจนถึงวนั สดุ ท้ายก่อนวันสมั ภาษณ์ ท่ีสำเร็จการศึกษาต้ังแต่ช้ันประถมปีท่ี 6 หรือ
ช้ันประถมปีท่ี 7 หรือช้ัน ม.3 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จ
คาบการแจงนับ ระดับการศึกษาท่สี งู กว่า
คาบการแจงนับ หมายถึง ระยะเวลาที่
4. สำเร็จมัธยมศึกษาตอนต้น หมายถึง
พนักงานออกไปสมั ภาษณบ์ ุคคลในครวั เรอื นตัวอยา่ ง บุคคลท่ีสำเร็จการศึกษาต้ังแต่ชั้น ม.3 ม.ศ.3 หรือ
ซ่งึ โดยปกติเป็นวันท่ี 1 - 12 ของทกุ เดือน ม.6 เดมิ ข้ึนไป แต่ไมส่ ำเร็จระดบั การศึกษาทสี่ ูงกว่า

ป ร ะ เ ภ ท ข อ งค รั ว เ รื อ น ท่ี อ ยู่ ใ น ข อ บ ข่ า ย ก า ร

สำรวจ 5. สำเร็จมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ครัวเรือนท่ีอยู่ในขอบข่ายการสำรวจแบ่งได้ 5.1 ส า ย ส า มั ญ ห ม ายถึ ง บุ ค ค ล

เปน็ 2 ประเภท คือ ที่สำเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาต้ังแต่ช้ัน ม.6
ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย การศึกษาทสี่ งู กว่า
ครวั เรือนหนง่ึ คน คอื บคุ คลเดียวซึง่ หุงหาอาหารและ
จัดหาส่ิงอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การครองชีพ 5.2 อาชีวศึกษ า หมายถึง บุคคล
โด ย ไม่ เกี่ ย วกั บ ผู้ ใด ซึ่ ง อ าจ พ ำนั ก อ ยู่ ใน เค ห ส ถ า น ท่ีสำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชีพ
เดียวกัน หรือครัวเรือนที่มีบุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไป ที่เรียนต่อจากระดับมัธยมศึกษาตอน ต้นหรือ
ร่วมกันจัดหา และใช้สิ่งอุปโภคบริโภคที่จำเป็น เทียบเท่า โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จ
แก่การครองชีพร่วมกัน ครัวเรือนส่วนบุคคลอาจ ระดับการศึกษาทีส่ ูงกวา่
อาศัยอยู่ในเคหะท่ีเป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว

ห้องชดุ เรอื แพ เปน็ ตน้ 5.3 วิชาการศึกษา หมายถึง บุคคล

2. ครวั เรอื นกลุม่ บุคคล ทสี่ ำเรจ็ การศึกษาประเภทวิชาการศึกษา (การฝกึ หัด
ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
2.1 ประเภทคนงาน ได้แก่ ครัวเรือน ข้ึนไปแตไ่ มส่ ำเร็จระดับการศกึ ษาทส่ี งู กวา่
ซึ่งประกอบดว้ ย บคุ คลหลายคนอยู่กนิ ร่วมกันในทอ่ี ยู่

แหง่ หนง่ึ เช่น ทพี่ กั คนงาน เป็นต้น 6. อดุ มศกึ ษา
2.2 ประเภทสถาบัน ซึ่งหมายถึง 6.1 สายวิชาการ หมายถึง บุคคล

บคุ คลหลายคนอยู่ร่วมกนั ในสถานที่อยู่แห่งหน่งึ เช่น ที่สำเร็จการศึก ษาประเภ ทสามัญ ศึก ษาหรือ
สถานที่กักกัน วัด กรมทหาร โดยไม่แยกที่อยู่ สายวิชาการ โดยได้รับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญา

เปน็ สดั สว่ นเฉพาะคนหรือเฉพาะครัวเรือน นักเรียนท่ี ปริญญาตรี โท เอก
อยู่ประจำท่ีโรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น

ไม่อยูใ่ นคุ้มรวมของการสำรวจนี้

6

6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคล 7. อาชีวศึกษาระยะสั้น หมายถึง บุคคล

ที่สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา หรือสาย ท่ีสำเร็จการศึกษาหรือการฝึกอบรมประเภท

วิชาชีพท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือ อาชีวศึกษาที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ

เทยี บเทา่ อนุปริญญา ปรญิ ญาตรี ประกาศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสำเร็จการศึกษา

6.3 สายวิชาการศึกษา หมายถึง พ้ื น ค ว า ม รู้ ข อ ง ผู้ เข้ า เรี ย น ไ ด้ ก ำ ห น ด ให้ แ ต ก ต่ า ง
บคุ คลที่สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา และ ตามวิชาเฉพาะแต่ละอย่างที่เรียน แต่อย่างต่ำ
ตอ้ งจบประถมปีที่ 4 หรือเทียบเทา่
ได้รับประกาศนียบัตรระดบั อนุปริญญาและปริญญา
ตรี 8. อื่น ๆ หมายถึง บุคคลท่ีสำเร็จการศึกษา

ทไ่ี ม่สามารถเทียบชั้นได้

บทท่ี 2
สรปุ ผลการสำรวจ

1. ลกั ษณะของกำลังแรงงาน ตาราง ข จำนวนและอตั ราการมสี ่วนรว่ มในกำลังแรงงาน

ผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จำแนกตามเพศ

ในไตรมาสท่ี 4 : ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ.2562 พบว่า หนว่ ย : คน

จังหวัดอำนาจเจริญ มีจำนวนประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป เพศ ประชากร ผู้อยใู่ นกำลงั อตั ราการมสี ว่ นร่วม
อายุ 15 ปีข้ึนไป แรงงาน ในกำลงั แรงงาน
จำนวน 219,794 คน ซ่ึงอยู่ในกำลังแรงงานจำนวน
ยอดรวม 219,794 134,422 61.2
134,422 คน คิดเป็นร้อยละ 61.2 ของประชากร อายุ
ชาย 106,339 73,738 69.3
15 ปีข้ึนไป ผู้ท่ีไม่อยู่ในกำลังแรงงาน จำนวน 85,372 หญิง 113,455 60,684 53.5

คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 38.8 หมายเหตุ : อัตราการมสี ว่ นรว่ มในกำลังแรงงาน = กำลงั แรงงาน X 100

ตาราง ก จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตาม

สถานภาพแรงงาน และเพศ หน่วย : คน ประชากรทีม่ ีอายุ 15 ปขี ้ึนไป

รวม ชาย หญิง 3. ผมู้ งี านทำ
สถานภาพแรงงาน 3.1 อาชีพ
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญท่ีมีงานทำ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวน 133,989 คน นั้นพบว่าเป็นชายจำนวน 73,564
ผู้มอี ายุ 15 ปีขนึ้ ไป 219,794 100.0 106,339 100.0 113,455 100.0
คน และหญิงจำนวน 60,425 คน คิดเป็นร้อยละ 54.9
1. ผอู้ ย่ใู นกำลังแรงงาน 134,422 61.2 73,738 69.3 60,684 53.5
และ 45.1 ของจำนวนผูม้ งี านทำ
1.1กำลังแรงงานปัจจบุ นั 134,248 61.1 73,564 69.1 60,484 53.5
สำหรับอาชีพของผู้มีงานทำ ผลการสำรวจ
1.1.1 ผู้มีงานทำ 133,989 61.0 73,564 69.1 60,425 53.3 ป ร า ก ฎ ว่ า ส่ ว น ให ญ่ เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ มี ฝี มื อ ใน ด้ า น
การเกษตรและการประมง จำนวน 82,152 คน คิดเป็น
1.1.2 ผู้ว่างงาน 259 0.1 - - 259 0.2 ร้อยละ 61.3 โดยชายสูงกว่าหญิงคือชายร้อยละ 62.8
หญิงร้อยละ 59.5 รองลงมาเป็นพนักงานบริการและ
1.2 ผทู้ ่ีรอฤดูกาล 174 0.1 174 0.2 -- พนักงานในรา้ นค้าและตลาดจำนวน 16,162 คน คิดเป็น
ร้อยละ 12.1 โดยหญิง สูงกว่าชาย คือหญิงร้อยละ 16.7
2.ผู้ไม่อยใู่ นกำลงั แรงงาน 85,372 38.8 32,601 30.7 52,771 46.5 และชาย ร้อยละ 8.2 อาชีพข้ันพื้นฐานต่างๆในด้านการ
ขายและการให้บริการ จำนวน 9,941 คน คิดเป็นร้อยละ
2.1 ทำงานบา้ น 23,572 10.7 287 0.3 23,285 20.5 7.4 โดยชายสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 9.2 และหญิง
ร้อยละ 5.2
2.2 เรยี นหนงั สือ 18,226 8.3 9,380 8.8 8,846 7.8
ท่ีเห ลือ เป็ น ผู้ป ระ ก อ บอ าชีพ อ่ื น ๆ ได้แก่
2.3 อ่ืนๆ 43,574 19.8 22,934 21.6 20,640 18.2 ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอ่ืนๆ
เก่ียวข้องผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้บัญญัติกฎหมาย
2. การมีสว่ นรว่ มในกำลังแรงงาน ข้าราชการระดบั อาวุโส และผ้จู ัดการ ผู้ปฏบิ ตั ิการโรงงาน
ประชากรของจังหวัดอำนาจเจริญอยู่ในกำลัง และเคร่ืองจักรฯลฯผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขา
ตา่ งๆ และอาชพี ทเ่ี กี่ยวข้องและเสมียน
แรงงานท้ังสิ้น จำนวน 134,422 คน เป็นชายจำนวน

73,738 คน และหญิงจำนวน 60,684 คน คิดเป็น
ร้อยละ 54.9 และ 45.1 ของจำนวนผู้อยู่ในกำลัง

แรงงาน ตามลำดบั
สำหรับอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน

ซ่ึงหมายถงึ รอ้ ยละของประชากรที่อยู่ในกำลังแรงงาน

(ประกอบด้วยผู้มีงานทำ ผู้ว่างงาน และผู้ท่ีรอฤดูกาล)
ต่อประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป พบว่าจังหวัด

อำนาจเจริญ มีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงาน
ร้อยละ 61.2 โดยชายมีอัตราการมีส่วนร่วมในกำลัง
แรงงานสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 69.3 และหญิง

ร้อยละ 53.5

8

ตาราง ค จำนวนและร้อยละของผ้มู ีงานทำ จำแนกตาม ตาราง ง จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตาม
อาชีพและเพศ อุตสาหกรรมและเพศ

หนว่ ย : คน หน่วย : คน

อาชพี รวม ชาย หญงิ อตุ สาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

10ย0ย.อ0อดรรววมม 314373,0,99859 110000.0 17933,5,9604 100.0 15603,,41295 110000.0 ยอดรวม 134373,099859 100.0 1793,35,6940 100.0 61503,4,12951001.00.0
ภาคเกษตร 83,193 62.1 47,2051 64.2 35,9902 59.6
1 5,007 3.7 3,5750 4.9 0 1,437 2.4
1 83,193 62.1 47,201 64.2 35,992 59.6
2 5,737 4.3 1,658 2.3 4,079 6.8
นอกภาค
3 2,236 1.7 1,088 1.5 1,148 1.9 เกษตร 50,796 37.9 26,363 35.8 24,433 40.4
5,896 4.4 3,185 4.3 2,711 4.5
4 2,119 1.6 367 0.5 1,752 2.9 2

5 16,162 12.1 6,042 8.2 10,120 16.7 3 4,032 3.0 3,970 5.4 62 0.1

6 82,152 61.3 46,228 62.8 35,924 59.5 4 14,347 10.7 6,307 8.6 8,040 13.3

7 6,603 4.9 4,710 6.4 1,893 3.1 5 4,304 3.2 1,830 2.5 2,474 4.1

8 4,032 3.0 3,120 4.2 912 1.5 6 6,915 5.2 4,448 6.0 2,467 4.1

9 9,941 7.4 6,781 9.2 3,160 5.2 7 5,100 3.8 1,269 1.7 3,831 6.3

หมำยเหตุ : อำชีพ 8 1,584 1.2 499 0.7 1,085 1.8
9 8,618 6.4 4,855 6.6 3,763 6.2
1. ผู้บญั ญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวุโส และผู้จดั การ
2. ผู้ประกอบวชิ าชพี ด้านตา่ งๆ หมำยเหตุ : อตุ สำหกรรม
3. ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชพี ท่ีเกีย่ วข้อง
4. เสมยี น 1. เกษตรกรรม การปา่ ไม้และการประมง
5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 2. การผลิต
6. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทม่ี ฝี มี อื ในดา้ นการเกษตร และการประมง 3. การกอ่ สร้าง
7. ผปู้ ฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝีมอื และธุรกจิ อนื่ ๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง 4 การขายสง่ การขายปลีก การซ่อมยานยนตแ์ ละรถจกั รยานยนต์
8. ผ้ปู ฏิบตั ิการโรงงานและเคร่อื งจกั ร และผปู้ ฏบิ ัตงิ านด้านการประกอบ 5. ท่ีพกั แรมและการบริการดา้ นอาหาร
9. อาชพี ขัน้ พนื้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บรกิ าร 6. การบริหารราชการ การปอ้ งกันประเทศ และการประกนั สงั คมภาคบังคบั
7. การศกึ ษา
3.2 อตุ สาหกรรม 8. กิจกรรมดา้ นสุขภาพและงานสงั คมสงเคราะห์
9. อื่นๆ ได้แก่ ศิลปะ ความบนั เทงิ และนันทนาการ กิจกรรมบรกิ าร
เมื่อพิจารณาถึงประเภทอุตสาหกรรมหรือ
ด้านอนื่ ๆ การจัดหาน้ำ การจดั การ และการบำบัดน้ำเสีย ของเสีย และสิ่ง
ลกั ษณะของการประกอบกิจกรรม ของผู้มงี านทำในเชิง ปฏกิ ูล การขนส่งและสถานที่เกบ็ สินค้า กิจกรรมทางการเงินและการ
ประกนั ภัยข้อมลู ขา่ วสารและการสอื่ สาร กิจกรรมการจา้ งงานในครัวเรอื น
เศรษฐกจิ จากผมู้ ีงานทำทั้งสิ้น 133,989 คน พบวา่ เป็น สว่ นบุคคลกจิ กรรมผลติ สินคา้ และบริการ

ผู้มีงานทำในภาคเกษตรกรรม จำนวน 83,193 คน 3.3 สถานภาพการทำงาน

คิดเป็นร้อยละ 62.1 ของผู้มีงานทำ โดยชายสูงกว่า เม่อื พิจารณาสถานภาพการทำงานของผู้มีงานทำ
ในไตรมาสนี้พบวา่ ส่วนใหญ่เปน็ ผู้ที่ทำงานส่วนตัว จำนวน
หญงิ คือ ชายร้อยละ 64.2 หญิงร้อยละ 59.6 60,845 คน คดิ เป็นร้อยละ 45.4 โดยชายสงู กวา่ หญิง คือ
ชายร้อยละ 50.3 และหญิงร้อยละ 39.5 รองลงมาคือ
สำหรับผู้มีงาน ทำนอกภาคเกษตรกรรม ช่วยธุรกิจครัวเรือน จำนวน 37,453 คน คิดเป็นร้อยละ
28.0 โดยหญิงสูงกว่าชาย คือ หญิง ร้อยละ 35.4 ชาย
จำนวน 50,796 คน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 37.9 ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 21.8 ลกู จ้างเอกชน จำนวน 19,143 คน คิดเป็น
ร้อยละ 14.3 โดยชายสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 16.3
เป็นผทู้ ำงาน ในสาขาการขายส่งและการขายปลีก การ หญิงร้อยละ 11.8 ลูกจ้างรัฐบาล จำนวน 14,226 คน
คิดเป็นร้อยละ 10.6 โดยหญิง สูงกว่าชาย คือ หญิง
ซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ มีจำนวน 14,347 คน ร้อยละ 12.5 ชาย ร้อยละ 9.1 นายจ้าง จำนวน 1,189 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.9 และ การรวมกลมุ่ จำนวน 1,133 คน
คิดเป็นร้อยละ 10.7 โดยหญิงสูงกว่าชาย คือ หญิง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.8

ร้อยละ 13.3 และชายร้อยละ 8.6 รองลงมาเป็นการ

บ ริห าร รา ช ก า ร ก า รป้ อ ง กั น ป ระเท ศ แ ล ะ

การประกนั สงั คมภาคบงั คบั จานวน 6,915 คน คดิ

เป็น รอ้ ยละ 5.2 โดยชายสงู กว่าหญงิ คอื ชายรอ้ ย

ละ 6.0 และหญิงร้อยละ 4.1 การผลติ จานวน 5,896

คน คิดเป็นร้อยละ 4.4 โดยหญิงสูงกว่าชาย คือ

หญิงร้อยละ 4.5 และชายร้อยละ 4.3 ส่วนท่ีเหลือ

กระจายอยู่ในอตุ สาหกรรมประเภทอน่ื ๆ

9

ตาราง จ จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตาม ร้อยละ 82.4 โดยชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือร้อยละ

สถานภาพการทำงานและเพศ หน่วย : คน 82.5และ 82.4 ตามลำดับ รองลงมา คือผู้มีช่ัวโมงการ

รวม ชาย หญิง ทำงาน 10-34 ช่ัวโมง จำนวน 13,120 คน คิดเป็น
สถานภาพการทำงาน จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ร้อยละ 9.8 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย คือ หญิง
จำนวน ร้อยละ
รอ้ ยละ 10.0 ชายร้อยละ 9.5 ผมู้ ีชั่วโมง การทำงาน 50
ยอดรวม 133,989 100.0 73,564 100.0 60,425 100.0
1.นายจ้าง 1,189 0.9 735 1.0 454 0.8 ชั่วโมงข้ึนไป จำนวน 9,389 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0 โดย
2.ลูกจ้างรัฐบาล 14,226 10.6 9.1 12.5
3.ลูกจ้างเอกชน 19,143 14.3 6,659 16.3 7,567 11.8 ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ 7.4 หญิง
4.ทำงานสว่ นตวั 60,845 45.4 12,011 50.3 7,132 39.5
5.ชว่ ยธรุ กจิ ครัวเรอื น 37,453 28.0 36,970 21.8 23,875 35.4 ร้อยละ 6.5
6. การรวมกลมุ่ 1,133 0.8 16,056 1.5 21,397 -
1,133 ตาราง ช จำนวนและร้อยละของผู้มีงานทำ จำแนกตาม
-
ช่วั โมงการทำงานตอ่ สัปดาห์ และเพศ หน่วย : คน

3.4 การศกึ ษา ชวั ่ โมงกำร รวม ชำย หญิง
เมื่อพิจารณาระดับการศึกษาที่สำเร็จของผู้ ทำงำนต่อ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
สปั ดำห์
มีงานทำในไตรมาสนี้ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่สำเร็จ
การศึกษาระดับประถมศึกษาศึกษา มีจำนวน 40,754 ยอดรวม 133,989 100.0 73,564 100.0 60,425 100.0

คน คิดเป็นร้อยละ 30.5 โดยสัดส่วนของชายสูงกว่า 1. 0 ชัว่ โมง1/ 290 0.2 64 0.1 226 0.4
หญิ ง คือ ชาย ร้อยละ 31.7 ห ญิ งร้อยละ 28.8
2. 1-9 ช่ัวโมง 798 0.6 367 0.5 431 0.7
รองลงมาคือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับ ต่ำกว่า
ประถมศึกษา จำนวน 39,991 คน คิดเปน็ ร้อยละ 29.8 3. 10-34 ช่ัวโมง 13,120 9.8 7,069 9.5 6,051 10.0
ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา มีจำนวน 4. 35-49 ช่วั โมง 110,392 82.4 60,609 82.5 49,783 82.4
8. 50ชว่ั โมงขนึ้ ไป 7.0 5,455 7.4 3,934 6.5
36,606 คน คิดเป็นร้อยละ 27.3 ผู้ที่สำเร็จ 9,389
การศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 15,699 คน คิดเป็น
หมายเหตุ : 1/ ผไู้ ม่ไดท้ างานในสปั ดาห์การสารวจ แตม่ งี านประจา
รอ้ ยละ 11.7 ไมม่ ีการศกึ ษา 744 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.6
4. การวา่ งงาน
ตาราง ฉ จำนวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทำ จำแนกตาม ป ร ะ ช าก ร ข อ ง จั ง ห วั ด อ ำ น า จ เจ ริ ญ ว่ าง ง า น

ระดบั การศกึ ษาทส่ี ำเร็จ และเพศ หน่วย : คน จำนวนท้งั ส้ิน 259 คน เป็นหญิงทงั้ หมด

สำหรับอัตราการว่างงานของประชากรหมายถึง
สัดส่วนของผู้ว่างงานต่อจำนวนประชากรที่อยู่ในกำลัง

แรงงานรวม พบวา่ จังหวัดอำนาจเจริญมอี ัตราการวา่ งงาน
รอ้ ยละ 0.2 โดยหญงิ มอี ตั ราการว่างงาน ร้อยละ 0.4

ระดับการศึกษา รวม ชาย หญงิ ตาราง ซ จำนวนและอัตราการวา่ งงาน จำแนกตามเพศ

ทส่ี ำเรจ็ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

ยอดรวม 133,989 100.0 73,564 100.0 60,425 100.0 หนว่ ย : คน

1.ไม่มกี ารศึกษา 744 0.6 319 0.4 425 0.7 เพศ ผูอ้ ยู่ในกำลัง ผวู้ า่ งงาน
แรงงาน จำนวน ร้อยละ
2.ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา 39,991 29.8 20,802 28.3 19,189 31.8

3.ประถมศกึ ษา 40,754 30.5 23,354 31.7 17,400 28.8 ยอดรวม 134,422 259 0.2

4.มธั ยมศึกษา 36,606 27.3 23,201 31.6 13,405 22.2 ชาย 73,738 --

5.อุดมศึกษา 15,699 11.7 5,888 8.0 9,811 16.2 หญงิ 60,684 259 0.4

6.ไม่ทราบ 195 0.1 - - 195 0.3

3.5 ชั่วโมงการทำงาน หมายเหตุ : อัตราการว่างงาน = ผู้ว่างงาน 100

ในจำนวนผู้มีงานทำ 133,989 คนน้ัน เป็นผู้ที่ ผอู้ ยใู่ นกำลงั แรงงานรวม
ทำงานต่อสัปดาห์ต้ังแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป มีจำนวน

133,699 คน ผู้ไม่ได้ทำงานในสัปดาห์การสำรวจ แต่มี
งานประจำ(ช่วั โมงทำงานเป็น “0”) จำนวน 290 คน

ในการสำรวจรอบนี้ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่

ทำงาน 35-49 ช่ัวโมง จำนวน 110,392 คน คิดเป็น



ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

1. วธิ กี ารสำรวจ

การสำรวจนปี้ ระชากรเปา้ หมาย ได้แก่ ครัวเรือนส่วนบุคคลและครวั เรอื นกลุ่มบคุ คลประเภทครวั เรือน
คนงานท่ีอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้น ครัวเรือนชาวต่างชาติท่ี
ทำงานในสถานทตู หรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศท่มี เี อกสิทธิท์ างการทตู

การสำรวจแต่ละเดือน สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติได้ดำเนินการสำรวจในทุกจงั หวดั ท่ัวประเทศ แผนการ
เลือกตัวอย่างท่ีใช้เป็นแบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างขั้นที่หน่ึง คือ เขตแจงนับ
(Enumeration Area : EA) จำนวน 1,990 EA ตัวอย่าง จากทั้งสิ้นจำนวน 127,460 EA และหน่วยตัวอย่าง
ข้ันที่สอง คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลและสมาชิกในทุกครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรือนคนงาน จำนวน
27,960 ครัวเรือนตัวอย่าง หรือคิดเป็นจำนวนประชาชนตัวอย่างประมาณ 95,000 คน ซ่ึงขนาดตัวอย่างในแต่
ละเดือนสามารถนำเสนอผลการสำรวจในระดับภาค (กรุงเทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจำแนกตาม
เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แต่ไม่เพียงพอสำหรับนำเสนอผลการสำรวจใน
ระดบั จังหวัดหรือพื้นทยี่ ่อยกว่านี้ สำหรับการนำเสนอผลการสำรวจในระดับจงั หวดั ได้ใช้ข้อมูลของการสำรวจ
จำนวน 3 เดอื น เพือ่ ให้ไดข้ นาดตัวอย่างเพียงพอ เชน่ กรณีสรุปรายงานผลการสำรวจระดับจังหวัดในไตรมาสท่ี
4 ของปี พ.ศ. 2562 กไ็ ด้นำขอ้ มลู ของเดอื นตลุ าคม พฤศจกิ ายน และธันวาคม 2562 มารวมกัน เป็นตน้

สำหรับขนาดตัวอย่างของจังหวัดอำนาจเจริญ ใช้หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง จำนวน 60 EA ตัวอย่าง
หน่วยตัวอยา่ งข้นั ทส่ี อง จำนวน 840 ครัวเรือนตัวอยา่ ง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง
โดยเจ้าหน้าท่ีของสำนักงานสถิติแห่งชาติ/สำนักงานสถิติจังหวัด โดยผู้ทำการสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือ
การปฏิบัตงิ านเก็บรวบรวมขอ้ มูลสำหรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ทง้ั นี้เพ่อื ให้ทกุ คนปฏิบตั ิงานไปในทางเดียวกัน

ส่วนการประมวลผลข้อมูลน้ันดำเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาการสถิติ โดยนำข้อมูลท่ีได้จาก
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยมีการถ่วงน้ำหนัก (Weighty) ซึ่งค่าถ่วงน้ำหนักคำนวณได้จากสูตรการประมาณค่า
ทสี่ อดคล้องกับวิธีการเลอื กตวั อย่าง เพื่อให้ได้คา่ ประมาณประชากรใกลเ้ คียงกบั คา่ ท่แี ท้จริง

2. คาบการเก็บรวบรวมข้อมูล

การสำรวจได้ดำเนินการพร้อมกันท่ัวประเทศ ในระหว่างวันที่ 1 – 12 ของเดือน ตุลาคม –
ธนั วาคม พ.ศ. 2562

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ

หนา้

ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 15

ตารางที่ 2 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสำเร็จและเพศ 16

ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผ้มู งี านทำ จำแนกตามอาชีพและเพศ 17

ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 18

ตารางท่ี 5 จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ 19

ตารางท่ี 6 จำนวนและร้อยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามช่วั โมงการทำงานต่อสัปดาห์และเพศ 20

ตารางที่ 7 จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามระดับการศกึ ษาที่สำเรจ็ และเพศ 21

15
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผูม้ ีอายุ 15 ปีขน้ึ ไป 219,794 จานวน 113,455
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 134,422 60,684
134,248 106,339 60,684
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 133,989 73,738 60,425
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 73,564
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 259 73,564 259
174 -
1.2 ผู้ทรี่ อฤดกู ำล 85,372 -
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 23,572 174 52,771
2.1 ทำงำนบ้ำน 18,226 32,601 23,285
2.2 เรียนหนังสือ 43,574 287 8,846
2.3 อื่นๆ 9,380 20,640
22,934
100.0
ยอดรวม 100.0 100.0 53.5
1. ผู้อย่ใู นกำลังแรงงำน 61.2 69.3 53.5
61.1 69.1 53.3
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบัน 61.0 69.1 0.2
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 0.1 -
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 0.1 0.2 -
38.8 30.7 46.5
1.2 ผู้ที่รอฤดูกำล 10.7 0.3 20.5
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 8.3 8.8 7.8
2.1 ทำงำนบำ้ น 19.8 21.6 18.2
2.2 เรียนหนังสือ
2.3 อ่ืนๆ

16

ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอาย1ุ 5 ปีข้ึนไป จาแนกตามระดบั การศกึ ษาท่ีสาเรจ็ และเพศ

ระดบั การศึกษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,794 จานวน 113,455
1. ไม่มีการศึกษา 1,652 106,339 1,049
2. ตา่ กวา่ ประถมศึกษา 74,796 42,130
3. ประถมศึกษา 56,556 603 25,420
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 36,026 32,666 16,380
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 30,502 31,136 15,866
27,348 19,646 14,337
5.1 สายสามัญ 3,154 14,636 1,529
5.2 สายอาชีวศึกษา - 13,011 -
5.3 สายวิชาการศึกษา 20,067 1,625 12,415
6. มหาวทิ ยาลัย 9,722 5,772
6.1 สายวชิ าการ 6,710 - 3,928
6.2 สายวชิ าชีพ 3,635 7,652 2,715
6.3 สายวิชาการศึกษา 3,950
7. อืนๆ 195 2,782 195
8. ไม่ทราบ
100.0 920 100.0
ยอดรวม 0.8 0.9
1. ไม่มีการศึกษา 34.0 - 37.2
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 25.7 22.4
3. ประถมศึกษา 16.4 ร้อยละ 14.4
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 13.8 14.0
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 12.4 100.0 12.6
1.4 1.4
5.1 สายสามัญ - 0.6 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 9.2 30.7 10.9
5.3 สายวิชาการศึกษา 4.4 29.3 5.1
6. มหาวทิ ยาลัย 3.1 18.5 3.5
6.1 สายวชิ าการ 1.7 13.7 2.3
6.2 สายวิชาชีพ - 12.2 -
6.3 สายวิชาการศึกษา 0.1 1.5 0.2
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ -
7.2
3.7
2.6
0.9

-
-

17 ชาย หญิง
จานวน
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 60,425
73,564 1,437
อาชพี รวม 3,570 4,079
1,658 1,148
ยอดรวม 133,989 1,088 1,752
1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวโุ ส และผู้จัดการ 5,007 10,120
2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 5,737 367 35,924
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ และอาชีพท่ีเก่ียวข้อง 2,236 6,042 1,893
4. เสมียน 2,119 46,228
5. พนักงานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 16,162 4,710 912
6. ผู้ปฏบิ ตั งิ านที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 82,152 3,120 3,160
7. ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอื่นๆท่ีเกี่ยวข้อง 6,603 6,781
8. ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครอื่ งจักร และผู้ปฏบิ ัติงานด้านการประกอบ 4,032 -
9. อาชีพขั้นพน้ื ฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย และการใหบ้ ริการ 9,941 -
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอ่ืน - ร้อยละ 100.0
100.0 2.4
ยอดรวม 100.0 6.8
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวโุ ส และผู้จัดการ 3.7 4.9 1.9
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านตา่ งๆ 4.3 2.3 2.9
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 1.7 1.5 16.7
4. เสมียน 1.6 0.5 59.5
5. พนักงานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 12.1 8.2 3.1
6. ผู้ปฏิบตั ิงานท่ีมีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 61.3 62.8 1.5
7. ผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆทเี่ กี่ยวข้อง 4.9 6.4 5.2
8. ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครือ่ งจักร และผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นการประกอบ 3.0 4.2 -
9. อาชีพขน้ั พื้นฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย และการใหบ้ ริการ 7.4 9.2
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไวใ้ นหมวดอ่ืน -
-

18

ตารางที่ 4 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน
ยอดรวม 133,989 73,564 60,425
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 83,193 35,992
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน 47,201
3. การผลติ - -
4. ไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 5,896 - 2,711
5. การจดั หานา การจดั การ และการบาบัดนาเสยี ของเสยี และสิ่งปฏกิ ลู 3,185
6. การกอ่ สร้าง - -
7. การขายสง่ และการขายปลีก การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ 477 - 148
8. การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 4,032 329 62
9. ท่ีพักแรมและบริการดา้ นอาหาร 14,347 3,970 8,040
10. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 1,247 6,307 474
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 4,304 773 2,474
12. กจิ กรรมอสงั หาริมทรพั ย์ 138 1,830 138
13. กจิ กรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 792 420
14. กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน -
15. การบริหารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกนั สงั คมภาคบังคับ - 372 -
16. การศึกษา 170 96
17. กจิ กรรมดา้ นสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 128 - 57
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 6,915 74 2,467
19. กิจกรรมบริการดา้ นอ่นื ๆ 5,100 71 3,831
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กจิ กรรมผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร 1,584 4,448 1,085
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 1,049 1,269 699
22. ไม่ทราบ 4,170 499 1,428
447 350 303
2,742
- 144 -
- -
-
ยอดรวม 100.0 - 100.0
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 62.1 59.6
2. การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน - 100.0 -
3. การผลติ 4.4 64.2 4.5
4. ไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ - - -
5. การจดั หานา การจดั การ และการบาบัดนาเสยี ของเสีย และสงิ่ ปฏิกลู 0.4 4.3 0.2
6. การกอ่ สรา้ ง 3.0 - 0.1
7. การขายส่งและการขายปลีก การซอ่ มยานยนตแ์ ละจักรยานยนต์ 10.7 0.4 13.3
8. การขนส่งและสถานที่เกบ็ สินค้า 0.9 5.4 0.7
9. ท่ีพักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 3.2 8.6 4.1
10. ข้อมูลข่าวสารและการสอื่ สาร 0.1 1.1 0.2
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 0.6 2.5 0.7
12. กิจกรรมอสังหารมิ ทรัพย์ - - -
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 0.1 0.5 0.2
14. กิจกรรมการบริหารและการบรกิ ารสนับสนุน 0.1 - 0.1
15. การบริหารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 5.2 0.1 4.1
16. การศึกษา 3.8 0.1 6.3
17. กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 1.2 6.0 1.8
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 0.8 1.7 1.2
19. กิจกรรมบริการดา้ นอ่ืนๆ 3.1 0.7 2.4
20. กิจกรรมการจา้ งงานในครัวเรือนสว่ นบุคคล กจิ กรรมผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร 0.3 0.5 0.5
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก - 3.7 -
22. ไม่ทราบ - 0.2 -
-
-

19
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 60,425
454
ยอดรวม 133,989 73,564
1. นายจ้าง 1,189 735 7,567
2. ลูกจ้างรัฐบาล 14,226 7,132
3. ลูกจ้างเอกชน 19,143 6,659 23,875
4. ทางานส่วนตวั 60,845 12,011 21,397
5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 37,453 36,970
6. การรวมกลุ่ม 1,133 16,056 -
1,133
ร้อยละ 100.0
0.8
ยอดรวม 100.0 100.0 12.5
11.8
1. นายจ้าง 0.9 1.0 39.5
35.4
2. ลูกจ้างรัฐบาล 10.6 9.1 -

3. ลูกจ้างเอกชน 14.3 16.3

4. ทางานส่วนตวั 45.4 50.3

5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 28.0 21.8

6. การรวมกลุ่ม 0.8 1.5

20
ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานตอ่ สัปดาห์และเพศ

ช่วั โมงการทางาน รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 133,989 จานวน 60,425
1. 0 ช่ัวโมง1/ 290 226
2. 1-9 ช่ัวโมง 798 73,564 431
3. 10-19 ช่ัวโมง 64 624
4. 20-29 ชั่วโมง 1,609 367
5. 30-34 ชั่วโมง 7,991 985 3,703
6. 35-39 ช่ัวโมง 3,520 1,724
7. 40-49 ชั่วโมง 26,253 4,288 11,262
8. 50 ชั่วโมงขึน้ ไป 84,139 1,796 38,521
9,389 14,991 3,934
45,618
ยอดรวม 100.0 5,455 100.0
ร้อยละ 0.4
1. 0 ชั่วโมง 1/ 0.2 100.0 0.7
1.0
2. 1-9 ชั่วโมง 0.6 0.1 6.1
0.5 2.9
3. 10-19 ชั่วโมง 1.2 1.3 18.6
5.8 63.8
4. 20-29 ชั่วโมง 6.0 2.4 6.5
20.4
5. 30-34 ช่ัวโมง 2.6 62.1
7.4
6. 35-39 ชั่วโมง 19.6

7. 40-49 ช่ัวโมง 62.8

8. 50 ชั่วโมงข้ึนไป 7.0

หมายเหตุ : 1/ ผู้ไม่ไดท้ างานในสัปดาหก์ ารสารวจ แต่มีงานประจา

21

ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเรจ็ และเพศ

ระดับการศึกษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 133,989 จานวน 60,425
1. ไม่มีการศึกษา 744 425
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 73,564
3. ประถมศึกษา 39,991 319 19,189
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 40,754 17,400
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 18,471 20,802 5,410
18,135 23,354 7,995
5.1 สายสามัญ 16,583 13,061 7,290
5.2 สายอาชีวศึกษา 1,552 10,140
5.3 สายวชิ าการศึกษา 9,293 705
6. มหาวทิ ยาลัย - -
6.1 สายวิชาการ 15,699 847
6.2 สายวชิ าชีพ 7,903 - 9,811
6.3 สายวิชาการศึกษา 4,943 4,974
7. อืนๆ 2,853 5,888 2,644
8. ไม่ทราบ 2,929 2,193
- 2,299
ยอดรวม 195 -
1. ไม่มีการศึกษา 660 195
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 100.0 -
3. ประถมศึกษา 0.6 - 100.0
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 29.8 0.7
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 30.5 ร้อยละ 31.8
13.8 100.0 28.8
5.1 สายสามัญ 13.5 9.0
5.2 สายอาชีวศึกษา 12.4 0.4 13.2
5.3 สายวชิ าการศึกษา 1.1 28.3 12.1
6. มหาวิทยาลัย - 31.7 1.1
6.1 สายวชิ าการ 11.7 17.8 -
6.2 สายวชิ าชีพ 5.9 13.8 16.2
6.3 สายวชิ าการศึกษา 3.7 12.6 8.2
7. อืนๆ 2.1 1.2 4.4
8. ไม่ทราบ - 3.6
0.1 - -
8.0 0.3
4.0
3.1
0.9

-
-


Click to View FlipBook Version