The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วราพร จ่ากลาง, 2019-06-19 02:56:37

งบประมาณ

งบประมาณ

Keywords: Waraphon Chaklang

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๕. คลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลติ
เป้าหมาย เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ
ประกอบด้วย แผนงานระบบอัตโนมัติและโดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนการดาเนินงาน และ
ผลงานสง่ มอบ ดังนี้

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ มีเป้าหมายเพ่ือยกระดบั เทคโนโลยีการผลติ ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย

(เกษตรและอาหาร ไฟฟา้ /อเิ ล็กทรอนิกส์ ชน้ิ ส่วนยานยนต์) สรู่ ูปแบบ Smart Factory Automation

การวิจัยและพัฒนาเพ่ืออัพเกรดระบบโรงงานอัตโนมัติ - ต้นแบบแขนกลหุ่นยนต์วิทัศน์สื่อสารแบบไร้สาย

(Factory Automation) ใหม้ ีผลิตภาพสูงขนึ้ สาหรบั สายการผลติ ระดบั ภาคสนาม

- การพัฒนาแขนกลหุ่นยนต์วิทัศนส์ ่ือสารแบบไร้

สายสาหรับสายการผลิตชุดประกอบระบบ

ขับเคล่ือนกระจกหนา้ ตา่ งรถยนต์

การสนับสนุน ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดโรงงาน - ต้นแบบระบบอัตโนมัติฐานไอโอที (Internet of

ต้นแบบในกลุ่มอุตสาหกรรมท่ีมีกระบวนการผลิต Things) ในอุตสาหกรรมผลิตแป้งมันสาปะหลัง

ดว้ ยเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ๔.๐ ระดบั ภาคสนาม

- การพัฒนาระบบอัตโนมัติฐานไอโอทีใน

อุตสาหกรรมเกษตร : อุตสาหกรรมผลิตแป้ง

มันสาปะหลัง

การวิจัยและพัฒนาต้นแบบ/application ด้าน - ต้นแบบเครื่องจักรอัตโนมัติและอุปกรณ์สาหรับการ

หุ่นยนต์/ระบบอัตโนมัติสาหรับผู้ประกอบการเพ่ือ ประกอบยางลอ้ ตนั ระดับภาคสนาม

นาไปผลติ เชิงพาณชิ ย์ - องค์ความรู้การพัฒนาอุปกรณ์สาหรับตรวจสอบค่า

- การพัฒนาต้นแบบเคร่ืองจักรอัตโนมัติและ ความถูกตอ้ งและแมน่ ยาของหนุ่ ยนต์

อุปกรณ์สาหรบั การประกอบยางลอ้ ตนั - องค์ความรู้การพัฒนาชุดฝึกปฏิบัติการควบคุม

- การพัฒนาอุปกรณ์สาหรับตรวจสอบค่าความ หุ่นยนต์ด้วยระบบปฏิบัติการ ROS

ถกู ตอ้ งและแมน่ ยาของหุ่นยนต์อตุ สาหกรรม - องค์ความรู้การพัฒนาห่นุ ยนต์หยิบจบั เดลต้า

- การพัฒนาสื่อการสอนการควบคุมหุ่นยนต์ด้วย ต้นทุนต่า

ระบบปฏิบัติการ Robot Operating System - องค์ความรู้การพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอเพื่อตรวจจับ

(ROS) และแจ้งเตือนการล้มล่วงหน้าเพ่ือเตรียมตัวป้องกัน

- การพัฒนาห่นุ ยนต์หยบิ จบั เดลต้าต้นทุนต่า การลม้ ของผสู้ งู อายุ

๕๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน
- การพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอเพ่ือตรวจจับและแจ้ง

เตอื นการลม้ ล่วงหน้า เพือ่ เตรียมตัวป้องกันการ
ล้มของผสู้ งู อายุ

๖. วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพอื่ ใช้ประโยชนใ์ นหลายด้าน
เป้าหมาย การนาเทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนามาแล้วระดับหนึ่งและพร้อมนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายคลัสเตอร์
เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลิต และสร้างผลกระทบ
ได้สูง ประกอบด้วย ๒ แผนงาน คือ (๑) แผนงานนวัตกรรมข้อมูลและบริการ และ (๒) เซ็นเซอร์และระบบอัจฉรยิ ะ
โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนนิ งาน และผลงานส่งมอบ ดงั น้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานนวัตกรรมข้อมูลและการบริการ เกิดนวัตกรรมข้อมูลเพื่อการบริการ ช่วยเพ่ิมศักยภาพในการ

แขง่ ขนั แก่ ภาคอตุ สาหกรรมเกษตร สาธารณสุข และอุตสาหกรรมท่ีมี ICT เป็นฐาน

ศึกษาโจทย์ความต้องการด้านการสัญจรอัจฉริยะ - ตน้ แบบรถสองแถวอัจฉรยิ ะ ระดบั ภาคสนาม

(Smart Mobility) และสร้างแพลตฟอร์มบริการ - องค์ความรู้การพัฒนาระบบการเพ่ิมความละเอียด

การเดินทางของเมอื ง และชัดเจนของใบหน้าคน และป้ายทะเบียน

- การวิจัยและพัฒนาระบบรถสองแถวอัจฉริยะ อัตโนมตั ิด้วยเทคนิค Deep Learning

(Smart Songthaew System) - องค์ความรู้การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูล

- การวิจัยและพัฒนาการเพิ่มความคมชัดของ (Analytics) เพื่อสนับสนุนการจราจรและการ

ภาพจากกล้องอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีการ เดินทาง

เรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) เพื่อใช้ในการ

ตรวจหาผู้ต้องสงสัย

- วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม วิ เ ค ร า ะ ห์

ภาพเคล่อื นไหวสาหรับ CCTV ด้านความมนั่ คง

- วิจัยและพัฒนาแพลตฟอร์มกล้องโทรทัศน์

วงจรปิดสาหรับการจราจรและความปลอดภัย

ในจงั หวดั เชียงใหม่

๕๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
ต้ น แ บ บ ร ะ บ บ บ ริ ก า ร ช่ ว ย ส ร้ า ง ป ร ะ โ ย ค ต า ม
การวิจัยและพัฒนาแพลตฟอร์มเพ่ือบริการ - จินตภาพสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง
การเรยี นรู้ ระดบั ภาคสนาม
(Service Platform) และนามาต่อยอดนวัตกรรม ต้นแบบซอฟต์แวร์แพลตฟอร์มสาหรับการพัฒนา
ระบบจัดเก็บและบริการข้อมูลวัฒนธรรมดิจิทัล
บริการ ระดบั ภาคสนาม
องค์ความรู้การพัฒนาโปรแกรมประเมินรูปร่างและ
- การวิจัยและพัฒนาระบบบริการช่วยสร้าง - ใบหนา้ สตรี
องค์ความรู้การพัฒนาอุปกรณ์รับสัญญาณจีเอ็นเอส
ประโยคตามจินตภาพสาหรับนักเรยี นที่มีความ เอสแบบจลน์ตน้ ทุนตา่

บกพรอ่ งทางการเรียนรู้

- การวิจัยและพัฒนาซอฟต์แวร์แพลตฟอร์ม -

สาหรับการพัฒนาระบบจัดเก็บและบริการ

ข้อมลู วัฒนธรรมดจิ ทิ ัล -

- การวิจัยและพัฒนา Z-Size Ladies (BMI

Timeline และโปรแกรมประเมินรูปร่างและ

ใบหนา้ ของสตรี)

- การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์รับสัญญาณจีเอ็น

เอสเอสแบบจลนต์ ้นทุนต่า พร้อมระบบควบคุม

บริหารขอ้ มลู และการประยุกตใ์ ช้งาน

๒. แผนงานเซ็นเซอร์และระบบอัจฉริยะ มีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีเซ็นเซอร์และระบบอัตโนมัติ

เพื่อตรวจวัดวิเคราะห์ ติดตามและแสดงผลแบบต่อเน่ือง การทานายผล หรือการควบคุมแบบอัตโนมัติ

ในกลุ่มเกษตรและอาหาร สิ่งแวดล้อม และสุขภาพการแพทย์

การพัฒนา Bio-electronics และ Chemical- - ต้นแบบ Microfluidics Chip สาหรับตรวจคดั กรอง

electronics sensor พยาธิเทา้ ช้างระดบั หอ้ งปฏิบัตกิ าร

- วิจัยและพัฒนา Microfluidics Chip สาหรับ

ใช้วินจิ ฉยั พยาธใิ นเลอื ด

การพัฒนา Sensor-Electronics devices (non- - ต้นแบบเครื่องตรวจสอบปรมิ าณฮอร์โมน

Bio/Chemical) โปรเจสเตอโรนในน้านมววั ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

- วิจัยและพัฒนาระบบเวลล์สแกนสาหรับ - ต้นแบบระบบการฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ในกระบวนการ

ตรวจสอบปริมาณฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนใน ผลิตเครือ่ งดม่ื ระดับอุตสาหกรรม

น้านมววั - องค์ความรู้การพัฒนาเคร่ืองบาบัดและฆ่าเชอ้ื โรคใน

อากาศภายในอาคาร โดยใช้เทคนิคเชิงไฟฟ้าสถิตสู่

เชงิ พาณชิ ย์

๕๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- การพัฒนาระบบการฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ใน

กระบวนการผลติ เครือ่ งดืม่ สาหรับอุตสาหกรรม

การใช้เทคนิคสนามไฟฟา้ พลั สร์ ะดับภาคสนาม

- การปรับปรุงและทดสอบภาคสนามเครื่อง

บาบัดและฆ่าเชอ้ื โรคในอากาศ

การพัฒนาฐานข้อมลู และเครือข่ายอุปกรณ์ - องค์ความรู้การพฒั นาระบบตรวจวัดปรมิ าณ

เซนเซอร์อจั ฉริยะ ปัสสาวะแบบต่อเนื่อง

- นวตั กรรมเคร่อื งวดั ปริมาณปัสสาวะ

๖.๒.๒ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ใช้กลไกความร่วมมือระหว่างประเทศในการสนับสนุนการดาเนินงาน
ตามแผนกลยุทธ์ของ สวทช. เพ่ือเช่ือมโยงกับแผนการดาเนินงาน ตลอดจนยกระดับ International Profile ของ
สวทช. เพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเอกภาพด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ และสามารถใช้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
เป็นกลไกท่ีสาคัญในการขับเคลื่อนสู่เป้าหมาย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนการดาเนินงาน และ
ผลงานสง่ มอบ ดงั นี้

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

การสร้างคุณค่าท่ียั่งยืนสาหรับงานวิจัยและพัฒนา - เกิดการแลกเปล่ียนของบุคลากรจากต่างประเทศ

(Sustainable value creation) โดยส่งเสริม เขา้ มาทากจิ กรรมใน สวทช. ไม่น้อยกวา่ ๘๐ คน

กิจกรรม - ส่งเสริมให้บุคลากรสายวิจัย/วิชาการไปปฏิบัติการ

- สร้างกลไกสนับสนุนการแลกเปล่ียนบุคลากร วิจยั ท่ตี ่างประเทศ ไมน่ ้อยกว่า ๒๐ คน

ระหว่างประเทศ และส่งเสริมให้บุคลากรสาย - เกิดโครงการร่วมวิจัยกับต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า

วิจัย/วิชาการไปปฏบิ ัติการวจิ ัยทีต่ า่ งประเทศ ๑๕ โครงการ

- เสริมสร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความรู้/ - เพ่ิมโอกาสให้นักวิจัยสวทช./ประเทศไทย ในการ

บุคลากร เรียนรู้ความเชี่ยวชาญและความ เขา้ ถึงทนุ วิจัยและพฒั นาในตา่ งประเทศ ไม่น้อยกว่า

ชานาญระหว่างกัน จนเกิดความร่วมมือใน ๕ ทนุ

รูปแบบร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย หรือการถ่ายทอด

เทคโนโลยีในอนาคต และส่งต่องานวิจัย

ดังกล่าวเข้าสู่กลไกการวิจัย พัฒนา และ

ถ่ายทอดเทคโนโลยีของ สวทช.

๕๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- ส่งเสริมกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดการได้รับ

สนับสนุนทุน (ทุนวิจัย ทุนศึกษาต่อ และอื่นๆ

และเกิดความรว่ มมอื ท่ีดาเนนิ การไดจ้ รงิ

การสร้างและรักษาพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ - สรา้ งความรว่ มมือทง้ั ใหม่และตอ่ เน่ือง

ระหว่างประเทศ (Strategic international (MOU/Agreement) ท่มี ีการดาเนนิ กิจกรรมทีเ่ ป็น

partnership) โดยสง่ เสรมิ กิจกรรม รปู ธรรม ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕ ฉบับ

- การจดั ประชมุ /สมั มนา/ฝึกอบรมในระดบั - การจัดประชุมเชิงวิชาการ/ปฏิบัติการ/ฝึกอบรม

ภูมิภาคและนานาชาติ โดยมุง่ หวงั ให้เกิดความ ไม่น้อยกวา่ ๑๐ ครงั้

ร่วมมืออย่างเปน็ รูปธรรม (พัฒนา

MOU/Agreement) พร้อมทั้งผลักดันให้เกดิ

การแลกเปลย่ี นเรยี นรปู้ ระสบการณ์วจิ ัยและ

พัฒนาแกบ่ ุคลากรวจิ ัยของ สวทช. อย่างยัง่ ยนื

- เสริมสร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความรู้/

บุคลากร เรียนรู้ความเช่ียวชาญและความ

ชานาญระหว่างกัน จนเกิดความร่วมมือใน

รูปแบบร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย หรือการถ่ายทอด

เทคโนโลยีในอนาคต และส่งต่องานวิจัย

ดังกล่าวเข้าสู่กลไกการวิจัย พัฒนา และ

ถา่ ยทอดเทคโนโลยขี อง สวทช.

- การสร้างความเข้มแข็งร่วมกับ พันธมิตร

โ ด ย พั ฒ น า เ ค รื อ ข่ า ย R & D ท้ั ง ใ น แ ล ะ

ต่างประเทศที่มีอยู่แล้วให้เข้มแข็ง และสร้าง

ความร่วมมือใหม่ๆ ให้มากข้ึน เพ่ือเพ่ิม

International Visibility ขององค์กร และ

สร้างความร่วมมือกับ Partner อื่นๆ ที่อยู่ใน

Eco-system

๕๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๒.๓ การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย และจริยธรรมวิจัย เป้าหมาย เพื่อให้การวิจัยและพัฒนามีคุณภาพ
และเป็นไปตามแนวทางจริยธรรมการวิจัย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนการดาเนินงาน และ
ผลงานส่งมอบ ดงั น้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. การพัฒนาคณุ ภาพการวจิ ัย

ศึกษาทบทวนปรับปรุงแนวทางการพัฒนาคุณภาพ - แนวทางการพัฒนาคุณภาพการวิจัยสาหรับ

การวิจยั ของ สวทช. และหนว่ ยงานเครอื ข่าย หน่วยงานเครือข่าย

- เครือข่ายความร่วมมือด้านคุณภาพการวิจัยท้ังใน

และตา่ งประเทศ

พัฒนาระบบ Data Management ระยะเริ่มตน้ - ระบบ Data Management ระยะเริม่ ตน้

พัฒนาแนวทางป้องกันการกล่าวอา้ งเกินจริง (Over - แนวทางป้องกันการกล่าวอ้างเกินจริง (Over

Claim) Claim)

สง่ เสริมความตระหนักดา้ นคณุ ภาพ และการวจิ ยั - ส่ือสารสนเทศในระบบ Intranet/Internet สาหรบั

เป็นแหล่งศึกษาข้อมูล สร้างความตระหนัก และ

แลกเปลย่ี นขา่ วสารด้านคุณภาพการวิจัย

- สื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมความตระหนักด้าน

คณุ ภาพและจริยธรรมการวิจัย

- หลักสูตรอบรมสัมมนาเกี่ยวกับข้อปฏิบัติท่ีดีในการ

วิจัย

สนับสนุนการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจาก - บุคลากรวจิ ัยมขี ้อมูลแนวทางการข้นึ ทะเบียน มเี วที

งานวิจัย หารือแนวทางการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์นวัตกรรม

และสามารถขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์นวัตกรรมไดเ้ รว็

ยง่ิ ข้นึ

- บุคลากรวิจัยมีข้อมูลแนวทางและข้ันตอนการขอ

รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มีเวทีหารือเก่ียวกับ

มาตรฐานผลิตภัณฑใ์ นอุตสาหกรรม

๕๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
๒. การส่งเสรมิ จรยิ ธรรมการวจิ ยั
การส่งเสริมจรรยาบรรณการวิจยั ในสัตว์ทดลอง - (ร่าง) เอกสารท่ีเก่ียวข้องกับ PM-CO-ORI-01 และ
PM-CO-ORI-02 เช่น วิธีการจัดประชุมกรรมการ
การสง่ เสรมิ จรรยาบรรณการวจิ ยั ในมนุษย์ พิจารณาด้านจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพ่ืองานทาง
วิทยาศาสตร์, วิธีการจ่ายเงินค่าตอบแทนผู้เช่ียวชาญ
การสง่ เสริมจรยิ ธรรมดา้ นวทิ ยาศาสตร์และ และขั้นตอนการประเมินผลผเู้ ชี่ยวชาญ เปน็ ตน้
เทคโนโลยี
- ระบบการยื่นข้อเสนอโครงการด้านจรรยาบรรณ
การใชส้ ตั ว์แบบออนไลน์ เวอรช์ ่นั ตน้ แบบ

- ได้รับการประเมิน ISO 9001:2015 จากหน่วยงาน
ภายนอก ประจาปี ๒๕๖๒

- (ร่าง) ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน กระบวนการพิจารณา
รับรองจริยธรรมในมนษุ ย์

- ระบบการย่ืนข้อเสนอโครงการด้านจริยธรรมการ
วจิ ยั ในมนษุ ยแ์ บบออนไลน์ เวอรช์ น่ั ต้นแบบ

- ขอ้ เสนอเเนะเชิงนโยบาย เร่ือง ยีน เซลล์ และการ
ปรบั แต่งชวี ติ ท่ผี า่ นการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสง่ เสริมจริยธรรมดา้ นวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

- การรว่ มจดั ประชมุ คณะกรรมการ สง่ เสรมิ
จรยิ ธรรมวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กบั สวทน.
และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- การร่วมจัดการประชุม 26th (Ordinary) Session
of the International Bioethics Committee
of UNESCO (IBC) / 11th (Ordinary) Session of
the World Commission on the Ethics of
Scientific Knowledge and Technology
(COMEST)” and “Conference of Ethical,
Legal and Social Implications (ELSI) of
Science and Technology” ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ทีป่ ระเทศไทยเปน็ เจา้ ภาพ

๕๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

การป้องกนั การละเมิดจรยิ ธรรมการวจิ ัย - การนาโปรแกรม CopyCatch (Alpha-version)

เข้ามาใช้ในระบบ Myperformance เพ่ือ

ตรวจสอบความคลา้ ยของเอกสาร

- เครือข่ายพันธมิตร ORI ทั่วประเทศไทย โดยใช้

กลไกการจัดประชุมโต๊ะกลม “เครือข่ายพันธมิตร

ORI”

- กระบวนการข้ันตอนการปฏิบัติงาน การพิจารณา

พฤติกรรมมิชอบทางการวิจัยและส่วนท่ีเกี่ยวข้อง

ที่ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรม

การวจิ ัยด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

- รายงาน (ลับ) การพิจารณาเรื่องร้องเรียนที่

เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมิชอบทางการวิจัยและส่วน

ทเี่ กี่ยวข้อง

การเผยแพร่ความรู้ และสร้างความตระหนัก/ความ - หลักสูตรการอบรม “ด้านจริยธรรมการวิจัยใน

เข้าใจด้านจริยธรรมการวจิ ยั มนษุ ย”์

- การเสวนาเรือ่ ง “แนวทางการใช้สัตวท์ ดลองในการ

วิจัยและการขอรับรองโครงการ”

- การเสวนา “การเขียนงานวิจัยที่ดี และ/หรือ การ

ตรวจความคลา้ ยทางงานวจิ ยั ”

- E-learning เรื่อง Research Integrity และ

จริยธรรมการวิจยั ในมนษุ ย์ จานวน ๑-๒ เร่ือง

๕๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๓ กลมุ่ สร้างเสริมความสามารถในการแข่งขนั

เปา้ หมาย สนบั สนุนกลไกเพือ่ สร้างระบบนิเวศนวัตกรรม โดยสรา้ ง New S-curve ใหมใ่ หแ้ กผ่ ้ปู ระกอบการ
ในภาคอตุ สาหกรรม หรือสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ให้แก่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมบนฐานการสร้าง
นวตั กรรม รวมไปถึงการสนบั สนนุ ให้เกดิ อุตสาหกรรมใหม่ของผู้ประกอบการทัง้ SME, Start up และผู้ประกอบการ
IDE (Innovation Driven Enterprise) กลุ่มสนับสนนุ กระบวนการพฒั นาผู้ประกอบการ ทง้ั ในส่วนของการบ่มเพาะ
ให้เกิดผู้ประกอบการ การวางแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการ การสนับสนุนผู้ประกอบการให้ใช้
วทน. กลุ่มสนับสนุนทางด้านการเงินแก่ผู้ประกอบการในการลงทุนด้าน วทน. และกลุ่มพัฒนาและสนับสนุนการ
แข่งขันของภาคเอกชนตามคลสั เตอรอ์ ุตสาหกรรมของอทุ ยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย

ในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีการดาเนินใน ๔ แผนงาน ดังน้ี (๑) การสนับสนุนการพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) (๒) การส่งเสริมงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (๓) การบ่มเพาะ
ผู้ประกอบการเทคโนโลยี และ (๔) การส่งเสริมศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการ วทน. โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนินงาน และผลงานสง่ มอบ ดงั นี้

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. การสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมไทย (Innovation and Technology Assistance

Program : ITAP)

ช่วยเหลือและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ พัฒนาเทคโนโลยีเชิงลึกให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจ

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ๑,๒๐๐ ราย

นาเทคโนโลยีไปปรับปรุงกระบวนการผลิต หรือ

ผลิตสินคา้ ใหม่ โดยมแี ผนการดาเนนิ งาน ดงั น้ี

- การสารวจความต้องการและวินิจฉัยให้

คาปรึกษาเบ้ืองต้น ณ สถานประกอบการก่อน

ดาเนนิ โครงการพฒั นาเทคโนโลยีเชงิ ลึก

- การพัฒนาเทคโนโลยเี ชิงลกึ ราย SMEs

- การพัฒนาเครือข่ายเพ่ือการให้บ ริ การ

ครอบคลุมทั่ว ประเทศ และส่งเสริมให้

ผู้ประกอบการในทุกภูมิภาคเข้าถึงการบริการ

ของภาครัฐ

๕๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- การถ่ายทอดความรู้และเสาะหาเทคโนโลยี

ท่เี หมาะสมให้กบั ผปู้ ระกอบการ

พัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและพัฒนาของ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความพร้อมในการขอการรับรอง

อุตสาหกรรมฮาลาลของประเทศไทย สร้างความ มาตรฐานฮาลาล ๒๕ ผลติ ภณั ฑ์

น่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมให้มีการขยาย

ตลาดต่างประเทศมากข้ึน โดยมีแผนการดาเนินการ

ดังน้ี

- จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในทุก

ภู มิ ภ า ค เ ข้ า ถึ ง ก า ร บ ริ ก า ร ข อ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ

หน่วยงานท่ีสนับสนุนด้านเทคโนโลยีและ

นวตั กรรม

- ถ่ายทอดความรู้ฮาลาล มาตรฐาน การ

ตรวจสอบ และการตลาดให้ผู้ประกอบการ

- ตรวจประเมินความพร้อมเบื้องต้นของบริษัท

และคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการของกลุ่ ม

อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ อุตสาหกรรม

อาหาร/เกษตรแปรรูป และอุตสาหกรรม

ยางพาราแปรรูป และจัดหาผู้เช่ียวชาญวินจิ ฉัย

ปัญหาทางเทคโนโลยีเบ้ืองต้น ณ สถาน

ประกอบการ

- ศึกษาตลาดและวิเคราะห์แนวทางการพัฒนา

ผลติ ภณั ฑ์ฮาลาล

- วจิ ยั และพฒั นาผลิตภณั ฑฮ์ าลาล

- ให้คาปรึกษาเพื่อพัฒนาสถานประกอบการ

ฮาลาล

- ตรวจสอบผลิตภัณฑ์และตรวจประเมินเพื่อ

เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ข อ ก า ร รั บ ร อ ง

มาตรฐานฮาลาล

๖๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- ทดสอบตลาดในต่างประเทศตามความ

เหมาะสม

๒. แผนงานการสง่ เสรมิ งานวิจยั สกู่ ารใชป้ ระโยชนเ์ ชิงพาณิชย์

- พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ - จานวนโครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ๔๐ โครงการ

ความต้องการในการแก้ปัญหา รวมท้ังพัฒนา - คาขอคุ้มครองทรัพย์สินปัญญา ๒๐ คาขอต่อ

กลไกการสง่ มอบ ผลกั ดันสู่การใชป้ ระโยชน์ บคุ ลากรวิจัย ๑๐๐ คน

- บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และ - โครงการของภาคเอกชนที่ได้รับรองโครงการวิจัย

สนบั สนุนใหเ้ กดิ การใช้ประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์ และพฒั นาเทคโนโลยี จานวน ๒๐๐ โครงการ

- ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเกิดการใช้ประโยชน์จาก - ผลิตภัณฑ์และบริการนวตั กรรมที่ได้รับการประกาศ

กลไกและมาตรการจากภาครัฐ เพ่ือกระตุ้นให้ ข้นึ ทะเบียนในบญั ชนี วตั กรรมไทย ๘๔ ผลงาน

เกิดการลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี ได้แก่ การให้บริการรับรอง

โครงการด้านภาษีวิจัย พัฒนา และนวัตกรร

และการตรวจสอบการข้ึนบัญชนี วตั กรรมไทย

การเตรียมความพร้อมเมืองนวัตกรรมอาหาร - ผู้ประกอบการมีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ

(Food Innopolis) โดยการสนับสนุนการทางาน กระบวนการท่ีเป็นนวัตกรรม ตลอดจนการรับ

ร่วมวิจัยและพัฒนากับภาคอุตสาหกรรม โดยการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ๑๐ โครงการ

วิจัยและพัฒนาท่ีเป็นโจทย์จากความต้องการของ

ภาคเอกชนตั้งแต่เร่ิมต้น ท้ังการค้นหาและพัฒนา

ผลิตภัณฑ์ใหม่ และการพัฒนาต่อยอดจาก

ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้พัฒนาข้นึ แลว้ ไปสู่การใช้ประโยชน์ใน

เชิงพาณิชย์ เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการลงทุนจาก

ภาคเอกชนในการวจิ ัยและพฒั นา

สนับสนุนผู้ประกอบการให้ได้รับมาตรฐาน - จานวนผู้ประกอบการซอฟต์แวร์เข้าร่วมโครงการ

(Capability Maturity Model Integration : ๖ ราย

CMMI)

- สนับสนุนผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ และ

ให้บริการด้านซอฟต์แวร์ เพ่ือดาเนินกิจกรรม

และเข้าประเมนิ ขอการรบั รองมาตรฐาน CMMI

ใน ๒ ด้าน ได้แก่ CMMI for Development

๖๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

(CMMI-DEV) และ CMMI for Service (CMMI-

SVC) ในระดับวุฒิภาวะ (Maturity Level) ๒

และ ๓

๓. แผนงานการบม่ เพาะผปู้ ระกอบการเทคโนโลยี

การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ด้าน - ผ้ปู ระกอบการใหม่ท่ไี ดร้ ับการส่งเสรมิ ๒๐ กจิ การ

เทคโนโลยีและนวตั กรรม ด้วยกระบวนการบม่ เพาะ

ธุรกิจเทคโนโลยีให้กับผู้ประกอบการและผลักดัน

สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาต้นแบบที่ตรงต่อความ

ตอ้ งการของตลาด โดยมแี ผนการดาเนินการ ดงั น้ี

- ถ่ายทอดให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ในด้าน

ธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีที่จะเน้นธุรกิจท่ีมี

มูลคา่ สูง (High Value Startup)

- ขยายช่องทางการตลาดที่เหมาะสม ทั้งในและ

ตา่ งประเทศ

- เพิม่ โอกาสสรา้ งความเชื่อมน่ั ดว้ ยการ

เตรียมพร้อมและพาไปประกวดในเวทตี ่างๆ

ท้ังในและต่างประเทศ

- ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์

ใหม่ เพือ่ ออกสตู่ ลาดทง้ั ในและต่างประเทศ

การยกระดับขีดความสามารถของศูนย์บ่มเพาะและ - ศูนย์บ่มเพาะที่เข้าร่วมโครงการได้แนวทางในการ

พฒั นานักลงทนุ เพื่อธุรกิจ และนวัตกรรมใหม่ โดยมี พฒั นาผปู้ ระกอบการไดเ้ หมาะสมมากขึ้น ๕ หนว่ ย

แผนการดาเนนิ การ ดังน้ี - พัฒนาศักยภาพการลงทุนใหก้ ับนกั ลงทุนและธรุ กิจ

- จัดทาแผนการตรวจประเมินโดยการนาเอา ๒๕ คน

Maturity Model มาประเมินสถานภาพการ

บริหารจัดการหน่วยงาน จานวนไม่น้อยกว่า

๕ หนว่ ย

- ถ่ายทอดความรู้เชิงปฏิบัติการให้แก่บุคลากร

ศูนย์บ่มเพาะ ที่เข้าร่วมโครงการ ให้สามารถ

ปฏิบัติงาน ส่งเสริม สนับสนุนให้แก่นักธุรกิจ

เทคโนโลยรี ุ่นใหม่ได้มีประสิทธิภาพมากขน้ึ

๖๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- ส่งเสริมให้เกิดเครือข่าย ความร่วมมือระหว่าง

ศนู ย์บม่ เพาะ ทง้ั ในและต่างประเทศ

- ให้คาปรึกษาแก่ศูนย์บ่มเพาะ เพ่ือให้มีระบบ

พีเ่ ลี้ยงชว่ ยดแู ลศูนยบ์ ม่ เพาะ ในระยะเร่ิมต้น

พัฒนานักลงทุนเพื่อธุรกิจนวัตกรรมเกิดใหม่ โดยมี - พัฒนาศักยภาพการลงทุนให้กับนักลงทุนและธุรกิจ

แผนการดาเนนิ งาน ดังนี้ ๒๕ คน

- เสริมสร้างความรู้และขีดความสามารถให้แก่

นักลงทุนและบุคลากรท่ีต้องการลงทุนแบบ

Angle Investor ด้านวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

- ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักลงทุนเพื่อเกิด

การต่อยอดการเรียนรแู้ ละลงทุน

การสรา้ งผู้ประกอบการธรุ กิจนวัตกรรมใหม่ - ธุรกิจที่เข้าสู่กระบวนการเร่งการเจริญเติบโต ๖๔

(Startup Voucher) เพื่อเสริมสรา้ งขดี กจิ การ

ความสามารถด้านการดาเนนิ ธุรกิจให้

ผปู้ ระกอบการธุรกิจเทคโนโลยีนวตั กรรมใหมแ่ ละ

ส่งเสริมความเขม้ แขง็ ให้วิสาหกจิ นวตั กรรมในการ

ตอ่ ยอด โดยมีแผนการดาเนนิ งาน ดงั นี้

- คัดเลือกผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโ ลยีรับ

voucher เพื่อสร้างยอดขาย หรือเสริม

ศกั ยภาพทางการผลิตและการคา้

- สนับสนุนเวที/กิจกรรมให้ความรู้ทางธุรกิจ

เทคโนโลยีรูปแบบใหม่ในโลกปัจจุบันและเวที

การเชื่อมโยงแหล่งทุนและนักลงทุน (event

sponsor)

- จัดทาหลักสูตร e-Learning เพื่อสอน

กระบวนการคิดในการจัดตั้งธุรกิจใหม่อย่างมี

ระบบและใหเ้ ติบโตอยา่ งกา้ วกระโดด

- สร้างช่ือเสียงธรุ กิจไทยสู่การยอมรบั ระดบั สากล

๖๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การเตรียมความพร้อมเมืองนวัตกรรมอาหาร - ผู้ประกอบการด้านอาหารท่ีมีความสามารถในการ

(Food Innopolis) โดยการเร่งการเติบโตของ สร้างรายได้สูงตอ่ เนอื่ งจากปีก่อน ๑๐ ราย

ผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ ให้มีอัตราเพิ่ม

ของรายได้ระดับสูงในสาขาทสี่ นับสนุนนวัตกรรมใน

เมืองนวัตกรรมอาหาร

- สร้างความตระหนักให้ความรู้ และสร้าง Food

Innovation Partnership & Expert

Platform

- สร้างผู้ประกอบการนวัตกรรมอาหารรายใหม่

ในการพัฒนาผลิตภณั ฑม์ ูลค่าสงู

- เร่งการเตบิ โตทางดา้ นธรุ กจิ สาหรบั

ผ้ปู ระกอบการนวัตกรรมอาหารรายใหม่

๔. การสง่ เสริมศักยภาพบคุ ลากรและผ้ปู ระกอบการ วทน.

อาศัยกระบวนการฝึกอบรมเป็นเคร่ืองมือในการให้ - จานวนผูผ้ ่านการฝึกอบรม ๙,๐๐๐ คน

ภาครฐั และภาคเอกชน เข้าถงึ ว และ ท ของ สวทช. - จานวนหลกั สูตร ๒๕๐ หลักสตู ร

มากขึ้น โดยให้บริการฝึกอบรมในหลักสูตรท่ีตรง

ความต้องการ และสอดคล้องกับความชานาญของ

สวทช. ที่โดดเด่นแตกต่างจากหัวข้อฝึกอบรมใน

ตลาด รวมไปถึงการให้บริการทดสอบระดับความรู้

และสอบเทียบ เป็นบริการที่จัดอย่างมืออาชีพ ได้

มาตรฐาน สามารถจัดได้ทั้งในและนอกสถานที่

ร ว ม ถึ ง ก า ร จั ด ฝึ ก อ บ ร ม ใ น ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค ด้ ว ย

ให้บริการอุปกรณ์ สถานท่ีฝึกอบรม ทั้งเชิงบรรยาย

และเชงิ ปฏบิ ตั ิการ แกบ่ ุคคลภายนอก โดยเชื่อมโยง

นักวิจัยจากศูนย์แห่งชาติเข้ามาเป็นวิทยากร สร้าง

สมดลุ ระหวา่ งหลักสูตรวชิ าการและด้านการผลติ

๖๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๔ กลุ่มสร้างเสรมิ ขีดความสามารถเกษตรชมุ ชน

เป้าหมาย สนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคมและชุมชน พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ ความสามารถ
เข้าสู่ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ แก้ไขปัญหาระดับท้องถ่ิน จึงเป็นการประสานเอาองค์ความรู้ด้าน วทน. ไปสู่การใช้
ประโยชน์ในท้องถิ่น ซึ่งต้องมีความร่วมมือและสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับภาครัฐที่ดูแลรับผิดชอบในท้องถ่ินอันไดแ้ ก่
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งในระดับตาบลและจังหวัด โดยมีแผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังน้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานเทคโนโลยีและนวตั กรรมเพอื่ ชุมชน

การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร มีแผนการ - ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร จานวน ๑๕๐ ชุมชน

ดาเนนิ งาน ดงั น้ี ให้แกเ่ กษตรกรไม่น้อยกวา่ ๖,๐๐๐ คน

- จัดการองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี - การจัดการความรู้/เทคโนโลยี ไมน่ อ้ ยกว่า ๒๐ เรื่อง

และนวัตกรรมเกษตร และนามาจัดทาเป็นสื่อ/ - โดยมีเกษตรกรรับข้อมูลไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน

ระบบฐานข้อมูลท่ีเข้าใจง่าย ตอบสนองได้ และหนว่ ยงานอ่ืนเขา้ ถึงขอ้ มูลสะดวก

ครบถว้ น ทันสมยั และเข้าถงึ ได้สะดวก - เกษตรกรแกนนา/รุ่นใหม่ เจ้าหนา้ ทีส่ ่งเสริม นักการ

- ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรในวงกว้าง ตลาด/ผู้ประกอบการรนุ่ ใหม่ ๕๐๐ คน/ปี

ด้วยการสนบั สนุนและประสานความรว่ มมือกับ - เกิดกลมุ่ คลัสเตอร์แปรรปู ๒ กลุ่ม

พันธมติ ร

- สนับสนุนให้เกษตรกรนาเทคโนโลยีไปปรับใช้

ในวงกว้าง การต่อยอดนวัตกรรม รวมถึงการ

จัดตั้งธุรกิจ (SMEs) หรือวิสาหกิจเพื่อสังคม

(Social Enterprise)

- พัฒนาทักษะและกระบวนการเรียนรู้ของ

บุคลากรตลอดห่วงโซ่ด้วยการจัดฝึกอบรม

การปฏิบัติจริง การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และ

การทางานรว่ มกัน

๒. แผนงานการพฒั นาพืน้ ท่ีเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก

การยกระดบั ความสามารถทางเทคโนโลยีของ - เกษตรกรในพื้นท่ีเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ

ชมุ ชนโดยการถา่ ยทอดเทคโนโลยเี พอื่ เกษตร พิเศษภาคตะวันออก (EECi) จานวน ๕๐ ชมุ ชน

แมน่ ยา และเพ่มิ มลู คา่ ผลติ ภัณฑ์ในกลุ่มพชื - พัฒนาบุคลากรภาคเกษตรให้เป็นเกษตรกรสมัยใหม่

๖๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

เศรษฐกิจสาคญั ของพื้นท่ี ด้วยชดุ เทคโนโลยีท่ี ๘๐ คน

พร้อมถ่ายทอด - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรได้รับการถ่ายทอด

- สารวจ/ประเมินความพร้อมของเกษตรกรและ เทคโนโลยีไม่น้อยกว่า ๖๐ คน

เครือข่ายเกษตรกร และ สารวจและประเมิน

ความเหมาะสมของพื้นที่เป้าหมายเพื่อติดตั้ง

อุปกรณแ์ ละระบบต่างๆ

- รวบรวมข้อมูลส่งิ แวดลอ้ มจากฐานข้อมูล นามา

ประมวลผลรวมกับการประเมินผลกระทบต่อ

ผลผลิตทางการเกษตรและการจัดการแปลง

ของเกษตรกร

- ประสานงานการถ่ายทอดเทคโนโลยี/จัดอบรม

ให้กับกลุ่มเกษตรกรในพื้นท่จี ุดสาธติ เทคโนโลยี

เชื่อมโยงกับภาครัฐและเจ้าหน้าท่ีส่งเสริม

การเกษตรใหไ้ ด้รับการอบรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

- ดาเนินการถา่ ยทอดเทคโนโลยี/จดั อบรมเกษตร

สมัยใหม่ให้กับเกษตรกร เช่น โรงเรือน/ระบบ

โรงเรือนอัจฉริยะพร้อมระบบควบคุมขนาด

มาตรฐาน ระบบรวบคมุ นา้ ใน

การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมเพื่อ - ระบบจัดเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมเพื่อการเพาะปลูก

การเพาะปลูก : โครงการนาร่องท่ี ๑ สวนทุเรยี น นาร่องในสวนทุเรียนในพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจภาค

- สารวจพื้นที่ สารวจความต้องการ และสร้าง ตะวันออก ๑ ระบบ

ระบบจัดเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมเพื่อการ

เพาะปลูก รวมถึงทดสอบ และติดตาม

ประเมินผลการใช้งานของระบบจัดเก็บข้อมูล

สภาพแวดล้อมเพอ่ื การเพาะปลูกในสวนทุเรยี น

๓. การสง่ เสรมิ เกษตรกรให้มีการใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตและบริหารจดั การฟาร์มอย่างเป็นระบบ

ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ - ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร จานวน ๒๐ ชุมชน

เกษตรกรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลติ - เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีไม่น้อยกว่า

และบรหิ ารจัดการฟาร์มอย่างเปน็ ระบบผา่ น ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ คน

กจิ กรรมการถ่ายทอดความร้ดู ้านการแปรรปู

๖๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

มาตรฐาน GMP และการทาแปลงสาธิต

แปลงสงั เคราะห์เทคโนโลยรี ่วมกบั เกษตรกร

๔. การเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้สู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (ยกระดับการผลิตในทุ่ง

กลุ าร้องไห)้

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการผลิต - เกษตรกรได้รับองค์ความรู้และนาไปใช้ประโยชน์

เมล็ดพันธ์ุข้าว การใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ๒,๐๐๐ ครอบครัว

นวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิตและได้ข้าวท่ีมีความ - สามารถผลิ ตเมล็ ดพั นธ์ุ ข้ าวหอมมะลิ ๑๐๕

ปลอดภัย การส่งเสริมการใช้ข้าวสายพันธ์ุใหม่ท่ี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๐ ตนั

เหมาะสมกับพื้นท่ี (พันธุ์ต้านทานโรค และศัตรูพืช) - เกิดเครอื ขา่ ยวสิ าหกิจชมุ ชนทุ่งกุลาร้องไห้

การจัดการข้าวหลังการเก็บเก่ียวและการสร้าง - เกิดระบบนาดาแบบหยอดเมล็ด

มูลค่าเพิ่ม ให้แก่เกษตรกรในพ้ืนท่ีทุ่งกุลาร้องไห้

และจังหวัดบุรีรัมย์ เพ่ือยกระดับความสามารถของ

เกษตรกรและประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิ

รวมถึงส่งเสริมการปลูกพืชหลังนา (พืชใช้น้าน้อย)

และการเลีย้ งสตั วน์ า้ เพ่อื เพ่ิมรายไดแ้ กเ่ กษตรกร

๕. การขยายผลและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farm)

- ถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น โรงเรือนอัจฉริยะ - เกษตรกรต้นแบบที่มีการใช้เทคโนโลยีเกษตร

โรงเรือนพลาสติกคัดเลือกแสงเพ่ือปลูกผัก อจั ฉรยิ ะ ๖๐ ชุมชน

ระบบฟาร์มอัจฉริยะ เทคโนโลยีและนวัตกรรม - ฐานข้อมูลด้านการเกษตรของชุมชน

เพ่ือยกระดับการใช้เครื่องมือ เคร่ืองจักรทาง - สร้าง ASI ผู้ประกอบการท่ีจะกระจายและให้บริการ
การเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ และเครื่องวัด เทคโนโลยีได้อย่างทั่วถึง หรือทันต่อความต้องการ
ความสกุ แกข่ องผลไม้ เปน็ ตน้
ของเกษตรกร ๒๐ คน
- พัฒนา Agriculture Smart Integrator (ASI) - เกษตรกรได้รับองค์ความรู้เทคโนโลยี smart farm

โดยถ่ายทอดความรู้เร่ืองแผนธุรกิจ/ แผนการ ๕,๐๐๐ ครอบครัว

ตลาด เทคโนโลยี การใช้งาน E-commerce - ศูนย์สาธิตเทคโนโลยีด้าน Smart Farm แบบครบ

กฏหมายธรุ กิจ และการเข้าถงึ แหล่งเงนิ วงจร ในพน้ื ทีภ่ าคตะวันออก ๑ ศนู ย์

- จัดตั้งศนู ยส์ าธติ เทคโนโลยดี า้ น Smart Farm

๖๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๕ กลุม่ บรหิ ารและส่งเสริมเขตนวตั กรรม

เป้าหมาย บริหารจัดการและพัฒนากลไกการดาเนินงานในเขตนวัตกรรมของประเทศ ให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการจัดต้ังเขตนวัตกรรมแต่ละแห่งท่ีเกิดข้ึน ซึ่งปัจจุบันมีเขตนวัตกรรมอยู่หลายแห่ง
สามารถจัดกลุ่มออกเป็น เขตนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนคลัสเตอร์ต่างๆ ของภาคอุตสาหกรรม อันได้แก่ อุทยาน
วิทยาศาสตร์ประเทศไทย อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และเขตนวัตกรรมเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน อันได้แก่
เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย เขตส่งเสริมนวัตกรรมเฉพาะทางด้านอาหารเช่น Food Innopolis
เขตนวตั กรรมระเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EECi) โดยหน้าท่ีงานของกล่มุ นี้ จะเปน็ กลุ่มทเี่ ชือ่ มโยงระหว่าง
ภาคเอกชน ภาคการศกึ ษา และภาครฐั โดยนาองคค์ วามร้แู ละทรพั ยากรของเครือข่ายมหาวิทยาลัย เช่อื มโยงเข้ากับ
ภาคเอกชน หรือนาจุดแข็งของแต่ละพ้ืนที่ที่มีอยู่ เพื่อนา วทน. ในการหา Solution ในแต่ละ Area base ท้ังด้าน
สังคม/ชุมชน หรือเศรษฐกิจท่ีเป็นการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งดึงดูดผู้ประกอบการฐาน
เทคโนโลยี หรอื Startup ให้เขา้ มาดาเนินงานในเขตนวตั กรรมมากขน้ึ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการดาเนินงาน ใน ๒ แผนงาน คือ (๑) การบริหารและการใช้ประโยชน์
อทุ ยานวิทยาศาสตร์ และ (๒) การพฒั นาพื้นทเ่ี ขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EECi)

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

การบริหารอทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย

ให้บริการพ้ืนท่ีเช่าคุณภาพสูงเพ่ือดาเนินกิจกรรม - ผู้มาใชบ้ รกิ ารในอุทยานวทิ ยาศาสตร์ (ผ้เู ชา่ )

วิจัยและพัฒนาของภาครัฐและเอกชน ที่สามารถ ๑๕๐ ราย

เช่ือมโยง กับ สวทช. และ/หรือ มหาวิทยาลัย - ระดับความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บริการร้อยละ ๘๕

ใ ก ล้ เ คี ย ง ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า

จัดกิจกรรมให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เช่า

ลูกค้า ผู้บริหาร นักวิจัย สวทช. เพ่ือเพิ่มโอกาสการ

ทางานรว่ มกัน และนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ใน

ธรุ กิจ

การพัฒนาพืน้ ทรี่ ะเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก

ดาเนินการก่อสร้างกลุ่มอาคารเมืองนวัตกรรม - ความก้าวหน้าการก่อสร้างกลุ่มอาคาร เมือง

ชีวภาพภาคตะวันออก Phase 1A เพ่ือเป็นพ้ืนที่ นวัตกรรมภาคตะวนั ออก Phase1 A ร้อยละ ๑๕

นวัตกรรมใหม่เขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก

การเตรียมความพร้อมนวัตกรรมเพื่อรองรับ - ความก้าวหน้าการเตรียมความพร้อมโครงสร้าง

อตุ สาหกรรมฐานชวี ภาพ (Biopolis) พื้นฐานด้านเทคโนโลยี ด้านคุณภาพและมาตรฐาน

๖๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- ศึกษาขอ้ มูลด้านฟีโนไทป์การตอบสนองของพืช รองรับการพัฒนานวัตกรรมและการบริการด้าน

ตอ่ ปัจจัยและสภาพแวดล้อมในระบบโรงเรือนฯ อุตสาหกรรมฐานชวี ภาพ (Biopolis) รอ้ ยละ ๒๐

ฟีโนมิกส์

- โครงการจัดทาฐานข้อมูลพันธุกรรมระดับชีว

โมเลกุลของประชากรทุเรียน ๖๐๐ สายพันธ์ุ

ที่ ร ว บ ร ว ม ไ ว้ ใ น ศู น ย์ วิ จั ย พื ช ส ว น จั น ท บุ รี

กรมวิชาการเกษตร

การเตรียมความพร้อมนวัตกรรมเพื่อรองรับ - จานวนผลงานนวตั กรรมดา้ นระบบอตั โนมตั ิ หุ่นยนต์

อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบ และระบบอัจฉริยะท่ีถูกนาร่องใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ี

อจั ฉริยะ (Aripolis) ระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก ๑ รายการ

- การเตรียมการรองรับการพัฒนานวตั กรรมดา้ น

ระบบอัตโนมตั ิ หุ่นยนต์ และระบบอจั ฉริยะ

- การสนับสนุนโครงการวิจัยพัฒนาเฉพาะทาง

และสร้างขีดความสามารถทางวิศวกรรมขั้นสูง

ด้านหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติและอุตสาหกรรม

๔.๐ เพ่ืออุตสาหกรรมการผลิต การเกษตรและ

การบริการในพ้ืนท่นี วตั กรรม ARIPOLIS

การดาเนินกิจกรรมการตลาด และประชาสมั พนั ธ์ - มี consortium ใน BIOPOLIS, ARIPOLIS และ

เพือ่ ดึงดดู นกั ลงทุน หนว่ ยงาน และผ้ปู ระกอบการ SPACE INNOPOLIS ไม่น้อยกว่า ๖ consortiums

เข้าร่วมเพ่ือให้เกิดกลไก consortium ใน

BIOPOLIS, ARIPOLIS และ SPACE INNOPOLIS

๖.๖ กลมุ่ พัฒนาและสรา้ งเสรมิ บุคลากรวิจยั

เป้าหมาย พัฒนาและสรา้ งเสรมิ บุคลากรวิจัยของประเทศ จากความรู้ ความสามารถของนักวิจัย หรอื โครงสร้าง
พื้นฐานหรือสาธารณูปโภคต่างๆ ที่ สวทช. ของ สวทช. เพ่ือเสริมศักยภาพและสร้างเสริมบุคลากรวิจัยของประเทศ
รวมทั้งพัฒนาบุคลากร วทน. ของประเทศในทุกระดับ ทั้งการสร้างขีดความสามารถและความเชี่ยวชาญ
ด้านเทคโนโลยี (Basic/Frontier research) และการนา วทน. มาแก้ปัญหาภาคอุตสาหกรรมและตอบโจทย์ความ
ต้องการของประเทศ ซึ่งแนวทางการเพ่ิมจานวนบุคลากรวิจัย ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การนาบุคลากรวิจัย

๖๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

จากต่างประเทศเข้ามาทางานในประเทศ การเพิ่มจานวนบุคลากรวิจัยในประเทศด้วยการสร้างเส้นทางสายอาชีพ
นักวิจัยท่ีดึงดูดให้คนสนใจเข้ามาทางาน การสร้างแรงบันดาลใจให้คนในประเทศสนใจอาชีพนักวิจัย ด้วยการ
เสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ ความสามารถด้าน วทน. ให้กับประชากรในประเทศในทุกระดับตั้งแต่ นักเรียน นักศึกษา
นักวิจัย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนินงาน และผลงานสง่ มอบ ดงั น้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
พัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - พัฒนาบัณฑิตและนกั วิจยั ๒๐๐ คน
โดยการพฒั นาบัณฑิตและนกั วิจยั อาชีพ ผ่านการให้ - บุคลากรท่ีได้รับการสนับสนุนทางด้านวิทยาศาสตร์
ทนุ การศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา ดังนี้ และเทคโนโลยีจะมีคุณภาพและความสามารถสูงขึ้น
- โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และ ซ่ึงจะทาให้เกิดผลงานทางวิชาการต่างๆ ท่ีสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์หรือก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในระบบ
เทคโนโลยไี ทย (TGIST) การพฒั นาและเทคโนโลยีของประเทศ
- โครงการสร้างปัญญาวิทย์ ผลิตนักเทคโน บัณฑิตท่ีได้รับทุนสามารถเป็นพ่ีเลี้ยงในการพัฒนา
ศักยภาพท่สี ูงข้นึ ให้แก่บณั ฑิตรนุ่ ต่อไป
(YSTP) - บั ณ ฑิ ต ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต ผ ล
- โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ งานวิจยั สู่สงั คม เศรษฐกิจ

และเทคโนโลยขี องเดก็ และเยาวชน (JSTP) - พัฒนากาลังแรงงานรุ่นใหม่ (STEM Workforce)
- โครงการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๕๐ คน

ชั้นสูงแห่งประเทศไทยกับสถาบัน เทคโนโลยี ก า ลั ง ค น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ด้ า น
แหง่ โตเกยี ว (TAIST-Tokyo Tech) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๕,๐๐๐ คน
- โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือการวิจัย ส่งเสริมบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเป็นศูนย์กลาง
และพัฒนาสาหรบั ภาคอุตสาหกรรม (NUI-RC) การพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านวิทยาศาสตร์และ
สร้างและพัฒนากาลังแรงงานรุ่นใหม่ (STEM - เทคโนโลยีของประเทศ โดยสามารถรองรับเด็กและ
Workforce) เพื่อการวิจัยและพัฒนาสาหรับ เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ากว่า ๑๕,๐๐๐ คน
ภาคอุตสาหกรรม เนน้ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ตอ่ ปี
พัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ -
เทคโนโลยี สาหรับเด็ก เยาวชน และครู
- ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ -
เทคโนโลยีสาหรับเด็ก เยาวชน เพ่ือสร้าง
ร า ก ฐ า น ข อ ง สั ง ค ม ท่ี มี ต ร ร ก ะ ท า ง ค ว า ม คิ ด
ร ว ม ทั้ ง พั ฒ น า ค รู แ ล ะ สื่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ า น
วิทยาศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการยกระดับ
คุณภ าพการจัดการเรียนการสอ น ด้ า น

๗๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
- บรหิ ารสถานทส่ี ่ิงอานวยความสะดวก ผลิตบอร์ด KidBright จานวน ๒๐๐,๐๐๐ ชุดเพื่อ
หอ้ งปฏิบัตกิ าร แหลง่ เรยี นรู้ ดว้ ยบริการทไ่ี ด้ กระจายแจกให้กับโรงเรียนจานวน ๑,๐๐๐
มาตรฐาน เพ่อื เป็นพ้ืนที่ให้เด็ก เยาวชน โรงเรยี น
นักศกึ ษา เข้ามาทากิจกรรม พัฒนาช้นิ งาน จดั การอบรมการใช้งานและส่งมอบบอรด์
โครงงาน เพิ่มพูนทักษะดา้ นวิทยาศาสตร์และ KidBright ให้กบั Trainer จานวน ๕๐๐ คน เพ่ือ
เทคโนโลยี และพบปะนกั วิทยาศาสตร์ นักวจิ ัย กระจายการอบรมย่อยในภมู ิภาคต่างๆ ทวั่ ประเทศ
พ่เี ลย้ี ง ภายใตแ้ นวคดิ ของ “Student จัดอบรมการใช้งานและส่งมอบบอร์ด KidBright
Center” ให้กับโรงเรียนต่างๆ ในแต่ละภูมิภาคโดย Trainer
สื่อการสอนโปรแกรมม่ิงในโรงเรียน (“Coding at - จานวน ๑,๐๐๐ โรงเรียน
School” Project) จัดกิจกรรมการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์โดย
ใช้บอรด์ KidBright ประกอบการทางาน
- จั ด กิ จ ก ร ร ม ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล โ ค ร ง ก า ร
“Coding at school” Project
- เด็กและเยาวชนเขารวมกิจกรรม มากกว่า ๔,๐๐๐
คน ใน ๓ ป (๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
- ครูเขารวมกิจกรรม มากกว่า ๒๐๐ คน ใน ๓ ปี
(๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
- เด็กและเยาวชนที่ร วมกิจกรรม เรียนต อด าน
วศิ วกรรมศาสตร มากกวา่ ๕๐%
โรงประลองตนแบบทางวิศวกรรม (Fabrication - โรงเรียนเขารวมกิจกรรม มากกวา่ ๔๐ โรงเรียน

Lab) เพ่ือพฒั นาทักษะความเปนนวัตกรแกเด็กและ

เยาวชนไทย -

- สร้าง Fabrication Lab เพ่ือเป็นพื้นท่ีต้นแบบ

ในการเรียนรู้และนาไปพัฒนาต่อยอด โดยการ -

ปรับปรุง/จัดเตรียมพ้ืนท่ี และจัดหาเครื่องมือ

อุปกรณ์ และวสั ดุ ที่เหมาะสม -

๗๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
- ประสานกบั หนว่ ยงานพนั ธมิตร ไดแ้ ก่
อาจารย์/นักวิจัยชั้นนาจากสถาบันท่ีมีช่ือเสียง
มหาวิทยาลยั ในพน้ื ท่ใี หเ้ ปน็ พ่ีเลีย้ งของ ในต่างประเทศ มาปฏิบัติงานในสถาบันวิจัย
โรงเรยี น/วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษา/เทคนิค ในประเทศไทย ๓ คน
ในภมู ภิ าค และ และประสานหนว่ ยงาน มี ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ นั ก วิ จั ย ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ จ า ก
ทีเ่ กย่ี วข้อง เพ่ือคัดเลือกโรงเรียน ต่างประเทศ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๕ คนต่อปี
- ดาเนินกิจกรรม สาหรับครู เด็กและเยาวชน
นักเรียน/นักศึกษา อย่างต่อเนื่อง และ บุคลากรวิจัยในสถานประกอบการเอกชนได้รับการ
ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น พฒั นา ไมน่ ้อยกวา่ ๒๕ คนต่อปี
นักเรียน/นักศึกษา ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด เดก็ และเยาวชนได้รบั การส่งเสริมการเรยี นรู้ ไม่น้อย
ในเวทีต่างๆ ท้ังระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ กวา่ ๒,๐๐๐ คนต่อปี
ตามความเหมาะสม
การพัฒนาบุคลากรรองรับการพัฒนาพ้ืนที่ระเบียง
เศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก
- การสนับสนุนอาจารย์/นักวิจัยชั้นนาจาก -
สถาบันท่ีมีชื่อเสียงในต่างประเทศ มา
ปฏิบตั งิ านในสถาบนั วจิ ยั ในประเทศไทย
- การพัฒนาความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจัย -
สถาบันอุดมศึกษา และอุตสาหกรรมในเขต
พัฒนาพิเศษตะวันออก กับนักวิจัยและ
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ (Post Doc และ
Visiting Professor)
- การพัฒนาทักษะความสามารถของบุคลากรใน -
ภาคเอกชนผ่านกลไก Train-the-Trainer
- การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ดา้ น วท ใหก้ บั โรงเรยี น -
ใน EEC (Inspiration, Motivation,
Creativity)

๗๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๗. แผนทรัพยากรประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๗.๑ บคุ ลากร
สวทช. ได้เสนอขออนุมัติจาก กวทช. ในการกาหนดกรอบอัตรากาลังคนเพ่ือปฏิบัติงานให้บรรลุตาม

เป้าหมายของแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ ๖ (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ไว้ที่จานวน ๓,๕๑๓ คน โดย ณ ส้ินปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๑ สวทช. มีกรอบอัตรากาลังคนรวมท้ังส้ินแล้ว ๒,๙๖๖ คน และในปี ๒๕๖๒ สวทช. จะมีนักเรียนทุน
กลับมาอีก ๑๘ คน และมีแผนความต้องการอัตรากาลังใหม่เพื่อดาเนินงานตามเป้าหมายที่วางไว้อีกจานวน ๒๖๖ คน
ดงั น้ัน คาดหมายวา่ ในปี ๒๕๖๒ สวทช. มีกรอบอัตรากาลังคนรวมทงั้ ส้นิ ๓,๒๕๐ คน

๗.๒ งบประมาณ
๗.๒.๑ แผนการใชจ้ ่ายเงินลว่ งหนา้ ของ สวทช. (๒๕๖๒ - ๒๕๖๖)
สวทช. มแี ผนงบประมาณรายจ่ายลว่ งหน้าระหวา่ งปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๖ แยกตามแผนการดาเนินงาน

ตามพันธกิจของ สวทช. ดังนี้

ลาดับ รายการ ๒๕๖๒ แผนค่าใช้จ่าย (หนว่ ย : ลา้ นบาท) ๒๕๖๖
๗,๘๐๕ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๑๓,๔๗๔
1 รายจา่ ยเพ่ือการดาเนนิ งาน ๒,๔๘๐ ๘,๖๗๒ ๙,๘๘๖ ๑๑,๕๓๐ ๓,๙๖๖
1.1 รายจา่ ยงบบคุ ลากร ๕,๓๒๕ ๒,๘๐๗ ๓,๑๖๙ ๓,๕๔๑ ๙,๕๐๙
1.2 รายจา่ ยงบดาเนินเนินงาน ๒,๑๕๑ ๕,๘๖๕ ๖,๗๑๗ ๗,๙๘๙ ๓,๙๑๘
๒,๓๖๖ ๒,๗๒๑ ๓,๒๖๕ ๑,๒๗๑
- การวิจยั วทน. ๖๙๘ ๑,๘๖๗
- การบริหาร RDI ๑,๐๒๕ ๗๖๘ ๘๘๓ ๑,๐๖๐
- การสร้างเสริมความสามารถในการแขง่ ขัน ๑,๑๒๘ ๑,๒๙๗ ๑,๕๕๖ ๑๗๒
- การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ และชมุ ชน ๘๔ ๘๒๕
- การพฒั นาและสรา้ งเสรมิ บคุ ลากรวจิ ยั ๔๕๓ ๑๐๐ ๑๒๐ ๑๔๔ ๕๙๐
- การบรหิ ารและ สง่ เสริมเขตนวัตกรรม ๓๒๔ ๔๙๘ ๕๗๓ ๖๘๘ ๘๖๔
- การบรหิ าร สนับสนนุ และ Shared Services ๕๙๐ ๓๕๖ ๔๑๐ ๔๙๒ ๙๖๘
2 รายจ่ายคา่ กอ่ สรา้ งและครภุ ัณฑ์อดุ หนนุ เฉพาะกิจ ๑,๙๑๗ ๖๔๙ ๗๑๔ ๗๘๕ ๑๔,๔๔๒
๙,๗๒๒ ๒,๓๙๐ ๑,๔๓๒ ๑,๒๑๐ ๓๐๐
รวมงบประมาณรายจา่ ย ๒๐๐ ๑๑,๐๖๒ ๑๑,๓๑๘ ๑๒,๗๔๐ ๒๕๐
3 รายจา่ ยเงินลงทนุ ในบริษทั ร่วมทนุ หนว่ ยบรกิ าร และเงินกดู้ อกเบี้ยตา่ ๒๕๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๗๔๙
4 รายจ่ายสารองฉกุ เฉิน ๔๕๖ ๒๕๐ ๒๕๐ ๒๕๐ ๑๕,๗๔๑
5 รายจ่ายเงินเพม่ิ พเิ ศษ* ๑๐,๖๒๘ ๕๒๔ ๕๙๔ ๖๖๙
๑๒,๑๓๖ ๑๒,๔๖๒ ๑๓,๙๕๙
รวมงบประมาณทั้งสิ้น

* หากไดร้ ับการอนมุ ตั ิจาก กวทช. และ กพร.

๗๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๗.๒.๒ แผนงบประมาณรายจ่ายประจาปี ๒๕๖๒
สวทช. มแี ผนงบประมาณรายจ่ายรวมปี ๒๕๖๒ จานวน ๙,๗๒๒ ล้านบาท รายจา่ ยลงทนุ ในบริษัท

ร่วมทุน หน่วยบริการ และเงินกู้ดอกเบี้ยต่า จานวน ๒๐๐ ล้าน รายจ่ายสารองฉุกเฉิน ๒๕๐ ล้านบาท บาท และ
รายจ่ายเงินเพ่ิมพิเศษ ปี ๒๕๖๒ จานวน ๔๕๖ ล้านบาท รวมท้ังส้ิน ๑๐,๖๒๘ ล้านบาท รายละเอียด
ดงั ตารางท่ี ๒

ตารางที่ ๒ แผนงบประมาณรายจา่ ยประจาปี ๒๕๖๒

รายการ งบประมาณ
(ล้านบาท)
รายจ่ายเพ่อื การดาเนนิ งาน
รายจา่ ยคา่ ก่อสร้างและครุภัณฑอ์ ุดหนนุ เฉพาะกจิ ๗,๘๐๕
๑,๙๑๗
รวม ๙,๗๒๒
รายจ่ายเงินลงทนุ และเงนิ กดู้ อกเบี้ยตา่
รายจ่ายสารองฉุกเฉนิ ๒๐๐
รายจา่ ยเงนิ เพมิ่ พิเศษ ปี ๒๕๖๒* ๒๕๐
๔๕๖
รวมท้งั หมด ๑๐,๖๒๘

* หากได้รบั การอนุมัตจิ าก กวทช. และ กพร.

 รายจ่ายเพอื่ การดาเนนิ งาน จานวน ๗,๘๐๕ ล้านบาท แยกตามหมวดรายจา่ ยตามตารางที่ ๓
 รายจา่ ยค่ากอ่ สร้างและครุภัณฑอ์ ุดหนนุ เฉพาะกิจ จานวน ๑,๙๑๗ ลา้ นบาท รายละเอียดดัง

ตารางที่ ๔
 รายจ่ายลงทุนในบริษัทร่วมทุน หน่วยบริการ และเงินกู้ดอกเบี้ยต่า สารองในการลงทุนไว้

๒๐๐ ลา้ นบาท
 รายจา่ ยสารองฉกุ เฉิน จานวน ๒๕๐ ลา้ นบาท
 รายจ่ายเงินเพ่ิมพิเศษ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒) หากได้รับการอนุมัติจาก กวทช. และ

กพร. จานวน ๔๕๖ ลา้ นบาท

๗๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ตารางที่ ๓ แผนงบประมาณรายจ่ายเพื่อการดาเนินงานจาแนกตามหมวดรายจา่ ย

หมวดรายจา่ ย งบประมาณ
(ลา้ นบาท)
เงินเดอื นและคา่ จา้ ง
คา่ ตอบแทน ใชส้ อย และวสั ดุ ๒,๔๘๐
ค่าสาธารณูปโภค ๓,๕๖๔
เงนิ อุดหนนุ
รายจา่ ยอ่นื ๑๙๑
๑,๒๑๐
รวมทง้ั หมด
๓๖๐
๗,๘๐๕

ตารางท่ี ๔ แผนรายจา่ ยลงทุน (ทด่ี ิน/ครภุ ัณฑ/์ สงิ่ ก่อสรา้ ง) ของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

รายการแผนรายจา่ ยลงทุน (ทดี่ ิน/ครุภัณฑ/์ ส่ิงก่อสร้าง) งบประมาณ
(ล้านบาท)
งบอดุ หนุนเฉพาะกจิ ปี ๒๕๖๒
- การเสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์กลางบริการวิเคราะห์ทดสอบเพ่ือให้บริการภาคเอกชนในเมืองนวัตกรรม ๑,๐๐๐
๘๙
อาหาร
- จดั ตั้งศูนย์ชวี นวตั กรรมและวศิ วกรรมชวี ภาพ ๔๔๑
- จัดตั้งศูนยว์ ิจัยและพฒั นาระบบไซเบอร์-กายภาพ ๘๐
- จัดต้ังศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาวิทยาศาสตรก์ ารคานวณ ๔๖
- ค่าก่อสรา้ งกลมุ่ อาคารเมอื งนวตั กรรมภาคตะวันออก Phase 1A อาเภอวงั จันทร์ จังหวดั ระยอง ๒๒๘
- คา่ ควบคมุ งานก่อสรา้ งกลุ่มอาคารเมืองนวตั กรรมภาคตะวันออก Phase 1A อาเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ๑๑
- ครุภณั ฑเ์ สรมิ สร้างขดี ความสามารถการวิจยั เพื่อตอบโจทยป์ ระเดน็ มุง่ เนน้ ๘๐
- ระบบครภุ ณั ฑ์ศนู ย์ทดสอบผลิตภัณฑ์เคร่อื งใชใ้ นบา้ นและเซรามกิ อตุ สาหกรรม ๒๕
งบลงทุนตอ่ เนอ่ื ง ภายใต้โครงการ Big Rock (งบกลาง ปี ๒๕๖๑) ๗๔๐
- โรงประลองตน้ แบบทางวิศวกรรม เพอื่ พฒั นาทักษะความเป็นนวตั กรแกเ่ ด็กและเยาวชนไทย ๕
- ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแหง่ ชาตเิ พื่ออนรุ กั ษ์ วจิ ยั และใช้ประโยชน์ ๕๖๙
- นวตั กรรมเทคโนโลยีกา้ วหนา้ เพอ่ื การผลติ สมุนไพร ๑๗๖
งบลงทุนก่อสร้างผกู พันยกมา ๑๑
- การก่อสร้างเพอื่ สนบั สนุนการสร้างขดี ความสามารถของศูนย์/หน่วยปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัย/หนว่ ยวิเคราะหท์ ดสอบ ๑๑

อาทิ ค่าออกแบบศนู ยบ์ รกิ ารงานวศิ วกรรมและทดสอบ และอุปกรณร์ ะบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรห์ ลกั (ICT
Common Infra) เปน็ ต้น

๗๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

รายการแผนรายจา่ ยลงทนุ (ท่ีดิน/ครภุ ัณฑ/์ สิ่งกอ่ สร้าง) งบประมาณ
(ลา้ นบาท)
งบลงทนุ กอ่ สร้างใหม่
- การก่อสร้างเพ่ือสนับสนุนการสร้างความสามารถของศูนย์/หน่วยปฏิบัติการวิจัย/หน่วยวิเคราะห์ทดสอบ ๑๕๖
๑๕๖
อาทิ ค่าก่อสร้างศูนย์บริการงานวิศวกรรมและทดสอบ ค่าปรับปรงุ พ้ืนที่โรงงานต้นแบบชีวภาพ ค่าปรับปรงุ
พ้นื ท่ีสาหรับงานวิจยั ด้านแบตเตอรแ่ี พค็ และคา่ ปรับปรงุ อาคารโยธี เป็นตน้ ๑,๙๑๗

รวมทง้ั หมด

๗.๒.๓ แหล่งงบประมาณสาหรับใช้จา่ ยในปี ๒๕๖๒ ประกอบด้วย

 เงินงบประมาณแผ่นดินประจาปี สวทช. ได้ผ่านการพิจารณากรอบงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ จากคณะกรรมธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สภานติ บิ ญั ญัตแิ ห่งชาติ คาดว่าจะได้รบั การจดั สรร
งบประมาณแผ่นดนิ เป็นจานวนทง้ั สน้ิ ๔,๕๒๘ ล้านบาท โดยแบง่ เปน็ เงนิ อดุ หนุนทว่ั ไปจานวน
๓,๕๒๘ ล้านบาท และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (งบลงทุน) จานวน ๑,๐๐๐ ล้านบาท
ดงั ตารางที่ ๕

 เงินรายได้จากการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. ตั้งเป้าหมายที่จะมี
รายไดจ้ ากการดาเนินงาน จานวน ๒,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดงั ตารางที่ ๖

 เงินจากกองทุนพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาหรบั ดาเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๒ จานวน ๔,๑๐๐ ลา้ นบาท รายละเอียดตารางที่ ๗

ตารางท่ี ๕ งบประมาณท่ีได้รับการจดั สรรจากสานักงบประมาณ

รายการงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒
(ลา้ นบาท) (ล้านบาท)
๑. อุดหนนุ ทั่วไป (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท)
๑.๑ เงนิ เดือน ๓,๔๘๘ ๓,๕๒๘
๒,๘๘๓ ๓,๑๘๑ ๑,๑๐๗ ๑,๑๖๓
๑.๒ สวสั ดิการ และสาธารณปู โภค (ฐาน ๒,๗๗๔ คน) (ฐาน ๒,๘๐๐ คน)
๑.๓ อุดหนนุ ส่วนท่เี หลือ ๑,๐๓๐ ๑,๐๘๘
๒. อุดหนุนเฉพาะกจิ ๑๖๕ ๑๖๘
(ฐาน ๒,๖๙๒ คน) (ฐาน ๒,๗๑๙ คน) ๒,๒๑๖ ๒,๑๙๗
รวม ๑,๐๐๐
๑๖๑ ๑๖๐ ๔๔๘ ๔,๕๒๘
๓,๙๓๖
๑,๖๙๒ ๑,๙๓๓

๑๙๘ ๒๒๓

๓,๐๘๑ ๓,๔๐๔

๗๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ตารางที่ ๖ ประมาณการรายรับจากการดาเนนิ งาน ในปี ๒๕๖๒

รายรับแยกตามประเภท ผล ผล ผล ไตรมาส ๓ (หน่วย : ลา้ นบาท)
ปี ๒๕๕๙ ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ประมาณการ แผน
๑. กจิ กรรมพน้ื ฐาน ๑,๑๑๑.๗๗ ๗๖๑.๖๐ ผลปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒
อุดหนนุ รับ ๙๑๕.๒๓ ๒๗๔.๔๕
รับจา้ ง/ร่วมวจิ ยั ๓๓๐.๘๖ ๔๔๙.๘๒ ๑๓๔.๑๖ ๑,๐๙๐.๑๗ ๑,๒๐๐.๐๐
ลิขสทิ ธิ/์ สทิ ธปิ ระโยชน์ ๒๑๙.๙๘ ๒๑๐.๐๘ ๑๑.๐๖ ๓๙๕.๔๗ ๔๕๐.๐๐
บรกิ ารเทคนคิ /วชิ าการ ๒๗.๖๔ ๒๔.๕๕ ๑๓๓.๖๗ ๒๒๔.๘๑ ๒๓๐.๐๐
ฝกึ อบรม/สัมมนา/นทิ รรศการ ๑๔๘.๙๗ ๑๗๐.๑๕ ๕๔.๖๒ ๑๘.๐๐ ๒๕.๐๐
คา่ เช่าและบรกิ ารสถานที่ ๒๙.๖๖ ๗๓.๕๐ ๑๕๓.๖๔ ๑๖๗.๙๑ ๑๘๐.๐๐
๒. นโยบายรฐั / สวทช. ๑๕๘.๑๒ ๑๘๓.๖๗ ๙๒๕.๙๕ ๘๗.๑๒ ๙๕.๐๐
เงนิ สนบั สนุนการพฒั นา ว และ ท เพอ่ื การ ๙๐๐.๓๙ ๘๔๙.๗๖ ๑๙๖.๘๖ ๒๒๐.๐๐
พฒั นาทักษะ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ๑๐๔.๘๑ ๙๒๕.๙๕ ๗๐๐.๐๐
หน่วยภาครัฐ (Block Grant) ๓๕๙.๓๗ ๓๓๓.๓๕
งบประมาณเพิม่ เตมิ ระหว่างปี - ๑๐๔.๘๑ ๑๓๓.๐๐
รวมรายได้จากความสามารถ (๑)+(๒) ๔๖๖.๖๓ ๓๕๙.๒๗ ๘๒๑.๑๔
๓. อน่ื ๆ เชน่ ดอกเบีย้ ค่าปรับ เบด็ เตลด็ ๗๔.๓๙ ๑๕๗.๑๔ ๑,๖๘๗.๕๕ - ๕๖๗.๐๐
๑,๘๑๕.๖๒ ๑,๙๖๑.๕๓ ๕๖.๔๙ ๘๒๑.๑๔
รวมรายได้ทัง้ สนิ้ (๑)+(๒)+(๓) ๙๐.๗๐ (๙๗.๓๗)* ๑,๗๔๔.๐๔ ๒,๐๑๖.๑๒ ๑,๙๐๐.๐๐
*เงินเหลือจ่ายส่งคืน (นักเรยี นทุน) ๑๖๙ ล้านบาท ๑,๙๐๖.๓๒ ๑,๘๖๔.๑๖ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๒,๐๙๖.๑๒
๒,๐๐๐.๐๐

ตารางท่ี ๗ สถานภาพของเงินสดคงเหลือในกองทุนพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายการ จานวนเงิน
(ลา้ นบาท)
เงินสดคงเหลอื ในกองทนุ พัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประมาณการ
ณ สิ้นปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๔,๑๐๐
เงนิ ทีม่ ภี าระผกู พนั ใช้จา่ ยในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป
เงินทีน่ ามาเปน็ ค่าใช้จา่ ยดาเนนิ งานในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑,๔๔๖
๔,๑๐๐

๗๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๘. ตวั ชี้วดั ความสาเร็จ ของ สวทช. ปี ๒๕๖๒

๘.๑ ตวั ชีว้ ัดผลการดาเนินงานตาม Balanced Scorecard
สวทช. ได้กาหนดตัวช้ีวัดผลการดาเนินงานตามหลักการของ Balanced Scorecard เพ่ือให้เห็น

ผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินงานแบบสมดุล โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. ได้มีการจัดทาตัวชี้วัดผลการ
ดาเนินงานขององค์กรตามหลักการ Balanced Scorecard ดงั แสดงในตารางท่ี ๘

ตารางท่ี ๘ ตวั ช้วี ัดผลการดาเนินงานของ สวทช. ตามหลกั การของ Balanced Scorecard ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

มุมมอง ตวั ชี้วัดของ สวทช. ปีงบประมาณ เป้าหมาย นา้ หนกั
ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ น พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๐
๑๕
เสีย KS1-A มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ๔.๖ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉล่ีย ปี ๒๕๖๐ ถึง ๒๕๖๒
๒๐
พันธมิตร/ และสังคมของประเทศที่เกิดจากการ (ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ลา้ นบาท) ๑๕
ลูกค้า/การเงนิ นาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ ๑๕
กระบวนการ ๑๕
KS1-C การพัฒนาเขตนวัตกรรม - มี consortium ใน BIOPOLIS, ARIPOLIS,
ภายใน SPACE INNOPOLIS ไม่นอ้ ยกว่า ๖ consortiums
ความสามารถ ร ะ เ บี ย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ ภ า ค นาต้นแบบระบบเกษตรสมัยใหม่ไปใช้ใน ๕๐
ขององคก์ ร ชมุ ชน
ตะวันออก -

- พัฒนาบุคลากรภาคเกษตรให้เป็นเกษตรกร
สมยั ใหม่ ๘๐ คน

- พัฒนาบุคลากรวิจัยและนักเรียนในพื้นที่ รวม
๒,๐๐๐ คน

- ยกระดับความสามารถเทคโนโลยี SMEs และ
startup ในพน้ื ท่รี วม ๑๐๐ ราย

KS2 สดั สว่ นรายไดต้ ่อคา่ ใชจ้ ่าย ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๒๕

KS3 ร้อยละของทรัพยส์ ินทางปัญญา จานวน license สะสม เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ ๑๐
ท่มี กี ารนาไปใช้ จากปีทผ่ี ่านมา (ประมาณ ๔๕ รายการ)
KS4 การปรบั สวทช. เข้าสู่โครงสร้าง มกี ลไกในการกากับดูแลสอดคลอ้ งกับหลักการของ
กระทรวงใหม่
KS5 ความสามารถขององคก์ รในการ โครงสร้างกระทรวงใหม่
บริหาร กากับและประเมินผลท่ี การทางานแบบบรู ณาการ (cross-discipline)
สอดคล้องกับระบบของกระทรวง
ใหม่

๗๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๘.๒ ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานตามคารับรองการปฏิบัติการราชการ และตัวช้ีวัดที่ได้ตกลงไว้กับหน่วยงาน
ภายนอก

สวทช. มีเป้าหมายตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงานตามคารับรองการปฏิบัติการราชการต่อ
กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วท.) และตัวชีว้ ดั ที่ไดต้ กลงไว้กับหน่วยงานภายนอก ได้แก่ สานักงบประมาณ
(สงป.) และกรมบัญชกี ลาง (บก.) ดงั มรี ายละเอยี ดในตารางที่ ๙

ตารางท่ี ๙ ตวั ชี้วัดท่ี สวทช. เสนอกระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) สานกั งบประมาณ (สงป.) และ
กรมบญั ชีกลาง (บก.) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ค่าเปา้ หมายปี ๒๕๖๑ ผลการ คา่ เป้าหมายปี ๒๕๖๒
วท. สงป. บก. (ที่ระดับ
ตัวช้วี ดั วท. สงป. กบ. (ทีร่ ะดับ ดาเนินงาน
คะแนน ๕) ๙ เดอื น คะแนน ๕)

๑. แผนงานพ้ืนฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

๑.๑ ผลผลติ การบริหารและใช้ประโยชนอ์ ทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย

รายได้จากความสามารถ (ล้านบาท) - - ๑,๗๕๐ ๑,๖๘๗.๕๕ - - ๒,๐๐๐

รายไดจ้ ากความสามารถตอ่ คา่ ใช้จ่ายดาเนินงาน (เท่า) - - ๐.๔๐ ๐.๔๙ -- -

ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การ (เทา่ ) -- - - - - ๔.๒๗

ความพงึ พอใจของผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี (รอ้ ยละ) - - ๘๐.๐๐ รายงานผล - - ๘๕.๐๐

สิ้นปี

ผลคะแนนเฉล่ยี ระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส (ITA) ในการ -- - - - - ๘๓

ดาเนนิ งานของ วท.

จานวนผู้ประกอบการทีใ่ ชบ้ รกิ ารในอุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย - ๑๔๕ - ๑๔๑ - ๑๕๐ -

(ราย)

ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ริการ (รอ้ ยละ) -- - - - ๘๕.๐๐ -

๒. แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม

จานวนความร่วมมือและการได้รบั ทุนในระดบั นานาชาติ (โครงการ) - - ๑๓ ๑๓ ๑๒ - ๑๔
๓๐ - -
จานวนนกั วิจยั ที่มีการแลกเปลย่ี นกบั ต่างประเทศ (คน) -- - - ๙- -

จานวนบคุ ลากรวิจยั และพฒั นาของ วท. ไดร้ บั รางวลั ที่มชี ือ่ เสยี งระดบั - - - -

ภมู ภิ าค (คน)

จานวนหลกั สูตรดา้ น วทน. ท่ี วท. ร่วมพฒั นา และสามารถมอบ - - - - ๓- -

ปริญญาบตั ร (หลกั สตู ร)

มูลคา่ โครงการวิจัยทผ่ี า่ นการตรวจสอบและรับรองโครงการวิจยั และ - - - - ๑,๔๐๐ - -

พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกเว้นภาษีเงินไดน้ ติ บิ คุ คล

สาหรบั รายจา่ ยเพอื่ การวจิ ยั และพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม

(บาท)

๒.๑ ผลผลิตสง่ เสริมการถา่ ยทอดเทคโนโลยี

จานวนผลงานวจิ ัยทีถ่ า่ ยทอดสเู่ ชิงพาณิชย์ (ผลงาน) - ๓๐ - ๒๓ - ๓๕ -
- ๖๐ -
เกษตรกรตน้ แบบทม่ี ีการใช้เทคโนโลยเี กษตรอัจฉรยิ ะ (ชมุ ชน) -- - -

๗๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

คา่ เปา้ หมายปี ๒๕๖๑ ผลการ คา่ เป้าหมายปี ๒๕๖๒

ตัวชี้วดั วท. สงป. กบ. (ทร่ี ะดับ ดาเนินงาน วท. สงป. บก. (ทร่ี ะดบั

คะแนน ๕) ๙ เดอื น คะแนน ๕)

๒.๒ ผลผลติ สง่ เสริมการเรียนรู้และพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กาลงั คนท่ีไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ - ๑๒,๓๒๙ - - -

นวัตกรรม (คน)

จานวนบคุ ลากรไดร้ ับการสง่ เสริมการเรียนรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ -- - ๒,๕๐๐ -

เทคโนโลยี และนวตั กรรม (ราย)

๒.๓ ผลผลิตโครงสร้างพ้นื ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรม

จานวนการให้บรกิ ารวเิ คราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ และบรกิ ารขอ้ มูล ๓๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ - ๑๘๕,๔๙๐ ๓๐๕,๐๐๐ -

ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายการ)

๓. แผนงานบูรณาการพัฒนาอตุ สาหกรรมศักยภาพ

จานวนบริษัทท่ีเขา้ มาใชป้ ระโยชน์ในเขตอตุ สาหกรรมศักยภาพ (ราย) ๘๒ - - ๘๕ ๘๕ -

มูลค่าการลงทุนวิจัยของบริษทั ท่ีมาใชป้ ระโยชน์ในเขตนวตั กรรม - - - - ๒๔๐ - -

(ลา้ นบาท)

จานวนผลงานดา้ นนวัตกรรมทเี่ กิดขนึ้ ในพนื้ ท่เี ขตนวตั กรรม (ผลงาน) - - - - ๒๐ - -

๓.๑ โครงการเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ในอทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทยยชน์

ผปู้ ระกอบการดา้ นอาหารรายเดิมทม่ี คี วามสามารถในการสร้างรายได้ - ๑๐ - ๑๐ - ๑๐ -

สงู (ราย)

การสนับสนนุ ให้ผปู้ ระกอบการมกี ารพฒั นาผลิตภัณฑ์ หรือ - ๑๐ - ๑๐ - ๒๐ -

กระบวนการท่ีเปน็ นวตั กรรม หรือมีการรบั ถ่ายทอดเทคโนโลยี

(โครงการ)

การใหบ้ รกิ ารทดสอบสนับสนุนการพฒั นาผลติ ภณั ฑม์ ลู คา่ สูงแก่ - ๑๐๐ - ๑๑๖ - ๑๒๐ -

อตุ สาหกรรมอาหาร (รายการ)

๔. แผนงานบูรณาการส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

จานวน SMEs ท่ไี ด้รบั การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรม - - ๔๕๐ ๙๖๒ - - ๘๐๐

(โครงการ)

๔.๑ โครงการพฒั นาทกั ษะการสรา้ งนวตั กรรมดิจทิ ลั เพือ่ นักศึกษาฝกึ งานธรุ กจิ เริม่ ต้น

นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลท่วั ไป ได้รบั การเสรมิ สรา้ งความรู้ ความ - ๗๕ - ๑๗๗ - - -

ตระหนัก เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในการสร้างนวตั กรรมดิจทิ ัล (ราย)

๔.๒ โครงการสร้างและพัฒนาผปู้ ระกอบการใหมด่ า้ นเทคโนโลยีและนวตั กรรม

ผปู้ ระกอบการใหมท่ ไ่ี ดร้ บั การส่งเสริม (กิจการ) - ๓๐ - - - ๒๐ -

๔.๓ โครงการยกระดับขดี ความสามารถของศูนย์บม่ เพาะและพฒั นานกั ลงทนุ เพอ่ื ธุรกจิ และนวตั กรรมใหม่

ศนู ยบ์ ม่ เพาะท่เี ข้ารว่ มโครงการไดแ้ นวทางในการพัฒนาผปู้ ระกอบการ - ๕ - - -๕ -

ได้เหมาะสมมากขึน้ (ศูนย์)

พัฒนาศักยภาพการลงทุนให้กับนักลงทนุ และธุรกจิ (คน) - ๒๕ - - - ๒๕ -

๔.๔ โครงการสรา้ งผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ นวัตกรรมใหม่ (Startup Voucher)

ธรุ กิจทเี่ ขา้ สกู่ ระบวนการเรง่ การเจริญเติบโต (กิจการ) - ๘๐ - ๔๘ ๖๔ -

๔.๕ โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และการประกอบธุรกจิ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) ดว้ ยเทคโนโลยีการออกแบบเชงิ วิศวกรรมและเทคโนโลยี

ผปู้ ระกอบการได้รับการพฒั นาศกั ยภาพในการพัฒนากระบวนการ - ๒๐ - ๒๓ --

๘๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ค่าเป้าหมายปี ๒๕๖๑ ผลการ ค่าเปา้ หมายปี ๒๕๖๒

ตวั ช้วี ดั วท. สงป. กบ. (ที่ระดับ ดาเนินงาน วท. สงป. บก. (ทร่ี ะดบั

คะแนน ๕) ๙ เดือน คะแนน ๕)

ผลิตในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร (กิจการ)

ผปู้ ระกอบการได้รบั การส่งเสรมิ และพฒั นาความรู้ด้านเทคโนโลยี - ๑๐๐ - ๑๑๓ - - -

ดิจิทลั ในการสนบั สนุนธุรกิจ (คน)

๔.๖ โครงการพัฒนาศักยภาพการวิจยั และพัฒนาผลิตภณั ฑฮ์ าลาลของอุตสาหกรรมไทย

ผลติ ภัณฑ์ใหมท่ ม่ี ีความพร้อมในการขอการรับรองมาตรฐานฮาลาล - ๓๐ - ๒๘ - ๒๕ -

(ผลิตภณั ฑ์)

บคุ ลากรในภาคอุตสาหกรรมไดร้ บั การพฒั นาความร้ดู า้ นฮาลาล (คน) - ๘๐ - ๘๓ - - -

๔.๗ โครงการสนบั สนุนการพฒั นาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (Innovation and Technology Assistance Program : ITAP)

พัฒนาเทคโนโลยเี ชิงลกึ ใหก้ ับผปู้ ระกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ - ๑,๕๕๑ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ -

ขนาดยอ่ ม (SMEs) (ราย)

จานวนผลติ ภณั ฑ์ที่ไดร้ ับการพฒั นา (ผลติ ภัณฑ)์ - ๒๕๐ - ๒๙๑ - - -

๔.๘ โครงการสนบั สนุนผปู้ ระกอบการให้ไดร้ ับมาตรฐาน (Capability Maturity Model Integration : CMMI)

จานวนผูป้ ระกอบการซอฟตแ์ วรเ์ ข้ารว่ มโครงการ (ราย) - - - - -๖ -

๕. แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

จานวนฐานขอ้ มูลในรูปแบบดจิ ทิ ัล/บรกิ ารอัจฉริยะเพ่ือใหบ้ ริการ ๒ - - - -- -

ประชาชนและภาคธรุ กจิ (ฐานขอ้ มูล)

๕.๑ โครงการแพลตฟอร์ม CCTV เพอ่ื การแกป้ ญั หาจราจรและความมนั่ คงในเมอื งอจั ฉริยะ

เมืองตน้ แบบ Smart CCTV Platform (เมืองต้นแบบ) - ๑ - - -- -

ฐานข้อมูลปา้ ยทะเบยี นตามพิกดั และเวลา (ฐานข้อมลู ) - ๑ - - -- -

๕.๒ โครงการเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและอุปกรณท์ างการแพทย์

ตน้ แบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั และอุปกรณท์ างการแพทย์ระดบั ภาคสนาม - ๘ - ๓ -- -

(ต้นแบบ)

๕.๓ โครงการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการเชอื่ มโยงขอ้ มูลทะเบียนเกษตรอิเล็กทรอนกิ สเ์ พือ่ สนับสนนุ เกษตรไทย

ระบบเช่อื มโยงขอ้ มูล (ฐานขอ้ มูล) - ๑ - - -- -

ระบบขน้ึ ทะเบียนเกษตรกรอิเล็กทรอนกิ ส์เพื่อสนบั สนนุ เกษตรไทย - ๑ - - -- -

(แอปพลิเคชนั )

ระบบฟารม์ รู้ (ระบบ) - ๑ - - -- -

ระบบฟาร์มคลาวด์ (ระบบ) - ๑ - - -- -

๖. แผนงานบรู ณาการวจิ ยั และนวตั กรรม

มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และสังคมท่ีเกิดจากการนาผลงานวจิ ยั ๑๕,๐๐๐ - - ๒๒,๓๗๑.๔๔ ๒๕,๐๐๐ - -

และพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (ลา้ นบาท)

มูลคา่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศทเี่ กดิ จากการนา - - ๔.๒๐ ๓.๓๐ - - ๔.๔๐

ผลงานวจิ ัยและพฒั นาไปใชป้ ระโยชน์ (เทา่ )

จานวนบทความที่ตีพมิ พแ์ ละเผยแพร่ในวารสารวชิ าการระดบั ชาตแิ ละ ๕๕๐ - - ๑๓๔ ๕๕๐ - -

นานาชาติ (บทความ)

จานวนผลงานวจิ ยั พฒั นา และนวตั กรรมท่สี ามารถนาไปยนื่ ขอจด ๒๕๐ - - ๑๒๑ - - -

ทะเบียน (เร่ือง)

๘๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ค่าเป้าหมายปี ๒๕๖๑ ผลการ คา่ เป้าหมายปี ๒๕๖๒

ตัวช้วี ดั วท. สงป. กบ. (ทรี่ ะดับ ดาเนินงาน วท. สงป. บก. (ท่รี ะดับ
คะแนน ๕) ๙ เดอื น
คะแนน ๕)

จานวนผลงานวจิ ยั พฒั นาและนวัตกรรมทส่ี ามารถนาไปย่นื ขอจด - - -- ๓๓๔ - -

ทรพั ย์สินทางปัญญา / บญั ชีนวัตกรรมทค่ี ณะกรรมการตรวจสอบ

คุณสมบัตผิ ลงานนวตั กรรมที่ขอขึน้ ทะเบยี นบัญชีนวตั กรรมไทยอนุมัติ

และจัดส่งขอ้ มูลให้สานักงบประมาณแลว้

สัดส่วนทรพั ยส์ ินทางปญั ญาตอ่ บคุ ลากรวิจัย (คาขอ/ ๑๐๐ คน/ปี) - - ๒๐ ๙.๕๘ -- ๒๐
-- -
จานวนบคุ ลากรดา้ นการวิจยั และพัฒนา (คน) ๑,๖๒๕ - - ๑,๒๖๔ -- ๒๖๐

จานวนผลงานวจิ ัยและองคค์ วามร้ทู น่ี าไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต - - ๒๖๐ ๑๓๗ ๒๕ - -

ภาคบรกิ าร ภาคเกษตรกรรม และภาคสงั คมชุมชน (รายการ) ๑- -

รอ้ ยละของผลงานวิจยั และพัฒนาท่ผี ู้ประกอบการ หรอื ชมุ ชนนาไปใช้ ๒๓ - - ๑๐.๘๑

ประโยชน์ (รอ้ ยละ)

จานวนนวตั กรรมทางสงั คมและนวตั กรรมสาหรบั ผสู้ ูงอายุ และผพู้ กิ าร - - --

ท่ผี ลติ ได้เองภายในประเทศมจี านวนเพม่ิ ขึ้น

๖.๑ โครงการวจิ ัยและพฒั นาเพอ่ื อุตสาหกรรมเทคโนโลยฐี านชวี ภาพ (Future Technologies for Bio-based Industry)

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (เรอื่ ง) -๒ - ๒ -- -
-- -
ตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์/เทคโนโลยี/กระบวนการ เพื่ออตุ สาหกรรมฐาน - ๑๐ - ๕

ชีวภาพ (เร่อื ง)

๖.๒ โครงการเตรยี มความพร้อมเพอ่ื การพฒั นาพื้นท่นี วตั กรรมใหมใ่ นเขตระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก

แผนการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานเพ่ือส่งเสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยแี ละ - ๑ - - -- -
-- -
การใชง้ านเทคโนโลยีสมัยใหม่ในประเทศไทย (แผน)

แผนการพฒั นากฎ ระเบียบ และมาตรฐานเพอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นา - ๑ - -

เทคโนโลยีและการใชง้ านเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นประเทศไทย (แผน)

๖.๓ โครงการวจิ ัยและนวัตกรรมในอุตสาหกรรมยุทธศาสตรเ์ ป้าหมาย

การวิจยั และนวตั กรรมสอดคลอ้ งกับอตุ สาหกรรมและคลสั เตอร์ - ๘ - ๘ -- -

เป้าหมาย (เรื่อง)

๖.๔ โครงการวจิ ยั และนวัตกรรมข้อริเรมิ่ ใหม่ตามนโยบายรฐั บาล

ตน้ แบบเทคโนโลยีดา้ นประสิทธิภาพทรพั ยากรและพลังงาน (ต้นแบบ) - ๑๐ - ๗ -- -
- ๘๔ -
๖.๕ โครงการวจิ ัยและนวัตกรรมในอตุ สาหกรรมยทุ ธศาสตร์เปา้ หมาย -- -

จานวนผลติ ภัณฑ์และบริการนวัตกรรมทไี่ ดร้ บั การประกาศขน้ึ ทะเบยี น - ๖๐ - ๑๑๖

ในบญั ชีนวัตกรรมไทย (ผลงาน)

จานวนผลงานวจิ ยั ท่สี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการหน่วยงานภาครัฐท่ี - ๖๐ - ๖

ไดร้ ับการพัฒนา (รายการ)

๖.๖ โครงการวจิ ยั มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพฒั นาประเทศ

ผลงานวจิ ัยทีส่ ามารถนาไปประยกุ ตเ์ ปน็ แนวทางในการกาหนด - ๑๐ - ๗ -๘ -

นโยบายของหนว่ ยงานภาครฐั หรือตอ่ ยอดไปสกู่ ารใชป้ ระโยชน์

(เร่อื ง)

บุคลากรทีไ่ ด้รบั การพัฒนาหลกั สตู รท่ีเก่ยี วข้องกบั อุตสาหกรรมระบบ - ๑๐๔ - ๙๔ - ๘๐ -

ราง และระบบขนสง่ ทางราง (คน)

๘๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ค่าเป้าหมายปี ๒๕๖๑ ผลการ คา่ เปา้ หมายปี ๒๕๖๒
วท. สงป. บก. (ที่ระดบั
ตัวช้วี ดั วท. สงป. กบ. (ท่รี ะดบั ดาเนนิ งาน
คะแนน ๕) ๙ เดือน คะแนน ๕)

๖.๗ โครงการวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีฐานทีส่ าคัญ

บทความตีพิมพใ์ นวารสารนานาชาติ (ฉบบั ) - ๑๗๕ - ๕๒ - ๑๘๒ -
- ๗๔ -
ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาทย่ี น่ื จด (คาขอ) - ๕๐ - ๒๕

๖.๘ โครงการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขนั ของประเทศโดยพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานทางดา้ นคุณภาพ (NQI) เพ่อื นวตั กรรมไทย

ระบบทดสอบผลติ ภัณฑ์ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ครอื่ งมอื แพทยแ์ ละ - ๑ - - -- -

ยานยนต์ (ระบบ)

แผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานดา้ นคุณภาพท่หี นว่ ยงาน - ๑ - - -- -

ท่ีเกยี่ วขอ้ งนาไปปฏบิ ัติ (แผน)

๖.๙ โครงการพฒั นากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

พัฒนาบัณฑิตและนกั วจิ ยั (คน) - ๒๐๐ - ๑๖๗ - ๑๕๐ -
-- -
สร้างและพัฒนาทกั ษะบณั ฑติ /กาลงั แรงงานให้มีประสบการณ์ทาวจิ ยั - ๑๕๐ - ๑๒๖

ร่วมกับภาคการผลติ และบรกิ าร (คน)

๖.๑๐ โครงการวจิ ัยและนวตั กรรมเพ่อื พัฒนาสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม

ผลงานวิจยั ทีส่ ามารถนาไปประยกุ ต์ เปน็ แนวทางในการกาหนด - - - -๖ -

นโยบายของหนว่ ยงานภาครฐั หรอื ตอ่ ยอดไปสู่การใชป้ ระโยชน์ (เรอื่ ง)

๖.๑๑ โครงการจัดตงั้ สถาบันวจิ ยั และนวตั กรรมแห่งชาติ

ศูนย์ชวี นวัตกรรมและวศิ วกรรมชีวภาพทพ่ี ร้อมเปดิ ทดลองระบบและ - - - - ๑๐ -
-๑ -
ให้บรกิ ารบางส่วน (กิจกรรม) - ๑๐ -

ศูนย์วิจัยและพฒั นาวทิ ยาศาสตร์การคานวณมพี ้ืนทพี่ ร้อมสาหรบั การ - - -

ติดตงั้ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (แห่ง)

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาระบบไซเบอร์-กายภาพท่มี ีหนว่ ยงานภาครฐั - - -

เอกชน และภาคการศกึ ษารับคาปรกึ ษาด้านระบบไซเบอร์-กายภาพ

(CPS) หรืออนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสิง่ (IoT) (หนว่ ยงาน)

๖.๑๑ โครงการวจิ ัยและนวัตกรรมเพ่อื ตอบโจทยก์ ารสร้างความม่ังคั่งทางเศรษฐกจิ

ผลงานวจิ ัยและเทคโนโลยีท่ีแลว้ เสร็จพรอ้ มนาไปใช้ประโยชน์ (เรอื่ ง) - - - - ๖๐ -

๗. แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคเกษตร

๗.๑ โครงการบริหารจัดการการผลติ สินคา้ เกษตรตามแผนที่เกษตรเพอ่ื การบริหารจัดการเชิงรกุ (Agri-Map)

ระบบ Agri-map สามารถแสดงผลผา่ น Mobile Application ๑ ๑ - ๑ -- -
-- -
(ระบบ) -๑ -

ส่อื การเรยี นร้อู งคค์ วามรูท้ างด้านการเกษตร สาหรับปลูกพชื ทดแทน - ๕ - -

หรอื พชื ทางเลอื ก สาหรับเกษตรกร และประชาชนท่วั ไป (เรอื่ ง)

ข้อมลู นาไปใช้ประกอบการปรับเปลย่ี นพ้ืนทีก่ ารผลติ ไม่เหมาะสมตาม - - - -

แผนการบูรณาการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ระบบ)

๘. แผนงานบูรณาการเสริมสรา้ งความเข้มแข็งและยงั่ ยนื ใหก้ ับเศรษฐกิจภายในประเทศ

๘.๑ โครงการพิเศษขนาดใหญพ่ ัฒนานวัตกรรม

จานวนชมุ ชนทไ่ี ดร้ ับการถา่ ยทอดเทคโนโลยี (ชมุ ชน) - ๓๕ - ๓๘ -- -
-- -
แบบกลมุ่ อาคารเมอื งนวัตกรรมชีวภาพภาคตะวนั ออก (EECi -๑ - -

๘๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

คา่ เป้าหมายปี ๒๕๖๑ ผลการ ค่าเป้าหมายปี ๒๕๖๒
วท. สงป. บก. (ที่ระดบั
ตวั ช้วี ดั วท. สงป. กบ. (ทรี่ ะดบั ดาเนนิ งาน
คะแนน ๕) ๙ เดอื น คะแนน ๕)

Biopolis) phase 1A (แบบพิมพ์เขียว)

แผนปฏบิ ตั ิการขบั เคลือ่ นการพัฒนาเมอื งนวตั กรรมชวี ภาพภาค - ๑ - - -- -

ตะวนั ออก (EECi Biopolis) (แผน)

แผนกิจกรรมการตลาดเพอ่ื ดงึ ดดู นักลงทุน หนว่ ยงาน และ -๑ - - -- -

ผู้ประกอบการ เข้ามาทางานในพืน้ ท่ีเมอื งนวตั กรรมชีวภาพภาค

ตะวันออก (EECi Biopolis) (แผน)

จานวนผปู้ ระกอบการ (SMEs) ฐานชวี ภาพท่ไี ด้รบั การยกระดับ - ๖๐ - ๔๖ -- -
-- -
ความสามารถทางเทคโนโลยี (ราย)

จานวนผปู้ ระกอบการใหม่ (Startup) ฐานชวี ภาพทเี่ ข้ารบั การบ่มเพาะ - ๑๐ - -

(ราย)

๙. แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากและชุมชนเขม้ แข็ง

จานวนผปู้ ระกอบการ/OTOP/ชุมชนที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ๙๐ - - ๑๓๙ ๑๐๐ - -

พัฒนายกระดบั คุณภาพผลิตภัณฑ์ (ชุมชน/ราย)

๙.๑ โครงการจดั การเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร

ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ่เู กษตรกร (ราย) - ๑,๘๙๐ - ๔,๙๖๕ -- -

๑๐. แผนงานบูรณาการพฒั นาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานทเ่ี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม

๑๐.๑ โครงการพัฒนาเทคโนโลยพี ลงั งานหมนุ เวียนและพลงั งานใหม่

ผลการศกึ ษาความเป็นไปได้การเผาไหม้ร่วมกับถ่านหนิ กรณีศกึ ษาที่ - ๑ - ๑ -- -
-- -
โรงไฟฟ้าแมเ่ มาะ (เรือ่ ง)

ต้นแบบระดับภาคสนาม กระบวนการ Torrefaction ขนาด ๑๐ kg/h ๑ ๑ - -

เพือ่ เตรียมชวี มวลใหพ้ รอ้ มใช้งาน (ต้นแบบ)

๑๑. แผนงานบูรณาการพฒั นาพื้นท่รี ะดบั ภาค

๑๑.๑ โครงการพฒั นาพน้ื ทีร่ ะเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก

จานวนชมุ ชนท่ไี ดร้ บั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (ชุมชน) -- - - - ๔๐ -
- ๑๕ -
ความกา้ วหนา้ ของการกอ่ สร้างกลมุ่ อาคารนวตั กรรมภาคตะวันออก - - - -
- ๓๐ -
Phase1 A (รอ้ ยละ)

ความก้าวหนา้ การเตรียมความพรอ้ มด้านเทคโนโลยีและข้อมูลดา้ น - - - -

ฟีโนไทปแ์ ละด้านพันธุกรรมเพ่อื รองรบั การพฒั นาเทคโนโลยเี กษตร

สมยั ใหมด่ ้านการปรบั ปรุงพันธพ์ุ ืช (รอ้ ยละ)

จานวนผลงานนวตั กรรมดา้ นระบบอตั โนมัติ หนุ่ ยนต์ และระบบ - - - - -๑ -

อัจฉริยะทถ่ี กู นารอ่ งใชป้ ระโยชนใ์ นพืน้ ทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจภาค

ตะวนั ออก (รายการ)

๑๑.๒ โครงการสง่ เสริมเกษตรกรให้มีการใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการผลติ และบริหารจัดการฟาร์มอยา่ งเป็นระบบ

จานวนชมุ ชนท่ีได้รบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (ชุมชน) -- - - - ๒๐ -
- ๒,๐๐๐ -
๑๑.๓ โครงการเพ่ิมศักยภาพการผลิตขา้ วหอมมะลิทุ่งกลุ าร้องไหส้ มู่ าตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์

จานวนเกษตรกรได้รับองคค์ วามรแู้ ละนาไปใช้ประโยชน์ (ครอบครวั ) - - - -

๘๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ภาคผนวก

ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล

การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการดาเนิน
ภารกจิ ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งและต่อเน่ืองในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติ การปฏิรูปประเทศ และนโยบายของรฐั บาล
ใหเ้ กิดผลสาเรจ็ อยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยมุง่ เน้นการเร่งเสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ การลด
ความเหล่ือมล้า การยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ควบคู่กับการสร้างความสามารถในการแข่งขันและการเสริมสร้าง
ศักยภาพคน ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุลท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ความม่ันคง ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งได้น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ และ
ดาเนินการตามแนวนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการพัฒนาประเทศและบทบัญญัติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ควบคู่กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๖๔) และนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๔) รวมท้ังการให้ความสาคัญกับการจัดทา
งบประมาณในลักษณะบูรณาการท่ีสอดคล้องและถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของร่างกรอบ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๔) กรอบแนวคิดการพัฒนาประเทศไปสู่
ประเทศไทย ๔.๐ แผนแม่บทอ่ืนๆ และนโยบายสาคัญของรัฐบาล รวม ๒๑ แผนงาน เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนินงาน
ของรฐั บาลไดอ้ ย่างต่อเน่อื งและเกิดผลอย่างเปน็ รูปธรรม

ทั้งนี้ หน่วยงานได้นายุทธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มาเป็น
กรอบแนวทางในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และเป็นการวางพื้นฐานเพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศในระยะยาวต่อไป โดยเป้าหมายการดาเนินงาน
และกิจกรรมของ สวทช. มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และยุทธศาสตร์
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดงั แผนภาพ

๘๕




Click to View FlipBook Version