The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วราพร จ่ากลาง, 2019-06-19 02:56:37

งบประมาณ

งบประมาณ

Keywords: Waraphon Chaklang

แผนการดาเนินงานและงบประมาณ
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

สานกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.)
สิงหาคม ๒๕๖๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

สารบัญ

๑. บทสรปุ ผู้บรหิ าร หน้า
๒. วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ และค่านยิ มหลกั ๓
๓. เปา้ หมายการดาเนนิ งานปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ๕
๔. กลยทุ ธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๒-๒๕๖๖ ๖
๕. สรุปผลดาเนนิ งานทีส่ าคญั ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๖
๖. แผนและเป้าหมายการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗
๑๒
๖.๑ กลุ่มวจิ ัย วทน. ๑๒
๖.๒ กลุ่มบรหิ ารการวจิ ัย พัฒนา และนวัตกรรม ๓๗
๖.๓ กลุ่มสรา้ งเสรมิ ความสามารถในการแข่งขนั ๕๙
๖.๔ กลุ่มสรา้ งเสริมขดี ความสามารถเกษตรชมุ ชน ๖๕
๖.๕ กลุ่มบรหิ ารและสง่ เสรมิ เขตนวตั กรรม ๖๘
๖.๖ กลมุ่ พัฒนาและสรา้ งเสริมบคุ ลากรวิจัย ๖๙
๗. แผนทรัพยากรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗๓
๗.๑ บคุ ลากร ๗๓
๗.๒ งบประมาณ ๗๓
๘. ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จของ สวทช. ปี ๒๕๖๒ ๗๘
๘.๑ ตวั ชวี้ ัดผลการดาเนนิ งานตาม Balanced Scorecard ๗๘
๘.๒ ตวั ชวี้ ัดผลการปฏบิ ัติงานตามคารบั รองการปฏบิ ัติการราชการ และตวั ช้วี ดั ท่ไี ดต้ กลงไวก้ ับ ๗๙

หน่วยงานภายนอก ๘๕
ภาคผนวก



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑. บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

สวทช. ดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับท่ี ๖ (ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซึ่งได้รับอนุมัติจาก
คณะกรรมการพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวนั ที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ และมีกาหนดการ
เสนอแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ (ปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖) เพ่ือขออนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์
ฉบับทบทวนนี้ สวทช. จาเปน็ ตอ้ งมีการปรบั เปลย่ี นบทบาทตัวเอง (self-disruption) เพอ่ื รองรับการเปลยี่ นแปลงให้
ทันและสอดคล้องกับสถานการณ์ จากแนวคิดการปรับโครงสร้างกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือรองรับ
การขับเคลอ่ื นสู่ “ประเทศไทย ๔.๐” ดังน้ัน แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ จึงเปน็ การกาหนดขอบเขตภาระ
งานของ สวทช. ให้สอดคล้องกับภารกิจท่ีต้องปรับตามสภาพแวดล้อมใน ๗ กลุ่มภารกิจ ซึ่งประกอบด้วย
(๑) กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) (๒) กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (RDI
management) (๓) กลุ่มสร้างเสริมความสามารถในการแข่งขัน (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน
(๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย และ (๗) กลุ่มบริหาร
สนับสนุน และ Shared services

ผลการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน สวทช. มีผลดาเนินการตามตัวชี้วัดท่ี
สาคัญ ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้
ประโยชน์ จานวน ๒๒,๓๗๑.๔๔ ล้านบาท หรือเท่ากับ ๓.๓๐ เท่าของค่าใช้จ่าย (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรม
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๖๗.๗๐ ของแผน (๓) รายได้จากความสามารถ เท่ากับ
๑๖๘๗.๕๕ ล้านบาท (๔) นาผลงานวิจัยและองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต ภาคบริการ
ภาคเกษตรกรรมและภาคสังคมชุมชน จานวน ๑๓๗ รายการ (๕) มีการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพงานวิจัย
และระบบสารสนเทศให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงระบบบริหารจัดการ และ e-Government ร้อยละ
๘๑.๕๘ ของแผน (๖) มีการสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกสนับสนุนการดาเนินงานในภารกิจสาคัญ
ประกอบดว้ ย กลไกการบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ และกลไกการบรหิ ารศักยภาพและความสามารถ
บุคลากรวจิ ยั ร้อยละ ๗๗.๐๐ ของแผน

แผนการดาเนนิ งานปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. ดาเนนิ งานตามกลุ่มภารกจิ ใหม่ภายใตแ้ ผนกลยุทธ์
สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ ดังนี้ (๑) กลุ่มวิจัย วทน. เพ่ือสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีให้อยู่ในระดบั
แนวหน้า และสร้างความเข้มแข็งในสาขาท่ีมีความเช่ียวชาญในการตอบโจทย์การพัฒนาประเทศด้วย วทน. ใน ๖
สาขาเทคโนโลยีหลัก (pillars) ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and
Biotechnology), เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม (Materials and Engineering Technology), เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ (Electronics & Information Technology), นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(Nanoscience and Nanotechnology), เทคโนโลยีพลังงาน (Enery Technology) และงานตามวาระแห่งชาติ
(Agenda Based) รวมถงึ การพฒั นาและยกระดับโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (National S&T
Infrastructure) และโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคุณภาพของประเทศ (National Quality Infrastructure)
(๒) กล่มุ RDI management เพื่อบริหารวจิ ยั พัฒนา และนวตั กรรม ใหต้ อบสนองตอ่ ประเด็นท่เี ป็นวาระแห่งชาติ
(๓) กลุ่มสร้างเสริมความสามารถในการแข่งขัน เพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการใน
ภาคอุตสาหกรรมบนฐานการสร้างนวัตกรรม (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชน
หรือกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีมาแก้ไขปัญหาระดับท้องถิ่น (๕) กลุ่มบริหารและ
ส่งเสริมเขตนวัตกรรม บริหารจัดการเขตนวัตกรรมของประเทศ ได้แก่ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และเขตนวตั กรรมเพือ่ วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะดา้ น เพ่อื ส่งเสรมิ การพฒั นานวัตกรรมรว่ มกัน
ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย เพ่ือพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย
ของประเทศในทุกระดับ จากความรู้ ความสามารถของนักวิจยั หรอื โครงสร้างพ้นื ฐาน ของ สวทช. และ (๗) กลุม่ บริหาร
สนบั สนนุ และ Shared services บรหิ ารงานตามภารกจิ หลกั ขององค์กรใหบ้ รรลุเป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
และเป็นไปตามมาตรฐาน

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนงบประมาณรายจ่าย จานวน ๙,๗๒๒ ล้านบาท แยกเป็น
รายจ่ายค่าบุคลากร ๒,๔๘๐ ล้านบาท รายจ่ายเพ่ือการดาเนินงาน ๕,๓๒๕ ล้านบาท และรายจ่ายค่าก่อสร้างและ
ครุภัณฑ์อุดหนุนเฉพาะกิจ ๑,๙๑๗ ล้านบาท นอกจากน้ี ยังมีแผนงบประมาณรายจ่ายเพ่ือการลงทุนในบริษัท
ร่วมทุน หน่วยบริการ Holding Company และเงินกู้ดอกเบ้ียต่า ๒๐๐ ล้านบาท และรายจ่ายสารองฉุกเฉิน ๒๕๐
ล้านบาท โดยคาดการณ์รายรับจากการดาเนินงานของ สวทช. จานวน ๒,๐๐๐ ล้านบาท และมีแผนอัตรากาลังคน
ในปี ๒๕๖๒ จานวน ๓,๒๕๐ คน โดยมีเป้าหมายตวั ชีว้ ัดผลการดาเนินงาน ดังน้ี (๑) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศท่ีเกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ๔.๖ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉล่ียในปี ๒๕๖๐-
๒๕๖๒ หรือประมาณ ๓๐,๐๐๐ ล้านบาท (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(EECi) มี consortium ใน BIOPOLIS, ARIPOLIS และ SPACE INNOPOLIS ไม่น้อยกว่า ๖ consortiums
นาต้นแบบระบบเกษตรสมัยใหม่ไปใช้ใน ๕๐ ชุมชน พัฒนาบุคลากรภาคเกษตรให้เป็นเกษตรกรสมัยใหม่ ๘๐ คน
พัฒนาบุคลากรวิจัยและนักเรียนในพื้นที่ ไม่ต่ากว่า ๒,๐๐๐ คน และยกระดับความสามารถเทคโนโลยี SMEs และ
startup ในพ้ืนท่ีไม่ต่ากว่า ๑๐๐ ราย (๓) สัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕ (๔) ร้อยละของ
ทรัพย์สินทางปัญญาท่ีมีการนาไปใช้ (จานวนสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ์) เพ่ิมขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ จากปี
ท่ีผ่านมา (๕) การปรับ สวทช. เข้าสู่หน่วยงาน NISTI มีกลไกการกากับดูแลท่ีสอดคล้องกับหลักการของ NISTI
และ (๖) ความสามารถขององค์กรในการบริหาร กากับและประเมินผล ท่ีสอดคล้องกับระบบใหม่ของ NISTI
การทางานแบบบูรณาการ (cross-discipline)



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๒. วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และคา่ นยิ มหลกั

๑ วสิ ยั ทศั น์
สวทช. เป็นพนั ธมติ รร่วมทางท่ีดสี สู่ ังคมฐานความรู้ด้วยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๒. พนั ธกจิ
สวทช. มุ่งสร้างเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม จนสามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์

พรอ้ มส่งเสริมด้านการพฒั นากาลงั คน และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทจี่ าเป็น เพอ่ื สร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน โดยจัดให้มีระบบบริหารจดั การภายในท่ีมีประสิทธิภาพ
เพ่อื สนบั สนนุ การดาเนินงาน

๓. ค่านิยมหลัก

N = Nation First คานึงถึงประโยชน์ของชาติและส่วนรวมเป็นหลัก มีจิตสานึกและ
ความรับผดิ ชอบต่อสังคม มคี วามเสียสละ คดิ ถึงทศิ ทางของสว่ นรวม

S = Science and Technology Excellence การยึดมั่นในการสร้างความเป็นเลิศในทุกสิ่งที่ทา อันเกิดจากการ
ใฝร่ ู้ ริเร่มิ และสร้างสรรค์ ดว้ ยมาตรฐานสงู สุด

T = Team Work การทางานเป็นทีมท่ีพร้อมช่วยเหลือกัน ด้วยความเข้าใจห่วงใย
ซ่ึงกันและกัน และการสื่อสารสองทางเพ่ือเป้าหมายเดียวกัน
กล้าวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ เปิดใจ รับฟัง มีน้าใจ ห่วงใย พร้อม
แบ่งปัน

D = Deliverability ความมุ่งม่ันที่จะส่งมอบงานที่มีคณุ ภาพ ตรงตามคามน่ั สญั ญาเพอ่ื
ความพึงพอใจของลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก มุ่งเน้นผลลัพธ์
มคี วามมุ่งมัน่ กระตอื รือร้น ยดึ ถือคามัน่ สัญญา มีความคลอ่ งตวั

A = Accountability and Integrity เป็นมากกว่าความรับผิดชอบ เพราะหมายถึง ความมีจริยธรรม
โปร่งใส มีวินัยต่อกฎระเบียบ กติกา กล้ายืนหยัด ทาในส่ิงท่ีถูกต้อง
และความซอ่ื สตั ยต์ ่อองค์กรและสายงานอาชพี



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓. เปา้ หมายการดาเนนิ งานปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

 สร้างผลงานวิจัยท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศคดิ เปน็ มลู คา่ ไมต่ า่ กวา่ ๕ เท่าของค่าใช้จา่ ยเฉล่ียของ สวทช. ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

 ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การลงทนุ ในกจิ กรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยขี องภาคการผลติ ภาคบริการ และภาค
เกษตรกรรม เพมิ่ ข้นึ เปน็ ๒ เท่าของการลงทนุ ปี ๒๕๕๙

๔. กลยุทธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖

๑) พัฒนากลไกบูรณาการระหว่างกลุ่มวิจัย วทน. โดยขยาย และเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกในการทางานท่ี
สวทช. ได้เริ่มดาเนินการแล้ว ได้แก่ ประเด็นมุ่งเน้น และเทคโนโลยีฐานแบบบูรณาการ (integrated
technology platform)

๒) ผลักดันมาตรการ กลไกสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมไทยมีการลงทุนและใช้นวัตกรรม
มากข้ึน โดยดาเนินงานเชิงรุกร่วมกับกลุ่มงานอื่นในกระทรวง ได้แก่ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์
ในเรื่องกฎระเบียบ มาตรการการส่งเสริมและใช้ประโยชน์จากเคร่ืองมือท่ีมีอยู่แล้วใ ห้เกิดการใช้
นวัตกรรมมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจและสังคม เช่น การจัดต้ัง consortium บัญชีนวัตกรรม กลไก
holding company กฎหมาย regulatory sandbox, Bayh-Dole Act การพัฒนางานวิจัยจนสามารถ
กาหนดมาตรฐานเพื่อส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม รวมถึงการบูรณาการกับกลุ่มวิจัยด้านสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ และการอุดมศกึ ษา

๓) สร้างกลไกการทางานร่วมกับพันธมิตรในภูมิภาค ได้แก่ อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ( RSPs)
เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) และเสริมการทางานกับเขตส่งเสริม
นวัตกรรมเฉพาะทาง ได้แก่ เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) เขตนวัตกรรมบริการสุขภาพ
(Medicopolis) รวมถึงการขยาย สวทช. สูภ่ มู ภิ าค

๔) สง่ เสริมให้เกดิ การทางานท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงขององคก์ ร โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT)
เป็นเครอ่ื งมือในการบริหารให้เกิดการทางานท่มี ีประสิทธิภาพ การเคล่ือนยา้ ยของบุคลากร (mobilize)
ท่ีคล่องตัว การดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงส่งเสริมให้มีระบบการติดตามและ
ประเมินผล เพอื่ คณุ ภาพและจริยธรรมของงานวิจยั และงานบรกิ าร



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๕. สรปุ ผลดาเนนิ งานท่สี าคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นการดาเนินตามแผนกลยทุ ธ์ สวทช. ฉบบั ทบทวนท่ี ๖.๑ (ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
ซึ่ง สวทช. มุ่งเน้นการดาเนินงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) โดยดาเนินงานร่วมกับ
พันธมิตรท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้งในและต่างประเทศ ในการส่งมอบผลงานไปใช้ประโยชน์
สร้างผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ วทน. ต่อเศรษฐกิจและสังคม ตามตัวช้ีวัดเป้าหมายของแผนกลยุทธ์ ได้แก่
(๑) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ๔.๒ เท่าของ
ค่าใช้จ่ายปี ๒๕๖๑ (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) ดาเนินงานได้ตาม
แผนปฏิบตั ิการ EECi ปี ๒๕๖๑ และ ออกแบบชุดอาคารหลังแรกของ EECi แล้วเสร็จ (๓) รายได้จากความสามารถ
๑,๗๕๐ ล้านบาท (๔) การนาผลงานวจิ ยั และองคค์ วามร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ในภาคการผลิต ภาคบรกิ าร ภาคเกษตรกรรม
และภาคสังคมชุมชน ๒๖๐ รายการ (๕) มีเป้าหมายในการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพงานวิจัยและระบบ
สารสนเทศให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารจัดการและ e-government และ (๖) สร้างสภาพ
แวดล้อมและกลไกสนับสนุนการดาเนินงานในภารกิจสาคัญ ประกอบด้วยกลไกการบริหารผลตอบแทนและสิทธิ
ประโยชน์ และกลไกการบริหารศักยภาพและความสามารถบุคลากรวิจัยร้อยละ ๑๐๐ ของแผนปี ๒๕๖๑
ณ สิน้ เดอื นมิถนุ ายน ๒๕๖๑ (๙ เดือน) สวทช. มีผลการดาเนนิ งานท่สี าคัญโดยสรุปตามกลมุ่ ภารกจิ ดงั นี้

 กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) และกลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และ
นวัตกรรม สวทช. ดาเนินโครงการวิจัยและพัฒนา ๑,๓๖๘ โครงการ มีโครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จ
พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือเกิดองค์ความรู้ใหม่ จานวน ๓๑๑ โครงการ มีบทความตีพิมพ์
ในวารสารวิชาการนานาชาติ ๑๒๙ เรื่อง มีการยื่นขอจดทรัพย์สินทางปัญญา ๑๒๑ คาขอ ผลงานวิจัย
และนักวิจัยของ สวทช. ได้รับรางวัลและเกียรติยศ ๕๐ รางวัล มีการให้บริการโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๒๓๓,๒๔๑ คร้ัง และโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของ
ประเทศ จานวน ๓๐,๒๖๐ รายการ เกิดการสร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ๒๒,๓๗๑ ล้านบาท
รวมถึงผลกั ดันใหเ้ กิดการลงทุนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของภาคการผลติ และบริการ
๔,๗๗๗ ล้านบาท โดยมตี วั อยา่ งผลงานวจิ ยั ฯ ดงั นี้
o ตน้ เชือ้ บรสิ ุทธส์ าหรบั อาหารสัตว์หมกั ไบโอเทค สวทช. คัดเลอื กต้นเช้อื จลุ นิ ทรีย์ Lactobacillus
plantarum BCC 65951 ที่สามารถผลิตกรดแลคติกที่แยกได้จากอ้อยอาหารสัตว์หมักแบบ
ธรรมชาติมาทดลองหมักอ้อยอาหารสัตว์ ซ่ึงพบว่าอ้อยหมักท่ีได้มีคุณภาพดี มีความสม่าเสมอ
เก็บรกั ษาไวไ้ ด้นานขนึ้ และคณุ ภาพพืชหมักมคี วามแตกตา่ งอยา่ งชดั เจนกบั การหมกั แบบธรรมชาติ
หลังจากเก็บไว้เป็นเวลา ๓ – ๖ เดือน นอกจากน้ี ได้นาต้นเช้ือบริสุทธไ์ิ ปทดลองหมักหญ้าเนเปยี ร์
ปากช่อง ๑ ร่วมกับสถานีวิจัยพืชอาหารสัตว์ นครราชสีมา พบว่ากระบวนการหมักเกิดเร็วข้ึน



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ช่วยลดการสูญเสียคุณค่าทางโภชนาการ หญ้าหมักที่ได้มีคุณภาพดีขึ้น มีความสม่าเสมอ และเก็บ
รักษาได้นานขึ้นอีกด้วย ช่วยให้เกษตรกรสามารถผลิตอาหารคุณภาพไวเ้ ลย้ี งสัตวใ์ นช่วงขาดแคลน
อาหาร ปัจจุบนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีดงั กล่าวใหก้ ับบรษิ ทั เอกชนเพือ่ ผลิตและขายตน้ เช้ือบรสิ ุทธิ์แล้ว
โดยใช้ช่อื ทางการคา้ วา่ “Silage-pro”
o ระบบการผลติ แผ่นรองฝ่าเทา้ เฉพาะบคุ คลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เอ็มเทค สวทช. พฒั นาระบบ
เครือข่ายสาหรับเทคโนโลยีการผลิตแผ่นรองฝ่าเท้าเฉพาะบุคคลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยเพ่ิม
คุณภาพชวี ิตทด่ี ใี ห้กบั ผสู้ ูงอายุทเี่ ข้าร่วมโครงการ จานวน ๕๐๐ คน ป้องกันปัญหาเรื่องสุขภาพเท้า
หรือการเดินที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต การผลิตแผ่นรองฝ่าเท้าเฉพาะบุคคล เป็นการผลิตท่ีมี
ลักษณะเฉพาะตามสรีระที่แตกต่างกัน และต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง คณะวิจัยจึงได้นาระบบ
คอมพิวเตอร์มาช่วยในกระบวนการออกแบบและผลิต รวมท้ังสร้างระบบเครือข่ายในการบริหาร
จัดการข้อมูลพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการประเมินรูปร่างสามมิติของฝ่าเท้า รวมท้ังข้อมูลการออกแบบ
แผ่นรองฝ่าเท้าเพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการผลิต ตอบสนองความต้องการและกระจายการให้บริการ
ผลิตแผ่นรองเท้าเฉพาะบุคคลท่ีมีมาตรฐานอย่างท่ัวถึง ปัจจุบันคณะวิจัยมีข้อมูลลักษณะเท้าของ
ผู้สูงอายุท่ีสอดรับกับรูปเท้าของผู้สวมใส่ มีรองเท้าที่ผู้สูงอายุได้นาไปใช้และข้อมูลเปรียบเทียบ
การใช้งานการกระจายแรงกดระหว่างรองเท้าทั่วไปกับรองเท้าเฉพาะบุคคล และมีการติดตามผล
การใช้งานจานวนหน่งึ รวมท้ังระบบการใหบ้ ริการท่คี รบวงจร เป็นการช่วยเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึง
ทงั้ ในแง่ของสถานที่ให้บริการ ราคา และคณุ ภาพของการผลิตรองเท้าเฉพาะบุคคลในประเทศไทย
ในอนาคต
o KidBright บอร์ดส่งเสริมการเรียนรู้โปรแกรมม่ิง เป็นบอร์ดท่ีพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยเนคเทค
สวทช. เพื่อเป็นอุปกรณ์สนับสนุนกระตุ้นศักยภาพการคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงสร้างสรรค์ใน
เด็กวัยเรียน ผ่านการเรียนรู้แบบ learn and play บอร์ดถูกออกแบบให้มีการแสดงผลและ
เซ็นเซอร์แบบง่าย ซึ่งจะทางานสอดคล้องกับชุดคาส่ังควบคุมการทางาน ชุด KidBright
ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ส่วนโปรแกรมสร้างชุดคาสั่ง และส่วนบอร์ด สมองกลฝังตัว
ท่ีประกอบด้วยเซ็นเซอร์พื้นฐาน เช่น เซ็นเซอร์วัดแสง เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ จอแสดงผล
real-time clock และลาโพง ใช้งานง่ายผ่านเครือข่ายไร้สาย สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้
หลากหลาย เพียงออกแบบและสร้างชุดคาส่ังโดยการลาก และวางบลอ็ กคาส่งั ทต่ี ้องการ ผา่ นแอพ
พลิเคชันบนสมาร์ทโฟน ภายใต้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ชุดคาสั่งดังกล่าวจะถูกส่งไปที่บอร์ด
ให้ทางานตามคาส่ังที่ต้องการ ปัจจุบันพัฒนาและผลิตบอร์ด KidBright จานวน ๒๐๐,๐๐๐ ชุด
ให้กับโรงเรียนมัธยมนาร่อง จานวน ๑,๐๐๐ โรงเรียนทั่วประเทศ พร้อมอบรมการสอนโปรแกรม
มิ่งให้กับบุคลากรผู้ฝึกสอน (trainer) ตามภูมิภาค จานวน ๕๐๐ คน เพ่ือทาหน้าท่ีกระตุ้นและ
สง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นการสอนโปรแกรมมงิ่ ในโรงเรียนมัธยมของไทย



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

o อิมัลเจลที่มีอนุภาคนาโนท่ีกักเก็บน้ามันหอมระเหยจากไพลและขมิ้นชัน นาโนเทค สวทช.
วิจยั และพัฒนาอิมลั เจลที่มีอนุภาคนาโนกักเกบ็ นา้ มันหอมระเหยและสมุนไพร ที่มปี ระสทิ ธิภาพใน
การบรรเทาอาการเม่ือยล้าและบรรเทาอาการอักเสบ เพื่อประโยชน์ในการบรรเทาอาการปวด
เม่ือยของกล้ามเนื้อ และอาการเคล็ดขัดยอกต่าง ๆ โดยนาเอานวัตกรรมด้านนาโนเทคโนโลยี
เขา้ มามสี ว่ นในกระบวนการพัฒนาการผลิตเพื่อให้ไดผ้ ลิตภัณฑท์ ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพดยี ิ่งขึ้น แกจ้ ดุ ด้อย
ในเรื่องของสีจากทั้งไพลและขมิ้นชันที่มักติดผิว ติดเสื้อผ้า จุดเด่นของอิมัลเจลที่มีอนุภาคนาโนฯ
คือ ใช้เทคนิคนาโนเอนแคปซูเลชัน ทาให้เพ่ิมประสิทธิภาพการซึมซาบเข้าสู่ชั้นผิว
เพ่ิมประสิทธิภาพในการปลดปล่อยสารสาคัญจากสมุนไพร เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยได้ดี
ขึ้น ลักษณะของผลิตภัณฑ์เป็นโลชั่นเนื้อสีขาว ไม่มีสีจากไพลและขม้ินชันติดผิวและเสื้อผ้า
เป็นสารสกัดจากธรรมชาติ ทาให้ไม่เกิดการระคายเคือง และมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ มีวิธีการ
เตรียมที่ทาได้ง่าย พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีได้ทันที ปัจจุบันถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าวให้กับ
บรษิ ัทเอกชนแลว้

 กลุ่มสร้างเสริมความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย สวทช. มีกลไกสนับสนุนเพ่ือสร้าง
แรงจูงใจให้ภาคเอกชนลงทุนด้านวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพ่ิมขึ้น อาทิ บัญชีนวัตกรรมไทย
คณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติผลงานนวัตกรรมที่ขอขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย ได้อนุมัติผู้ย่ืนขอ
ขึ้นบัญชีนวัตกรรม รวมทั้งสิ้น ๒๓๕ ผลงาน สานักงบประมาณได้ประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมแล้ว จานวน
๑๙๗ ผลงาน ภาษี ๓๐๐ เปอร์เซ็นต์ มีการรับรอง ๓๓๘ โครงการ มูลค่า ๑,๐๙๒ ล้านบาท บ่มเพาะ
ผู้ประกอบการเทคโนโลยี ผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเถ้าแก่น้อยเทคโนโลยี โครงการสร้าง
ผูป้ ระกอบธุรกจิ เทคโนโลยีนวตั กรรม (Startup Voucher) โครงการสร้างและพฒั นาผู้ประกอบการใหม่เชิง
สร้างสรรค์และนวัตกรรม โครงการบ่มเพาะธุรกิจซอฟต์แวร์ เป็นต้น การพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพ
ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๑๒,๓๒๙ คน ตลอดจนการสนับสนุน SMEs ผ่านโปรแกรม
สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือ ITAP จานวน ๑,๑๗๒ ราย มีการดาเนินงานในพ้ืนท่ี
ภาคตะวันออก (EECi) เพ่ือยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีของ SMEs และบ่มเพาะผู้ประกอบการ
จานวน ๖๐ ราย ซึ่งเป็นผู้ประกอบการฐานชีวภาพ จานวน ๓๘ ราย โดยมีตัวอย่างผลงานที่ SMEs ได้รับ
การสนับสนนุ ฯ ดงั น้ี
o นาฬิกาโทรศัพท์ป้องกันเด็กหาย โพโมะ คิดส์ วอทซ์ บริษัทโพโมะ เฮาส์ จากัด สตาร์ทอัพไทย
ด้าน IOT (Internet of Things) สาหรับเด็ก ที่ผ่านมาบริษัทดาเนินธุรกิจโดยพ่ึงพิงเทคโนโลยี
จากต่างประเทศในการผลิต ซึ่งเกิดอุปสรรคในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เช่น ความล่าช้า และ
ไม่สามารถปรับแต่งได้เอง เป็นต้น จึงต้องการเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีของบริษัทฯ เพื่อเพ่ิมขีด
ความสามารถในการพัฒนาต่อยอดสินค้าได้เอง ITAP สวทช. จึงช่วยยกระดับความสามารถ
ด้านการวจิ ัยและพัฒนาของบริษทั ฯ จนมีเทคโนโลยเี ปน็ ของตัวเอง ทาให้เกิดความคล่องตัวในการ



แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ออกแบบหรือปรับแต่งฟังก์ชันและพัฒนาตัวเรือนนาฬิกาให้มีการใช้งานได้ตามที่ตลาดต้องการ
รวมทั้งมีรูปลักษณ์ท่ีทันสมัย นาฬิกาโพโมะ คิดส์ วอทซ์ มีคุณสมบัติเด่นเพ่ือเสริมความปลอดภัย
สร้างความอุ่นใจของพ่อแม่ โดยสามารถรับและโทรได้ในเครื่องเดียว มีระบบจีพีเอสติดตามตัว
มเี ซ็นเซอรต์ รวจจบั นาฬิกาหลุด สามารถส่งขอ้ ความเสยี ง (ปุ่ม SOS) เมอื่ มีเหตเุ ร่งดว่ น มีเครื่องนับ
ก้าว และเคร่ืองกันยุง ท้ังนี้จากการดาเนินงานดังกล่าวส่งผลให้บริษัทฯ มียอดขายเพ่ิมขึ้นจากปี
๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ที่ ๔๐ ล้านบาท เพิ่มข้ึนเป็น ๕๒ ล้านบาท โดยคาดการณ์ยอดขายในปี ๒๕๖๑
อยทู่ ี่ ๗๐ ล้านบาท และมสี ดั ส่วนการส่งออกเพิม่ ขน้ึ ๒ เทา่
 กลมุ่ เสริมสร้างขีดความสามารถเกษตรชุมชน สวทช. บริหารจดั การองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เกษตร ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน พร้อมท้ังพัฒนาเกษตรกร ผ่านสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร (สท.) ดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร ๑๗๗ ชุมชน ใน ๓๐ จังหวัด
โดยเป็นเกษตรกรในพ้ืนท่ีภาคตะวันออก (EECi) ๓๘ ชุมชนในพื้นที่ ๕ จังหวัด ครอบคลุมเทคโนโลยีหลัก
๓๖ เร่ือง อาทิ เทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน และเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตทาง
การเกษตร เป็นตน้ ซงึ่ มเี กษตรกรไดร้ ับถา่ ยทอดองคค์ วามรู้เทคโนโลยี จานวน ๔,๙๖๕ คน
 กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม สวทช. ให้บริการพ้ืนท่ีเช่าแก่บริษัทเอกชนที่สนใจจะทางานวิจัย
พัฒนา หรือให้บริการเทคนิคในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย
จานวน ๑๔๑ ราย รวมทั้งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลโครงการทั้งหมดท่ีเก่ียวข้องกับ EECi ของ
หน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นผู้ขับเคลื่อนหลักในกิจกรรมของ
BIOPOLIS และ ARIPOLIS โดยประสานงานกับพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ อาทิ การพัฒนาผังแม่บท
และออกแบบกลมุ่ อาคาร EECi ระยะที่ 1A การพัฒนาแผนท่ีนาทางเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ๕ ฉบบั
 กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย สวทช. พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารพิเศษ ส่งเสริมอาชีพ
นักวิจัย ผ่านการสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักเรียน นิสิต นักศึกษา ตั้งแต่ระดับมัธยมจนถึงระดับ
บัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท-เอก) รวม ๘๑๗ คน รวมทั้งดึงดูดผู้เรียนและประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์
เข้าสู่อาชีพนักวิจัย ผ่านการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถเกิดความสนใจด้าน
ว และ ท ๓,๖๗๗ คน และสนับสนุนนักศึกษาและบุคลากรวิจัยท้ังในและต่างประเทศเข้าร่วมงาน
ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารของศูนยแ์ หง่ ชาติ จานวน ๒๗๑ คน
 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ทั้งสิ้น ๕,๗๘๘ ล้านบาท มีรายได้จากการดาเนินงาน ๑,๗๔๔ ล้านบาท
ปัจจุบัน สวทช. มีบุคลากรท้ังสิ้น ๒,๘๕๑ คน โดยเป็นบุคลากรสายวิจัยและวิชาการ จานวน ๑,๙๕๖ คน
และบุคลากรทไ่ี ม่ใชส่ ายวิจยั และวชิ าการ จานวน ๘๙๕ คน
 ผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด Balanced Scorecard (BSC) ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ จานวน ๒๒,๓๗๑.๔๔

๑๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ล้านบาท หรือเท่ากับ ๓.๓๐ เท่าของค่าใช้จ่าย (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๖๗.๗๐ ของแผน (๓) รายได้จากความสามารถ เท่ากับ ๘๖๖.๔๐ ล้านบาท
(๔) นาผลงานวจิ ัยและองคค์ วามรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นภาคการผลติ ภาคบรกิ าร ภาคเกษตรกรรมและภาค
สังคมชุมชน จานวน ๑๓๗ รายการ (๕) มีการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพงานวิจัย และระบบ
สารสนเทศให้สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงระบบบรหิ ารจดั การ และ e-Government รอ้ ยละ ๘๑.๕๘
ของแผน (๖) มีการสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกสนับสนุนการดาเนินงานในภารกิจสาคัญ
ประกอบด้วย กลไกการบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ และกลไกการบริหารศักยภาพและ
ความสามารถบคุ ลากรวจิ ยั รอ้ ยละ ๗๗.๐๐ ของแผน

๑๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖. แผนและเป้าหมายการดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นการดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ (ปี ๒๕๖๒ -
๒๕๖๖) โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์ฉบับทบทวนน้ี สวทช. จาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนบทบาทตัวเอง
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงให้ทันและสอดคล้องกับสถานการณ์ จากแนวคิดการปรับโครงสร้างกระทรวง
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือรองรับการขับเคลื่อนสู่ “ประเทศไทย ๔.๐" จึงเป็นการกาหนดขอบเขตภาระงาน
ของ สวทช. ให้สอดคล้องกับภารกิจที่ต้องปรับตามสภาพแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วย (๑) กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) (๒) กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (RDI Management) (๓) กลุ่มสร้าง
เสริมความสามารถในการแข่งขัน (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน (๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริม
เขตนวัตกรรม และ (๖) กลมุ่ พฒั นาและสรา้ งเสริมบุคลากรวจิ ัย โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี

๖.๑ กลมุ่ วิจยั วทน.

เป้าหมาย เพ่ือสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีให้อยู่ในระดับแนวหน้า หรือสร้างความเข้มแข็ง
ในสาขาความเชี่ยวชาญอย่างชัดเจน เพ่ือนาไปแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับภาคอุตสาหกรรม หรือตอบโจทย์การพัฒนา
ประเทศ ด้วยการวิจัย พัฒนาและสร้างนวัตกรรม หรืองานวิจัยเพ่ือตอบโจทย์ในประเด็นมุ่งเน้นของ สวทช. ที่ได้
พิจารณาจาก ๑๐ อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ ใน ๖ สาขาเทคโนโลยีหลัก (Pillars) ได้แก่ (๑) วิทยาศาสตร์
ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) (๒) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม
(Materials and Engineering Technology) (๓) เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ (Electronics &
Information Technology) (๔) นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and Nanotechnology)
(๕) เทคโนโลยพี ลงั งาน (Energy Technology) และ (๖) งานตามยทุ ธศาสตร์ (Agenda Based) รวมถงึ การพัฒนา
และยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S & T Infrastructure) และ โครงสร้าง
พ้นื ฐานด้านคุณภาพของประเทศ (National Quality Infrastructure)

๖.๑.๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ และเทคโนโลยีชวี ภาพ (Bioscience and Biotechnology) เปา้ หมายเพือ่ พัฒนา
เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร การพัฒนาพันธุ์ พืช สัตว์ และสัตว์น้า ให้ได้พันธ์ุดี การจัดการระบบการเพาะปลูกพืช
การเพาะเลี้ยงสัตว์อย่างมีประสิทธภิ าพ และพฒั นาเทคโนโลยีชีวภาพเพ่ืออุตสาหกรรม ทต่ี อบโจทย์ความต้องการของ
ภาคอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมส่วนผสมฟังก์ชั่น (เช่น อุตสาหกรรมอาหารเสริ ม โปรไบโอติก และ
เคร่ืองสาอางเพ่ือการรักษา) อุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี อุตสาหกรรมการตรวจวินิจฉัยทางชีวภาพ และ อุตสาหกรรม
สุขภาพและความงาม โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนนิ งาน และผลงานสง่ มอบ ดังน้ี

๑๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การพัฒนาเกษตรสมัยใหม่แบบย่ังยืน มุ่งเน้นการเพ่ิมผลผลิตให้มากข้ึนแต่ใช้ทรัพยากรน้อยลง และส่งผล

กระทบต่อสิ่งแวดล้อมนอ้ ยที่สุด ใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมในการผลิต

การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมการปรับปรุงพันธ์ุ - ฐานขอ้ มลู whole genome sequence ของข้าว

ขา้ ว จานวน ๒๕๐ สายพนั ธุ์

- การศึกษาและพัฒนาคลังข้อมูลพันธ์ุข้าว - ระบบ High Throughput genotyping ของยีน

(NSTDA Rice Database) สาคัญ ๕๐ ยนี ในข้าว

- การศึกษาและพัฒนาคลังข้อมูลด้านโรคไหม้ - สายพันธุ์ข้าวใหม่ เชน่ ๑) พนั ธข์ุ ้าวเหนยี ว ไวต่อชว่ ง

(NSTDA Blast Database) แสง ทนน้าท่วม และต้านทานต่อโรคไหม้ ๒) พันธุ์

- การวิจัยและพัฒนาระบบการตรวจสอบและ ขา้ วเหนยี ว ไวต่อช่วงแสงหอม ต้นเต้ีย ต้านทานโรค

คัดเลือกประสิทธิภาพสูง (HT Genotyping ไหม้ และโรคขอบใบแห้ง ๓) พันธขุ์ า้ วเจ้า ไม่ไวตอ่

Platform) เพ่ือใช้ในการตรวจสอบพันธ์ุข้าว ช่วงแสง อะไมโลสสงู ต้านทานตอ่ เพล้ยี กระโดดสี

กอ่ นส่งออก นา้ ตาล ๔) พันธขุ์ ้าวเจา้ อะไมโลสปานกลาง ไมไ่ วต่อ

- การศึกษาและประเมนิ เชื้อพนั ธุกรรมข้าว ช่วงแสง ทนเคม็

- การวิจยั และปรับปรุงพนั ธุ์ขา้ วโดยใชเ้ ทคโนโลยี

Marker Assisted Selection

การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมการบริหารจัดการ - ต้นแบบโมบายแอพพลิเคชน่ั สาหรบั ตรวจ

การผลติ ขา้ ว วนิ จิ ฉยั โรคขอบใบแหง้ และโรคไหมใ้ นขา้ ว

- การวิจัยและพัฒนาโมบายแอพพลิเคช่ันเพื่อ - ตน้ แบบระบบการคัดเลือกพันธใ์ุ ห้เหมาะสมกับพ้ืนท่ี

การวินิจฉัยโรคข้าว โดยใช้การวิเคราะห์ และฤดูกาลปลูก (RiceFit) ใช้ในการตัดสินใจเลือก

ภาพถ่ายและปญั ญาประดษิ ฐ์ พันธ์ุข้าวปลกู ที่เหมาะสมตอ่ สถานท่แี ละฤดูกาล เพ่อื

- การวิจัยและพัฒนาระบบการคัดเลือกพันธ์ุให้ ลดความเส่ียงในการผลิต

เหมาะสมกับพื้นที่และฤดูกาลปลูกด้วยข้อมูล - ต้นแบบเทคนิคตรวจติดตามความเครียดของข้าว

ทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม (RiceFit) ในระดบั แปลงปลกู

- การวจิ ยั และพฒั นาระบบตดิ ตาม เตอื นภัย เพ่ือ

ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารจัดการการ

ผลิตข้าว ในระดับนโยบายและระดับพ้ืนที่

(RiceDeSS)

การวิจยั พฒั นา และนวตั กรรมการผลิตพชื ในระบบ - ต้นแบบชุดตรวจสอบอัตลักษณ์ และความบริสุทธ์ิ

ควบคุม ของพันธุ์พชื ตระกลู แตง และพริก

๑๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- การวิจัยและพัฒนาระบบ Plant Factory,

Solar Plant Factory, Smart Greenhouse

ในการผลิตพืชมูลค่าสูงและสมุนไพร (ใบบัวบก

ขม้ินชัน กญั ชง)

- การศึกษาและพัฒนาคลังข้อมูลสมุนไพร เพ่ือ

ระบเุ อกลกั ษณ์ของสมนุ ไพรแต่ละชนดิ

- การวิจัยและพัฒนาระบบการตรวจสอบ

มาตรฐานเมล็ดพันธุ์และการปลอมปนเชิง

พาณิชย์

การบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่ - ข้อมูลนาไปใช้ประกอบการปรับเปล่ียนพ้ืนที่การ

เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri – Map) ผลิตภาคการเกษตรที่ไม่เหมาะสม ตามแผนการ

- ปรับปรุงแบบจาลอง และการวิเคราะห์ข้อมูล บูรณาการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เพื่อรองรับข้อมูลเชิงพื้นท่ีขนาดใหญ่เพ่ือใช้กับ ๑ ระบบ

Agri-Map Online และ Mobile Application

ให้มีความทันสมัยและสามารถเข้าถึงได้สะดวก

รวมท้ังพัฒนาวิธีวิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผล

การปรับเปล่ยี นพน้ื ท่ที างการเกษตร

การใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมในอุตสาหกรรมอาหาร สนบั สนุนใหเ้ กดิ อตุ สาหกรรมใหม่ใน

การผลิตสารให้ประโยชน์เชิงหนา้ ท่ี (Functional Ingredient) เพิม่ มลู คา่ วตั ถุดิบทางการเกษตรและทรัพยากร

ชีวภาพของประเทศ เช่น ข้าว มันสาปะหลัง พืชสมุนไพร จุลินทรีย์ และผลพลอยได้จากกระบวนการแปรรูป

อาหาร เป็นวัตถุดิบตั้งต้น ได้แก่ functional carbohydrates, functional proteins, functional lipids,

functional microbes, สารสกดั จากธรรมชาติ, และกลุ่มวิตามนิ /แร่ธาตุ เป็นต้น

การพฒั นาสารที่ให้ประโยชน์เชงิ หนา้ ท่ี - ต้นแบบสารยับยั้งแบคทีเรียจากโปรตีนไข่ขาวผสม

(functional ingredients) สารเสริมฤทธิ์

- การวิจยั และพฒั นากระบวนใหมท่ ่มี ี - ต้นแบบผลติ ภัณฑ์ BioCalcium จากเปลอื กไข่

ประสิทธิภาพ - ตน้ แบบผลติ ภณั ฑค์ อลลาเจนไฮโดรไลเสท

- การวิจยั และพฒั นากระบวนการสกัดสารสาคัญ (Collagen hydrolysate) จากเยอื่ ไข่

- การพัฒนาและประยุกต์ใช้ Terahertz หรือ - ตน้ แบบผลิตภัณฑเ์ บต้ากลูแคนจากเช้อื รา

T-Ray ในการตรวจวัดและควบคมุ คุณภาพและ - กระบวนการผลติ ยสี ต์โพรไบโอตกิ ในระดบั

ปริมาณสารสาคญั ของอาหารและวตั ถุดิบตงั้ ต้น อุตสาหกรรม

๑๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- การออกแบบและผลิตอาหารเฉพาะกลมุ่ - ต้นแบบผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโพลิโคซานอลชนิด

อาหารสาหรบั ผสู้ ูงอายุ และ อาหารผูป้ ่วย เมด็ จากไขออ้ ย

เฉพาะโรค - ต้นแบบผลิตภัณฑ์อาหารปั่นผสมสาเร็จรูปสาหรับ

- การจดั ทามาตรฐานการขนึ้ ทะเบยี นสารที่ให้ ผู้ปว่ ยท่ตี อ้ งไดร้ บั อาหารทางสายยาง

ประโยชนเ์ ชงิ หนา้ ทแ่ี ละการใชใ้ นการผลิต - ต้นแบบขนมปังและครัวซองค์ปราศจากกลูเตนที่ทา

อาหารเฉพาะกล่มุ จากข้าวจา้ ว

- การศึกษาและพัฒนาระบบจาลองกระบวนการ - ต้นแบบผลติ ภัณฑม์ ายองเนสและสลดั ครีม

ย่อยอาหารในระบบทางเดินอาหาร ปราศจากไขมัน

(simulated gut model) เพ่ือรองรับการ - ต้นแบบสเตก็ หมูบดเค้ยี วงา่ ย

ดาเนินการวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้องกับการผลิตสารท่ใี ห้ - กรรมวธิ ีการตรวจแหล่งท่มี าของข้าวด้วยวธิ ี

ประโยชน์เชงิ หน้าท่ี ลคิ วดิ โครมาโตกราฟชี นดิ ออบิแทรป

- ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการชุดตรวจผลกระทบต่อ

ภูมิคุ้มกันและ stress genes ในกุ้งขาว สาหรับ

ตรวจสอบผลของอาหารทมี่ ีต่อกงุ้ (feed effects)

- ต้นแบบผลิตภัณฑ์เพ่ือยืดระยะเวลาในการเก็บ

รักษาเบเกอร่ีที่เส่ือมเสียจากเช้ือจุลินทรีย์ และลด/

ทดแทนการใช้สารกันบดู (B Fresh)

- ระบบจาลองกระบวนการยอ่ ยอาหารในระบบ

ทางเดนิ อาหาร (simulated gut model) เพื่อ

รองรบั การดาเนินการวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต

สารทีใ่ หป้ ระโยชนเ์ ชงิ หน้าที่

การพฒั นาอุตสาหกรรมเคมชี ีวภาพ จากฐานความหลากหลายทางชวี ภาพ และองค์ความรู้ด้าน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม (วทน.) เพื่อยกระดับความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

ด้านเคมีชีวภาพและวัสดุชวี ภาพ (Biochemicals / - ต้นแบบกระบวนการผลติ Hydroxymethyl

Biomaterials) furfural (HMF) โดยใช้ระบบสารละลาย ๑ เฟส

- การวิจัยและพฒั นากระบวนการและเทคโนโลยี และ ๒ เฟส ระดับห้องปฏฺบตั ิการ

การผลติ Active carbons - ตน้ แบบกระบวนการ Lignocellulose

- การวิจัยและพัฒนากระบวนการและเทคโนโลยี fractionation ระดบั ห้องปฏิบัติการ

การผลิต cellulose fibers - ต้นแบบกระบวนการผลิต cellulose fibers ระดับ

ห้องปฏิบตั ิการ

๑๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- การวจิ ยั และพัฒนากระบวนการและเทคโนโลยี - ต้นแบบระบบ Biomass Pretreatment

การผลิตลิกนินคณุ ภาพสงู แบบต่อเนื่อง ในระดับห้องปฏบิ ตั ิการ

- ตน้ แบบ ระบบ Carbon activation ในระดับ

หอ้ งปฏิบัติการ

ด้านผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าสูง (Bio-specialty - ต้นแบบกระบวนการผลิตเอนไซม์เพ่ือใช้ใน

products) อตุ สาหกรรมเคมีชีวภาพ ระดับห้องปฏิบัตกิ าร

- การวจิ ัยและพัฒนาเอนไซม์ เพื่อใช้ประโยชนใ์ น - ต้นแบบกระบวนการผลิตเอนไซม์ลดความหนืด

อตุ สาหกรรมสเี ขยี ว สาหรับ Cassava VHG process

- การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสาร

บารุงสุขภาพ (Nutraceuticals) เช่น วิตามิน

หรอื สารตา้ นอนุมลู อิสระ (Superantioxidant)

เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑด์ ูแล

สุขภาพและเคร่ืองสาอาง

- การวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ

isobutanol และ keto-acid เพอ่ื ใชใ้ น

อตุ สาหกรรมเคมี

การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพสังเคราะห์ เพ่ือสร้างความสามารถให้ประเทศ มีความพร้อมด้านการวิจัย

และพฒั นา บคุ ลากรท่ีมคี วามเช่ียวชาญในงานวิจยั ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีระดับโมเลกลุ และเทคโนโลยีการปรับเปลี่ยน

วิถีเมตาบอลกิ เพอ่ื ประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช้ในอนาคต

- การพฒั นาเทคโนโลยจี ีโนมและโอมิกส์ โดยการ - เทคนิควิเคราะห์เมตาโปรตโิ อมกิ ส์ เพ่ือศึกษา

วิเคราะห์ข้อมูลโอมิกส์แบบบรู ณาการ เพ่อื โปรตนี แบบองค์รวมในส่งิ แวดล้อมทีส่ นใจ

เขา้ ใจถึงบทบาทหนา้ ที่ กลไกควบคมุ การ - ร่างแผนท่ียีน (draft genome) ของกุ้งกุลาดา และ

ทางานของข้อมูลโอมิกส์ตา่ งๆ ทส่ี มั พันธก์ ัน ความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์แผนที่ยีน ที่จะ

และสง่ ผลตอ่ ลกั ษณะทางกายภาพของส่ิงมชี วี ิต นาไปสู่การศึกษาหน้าท่ียีนท่ีเกี่ยวข้องกับระบบสืบ

ในการตอบสนองต่อสิง่ แวดล้อมทีส่ นใจ รวมทั้ง พันธ์ ระบบภูมิคุ้มกัน และการเจริญเติบโตของ

พัฒนาโปรแกรมและซอฟตแ์ วร์สาหรับงาน ก้งุ กลุ าดา

ทางด้านชวี สารสนเทศและชวี วทิ ยาระบบ - ข้อมูลเมตาโบไลท์ท่ีนาไปสู่ความเข้าใจบทบาทของ

PUFAs และ eicosanoid กบั คณุ ภาพของสเปิร์มใน

กุ้งตัวผู้

๑๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- ระบบการวเิ คราะหข์ ้อมูลโอมิกสห์ ลายระดับ เพ่ือ

ศกึ ษากลไกเมตาบอลิซึม ไมโครไบโอม และทราน

สครปิ โตมิกสข์ องกุ้ง

- ข้อมูลเมตาโบโลมิกส์เพ่ือการตรวจสอบความแท้

ของพันธ์ุข้าว และความเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่าง

กลมุ่ จุลินทรียก์ ับเชือ้ ก่อโรค

- อัลกอริทึมสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโอมิกส์ด้าน

ขา้ วไทยทีเ่ ขา้ ถงึ ได้งา่ ย

- เทคโนโลยีชีวสารสนเทศเพ่ือจัดการและวิเคราะห์

ขอ้ มลู โอมกิ สข์ นาดใหญ่

- การพัฒนาเทคโนโลยีดัดแปลง/ปรับเปล่ียนวิถี - ความสามารถในการประยกุ ต์ใช้เคร่ืองมือปรับแตง่

เมตาบอลิกอย่างจาเพาะและขยายขนาดการ จีโนมในเซลลจ์ ลุ ินทรีย์ เช่น CRISPR-Cas9/dCas

ผลิต โดยพัฒนาระบบและเจ้าบ้านที่เหมาะสม system เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการดดั แปลง

พัฒนาเคร่ืองมือสาหรับการดัดแปลงพันธุกรรม พนั ธุกรรมของจลุ ินทรยี ห์ รือตัดต่อยีนในสง่ิ มีชีวติ

และปรับเปล่ียนวิถีเมตาบอลิก พัฒนาระบบ อาทิ ใช้ CRISPR/Cas เพิม่ ความสามารถยสี ต์ในการ

การเล้ียงเซลล์ และพัฒนาระบบการขยาย ทนตอ่ ความเคน้ ตา่ ง ๆ ในระบบการผลิต รวมถงึ

ขนาด การใชศ้ กึ ษาจโี นม (genome-wide over

expression/repression studies) และศึกษายนี

ต่าง ๆ ทม่ี ีผลตอ่ ความสามารถของยีสต์ในการผลิต

ผลติ ภณั ฑเ์ ป้าหมาย เปน็ ตน้

- จุลินทรีย์สายพันธุท์ ่ีมีประสิทธภิ าพในการย่อยสลาย

ชีวมวลมากข้ึน เช่น ยีสต์ที่มีคุณสมบัติผลิตกลุ่ม

เอนไซม์ในอัตราส่วนตามที่ออกแบบไว้ เสมือนสูตร

เ อ น ไ ซ ม์ ผ ส ม ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ อ น ไ ซ ม์

ฟอร์มูเลช่ันในหลอดทดลอง (in vitro) เพ่ือย่อย

ชี ว มว ลให้ เป็ นน้ าตาล และใช้ น้ าตา ล ผ ลิ ต

ไอโซบิวทานอล ในกระบวนการ consolidated

bioprocessing (CBP) อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

- เทคโนโลยี iPS cell เพ่ือสร้างเซลล์ต้นแบบใช้ใน

การศึกษากลไกการเกิดโรค เช่น iPS cell ระบบ

๑๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

ประสาทของสุกรสาหรับใช้ศึกษากลไกการติดเช้ือ

ไวรัสพอี ารอ์ ารเ์ อสสายพันธ์รุ นุ แรง เปน็ ต้น

- ความสามารถในการแยกองค์ประกอบชีวมวล

(fractionation) เพ่ือใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการ

ผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ ป้าหมาย

- ความสามารถในการสนับสนุนการขยายขนาดที่

รวดเร็ว เช่น high throughput screening และ

bio mini-reactor เปน็ ต้น

การพฒั นาเทคโนโลยชี ีวภาพเพ่ืออุตสาหกรรมเกษตรสมัยใหม่ เพ่อื สรา้ งความสามารถให้ประเทศ มคี วาม

พร้อมด้านการวิจัยและพัฒนา บุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญในงานวิจัยท่ีใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพ่ือการเกษตร

สมยั ใหม่ เพือ่ สรา้ งโอกาสในการแข่งขัน ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของโลก

- สร้างองค์ความรู้ และเทคโนโลยีสนับสนนุ - องค์ความรู้และกลไกการทางานของ OSCA1 ion

อตุ สาหกรรมเกษตรด้านพืช อาทิ การพัฒนา channels จากพืช เพื่อศึกษาการแสดงออกของ

พนั ธ์ุพชื โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการ โปรตนี GEVI

ปรับเปลย่ี นยนี อย่างจาเพาะ เชน่ CRISPR- - เทคโนโลยีการปรับแต่งจีโนม (genome editing)

Cas9 การพัฒนาเครื่องมือเพ่ือความเขา้ ใจ เช่น เทคนิค CRISPR/Cas ที่พร้อมใช้สาหรับ

กลไกการทางานของเซลลพ์ ืชและปฏิสมั พันธ์ การศึกษาหน้าทีข่ องยนี พืช

ของเซลล์กับจุลินทรยี ์ รวมท้งั การพฒั นา - ระบบ phenotyping screening plant

เครอ่ื งมือเพือ่ ทาให้พืชปลอดโรค และทนต่อ microbiome เพ่ือการศึกษาความสัมพนั ธ์ของกลมุ่

สภาพภูมิอากาศทเี่ ปลยี่ นแปลงไป ประชากรจลุ นิ ทรยี ก์ ับเซลลพ์ ืช

- องค์ความรู้ด้านเมตาจีโนมิกส์ เพื่อใช้ในการศึกษา

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างจุลินทรีย์กับการเติบโต/สุขภาพ

พืช

- กระบวนการควบคุมโรคพืชด้วยชีววิธี เช่น phage

และ lytic enzyme

- สร้างองค์ความรู้ และเทคโนโลยีสนับสนุน - องค์ความรู้และความเข้าใจในบทบาทของจุลินทรีย์

อตุ สาหกรรมการเลย้ี งสตั วแ์ ละอาหารสัตว์ อาทิ ที่อยู่ในลาไส้ (gut microbiota) ของกุ้งและหมู

พัฒนาองค์ความรู้ ความเข้าใจในกลไกทางาน ท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในระบบกระตุ้นภูมิคุ้มกัน

ของกลุ่มจุลินทรีย์ (microbiome) ท่ีมีผลต่อ ในระดบั ยีนและเซลล์

๑๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
เซลล์เจ้าบ้าน และพัฒนาเครื่องมือเพ่ือเพ่ิม - องค์ความรู้และความเข้าใจในบทบาทของจุลินทรีย์
ประสทิ ธิภาพ ปริมาณ และคุณภาพการผลติ ในลาไส้ของสัตว์เศรษฐกิจ ที่ส่งผลต่อสุขภาพ
การเติบโต และความแข็งแรง อันเนื่องมาจาก
- อาหาร (functional feed)
- ผลการศกึ ษาเชิงนโยบาย และแผนทีน่ าทางเพื่อการ
- วิจยั ไมโครไบโอมสาหรบั สตั ว์
- องค์ความรู้และความเข้าใจในกลไกของไวรัสพีอีดีท่ี
- กอ่ โรครุนแรงในสกุ ร
ระบบ spike fusion assay เพอ่ื การศึกษาการเข้าสู่
เซลล์ของไวรัสพอี ีดี
ระบบเซลล์ Porcine iPSC เพื่อใช้ในการผลิตไวรัส
พอี ีดี
ตัวชวี้ ัดทางชีวภาพ (biomarkers) เช่น ยนี ทจ่ี าเพาะ
ต่อเช้ือต่าง ๆ หรือจาเพาะต่อโปรตีนบนผิวเซลล์
จากข้อมูลที่ได้จากเทคโนโลยีเมตาบอโลมิกส์และท
รานสคริปโตมิกส์

๖.๑.๒ เทคโนโลยีวสั ดุศาสตรแ์ ละวศิ วกรรม (Materials and Engineering Technology) เพอ่ื พฒั นาวัสดุ
ข้นึ รูปชน้ิ งานวัสดุ กระบวนการผลติ เพ่อื ให้ไดว้ สั ดุท่ีมสี มบตั ิตามความตอ้ งการ ลดตน้ ทุน เพม่ิ คุณภาพ ประหยดั เวลา
ในการผลิต และสร้างความย่ังยืนในการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้าง
ขีดความสามารถในการออกแบบ วิศวกรรม การผลิต และวิเคราะห์ทดสอบสมบัติของวัสดุและผลิตภัณฑ์
โดยพัฒนาเทคนิควิธีการสมัยใหม่ อาทิ ระบบควบคุมอัตโนมัติและหุ่นยนต์ การผลิตต้นแบบรวดเร็ว 3D Printing
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ และการวิเคราะห์ทางวิศวกรรม เป็นต้น โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒
สวทช. มีแผนการดาเนนิ งาน และผลงานสง่ มอบ ดังนี้

๑๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน - ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
การพัฒนาวัสดุเชิงประกอบและวัสดเุ ฉพาะทาง
- Fresh produce and functional non- องค์ความรู้และเทคโนโลยกี ารขึน้ รปู นอนวูฟเวน
ชนดิ สปันบอนดท์ ่ีมีสมบัติปอ้ งกนั รงั สี
woven อลั ตราไวโอเลตและอนิ ฟราเรด
ต้นแบบฟลิ ์มคลมุ โรงเรอื นมลั ตฟิ ังก์ชันนอลท่ี
- สามารถกรองรงั สยี ูวี สะท้อนรงั สีความรอ้ น
อนิ ฟราเรดแบบใกล้และกระจายแสงดี
- ต้นแบบถุงปลูกนอนวูฟเวนที่มีสมบัติการผ่านของ
อากาศและไอน้า การคัดเลือกช่วงแสงท่ีเหมาะสม
- สาหรับมะเขือเทศ
ขอ้ มลู สารวจตลาดและความต้องการเทคโนโลยี
- Natural rubber - วสั ดุและอปุ กรณเ์ พื่อการเกษตร และดชั นีชว้ี ัด
- ความสาเร็จของการใชเ้ ทคโนโลยถี งุ ปลูก ถงุ ห่อ
ผลไม้ และฟิล์มคลมุ โรงเรือนภายในประเทศ
- ตน้ แบบน้ายางข้นท่มี ีปริมาณแอมโมเนียตา่ มาก
ต้นแบบน้ายางข้นที่มีโปรตีนท่ีก่อให้เกิดการแพ้
- นอ้ ยลง
ตน้ แบบสารจบั ตัวนา้ ยางธรรมชาตทิ ม่ี คี วาม
- ปลอดภัยและเปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม
- มาสเตอร์แบทซ์ยางธรรมชาติผสมซิลิกา/มาสเตอร์
- แบทช์ยางธรรมชาติผสมเขม่าดา/ไฮบริดมาสเตอร์
- แบทช์ยางธรรมชาติผสมซิลกิ าและเขมา่ ดา
- Porous materials and construction - แบบโรงอบยางแผ่นประสิทธิภาพสูง
materials ต้นแบบกาวดกั แมลง
ตน้ แบบสารปรับปรงุ โครงสร้างดิน
ต้นแบบยางปรับสภาพดนิ ดาน
พฒั นางานวจิ ัยท่จี ะนาของเสียและวสั ดุเหลือทิง้ มา
ผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ทส่ี ามารถนาไปใชใ้ น
อุตสาหกรรม

๒๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
สร้างองค์ความรู้และพัฒนาขีดความสามารถด้าน
- การออกแบบและทานายสมบัติเชิงกลและความ
ร้อนของวัสดุพรุนฐานเซรามิกสาหรับการใช้งาน
- ฉนวนความร้อน
- องค์ความรู้การสังเคราะห์ผงสีดาที่มีค่าการสะท้อน
- รงั สีอนิ ฟราเรดช่วงใกลว้ ิซเิ บิลสงู
ต้นแบบสีเคลือบโทนเข้มท่ีมีค่าสะท้อนความร้อน
- รังสอี นิ ฟราเรดชว่ ยใกลว้ ซิ ิเบิลสูง
- Failure analysis and corrosion protection - ต้นแบบซีโอไลต์จากเถ้าลอยเพ่ือใช้เป็นตัวเร่ง
ปฏกิ ิริยาในกระบวนการไพโรไลซิสแบบรวดเร็วของ
- กากชวี มวล
ต้ น แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จี โ อ พ อ ลิ เ ม อ ร์ ฐ า น เ ถ้ า ล อ ย
การพัฒนาวสั ดุชีวการแพทยแ์ ละอปุ กรณ์การแพทย์ เสรมิ แรงดว้ ยเซรามิก
เฉพาะบคุ คล กระบวนการชุบผิวโลหะผสมด้วยวิธีชุบด้วยไฟฟ้า
- Biomedical engineering technology - และผลของโครงสร้างต่อสมบัติของผิวเคลือบโลหะ
ผสม
- กระบวนการทดสอบการกดั กรอ่ นแบบเรง่ ที่
เหมาะสมสาหรับใช้ทานายอายกุ ารใชง้ านของ
- เหล็กกล้าโครงสร้างสัมผสั กับสงิ่ แวดลอ้ ม
บรรยากาศของประเทศไทย

เทคโนโลยีวัสดุเพ่ือทดแทนการนาเข้าวัสดุทดแทน
กระดกู ทันตวสั ดุ และวสั ดสุ ้นิ เปลืองเพือ่ การรกั ษา
เทคโนโลยีการกักเก็บโปรตีนไฮดรอกซิลอะพาไทต์
พรุนด้วยเทคนิคไบโอมิเมติกส์ ที่ผ่านการศึกษา
ประสิทธิภาพเบ้อื งตน้ ในหนูทดลอง
เ ทคโ น โ ล ยี การ เ พาะเ ลี้ ย งเ ซล ล์ กร ะดู ก อ่ อ น แ ล ะ
เซลล์กระดูกบนวัสดุโครงร่างรองรับเซลล์ที่ย่อย
สลายไดท้ างชีวภาพในระบบถังปฏกิ รณ์ชวี ภาพ

๒๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
ต้นแบบโครงร่างรองรับเซลล์ไฮดรอกซิลอะพาไทต์
- ชนดิ มรี ูพรนุ ตอ่ เนื่องท่ีมโี ปรตีนฟวิ ชันรคี อมบีแนนท์
สแตเทอรีน-ไฟโบรเนคตินเคลือบอยู่ที่เหมาะแก่
- การใชท้ ดแทนกระดกู
ต้นแบบวัสดโุ ครงรา่ งไฮโดรเจลทค่ี วบคุมการ
- Personalized materials - ปลดปลอ่ ยยาได้ เพอื่ ป้องกันภาวะกระดูก
ขากรรไกรตายในผปู้ ่วยที่ใชย้ าบิสฟอสโฟเนต
- องค์ความรู้ในการพัฒนาวัสดุกายอุปกรณ์เสริมที่มี
สมบัติช่วยกระจายแรงกดทับ มีความแข็งแรงและ
- ยืดหย่นุ
องค์ความรู้ในการทดสอบสมบัติ viscoelasticity
- ของโฟมยาง
ต้นแบบเคร่ืองพิมพ์สามมิติชนิดหัวอัดรีดขึ้นรูป
- สาหรบั การขน้ึ รูปวัสดุทม่ี คี วามยืดหยนุ่
ตน้ แบบวสั ดุกายอปุ กรณ์เสริมที่ข้นึ รูปด้วย
การพัฒนาความสามารถการออกแบบวิศวกรรม เครื่องพิมพส์ ามมิติ
ต้นแบบยางฟองน้าท่ีมีความปลอดภัย/ต้นแบบยาง
และวิศวกรรมการผลิตที่เก่ียวข้อง ฟองน้าทป่ี รับความแขง็ แรงได้

- Lightweight structure for vehicle - องค์ความรู้การพฒั นาเคร่ืองมือทดสอบและ
กระบวนการทดสอบเพื่อสอบทวนแบบจาลองไฟ
- Lightweight tire and wheel - ไนตเ์ อลิเมนต์สาหรบั การทดสอบชิน้ สว่ นรถโดยสาร
- เมอ่ื เกิดการพลกิ ควา่
- ต้นแบบเครื่องทดสอบการเสียรูปของโครงสร้าง
ย่อยจากสภาวะการพลกิ ควา่
องค์ความร้กู ารออกแบบและพัฒนาสตู รยางสาหรับ
ดอกยางล้อ และวิธกี ารขน้ึ รูป airless tire
เทคโนโลยกี ารออกแบบสตู รยางสาหรบั ทาดอกยาง
และแกม้ ยางสาหรบั lite-wheel

๒๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การพฒั นาและประยุกต์ใช้ enabling tools - สร้างองค์ความรูแ้ ละความสามารถในการ

ประยุกตใ์ ช้เคร่ืองมอื ชว่ ยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ

- สรา้ งองคค์ วามรู้และพัฒนาความสามารถในศาสตร์

ทางดา้ น material joining

การพัฒนาเทคโนโลยีการวิเคราะห์ทดสอบวัสดุ - สร้างเทคนิคและแนวทางในการวิเคราะห์ทดสอบ

และผลิตภณั ฑ์ เพื่อยืนยันความถูกต้องน่าเชื่อถือของผลวิเคราะห์

ทดสอบ

- เทคนิคการวิเคราะห์โครงสร้างผลึก และโครงสร้าง

รูพรุนของ mesoporous SiO2 และ mesoporous
C โดยเทคนคิ เอกซเรยด์ ิฟแฟรกชัน (XRD)

- เทคนิคการวเิ คราะหโ์ ครงสร้างผลึก และ

crystallite size ของอนุภาคนาโน Sn โดยเทคนิค

XRD และจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอนแบบทรานสมชิ ชนั

(TEM)

- เทคนิคการทดสอบความคงทนต่อสภาวะอากาศ

ท่ีเหมาะสมต่อการทดสอบชิ้นงานวัสดุคอมพอสิต

จากพลาสติกชวี ภาพและผงไม้

๖.๑.๓ เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสารสนเทศ (Electronics & Information Technology) เพือ่ พัฒนา
เทคโนโลยี เช่น เซ็นเซอร์ ในการตรวจวัดด้านต่าง ๆ เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ เทคโนโลยีการผลิตอุปกรณ์กาลัง
ระบบจ่ายพลังงานและควบคุม อุปกรณ์ส่ือสารไร้สายที่ควบคุมด้วยซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์สื่อสารมี
ประสิทธิภาพสูง และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความเป็นอัจฉริยะ สามารถประมวลผลคาพูด ภาษาธรรมชาติ
ภาพ ความสัมพันธ์ในรูปแบบการสื่อสารระหว่างสมองกับคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการวิเคราะห์และบริหารจัดการ
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ และมีความหลากหลายเพื่อประยุกต์ในด้านต่าง ๆ รวมทั้งแพลตฟอร์มบริการสาหรับ
การส่ือสารและเชื่อมต่อของ Internet of Things (IoTs) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผน
การดาเนินงาน และผลงานสง่ มอบ ดงั นี้

๒๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
การพัฒนาเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ - Dedicated High-throughput System หรือ

เทคโนโลยีเครื่องสปัตเตอริงแบบจาเพาะสาหรับ
การผลิต SERS chip คุณภาพสูง มีกาลังการผลิต
SERS chip ไม่นอ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ ชิปตอ่ เดอื น
- เทคโนโลยกี ารผลิตเซลลแ์ สงอาทิตย์ชนดิ รอยต่อ
แบบเฮเทอโรบนฐานรองผลึกเดีย่ วซิลิคอนชนดิ เอ็น
ทม่ี ีขวั้ ไฟฟ้าบวก-ลบทีด่ ้านหลัง (IBC-SHJ solar
cell) โดยเซลล์แสงอาทติ ย์ขนาด ๑ ตาราง
เซนติเมตร มีค่าประสิทธิภาพไมต่ ่ากวา่ ๒๑
เปอรเ์ ซ็นต์
- Graphene Supercapacitor หรือตัวเก็บประจุ
ยิ่งยวดจากวัสดุผสมกราฟีนสาหรับประยุกต์ใช้ใน
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก (miniaturized
electronic device) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
แบบยืดหยุ่นและพกพาได้ (flexible/portable
electronics) มีค่าความสามารถในการเก็บประจุ
(specific capacitance) ไม่นอ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ F/g
- Non-destructive Terahertz imaging หรือ
ระบบตรวจ สอบแบบไม่ทาลายด้วยคล่ืนสัญญาณ
เทระเฮิรตซ์สาหรับการประยุกต์ใช้งานทางด้าน
ความปลอดภัย อาทิ การตรวจสอบสิ่งต้องสงสัย
(อาวุธ ยาเสพตดิ ) ในพสั ดุหรอื บรรจภุ ัณฑต์ า่ งๆ
- Phased Array system for Radar X-band หรอื
ระบบ Phased Array สาหรับเรดารใ์ นย่านความถ่ี
X-band มีระยะเวลาในการสแกนต่า (๔๐ วินาที
ต่อรอบ) เทียบกับเรดาร์อากาศชนิดท่ีประเทศไทย
นิยมใช้ในปัจจุบัน (EEC radar ใช้ระยะเวลาสแกน
๖๐๐ วนิ าทตี ่อรอบ)
- ชิปขยายสัญญาณรามานชนิดใหม่ (PolySoft
SERS) ใช้วัสดุฐานรองพอลิเมอร์เหมาะกับการ

๒๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
การพฒั นาเทคโนโลยีการประมวลผลอัจฉรยิ ะ ตรวจวดั ดา้ นนิตวิ ิทยาศาสตร์แบบไม่ทาลาย จดุ เด่น
สาคัญคือใช้แม่พิมพ์ในกระบวนการผลิต ทาให้มี
ตน้ ทุนและขยายระดับการผลิตได้งา่ ย และสามารถ
ใชต้ รวจพิสูจน์หมึกเอกสารแบบไมท่ าลาย
- ชิปขยายสัญญาณรามานชนิดใหม่ (Graphene
SERS Pad) ใช้วัสดุฐานรองพอลิเมอร์และเคลือบ
ผิวด้านบนด้วยชั้นกราฟีน เหมาะกับการตรวจวัด
ด้านการเกษตรแบบไม่ทาลายในลักษณะ on site
จุดเด่นสาคัญคือไม่ต้องเก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์
จาเพาะ และขั้นตอนใช้งานลดลง สามารถแปะวัด
ได้ทันที
- เคร่ืองตรวจวัดเซลล์มะเร็งด้วยเทคนิคเคมีไฟฟ้า
แบบพกพา โดยขั้วไฟฟ้ากราฟีนร่วมกับการ
เพาะเลี้ยงเซลล์มะเร็งแบบสามมิติ มีความแม่นยา
สูงแต่ใช้เวลาตรวจวัดน้อยกว่าเมื่อเทียบกับวิธี
ตรวจวัดมาตรฐานในปัจจุบัน (ลดจาก ๕-๖ ชั่วโมง
เหลือ ๑ ชั่วโมง)
- ระบบรู้จาเสียงพูดภาษาไทย “พาที” และการ
ประยุกต์ใช้ในการถอดความการประชุม โดย
พัฒนาการรู้จาผู้พูดให้มีความถูกต้องมากกว่าร้อย
ละ ๘๐
- ระบบระบุตาแหน่งภายในอาคารแบบเวลาจริงโดย
ใช้สัญญาณอัลตราไวด์แบนด์ โดยมีความแม่นยาสูง
ในการระบุตาแหน่งด้วยระยะความผิดพลาดระดับ
๕๐ เซนติเมตร ในพิกัด ๒ มิติ สาหรับประยุกต์ใช้
ใ น ร ะ บ บ น า ท า ง แ ล ะ ติ ด ต า ม หุ่ น ย น ต์ แ ล ะ
ยานพาหนะอัตโนมัติภายในอาคาร เช่น รถยกใน
โกดังสนิ ค้า เป็นตน้
- ร ะ บ บ วิ นิ จ ฉั ย แ ล ะ ใ ห้ ค า แ น ะ น า ก า ร ส ร้ า ง
กระบวนการเพื่อยกระดับการพัฒนาซอฟต์แวร์

๒๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
สาหรับอุตสาหกรรมขนาดเล็กตามมาตรฐานสากล
ISO/IEC 29110 (DIGEST) สาหรับผู้ประกอบการ
ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและหน่วยรับรองระบบ
มาตรฐานสากล
- ระบบประเมนิ ความเส่ียงโรคมะเรง็ ตบั

๖.๑.๔ นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and Nanotechnology) เพ่ือออกแบบ
สังเคราะห์สารหรือวัสดุใหม่ระดับนาโน เช่น ควอนตัมดอท อนุภาคนาโน แท่งนาโน (nanorods) คาร์บอนนาโน
เส้นใยนาโน ไปจนถึงกราฟีนหรือฟิล์มบางนาโน และวัสดุนาโนคอมโพสิตหรือวัสดุพรุนนาโน จนถึงการวิเคราะห์
ทดสอบสมบัติของวัสดุที่มีขนาดเล็กมากในระดับนาโนเมตร การพัฒนาอุปกรณ์ เทคโนโลยีการผลิต การประกอบ
และการพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนให้มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น 3D Printing
การพมิ พ์วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ลโิ ทกราฟี และ Lab-on-a-chip เปน็ ต้น รวมทง้ั การพฒั นาเทคนิคหรือวิธีการตรวจวัด
วิเคราะห์ระดับนาโนเชิงกายภาพ เชิงเคมี เชิงชีวภาพ ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ดงั นี้

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างความสามารถทาง - องค์ความรู้นาโนเทคโนโลยีเพื่อการกักเก็บและ

เทคโนโลยีการสังเคราะหแ์ ละออกแบบวัสดนุ าโน ควบคุมการปลดปล่อย (nano encapsulation)

ของสมนุ ไพร

- องค์ความรู้การพัฒนาวัสดุนาโนเพ่ือกักเก็บสาร

ออกฤทธิ์ทางการเกษตร และสารเคลือบชนิดพอลิ

เมอร์นาโนคอมพอสิทเพื่อประยุกต์ใช้ท าง

การเกษตร

- องค์ความรู้ในการออกแบบและดัดแปลงอนุภาค

นาโนสาหรบั การนาส่งสารสาคญั เพ่ือใชใ้ นสัตว์

- องค์ความรู้การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะนาโน

เพอื่ การผลติ เช้อื เพลิงชีวภาพสงั เคราะห์

๒๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

- องค์ความรู้การพัฒนาวัสดุและโครงสร้างนาโน

bio-inspired, polymeric nanoparticle,

hybrid and composites

การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถทาง - สร้างสะสมองค์ความรู้และพัฒนาเทคโนโลยี เช่น

เทคโนโลยีระบบวศิ วกรรมนาโนและการผลิตขน้ั สูง Nano coating technology, Membrane

separation technology, Microfluidic,

Nanopore, Microneedle, Nano fiber, Sensors

and biosensors

การวิจัยและพฒั นาเพ่ือสร้างความสามารถทาง - การให้บริการทางด้านวิเคราะห์ทดสอบ ความ

เทคโนโลยีฐานด้านความปลอดภัยทางนาโน ปลอดภยั นาโนเทคโนโลยี

เทคโนโลยี การวดั วิเคราะห์ และทดสอบระดับนาโน - แบบจาลองเน้ือเย่ือผิวหนังเพื่อใช้ในการทดสอบ

ทางพิษวทิ ยา

- การพัฒนาการระเบียบวิธีการวัดวิเคราะห์ให้มี

ความแม่นยาในระดับสูง เพ่ือใช้ตรวจสอบวัสดุ

นาโน

- การสรา้ งระเบยี บวิธีการวเิ คราะหท์ ดสอบมาตรฐาน

เพื่อตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของ

ผลิตภัณฑน์ าโน

- วิธีทางมาตรวิทยาสาหรับสอบกลับการตรวจวัด

ขนาดของวสั ดุนาโน

๖.๑.๕ เทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) เพื่อสร้างอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ จากฐานความ
หลากหลายทางชีวภาพ และองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) การพัฒนาวัสดุสาหรบั
พลังงานและสิ่งแวดล้อม เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒
สวทช. มีแผนการดาเนนิ งาน และผลงานส่งมอบ ดงั นี้

๒๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเชื้อเพลิงชีวภาพ/ - ผลการทดสอบไบโอดีเซล B10 ท่ีผสมด้วย
พลงั งานชวี ภาพ (Biofuels / Bioenergy) upgraded biodiesel (H-FAME) ๑๐% ในรถ
กระบะ ว่ิงระยะทาง ๑๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร
- มาตรฐานของไบโอดีเซลและสัดส่วนผสมในดีเซลท่ี
- ผู้ผลิตรถยนต์ยอมรับ
ต้นแบบเทคโนโลยีการผลิต Very-High-Gravity
การพัฒนาวสั ดสุ าหรบั พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม - (VHG) Ethanol from Cassava Feedstock ระดับ
- ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร
องค์ความรู้การสังเคราะห์และวิเคราะห์วัสดุข้ัวบวก
- สาหรับแบตเตอร่ีลเิ ทียมไอออน
องค์ความรู้วิธีเพิ่มความสามารถของตัวเร่งปฏิกิริยา
- ที่มีเสถียรภาพต่อการทาปฏิกิริยาจากสารประกอบ
ซลั เฟอร์
- ต้นแบบตัวเร่งปฏิกิริยาท่ีมีเสถียรภาพต่อการทา
ปฏิกิริยาจากสารประกอบซัลเฟอร์สาห รับ
กระบวนการ partial hydrogenation เพ่ือผลิต
นา้ มันไบโอดเี ซลคณุ ภาพสูง
ข้อมูลเชิงเทคนิค สมรรถนะ และปริมาณสารมลพิษ
รวมถึงแนวทางในการดัดแปลงเคร่ืองยนต์ทีส่ ามารถ
ใชน้ า้ มนั เบนซินเป็นเชอื้ เพลงิ รว่ มกับนา้ มนั ดีเซล
ต้นแบบวิธีการทดสอบความเป็นไปได้ในการใช้
เชื้อเพลิงชนดิ ใหมใ่ นเครอ่ื งยนต์

๖.๑.๖ งานตามวาระแห่งชาติ (Agenda Based) การวิจยั ตามยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ เพื่อพัฒนานวัตกรรมตาม
ความต้องการของภาครัฐ ได้แก่ อุปกรณ์ทางการแพทย์และอุปกรณ์อานวยความสะดวก (Medical and Assistive
Devices) ระบบราง (Rail ) และระบบขนส่งสมัยใหม่ (Modern Transportation) เป็นต้น โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ดงั น้ี

๒๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๑. อปุ กรณท์ างการแพทย์และอุปกรณ์อานวยความสะดวก (Medical and Assistive Devices) การวิจยั และ

พัฒนาเทคโนโลยีหลักด้านเคร่ืองมือแพทย์และด้านสุขภาวะผู้สูงอายุและคนพิการท่ีมีศักยภาพต่อการ

พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการของประเทศ

การวจิ ัยและพัฒนา วัสดุ อุปกรณ์ด้านเร่ืองทันตกรรม - ตน้ แบบห้องปฏบิ ตั ิการ รากฟนั เทียมพืน้ ผวิ แบบใหม่

เช่น รากฟันเทียมรุ่นใหม่ วัสดุ Dental Absorbable - รายงานการศึกษาเชิงการตลาด ๑ เรื่อง เกี่ยวกับ

Collagen Membrane พร้อมท้ังการทดสอบทาง เคร่ืองเดนตีสแกน

คลินิกแบบหลายหน่วยงาน รวมไปถึงการทดลองผลิต - ต้นแบบห้องปฏิบัติการแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกส์

ในสเกลเล็ก ชนดิ มรี พู รุนต่อเน่ืองท่ีมี BMP2

- ต้นแบบภาคสนามแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกส์พร้อม

บรรจภุ ัณฑ์ทไี่ ด้มาตรฐานและเหมาะสมกับการใช้งาน

- สง่ มอบเครื่องเดนตีสแกน ๒.๐ และซอฟต์แวร์ จานวน

๑๒ เคร่อื ง

การวิจัยและพัฒนา วัสดุ อุปกรณ์ ด้านกระดูกและ - ตน้ แบบห้องปฏิบัติการ proximal femur (กระดูกต้น

ข้อ เช่น การพัฒนาวัดสุฝังในท่ีเป็นข้อเทียมของ ขาเทยี มสว่ นบน)

กระดูกต้นขาส่วนปลาย พร้อมทั้งการทดสอบทาง - ต้นแบบกระบวนการออกแบบและผลิตแผ่นโลหะดาม

คลินิกแบบหลายหน่วยงาน รวมไปถึงการทดลอง กระดูกแบบเฉพาะบุคคลเชิงดิจทิ ลั ระดับภาคสนาม

ผลติ ในสเกลเลก็ - ตน้ แบบเชงิ พาณชิ ย์ BodiRay Mobile DR Hardware

- ตน้ แบบระดบั ภาคสนาม ซอฟต์แวร์ BodiRay Mobile

DR

การวิจัยและพัฒนา วัสดุ อุปกรณ์ด้านโรคหลอด - ต้นแบบห้องปฏิบัติการ Guidewire (ขดลวดเส้นยาว

เลือดสมอง เช่น การพัฒนาวัสดุท่ีใช้ในการรักษา ทม่ี คี วามยืดหยุ่น และโค้งงอได้ ใช้นาและพาสายสวน

โรคหลอดเลือดสมอง พร้อมทั้งการทดสอบทาง หลอดเลือดไปยังตาแหน่งของหลอดเลือดที่ต้องการ)

คลินิกแบบหลายหน่วยงาน รวมไปถึงการทดลอง

ผลิตในสเกลเลก็

การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมด้านสุขภาพผู้สูงอายุ - ตน้ แบบภาคอตุ สาหกรรม ข้อเขา่ ขาเทียมแบบ

และพิการ เช่น ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ส่จี ดุ หมุนและส่วนประกอบแกนในร่นุ ๒.๐

อุปกรณ์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพและเทคโนโลยีส่ิงอานวย - สทิ ธบิ ตั รระบบภาษาภาพภาษาไทย

ความสะดวกสู่เชิงพาณิชย์ ระบบบริการรับแจ้งเหตุ - ต้นแบบห้องปฏิบัติการระบบภาษาภาพภาษาไทย

ฉุกเฉินทางการแพทย์สาหรับคนพิการและผู้สูงอายุ รนุ่ คีย์บอรด์ ภาพ ๑๔๔, ๘๔ และ ๖๐ ปุ่ม พรอ้ มค่มู ือ

ซอฟต์แวร์ระบบภาษาภาพภาษาไทย และอุปกรณ์

๒๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
เอกสารคู่มือการใช้งานระบบภาษาภาพภาษาไทย
บ้านอัจฉริยะ เป็นต้น พร้อมท้ังการทดสอบทาง - ร่นุ คยี บ์ อร์ดภาพ ๑๔๔, ๘๔ และ ๖๐ ปุ่ม
เอกสารรายงานพจนานุกรมระบบภาษาภาพภาษาไทย
คลินิกแบบหลายหน่วยงาน รวมไปถึงการทดลอง รุน่ คีย์บอร์ดภาพ ๑๔๔, ๘๔ และ ๖๐ ปุ่ม
ต้นแบบภาคสนาม ระบบที่ช่วยติดตามสัญญาณชีพ
ผลติ ในสเกลเล็ก - ทางไกลสาหรับผปู้ ว่ ยในรถพยาบาล
เอกสารรายงานทดสอบคาเทียมและวิธีการอ่าน
- แบบแจกลูกสะกดคาประกอบ Interactive
Reading Application
- ชุดสื่อ (กล่องอุปกรณ์) ที่ใช้ร่วมกับ Interactive
Reading Application (แบบฝึกอ่าน บัตรภาพ
- บตั รคา QR code เกม)
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการ Interactive Reading
- Application
- เอกสารทางวิชาการประกอบการพัฒนาระบบถอด
ความเสียงพูดแบบทันต่อเวลาแบบแบ่งพิมพ์ ท่ี
ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีการประมวลผลภาษาธรรมชาติ

๒. การคมนาคมขนส่งระบบราง เพื่อสร้างความสามารถให้บริการขนส่งระบบรางที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย

บุคลากรมีทกั ษะความชานาญ และประเทศไทยสามารถพึ่งพาตวั เองได้ในการผลิตชน้ิ สว่ นรถไฟ

การศึกษาวิจัยการพัฒนาพ้ืนที่รอบสถานีรถไฟ การ - แบบจาลองการจราจรเพ่ือสนับสนนุ ในการวางแผน

เข้าถึงระบบรถไฟ ความสะดวกในการเปล่ียนระบบ และออกแบบสง่ิ อานวยความสะดวกเพื่อการ

และเช่ือมต่อการเดินทาง (Transit-oriented เชอ่ื มตอ่ การเดนิ ทางบรเิ วณสถานกี ลางบางซื่อ

development: TOD)

- การพัฒนาแบบจาลองการจราจรสาหรับส่ิง

อานวยความสะดวกเพ่ือการเชื่อมต่อการ

เดินทางขนสง่ ทางรางบรเิ วณสถานีกลางบางซอื่

การพัฒนาระบบราง เชน่ การออกแบบระบบและ - ต้นแบบระบบตรวจสภาพทางรถไฟ ระดบั

เสน้ ทาง ตวั รถ ระบบโครงสร้างพ้ืนฐานการเดิน หอ้ งปฏิบัตกิ าร

การให้บริการการเดินรถและการซ่อมบารุง

๓๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

ความปลอดภัย ตน้ แบบระบบตรวจวัดการส่นั สะเทอื นของรถไฟ
อัจฉริยะแบบฝงั บนตัวรถไฟฟ้า ระดับ
- การพฒั นาต้นแบบระบบตรวจสภาพทางรถไฟ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
ต้นแบบรถยนต์ขนาดเบาว่ิงบนรางรถไฟมิเตอร์เกจ
การเพ่ิมประสิทธิภาพการเดินรถ เพ่ือเพิ่ม - หรอื ถนน ระดับห้องปฏิบตั ิการ
องค์ความรู้การพัฒนาชุดจาลองการขับรถไฟฟ้า
ประสิทธิภาพการเดินรถและความปลอดภัยในการ ความเรว็ สูง

ให้บริการ เช่น การพัฒนาระบบข้อมูลการเดินทาง ผู้ผ่านหลักสตู รท่ีเก่ียวขอ้ งกับอุตสาหกรรมระบบราง
และระบบขนสง่ ทางราง ๘๐ ราย
ท่ีเข้าถึงได้สะดวก การเพ่ิมหรือบริหารความถ่ีใน -

การเดนิ รถไฟ และการลดการใช้พลังงานในการเดิน

รถ เปน็ ต้น -

- การพัฒนาระบบตรวจวัดการส่ันสะเทือนของ

รถไฟอัจฉริยะแบบฝังบนตัว รถไฟฟ้าท่ี

ให้บริการเพื่อการประเมินความปลอดภัยและ

สภาพทางวงิ่

- การพัฒนารถยนต์ฉุกเฉินว่งิ บนรางรถไฟมิเตอร์

เกจหรือถนน

- การพัฒนาชุดจาลองการขับรถไฟความเร็วสูง

สาหรับการเรียนการสอนเส้นทางสายภาค

ตะวันออกเฉียงเหนอื

การพัฒนาบุคลากรด้านการคมนาคมขนส่ง -

ระบบราง

- จัดทาหลักสูตรพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะ

ด้านท่ีเกี่ยวข้องกับระบบราง และจัดฝึกอบรม

ให้ผทู้ ่สี นใจ

๓. ระบบขนส่งสมัยใหม่ (Modern Transportation) : ยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อสนับสนุนการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับ

อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ เพ่ิมการส่งออก และลดการนาเข้ายานยนต์ไฟฟ้า และช้ินส่วน รักษาฐาน

การผลติ จักรยานยนต์ไฟฟ้าใหย้ ังคงอันดับ ๑ ของอาเซยี น

การพัฒนาแพล็ตฟอร์มองค์ประกอบของช้ินส่วน - ต้นแบบระบบมอเตอร์สวิตซ์รีลัคแตนซ์ และไดร์ฟ

หลักของยานยนต์ไฟฟ้า (SRM) ขนาด ๓.๕ kW สาหรับรถจักรยานยนต์

ไฟฟา้ ระดบั ภาคสนาม

๓๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- วิจัยและพัฒนาระบบมอเตอร์สวิตซ์รีลัคแตนซ์ - ต้นแบบมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนาสาหรับขับเคลื่อน

และไดร์ฟ (SRM) ขนาด ๓.๕ kW สาหรับ รถไฟฟา้ ระดบั ภาคสนาม

รถจกั รยานยนต์ไฟฟ้า รุ่นที่ ๒ - ต้นแบบมอเตอร์ไฟฟ้าชนิดซิงโครนัสรลี ัคแตนซ์แบบ

- วิจัยและพัฒนามอเตอร์ไฟฟ้าเหน่ียวนาสาหรับ ใช้แม่เหล็กถาวรเพ่ือใช้ในงานอุตสาหกรรมและยาน

ขับเคลอื่ นรถไฟฟ้า ยนตไ์ ฟฟ้า ระดับภาคสนาม

- พัฒนามอเตอร์ไฟฟ้าชนิดซิงโครนัสรีลัคแตนซ์ - องค์ความรู้การพัฒนาระบบระบายความร้อนแพ็ก

แ บ บ ใ ช้ แ ม่ เ ห ล็ ก ถ า ว ร เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ง า น แบตเตอรีท่ ่เี หมาะสมกบั ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

อุตสาหกรรมและยานยนต์ไฟฟ้า

- การศึกษาและพัฒนาระบบหล่อเย็นสาหรับ

ระบายความรอ้ นแพค็ แบตเตอรี่

การจัดทาร่างข้อกาหนดมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ - รา่ งมาตรฐานมอเตอร์ระบบขับเคลอ่ื น และ

ยานยนต์ไฟฟ้าและช้ินส่วนตามบริบทของประเทศ แบตเตอรีสาหรบั ยานยนต์ไฟฟ้า

เพื่อยกระดับคุณภาพยานยนต์ไฟฟ้าและช้ินส่วน

ของไทย

- การพัฒนามาตรฐานมอเตอร์ระบบขับเคล่ือน

และแบตเตอรสี่ าหรบั ยานยนต์ไฟฟ้า

การสร้างเครือข่ายการร่วมดาเนินการระหว่าง - โครงการความร่วมมอื ในการดัดแปลงรถโดยสาร

ภาครัฐ เอกชน และสถาบันวิจัยในรูปแบบภาคีเพ่ือ ประจาทางใชแ้ ลว้ ขององค์การขนส่งมวลชน

ร่วมผลักดันให้เกิดการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าใน กรงุ เทพเปน็ รถโดยสารไฟฟ้าเพ่อื พฒั นาขดี

ประเทศ ความสามารถของผูป้ ระกอบการไทย” ระหว่าง

- สร้างเครื่อข่ายความร่วมมือในการพัฒนาการ สวทช., กฟผ., กฟภ., กฟน. และ ขสมก. และ

ผลิตรถโดยสารไฟฟ้าไทย ระหว่างภาครัฐ จดั ทาบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื กนั

เอกชน และสถาบนั วจิ ยั

๓๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๑.๗ โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S&T Infrastructure)
การพัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานทาง ว และ ท ที่สาคัญของประเทศ ประกอบด้วย (๑) ธนาคาร
ทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank Center) (๒) ศูนย์ชีวนวัตกรรมและวิศวกรรมชีวภาพ (Omics
Center) (๓) ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การคานวณ (Center for Computational Science) และ
(๔) ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบไซเบอร์-กายภาพ (Center for Cyber-Physical System) โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนนิ งาน และผลงานสง่ มอบ ดังน้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๑. ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank Center) เพื่ออนุรักษ์และเก็บรักษาชีววัสดุ

(genetic and material resources) และ living materials’ genetic เพื่อต่อยอดใช้ประโยชน์ใน

อุตสาหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสนับสนุนการอนุรักษ์และเก็บ

รักษาชีววัสดุ และข้อมูล digital ของส่ิงมีชีวิต เป็น One stop service ให้บริการเข้าถึงชีววัสดุท่ีได้

มาตรฐาน สนับสนุนงานวิจัย และอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ รวมถึงบริหารจัดการในเชิงกฎระเบียบ

ฐานข้อมลู และการใช้ประโยชน์ของวสั ดชุ วี ภาพ และขอ้ มลู digital ของสิง่ มชี ีวติ

Biobank จลุ ินทรยี ์ - คลังจัดเก็บรักษาหลักและคลังสารองจุลินทรีย์

สายพันธธุ์ รรมชาติ อย่างน้อย ๓ แห่ง

- คลังจุลินทรีย์ที่มีข้อมูล DNA Barcode จานวน

๘,๐๐๐ รายการ

- คลังจุลินทรีย์ท่ีมีคุณสมบัติด้านโปรไบอิติกส์ สร้าง

สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และผลิตเอนไซม์

มจี านวนจลุ นิ ทรีย์เพิ่มขึน้ ๔๐๐ รายการ

Biobank สมนุ ไพร - คลังจัดเก็บรักษาสมนุ ไพรในระบบปลอดเชื้อ

- สมุนไพร จานวน ๕ สปชี สี ์ทม่ี กี ารเก็บรักษาในคลัง

ในรปู แบบเซลลเ์ นือ้ เยอ่ื พชื (Tissue bank)

- สมุนไพรจานวน ๒๐๐ สปีชี่ส์ที่มีการรวบรวมและ

ปลูกดูแลในระบบโรงเรือนปลูกพืชเตรียมความ

พรอ้ มเพื่อดาเนนิ การเขา้ เก็บใน biobank ต่อไป

- คลังสมุนไพรที่มีข้อมูล DNA Barcode จานวน

๒๐๐ สปีชสี ์

Biobank เซลล์ไลน์สตั ว์ - คลังจัดเก็บรักษาเซลล์ไลน์สัตว์ท่ีมีการปรับปรุง

แสดงออกของโปรตีนสาคัญในการเพ่ิมจานวนของ

๓๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

ไวรัสต้นแบบที่ใช้ในการผลิตและพัฒนาวัคซีน

มนุษย์ สัตว์ หรือ สารชีวภัณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

จานวน ๒๐ ชนดิ (clone)

Digital Biobank จุลินทรีย์ สมุนไพร และ Human - จานวนจุลินทรยี ์ที่จดั ประเภทตามการใช้ประโยชน์

Genome ที่ให้บริการบน TBRC Online Catalog จานวน

เพม่ิ ขึ้น ๔๐๐ รายการ

- ข้อมูลรหัสพันธุกรรม (DNA Barcode) ของ

จลุ นิ ทรีย์จานวน ๘,๐๐๐ รายการ

- ข้อมูลรหัสพันธุกรรม (DNA Barcode) ของ

สมนุ ไพรจานวน ๒๐๐ สปชี ีส์

- ข้อมูลลาดบั เบสทงั้ จโี นมจากประชากรไทย จานวน

๔๒๐ ราย

๒. ศูนย์ชีวนวัตกรรมและวิศวกรรมชีวภาพ (Omics Center) เพ่ือให้เกิดการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีด้าน

Omics ที่ได้มาตรฐานระดับสากล สร้างองค์ความรู้ท่ีมีผลกระทบสูง และสนับสนุนงานวิจัยด้าน omics

แบบครบวงจร เพิ่มความสะดวกและลดระยะเวลาในการรอผล เพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงงานบริการ

เทคโนโลยีชวี ภาพข้นั สงู ใหก้ บั มหาวิทยาลยั หนว่ ยงานวจิ ัยภาครัฐและเอกชน

จัดต้ังศนู ยช์ วี นวตั กรรมและวศิ วกรรมชีวภาพ - ศูนย์ชีวนวัตกรรมและวิศวกรรมชีวภาพท่ีพร้อม

- ออกแบบและปรับปรงุ สถานท่ี เปิดทดลองระบบและให้บริการบางส่วน ๑๐

- จัดซ้ือและตดิ ตงั้ ครุภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ กิจกรรม

- เตรียมความพร้อมการจัดต้ังห้องปฏิบัตการวิจัย - ให้บริการเข้าสืบค้นฐานข้อมูลจีโนมและ web

ดา้ น OMIC ที่ได้มาตรฐานสากล application สะสม ๑๓๖,๐๐๐ คร้งั

- เตรยี มความพรอ้ มบคุ ลากรที่มีความเชยี่ วชาญ

- ประชาสัมพันธ์สถาบันทั้งในและต่างประเทศ

โดยเนน้ เปา้ หมายในกลมุ่ ASEAN

- เร่ิมเปิดให้บริการเพ่ือทดลองระบบ (soft

opening)

๓๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๓. ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การคานวณ (Center for Computational Science) เพื่อพัฒนาและ

ให้บริการระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงเพ่ืองานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแก่

นกั วิจยั ไทย

จัดตง้ั ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาวทิ ยาศาสตรก์ ารคานวณ - ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การคานวณมี

- ปรับปรุงพื้นที่สาหรับติดตั้งโครงสร้างพ้ืนฐาน พื้นที่พร้อมสาหรับการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์

สาหรบั ตดิ ตงั้ ระบบคอมพวิ เตอรส์ มรรถนะสูง สมรรถนะสงู ๑ แหง่

- ให้บริการทรัพยากรโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการ

คานวณ ๘ ล้านชั่วโมงซีพียู

๔. ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบไซเบอร์-กายภาพ (Center for Cyber-Physical System) ให้บริการที่ปรึกษา

และผลักดันให้เกิดระบบนิเวศน์ของการใช้งานอินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง ตลอดจนสรรสร้างงานวิจัยและ

นวัตกรรมในสาขา เพือ่ ส่งเสริมประเทศไทยใหเ้ ข้าส่ยู คุ อุตสาหกรรม ๔.๐

จัดต้ังศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาระบบไซเบอร์-กายภาพ - ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบไซเบอร์-กายภาพที่มี

- ใหค้ าปรึกษา ถ่ายทอดเทคโนโลยแี ก่ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคการศึกษา

ภาคอตุ สาหกรรม รับคาปรึกษาด้านระบบไซเบอร์-กายภาพ (CPS)

- วิจยั และพัฒนานวตั กรรม CPS เพอ่ื อตุ สาหกรรม หรืออินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) จานวน ๑๐

การผลิต (Industrial IoT) หน่วยงาน

- จัดตั้งห้องปฏิบัติการและติดต้ังอุปกรณ์สาหรับ - จานว นต้นแบบการวิจัยพัฒนาและสร้าง

งานบริการ Testbed เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ นวตั กรรมดา้ น CPS หรือ IoT จานวน ๑ ตน้ แบบ

เครือข่ายในรูปแบบต่างๆและเพ่ือทดสอบความ - มีห้องปฏิบัติการพร้อมติดต้ังอุปกรณ์สาหรับงาน

ปลอดภัยของระบบและอุปกรณ์ IoT บริการ Testbed ในการทดสอบและพัฒนา

- จัดต้ังห้องปฏิบัติการและติดต้ังเคร่ืองมือสาหรับ ผลิตภณั ฑต์ ้นแบบ CPS และ IoT

วจิ ัยพฒั นาต้นแบบผลิตภณั ฑ์ (Lab co-working - มีห้องปฏิบัติการพร้อมติดต้ังเคร่ืองมือเพ่ือวิจัย

space) และพัฒนาต้นแบบสาหรับ Lab co-working

- ให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน Cloud Platform space

สาหรบั พฒั นาผลิตภัณฑ์ IoT

๓๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๑.๘ โครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ (National Quality Infrastructure) เป็นการ
ดาเนินการที่เก่ียวข้องกับ NQI ของประเทศ ซึ่งประกอบด้วย M(Metrology) S(Standard) T(Testing) และ
Q (Quality) โดยตั้งเป้าหมายที่จะทาให้ผลติ ภัณฑ์ได้มาตรฐาน เพื่อให้สามารถกระจายสินค้าไปยังประเทศอาเซีย่ น
หรือประเทศกลุ่ม CLMV (กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผน
การดาเนนิ งาน และผลงานสง่ มอบ ดังนี้

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และ การรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025

คอมพิวเตอร์ - ยืนขอรับรอง ๖๐ รายการทดสอบ

- ขยายขอบข่ายการให้บริการและยื่นขอรับรอง - ไดร้ บั การรบั รอง ๒๓ ขอบขา่ ย

มาตรฐานการบริการ

- ทดสอบความเขา้ กันได้ทางคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ - การใหบ้ รกิ ารวเิ คราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ ไม่นอ้ ย

- ทดสอบผลิตภัณฑ์ไร้สายและระบบสื่อสาร กว่า ๕๐,๐๐๐ รายการ

โทรคมนาคม

- ทดสอบผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัย สภาวะ

แวดลอ้ มทก่ี าหนด

- ทดสอบประสิทธภิ าพพลังงาน

- สอบเทยี บเครอื่ งมอื วัดความถีส่ ูง

- วเิ คราะห์ทดสอบผลติ ภณั ฑ์นาโน

- ผลิตภณั ฑเ์ คร่อื งใชใ้ นบา้ นและเซรามิก

อตุ สาหกรรม

- วิเคราะห์สมบัติ โครงสร้าง และองค์ประกอบ

ของวัสดุ

- ทดสอบการย่อยสลายของพลาสตกิ ชีวภาพ

- ตรวจสอบคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์

- บริการเครือ่ งมอื กลาง

๓๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.๒ กลมุ่ บรหิ ารการวิจยั พฒั นา และนวตั กรรม

เป้าหมาย เกิดการสนับสนุนและบริหารงานวิจัยขนาดใหญ่ เพื่อตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาที่สาคัญของ
ประเทศ โดยแหลง่ ทม่ี าของโจทย์ เชน่ กลมุ่ หรอื เครือข่ายท่ีเปน็ การรวมตวั กันของแต่ละอุตสาหกรรม (Consortium)
ยุทธศาสตร์ประเทศ ความต้องการของภาครัฐ ทุนวิจัยขนาดใหญ่ของภาครัฐและเอกชน ทุนวิจัยขนาดใหญ่จาก
บริษทั ข้ามชาติหรือบริษัทขนาดใหญ่ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการดาเนินใน ๓ แผนงาน คือ (๑) การบริหาร
วิจัย พัฒนา และนวัตกรรม เพ่ือใหต้ อบสนองต่อประเด็นทีเ่ ปน็ วาระแหง่ ชาติ (๒) ความร่วมมือระหว่างประเทศ และ
(๓) การพฒั นาคณุ ภาพงานวิจยั และจริยธรรมวจิ ัย

๖.๒.๑ การบริหารวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ที่ตอบโจทย์ที่สาคัญและจาเป็นต่อประเทศ จนสร้าง
ผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจและสังคมอย่างชัดเจน สร้างมูลค่าเพ่ิมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีกลุ่มผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียมาร่วมกันทางาน หรือกาหนดโจทย์ ทางานใกล้ชิดกับหน่วยงานที่มีหน้าท่ีขยายผล ซึ่งประกอบด้วย
(๑) ด้านเกษตรและอาหาร (๒) ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (๓) ด้านสุขภาพและการแพทย์ (๔) ด้านทรัพยากร
ชวี ภาพ (๕) ดา้ นอตุ สาหกรรมการผลิต และ (๖) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือใช้ประโยชนใ์ นหลายดา้ น

๑. ดา้ นเกษตรและอาหาร
เป้าหมาย การใช้ ว และ ท เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการผลิตโดยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต การผลิต
สินค้าท่ีมีคุณภาพ ลดความสูญเสียในขั้นตอนการผลิต และการผลิตอย่างยั่งยืนเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม การรองรับ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๓ แผนงาน คือ (๑) แผนงานมันสาปะหลัง (๒) แผนงานเมล็ดพันธุ์
และ (๓) แผนงานการผลติ สัตว์และสุขภาพสตั ว์ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มแี ผนการดาเนนิ งาน และ
ผลงานส่งมอบ ดงั น้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานมนั สาปะหลงั เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอตุ สาหกรรมมันสาปะหลังตลอดหว่ งโซ่การ

ผลติ ควบคู่กบั การลดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

การประเมนิ เชื้อพันธกุ รรมและปรบั ปรุงพนั ธ์ุ - องค์ความรูก้ ารใช้เครื่องหมายโมเลกลุ สาหรบั

มนั สาปะหลัง คดั เลือกสายพันธ์ุทีม่ ีแป้งสงู

- การปรบั ปรงุ พันธุ์มันสาปะหลงั อย่างมีแบบแผน - องค์ความรู้ผลการประเมินความต้านทานโรคและ

เพื่อเพ่ิมผลิตภาพทางผลผลิตและปริมาณแป้ง แมลง คุณค่าทางโภชนะ และการเจริญพัฒนาของ

สาหรับการใชใ้ นอุตสาหกรรม รากสะสม สาหรับพัฒนาพนั ธม์ุ นั สาปะหลงั ๑ เรื่อง

- การขยายพันธุ์เชื้อพันธุกรรมมันสาปะหลัง - ข้อมูลฟีโนไทป์ของเช้ือพันธุกรรมมันสาปะหลัง

สาหรับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะ (สว่ นเหนือดนิ ) จานวน ๖๐๐ สายพนั ธุ์

๓๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

ทางฟีโนไทป์และ จีโนไทป์ของการพัฒนาราก - ข้อมูลพ้ืนฐานการเจริญเติบโตและสรีรวิทยาของ

สะสมอาหารของมนั สาปะหลัง มันสาปะหลัง จานวน ๔ พันธุ์ ได้แก่ พันธ์ุ

- การศึกษาลักษณะทางฟีโนไทป์ของการพัฒนา เกษตรศาสตร์ ๕๐ พันธ์ุระยอง ๙ พันธุ์ระยอง ๑๑

รากสะสมอาหารของมันสาปะหลังสายพันธุ์ และพนั ธ์ุ CMR38-125-77

ต่างๆ ในธนาคารเชอื้ พนั ธุกรรมมันสาปะหลัง - องคค์ วามรู้กลไกการควบคุมการแสดงออกของยีนท่ี

- การศึกษาการเจริญเติบโต พัฒนาการ และ เกีย่ วขอ้ งกับกระบวนการสรา้ งแป้งในมนั สาปะหลัง

สรีรวิทยา การตอบสนองของมันสาปะหลัง

พันธ์ุต่างกันต่อสภาพแวดล้อมแต่ละฤดูการ

ผลติ

- การศึกษากลไกการควบคุมการแสดงออกของ

ยีน starch synthase IV ท่ีมีบทบาทในการ

ควบคุมและกาหนดขนาดของเม็ดแป้งในราก

ของมนั สาปะหลงั

การเขตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน - ต้นแบบระบบน้าหยดสาหรบั การให้น้า

การผลิตมนั สาปะหลงั มนั สาปะหลงั ในแปลงขนาดใหญ่ ระดับภาคสนาม

- การศึกษาการให้น้าแบบแม่นยาสาหรับการ - องค์ความรู้สูตรปุ๋ยตามความต้องการหรือความ

ปลกู มันสาปะหลงั ในระบบนา้ หยด เหมาะสมของพื้นที่

- การหาค่าสัมประสิทธ์ิการประเมินปริมาณ

ไ น โ ต ร เ จ น จ า ก ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ป ริ ม า ณ

อนิ ทรียวตั ถใุ นดินท่ีใช้ปลกู มนั สาปะหลงั

การเตือนการณ์ การป้องกัน กาจัดโรคและแมลง - ขอ้ มูลโครงสรา้ งทางเคมี และการออกฤทธิ์ทาง

ศัตรมู นั สาปะหลงั รวมทัง้ วัชพืชมันสาปะหลัง ชวี ภาพ ตอ่ การควบคุมหนอนกระท้หู อมของสาร

- การศึกษาสารเมตาโบไลท์ในราบิวเวอเรียสาย เมตาโบไลทใ์ นราบวิ เวอเรยี ท่ีผลิตจากเอนไซม์

พันธุ์ BCC2660 ที่ผลิตจากเอนไซม์สังเคราะห์ PKS15 และ PKS14

โพลีคีไทด์ PKS15 (clade III) และ PKS14

(clade IIb) ที่จาเพาะต่อราแมลงและบทบาท

ของสารทั้งสองตอ่ การก่อโรคในแมลง

การปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการ - องค์ความรู้การพัฒนาวัสดุโฟมจากกากมัน

ผลิตมันสาปะหลัง แป้งดัดแปร และผลิตภัณฑ์ใหม่ สาปะหลังท่ีเคลือบสารเพื่อเพ่ิมคุณสมบัติความ

จากมนั สาปะหลัง ตา้ นทานนา้

๓๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
- การปรับปรุงสมบัติความต้านทานน้าของวัสดุ - องค์ความรู้สูตรวัสดุผสมฐานเทอโมพลาสติกสตาร์ช
สาหรบั ผลติ ผลติ ภณั ฑ์ชอ้ น สอ้ ม และมดี ข้อมลู การ
โฟมจากกากมนั ผลิตเชิงพาณิชย์ กลยุทธ์ทางการตลาด และข้อมูล
- การพัฒนาสูตรและการศึกษาความเป็นไปได้ ความเป็นไปได้ทางการตลาดท่ีเหมาะสมกับสูตรท่ี
พัฒนาขึ้น
ทางการตลาดของวัสดุผสมฐานเทอโมพลาสติก ข้อมูลการผลิตและการตลาดของมันสาปะหลังใน
สตารช์ พื้นท่ีตาบลเขาพระนอน อาเภอยางตลาด จังหวัด
การศกึ ษานโยบาย การตลาด และส่ิงแวดลอ้ ม - กาฬสินธุ์
- การศึกษาข้อมูลการตลาดมันสาปะหลังใน ข้อมูลการผลิต แปรรูป และการกระจายสินค้าของ
จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ประเทศกัมพูชา รวมท้ังข้อมูลเร่ืองกฏระเบียบที่
- การศึกษาโซ่คุณค่าของมันสาปะหลังและ - เกยี่ วขอ้ งทงั้ หมดท่ีกระทบต่อการคา้ กับประเทศไทย
ผลิตภณั ฑใ์ นประเทศกมั พชู า

๒. แผนงานเมลด็ พันธ์ุ เพือ่ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการสง่ ออก และเพมิ่ มลู ค่าในอุตสาหกรรมตอ่ เน่อื ง

การสนบั สนนุ ให้เกดิ หน่วยบริหารจัดการเช้ือ - ผลการประเมนิ ฐานข้อมลู เชื้อพนั ธกุ รรมท่ีใช้งานอยู่

พนั ธกุ รรมในระดับชาติ (National Germplasm ในปจั จบุ ัน เพอ่ื ศึกษารูปแบบฐานข้อมูลเชื้อ

Bank) และสร้างเครือข่ายท่ีเป็นระบบ พันธกุ รรมพชื ในระดับสากลและข้อเสนอแนะใน

- การศึกษาสถานภาพฐานข้อมูลเช้ือพันธุกรรม การปรับปรงุ ฐานข้อมูลฯ

พืชทเ่ี ป็นสากล

การเพ่มิ ขดี ความสามารถในด้านการวิจยั และพัฒนา - สายพันธุ์พืช (พริก มะเขือเทศ แตงกวา ข้าวโพด)

ร่วมกับภาคเอกชนและเช่ือมโยงกับอุตสาหกรรม ทไี่ ดร้ ับการข้นึ ทะเบยี น/ค้มุ ครองพันธุ์ ๘ สายพนั ธ์ุ

ตอ่ เนอ่ื ง - องค์ความรู้การใช้เครื่องหมายโมเลกุลเพ่ือใช้ในการ

- การพัฒนาสายพันธุ์พริกท่ีมีความคงตัวทาง ปรบั ปรุงพนั ธุ์ และสร้างพันธุ์ใหม่

พันธุกรรมของลกั ษณะตัวผเู้ ปน็ หมนั

- การพฒั นาสายพันธแุ์ ตงกวาดอกกระเทยเพ่ือใช้

ในการผลิตแตงกวาลูกผสมให้มีลักษณะดอก

เพศเมียคงท่ี

- การคน้ หายีนความหอมในฟักเขียว

(Benincasa hispida) เพื่อการพฒั นาสายพนั ธุ์

ฟกั เขยี วหอมส่ตู ลาดทางลอื กใหม่และการ

พัฒนาผลิตภัณฑ์ระดบั อุตสาหกรรม

๓๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการผลติ เมล็ดพันธุ์ - องค์ความรู้การพัฒนาเทคโนโลยีการใช้ชันโรงใน

คณุ ภาพสงู และการเพ่มิ มูลค่าเมล็ดพันธุ์ การผลติ เมล็ดพนั ธ์แุ ตงรา้ น

- การศึกษาประสิทธิภาพของชันโรง ในการผสม - องค์ความรกู้ ารพัฒนาระบบการผลิตพริกอัคนีพิโรธ

เกสรแตงร้านภายใตส้ ภาพโรงเรือน เพ่อื ผลติ สารเผด็ สูง ภายใตส้ ภาพโรงเรือน

- การศึกษาระบบการผลิตพริกอัคนีพิโรธเพื่อ - องค์ความรู้การพัฒนาชุดตรวจโมโนโคลนอล

ผลผลติ สารเผด็ สงู ภายใตส้ ภาพโรงเรือน แอนติบอดีจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรียก่อโรคที่

- การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีและการ สาคัญในพืชเศรษฐกจิ

พัฒนาวิธีการทางอิมมูโนวิทยาเพ่ือใช้ตรวจ

วินิจฉัยเชื้อไวรัสและแบคทีเรียก่อโรคพืชที่

สาคัญในพืชเศรษฐกจิ

การสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในการ - เกิดโครงการทดสอบพันธ์ุระหว่างประเทศ และ

ทดสอบพันธุ์และสนับสนุนการทา Business สามารถทดสอบพนั ธุ์ของไทยได้

Matching ให้กับภาคเอกชน - ให้ข้อมูลการตลาด ปริมาณความต้องการ และ

คุณลักษณะของเมล็ดพันธ์ุที่ตลาดต่างประเทศ

ต้องการ แก่ผูผ้ ลิตเมล็ดพันธุ์

การพัฒนาบุคลากรด้านการปรับปรุงพันธ์ุและการ - ได้เกษตรกรรุ่นใหม่ที่มีความรู้ด้านการผลิตเมล็ด

ผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ พันธุ์

๓. แผนงานการผลิตสัตว์และสุขภาพสัตว์ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้กับการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศ

โดยเน้นพึ่งพาทรัพยากรและวตั ถุดิบภายในประเทศและเพม่ิ มูลค่าใหก้ ับผลผลติ สตั วข์ องประเทศ

การวจิ ยั และพฒั นาดา้ นอาหารสัตว์ - องค์ความรู้สูตรอาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง

- การศึกษาผลการใช้ Aurantiochytrium สาหรับลูกกุ้งวัยอ่อนของกุ้งกุลาดา (Penaeus

limacinum BCC52274 เป็นอาหารสาหรับ monodon) โดยใช้จุลนิ ทรีย์ BCC52274

ลูกกุ้งวัยอ่อนของกุ้งกุลาดา ( Penaeus - ต้นแบบกุ้งกุลาดาโอเมกา้ ระดบั ภาคสนาม

monodon) เพื่อเป็นแหล่งสารอาหารกรด

ไขมันไมอ่ ิม่ ตวั สูง

- การศึกษาผลของการเสริมกรดไขมันสายยาวไม่

อิ่มตัวสูงกลุ่มโอเมก้าในกุ้งกุลาดาด้วยจุลินทรีย์

Aurantiochytrium limacinum BCC52274

๔๐

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การวิจัยและพัฒนาดา้ นสขุ ภาพสตั ว์ - ต้นแบบวัคซีนป้องกันโรค Porcine Epidemic

- การขยายขนาดการผลิตวัคซีนป้องกันโรค Diarrhea (PED) ในสุกรท่ีผ่านการทดสอบ

Porcine Epidemic Diarrhea (PED) จาก ประสิทธผิ ลความคุ้มโรคในระดับหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

Vero cells ท่ีผ่านกระบวนการทาพันธุ - องค์ความรู้การพัฒนาวัคซีนป้องกันโรค PRRS

วศิ วกรรม ในสุกรทผี่ า่ นการทดสอบประสิทธผิ ลความคุ้มโรค

- การสร้างและพัฒนาต้นแบบวัคซีนป้องกัน - องค์ความรู้การพฒั นาวคั ซีนป้องกันโรคอหิวาต์สัตว์

ระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพนั ธุ์ (PRRS) ปีกทผ่ี า่ นการทดสอบประสทิ ธิผลความคุ้มโรค

ให้มีความจาเพาะเจาะจงกับสายพันธ์ุของไวรสั

ทก่ี ่อโรคในฟาร์มสุกร

- การทดสอบประสิทธิภาพวัคซีนอหิวาต์สัตว์ปีก

ตน้ แบบชนิดหยอดจมกู ในเปด็

การวิจัยและพฒั นาด้านการจดั การฟาร์ม - ข้อมูลระบบภูมิคุ้มกันเรียนรู้ในกุ้ง เพื่อควบคุมเชื้อ

- การศึกษาการประยุกต์ใช้องค์ความรู้เร่ือง กอ่ โรคในกุ้ง

ระบบภูมิคมุ้ กนั เรียนรใู้ นการควบคุมเชื้อก่อโรค - องค์ความรู้การพัฒนาโปรตีนวัคซีน PmRab7 และ

ในกุ้ง VP28 ป้องกนั โรคตัวแดงดวงขาวในก้งุ

- การทดสอบโปรตนี วคั ซนี PmRab7 และ VP28

บนผิวเซลล์ในการป้องกันการติดเช้ือไวรัสตัว

แดงดวงขาวในกุ้งในระดบั อุตสาหกรรม

๒. ด้านพลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม
เป้าหมาย เสริมสร้างความม่ันคงด้านพลังงาน ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพ่ิมความสามารถ
การแข่งขันของภาคการผลิต & ภาคบริการของประเทศ (ในประเด็น ความยั่งยืน และการค้ากับ สิ่งแวดล้อม)
ประกอบด้วย ๔ แผนงาน คือ (๑) แผนงานสิ่งแวดล้อมที่ย่ังยืน (๒) แผนงานประสิทธิภาพทรัพยากรและพลังงาน
(๓) แผนงานเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีพลังงานใหม่ และ (๔) แผนงานร่วมสนับสนุนทุนวิจัย
กฟผ.-สวทช. โดยในปงี บประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ดังน้ี

๔๑

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานสิ่งแวดล้อมท่ีย่ังยืน เพ่ือลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพ่ิมขีดความสามารถ

การแขง่ ขันของภาคการผลติ /บรกิ าร (ในประเด็นความยง่ั ยนื และการคา้ กบั ส่ิงแวดล้อม)

การจัดทาค่าฐาน (baseline) ของประเทศ ตาม - ค่าฟุตพรินต์วัสดุต่อจีดีพี (Material Footprint :

ตัวชี้วัดความยั่งยืนของอุตสาหกรรมเกษตรและ MF ต่อ GDP) ส่งมอบให้ สานักงานนโยบายและ

อาหาร รวมท้ังระบบจัดเก็บ-อัพเดตข้อมูล และการ แผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (สผ.)

ปรับปรุงสู่ความยั่งยืน (สาหรับผลิตภัณฑ์เป้าหมาย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ

หลกั ของประเทศ) สังคมแหง่ ชาติ

- การศึกษาตัวช้ีวัดการผลติ และการบริโภคอย่าง

ย่งั ยืนตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบท

ของประเทศไทย

การจัดทาค่าฐานตามตัวช้ีวัดตามเป้าหมายการ - ค่าตัวชี้วัดความยั่งยืน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม และ

พัฒนาท่ีย่ังยืนของประเทศ ท่ีแสดงการไม่ผูกติด สิ่งแวดล้อม) ของอุตสาหกรรมยางพาราตลอด

(decoupling) ระหว่างการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ กบั หว่ งโซก่ ารผลติ

ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ

สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้ังระบบจดั เก็บ-อพั เดตขอ้ มลู และ

การปรบั ปรงุ สู่ความยง่ั ยนื

- การประเมินค่าตัวช้ีวัดความย่ังยืน (ดา้ น

เศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดล้อม) ของ

อตุ สาหกรรมยางพาราตลอดห่วงโซ่การผลิต

การจัดทาค่าฐานของประเทศ ตามตัวช้ีวัดการ - ชดุ ฐานขอ้ มลู วฏั จักรชวี ิตด้านส่ิงแวดล้อมท่ี

สูญเสียตลอดห่วงโซ่การผลิตและบริโภคอาหาร พฒั นาขึ้นโดยใชเ้ ทคนคิ การวิเคราะห์ปจั จัยการ

รวมทั้งระบบจัดเก็บ-อัพเดตข้อมูล และการลดการ ผลิตและผลผลติ (Economic Input-Output

สูญเสีย Analysis: E-IOA) และใช้ตาราง Input-Output

- การพฒั นาฐานข้อมูลวัฎจักรชีวติ ดา้ น (IO Table) ปี ๒๐๑๐ ของประเทศไทยเปน็

ส่งิ แวดล้อมโดยใช้ตารางปจั จัยการผลติ และ ฐานข้อมลู

ผลผลิตของประเทศไทย

การวจิ ัยและพัฒนาเทคนิคเพื่อส่งเสรมิ การผลิตและ - ข้อกาหนดระบบรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิง

บรโิ ภคผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารท่ีเป็นมติ รกับ นิเวศ (Eco Factory) แนวปฏิบัติตามข้อกาหนด

๔๒

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

สิง่ แวดลอ้ ม มาตรฐานฯ และคู่มือการตรวจประเมินตาม

- การพัฒนาคู่มือปฏิบัติและคู่มือตรวจประเมิน ข้อกาหนดมาตรฐานฯ เพ่ือสนับสนุนกระบวนการ

มาตรฐานโรงงานอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ขอรับการรับรองจากภาคอตุ สาหกรรม

การวิจยั เชงิ นโยบายด้านสง่ิ แวดล้อม - เทคนิคการประเมินคาร์บอนฟุ ตพร้ินท์ของ

- การพัฒนาเทคนิคการประเมินคาร์บอนฟุต ประเทศไทย

พร้ินท์ของประเทศไทย

๒. แผนงานประสิทธิภาพทรัพยากรและพลังงาน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคครัวเรือน

ภาคอุตสาหกรรม และภาคการผลิตพลังงาน ผลติ งานวจิ ัยสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง และนวตั กรรม

ท่เี กดิ ขึ้นจะชว่ ยบรรลเุ ปา้ หมายการลดใช้พลงั งาน นาไปส่กู ารเปน็ สงั คมคารบ์ อนต่า

การวิจัยและพัฒนาด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพ - ต้นแบบระบบผลิตน้าแข็งซองโดยการให้ความเย็น

ทรัพยากรและพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ภายนอกและการให้ความเย็นภายในซองร่วมกับ

- การพัฒนาต้นแบบระบบผลิตน้าแข็งซองโดย การแช่แข็งในบ่อน้าเกลอื ระดบั ภาคสนาม

การให้ความเย็นภายนอกและการให้ความเย็น - องค์ความรู้การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเอทานอล

ภายในซองรว่ มกับการแช่แขง็ ในบ่อนา้ เกลอื จากหัวมันสดแบบย่อยและหมักไปพร้อมกันภายใต้

- การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต สภาวะความเข้มข้นสารตั้งต้นสูง (HG-SSF / VHG-

เอทานอลจากหัวมันสาปะหลงั ในระดับต้นแบบ SSF)

โรงงาน

การพัฒนาอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง โดยการวิจัย - ต้นแบบเตาหุงต้มแอลพีจีแบบความดันสูงที่มี

พัฒนาอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง และขยายผล สมรรถนะสูง ระดับภาคสนาม

การใช้ในภาคอุตสาหกรรม

- การปรับปรุงสมรรถนะเตาก๊าซหุงต้มแอลพีจี

ชนิดความดนั สงู

การวิจัยและพัฒนาด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพ - ข้ อ มู ล อั ต ร า ก า ร ว น น้ า ที่ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อ ก า ร

การจดั การของเสยี อุตสาหกรรมเพ่ือผลติ พลงั งาน กาจัดซัลเฟตและผลิตกรดอินทรีย์ในถังปฏิกรณ์

- การพัฒนากระบวนการกาจัดซัลเฟตและ Acidogenic sulfate reduction และผลต่อ

แอมโมเนียและการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพสาหรับน้าเสีย

ก๊าซชีวภาพสาหรับน้าเสียจากกระบวนการ จากกระบวนการผลิตนา้ ยางข้น

ผลิตนา้ ยางขน้

๔๓

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๓. แผนงานพลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีพลังงานใหม่ เพื่อสร้างความม่ันคงด้านพลังงานลดการพึ่งพา

เชื้อเพลิงฟอสซลิ และปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

การเพ่ิมศักยภาพ (ปริมาณและความเหมาะสม) - ข้อมูลสถานการณ์ห่วงโซ่อุปสงค์ และอุปทานของ

ของชีวมวลสาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตความ ถา่ นไม้ ในปจั จบุ ันของประเทศไทย

ร้อนและไฟฟ้า - ข้อมูลพื้นฐานที่เก่ียวข้องกับการเผาไหม้ของ

- การศึกษาสถานการณ์ห่วงโซ่อุปสงค์ และ ฟางข้าว ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกิด

อปุ ทานของถ่านไม้ ในปจั จุบนั ของประเทศไทย จากการใช้ฟางข้าวเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาไหม้

- การศึกษาการเผาไหม้ฟางข้าวและการเผาไหม้ ตะกรับแบบเคลื่อนทีก่ ลบั ไป-มา

ฟางข้าวร่วมกับถ่านหินบิทูมินัสในเตาเผาไหม้

แบบตะกรบั

การพัฒนาเทคโนโลยีการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลิงรว่ ม - องค์ความรู้การพัฒนาการเผาไหม้ร่วมชีวมวลท่ีมี

- การศึกษาการเผาไหม้ร่วมกันระหว่างถ่านหิน ศักยภาพกับถา่ นหนิ ในโรงไฟฟา้ แมเ่ มาะ

และชวี มวลประเภทตา่ งๆ - ผลการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อต้นทุนและ

- การศึกษาและประเมินผลกระทบต่อต้นทุน อัตราค่าไฟฟ้าในการใช้เชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่ง

และอัตราค่าไฟฟ้าในการใชเ้ ช้ือเพลงิ ชวี มวลอดั เผาไหม้ร่วมกบั ถ่านหินในโรงไฟฟา้ แม่เมาะ

แทง่ เผาไหมร้ ว่ มกับถ่านหนิ ในโรงไฟฟา้ แมเ่ มาะ - ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพหม้อไอนา้ และ

- การประเมินประสิทธิภาพหม้อไอน้าและการ การเผาไหมจ้ ากการเผาไหม้ร่วมถ่านหนิ -ชีวมวลของ

เผาไหม้จากการเผาไหม้ร่วมถ่านหิน-ชีวมวล โรงไฟฟ้าแมเ่ มาะ-การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่

ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย

ประเทศไทย - ผลการประเมินวัฏจักรชีวิตของการใช้เชื้อเพลิง

- การประเมินวัฏจักรชีวิตของการใช้เช้ือเพลิง ชีวมวลเผาไหม้ร่วมกับลิกไนต์ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ:

ชีวมวลเผาไหม้ร่วมกับลิกไนต์ในโรงไฟฟ้าแม่ เช้ือเพลงิ ไมอ้ ดั เมด็ จากไม้/เศษไม้

เมาะ: เช้ือเพลิงไม้อดั เมด็ จากไม้/เศษไม้

๔. แผนงานร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ.-สวทช. เพ่ือสร้างความม่ันคงด้านพลังงาน ลดการนาเข้า
จากต่างประเทศ และพัฒนาเทคโนโลยเี พอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการใช้พลังงาน

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและใช้ - องค์ความรู้การพัฒนาชุดกังหันกระแสน้าผลิต
พลังงานทส่ี ะอาด ยัง่ ยนื และตน้ ทุนต่า เหมาะสมกับ ไฟฟ้าขนาด ๑ กโิ ลวตั ตท์ ่มี ีประสทิ ธิภาพสูง
ทอ้ งถน่ิ ชนบท

๔๔

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- การเพม่ิ สมรรถนะชุดกังหันกระแสน้าขนาดเล็ก

นวตั กรรมทัว่ ถงึ สาหรบั การผลติ ไฟฟา้ ในชนบท

การวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพ - ขอ้ มูลผลกระทบดา้ นการใช้พลังงานและ

พลงั งานและลดการสูญเสีย ด้าน Demand side ส่งิ แวดลอ้ มของการใชเ้ ครื่องพมิ พ์ ๓ มติ ิ ตลอด

- การประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มและ วัฏจักรชีวติ ผลติ ภณั ฑ์ ในภาคอุตสาหกรรมการ

พลังงานตลอดวฏั จักรชวี ติ ของเทคโนโลยี ออกแบบ และแนวทางการเลือกใชว้ ัสดแุ ละ

เครอื่ งพิมพ์ ๓ มิติ ในภาคอุตสาหกรรมการ การจัดการใช้เครอ่ื งพิมพฯ์

ออกแบบ

การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยกี ารเพ่ิมประสทิ ธิภาพ - ข้อมลู กาลงั ผลติ ตดิ ตั้งสงู สดุ ที่เหมาะสมของ

และลดการสูญเสียด้าน Supply side (โรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย และ

สายส่ง ระบบจาหน่าย) แนวทางในการปรับปรงุ โรงไฟฟ้าพลงั งาน

- การศึกษากาลังผลติ ติดตั้งสงู สุดท่ีเหมาะสมของ แสงอาทติ ย์ให้เหมาะสมเม่ือมีการติดตง้ั โรงไฟฟา้

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย พลังงานแสงอาทิตย์เกินกว่ากาลังผลติ ติดต้งั สูงสุด

เม่อื พิจารณาผลกระทบด้านความถ่ี ในแตล่ ะภาคของประเทศไทย

การวิจยั เชงิ นโยบายดา้ นการอนรุ กั ษ์พลงั งาน - ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ๒ เรื่อง เชน่ มาตรการ

พฒั นาพลังงานทดแทน และความมัน่ คงด้านการ ประหยัดพลงั งานในรา้ นสะดวกซ้ือ และ ศักยภาพ

จัดหาพลังงาน ของรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยาง ในเมือง

- การศึกษาเชงิ นโยบายเก่ียวกับศักยภาพของรถ จ. เชียงใหม่ เมืองพัทยา จ. พิษณโุ ลก จ.นครราชสีมา

โดยสารไฟฟา้ โทรลลลี อ้ ยาง กรณศี กึ ษา - ข้อมูลผลกระทบและแนวทางการเตรียมความ

จ.เชียงใหม่ เมอื งพทั ยา จ.ชลบุรี จ.พิษณโุ ลก พร้อมเพ่ือรองรับการจ่ายคืนพลังงานไฟฟ้าของ

และ จ.นครราชสีมา ยานยนต์ไฟฟา้ เข้าสู่ระบบโครงข่าย

- การศึกษาผลกระทบและแนวทางการเตรียม - ข้อมูลผลกระทบต่ออุปสงค์ อุปทาน และราคาของ

ความพร้อมเพ่อื รองรบั การจ่ายคืนพลังงาน ปาลม์ นา้ มนั จากการนาไปใชเ้ พื่อการผลติ ไฟฟา้

ไฟฟา้ ของยานยนต์ไฟฟา้ เขา้ สู่ระบบโครงข่าย - ข้อมลู ศกั ยภาพการประหยัดพลังงานของระบบ

ระยะที่ ๑ : การศึกษาความเปน็ ไปได้ เคร่ืองทาน้าเย็นและผลการดาเนนิ มาตรการ

- การศกึ ษาผลกระทบต่ออปุ สงค์ อปุ ทาน และ ประหยดั พลงั งานของอาคารในภาค

ราคาของปาลม์ นา้ มนั จากการนาไปใช้เพ่ือการ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน

ผลติ ไฟฟ้า

- การศึกษาศักยภาพการประหยดั พลังงานและ

ผลการดาเนนิ มาตรการประหยดั พลังงานใน

๔๕

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
ระบบปรบั อากาศของอาคารในภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน

๓. ดา้ นสขุ ภาพและการแพทย์

เปา้ หมาย เทคโนโลยี ผลิตภณั ฑ์ และบรกิ ารทางการแพทยเ์ พ่อื ดูแลสขุ ภาพประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพ

การใช้งบประมาณด้านสุขภาพของภาครัฐ และเตรยี มความพรอ้ มด้านความมั่นคงทางสขุ ภาพของประเทศ

ประกอบด้วย ๒ แผนงาน คือ (๑) แผนงานเทคโนโลยีเพ่อื เตรียมพร้อมปอ้ งกนั โรคอุบัตใิ หม่ อบุ ตั ิซ้า และ

(๒) แผนงานเทคโนโลยีชวี ภาพทางการแพทยเ์ พื่อการดแู ละสุขภาพประชาชน โดยในปงี บประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒

สวทช. มแี ผนการดาเนนิ งาน และผลงานสง่ มอบ ดังน้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานเทคโนโลยีเพ่ือเตรียมพร้อมป้องกันโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้า องค์ความรู้และผลิตภัณฑ์ท่ีแก้ปัญหา

และตอบสนองต่อการรบั มอื กับโรคอุบัตใิ หม่ และอบุ ัติซา้ ได้อย่างทันท่วงที

การพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกต้นแบบที่ - ต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก รูปแบบ

เขา้ ทดสอบในมนุษย์ Virus Like Particle (VLP) สาหรับบูสเตอร์

- การพัฒนา Pre master dengue virus ในลิงแสม ระดบั ห้องปฏบิ ัตกิ าร

vaccine seeds ระยะที่ ๑ : การสร้าง Pre - ต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก ระดับ GMP

master seed ๒ รปู แบบ production

- การประเมินผลเบื้องต้นสาหรับการกระตุ้น

ภูมิคุ้มกันของวัคซีนต้นแบบชนิด subunit E

ของไวรัสเดง็ ก่ีในลงิ แสม

การสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการเพื่อการ - ข้อมูลความเสี่ยงของไวรัสโคโรน่าท่ีพบในค้างคาว

เตรียมพร้อมรับมือต่อโรคติดต่ออุบัติใหม่ และ ต่อการติดเช้ือในมนุษย์ และข้อมูลการความ

อุบัตซิ า้ หลากหลายของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ุต่าง ๆ

- การศึกษาไวรัสโคโรน่าที่พบในค้างคาวต่อการ จากคา้ งคาวในพืน้ ที่ศกึ ษา

ตดิ เชอ้ื ในมนษุ ย์ - ข้อมูลระบาดวทิ ยาของไวรัสในระบบทางเดินหายใจ

- การศึกษาข้อมูลระบาดวิทยาของไวรัสในระบบ และข้อมูลการความหลากหลายของเชื้อไวรัสสาย

ทางเดนิ หายใจ พนั ธ์ุตา่ งๆ

- การวิจัยและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยไวรัสด้วย

วธิ ีทเี่ หมาะสม

๔๖

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานสง่ มอบปี ๒๕๖๒
- การวิจัยและพัฒนาชุดตรวจ LAMP สาหรับ - แนวทางการตรวจวินิจฉัยไวรัสที่เหมาะสม และ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ viral metagenomics
ตรวจ B. anthracis ที่เหมาะสม
- การศึกษาวิธีการแยกและระบุแหล่งที่มาของ องค์ความรู้การพัฒนาชุดตรวจ LAMP สาหรบั ตรวจ
เชื้อ B. anthracis
เช้ือด้วยเทคนิค Multilocus sequence - วิธีการแยกและระบุแหล่งท่ีมาของเชื้อด้วยเทคนิค
typing (MLST), random amplification of Multilocus sequence typing (MLST), random
polymorphic DNA (RAPD), ribotyping - amplification of polymorphic DNA (RAPD),
และ toxinotyping ribotyping และ toxinotyping
องค์ความรกู้ ารพัฒนาผลิตภณั ฑ์ EV71-specific
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Intravenous - IVIG
Immunoglobulin (IVIG) ตอ่ EV71

๒. แผนงานเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ เพื่อการดูแลสุขภาพประชาชน มีเป้าหมายเพื่อการใช้ข้อมูล

ระดับพันธกุ รรมรว่ มกับข้อมูลทางคลนิ ิก ในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการทานายและวินิจฉัย ปอ้ งกัน และ

รกั ษาโรคที่เป็นปญั หาสาคัญทางสาธารณสุข

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจเพ่ือการ - ต้นแบบชุดตรวจ Real time LAMP เพื่อวินิจฉัย

วินิจฉัยในระยะเริม่ ตน้ หรอื พยากรณโ์ รคไตในระยะเรม่ิ แรกจากสาเหตุลูปัส

- การพฒั นาเทคนคิ Real-time LAMP เพ่ือการ ระดบั ห้องปฏบิ ตั ิการ

ตรวจวดั ระดับ mRNA ของยีน IP-10

เครื่องหมายชวี ภาพของโรคไตอักเสบลปู สั ใน

ปสั สาวะด้วยเครือ่ งวัดความขุ่นแบบ real-time

ขนาดพกพา

การวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ - ต้นแบบชุดตรวจวัดระดับโปรตีนเพอริออสตินใน

การรักษาหรอื การรักษาแบบแม่นยา เลือดเพ่ือบ่งช้ีพยากรณ์โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ระดับ

- การพัฒนาชุดตรวจวัดระดับโปรตีนเพอริ ห้องปฏิบตั ิการ

ออสตินในเลือดเพ่ือบ่งช้ีพยากรณ์โรคและ - องค์ความรู้กลไกการควบคุมเซลล์มะเร็งเพ่ือระบุ

พฒั นาแนวทางการรักษาผปู้ ่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่ ชนิดโปรตนี สูก่ ารพยากรณ์การตอบสนองของมะเร็ง

ในประชากรไทยแบบมงุ่ เป้า ทอ่ นา้ ดตี ่อยาตา้ นมะเรง็ ชนดิ มุ่งเปา้

๔๗

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

- การศึกษากลไกการควบคุมเซลล์มะเร็งเพื่อระบุ

ชนิดโปรตีนสู่การพยากรณ์การตอบสนองของ

มะเร็งท่อน้าดีต่อยาตา้ นมะเรง็ ชนิดมงุ่ เป้า

เทคโนโลยีเซลล์และยีนบาบัดสาหรับการรักษาโรค - องค์ความรู้การพัฒนาเทคโนโลยีวธิ ีการตรวจหาการ

(Cell Technology and Gene Therapy) สลับตาแหน่งของยีน ROS1 เพ่ือการตรวจวินิจฉัย

- การพัฒนาวิธีการตรวจหาการสลับตาแหน่ง และการรักษามะเรง็ ปอดชนิด non-small cell

ของยีน ROS1 เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการ

รกั ษามะเร็งปอดชนิด non-small cell

๔. ด้านทรพั ยากรชวี ภาพ
เป้าหมาย การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือการ
อนุรักษ์ ใช้ประโยชน์ และการพัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพใหม่อย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ๒ แผนงาน คือ
(๑) แผนงานการอนุรักษฺ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างย่ังยืน และ (๒) แผนงานการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรชวี ภาพ เพ่อื อุตสาหกรรมใหม่ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ สวทช. มีแผนการดาเนนิ งาน และผลงาน
สง่ มอบ ดังน้ี

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

๑. แผนงานการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือ

การอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรชวี ภาพ รวมถึงการฟ้ืนฟูสภาวะแวดล้อม เพ่ือการให้บริหารจัดการพื้นท่ี

ทั้งในและนอกพื้นทีอ่ นุรกั ษ์ การให้บรกิ ารทางระบบนิเวศ และการจดั การการท่องเทีย่ วอย่างย่งั ยืน

การสรา้ งความรพู้ ้ืนฐานและการฟน้ื ฟูระบบนเิ วศ - ข้อมูลการกระจายตัวและนิเวศวิทยาการอพยพ

- การศึกษานิเวศวิทยาการอพยพของเหยี่ยว ในช่วงฤดูหนาวของเหย่ียวนกเขา (พ้ืนที่หยุดพัก

นกเขา สายพันธุ์เอเชียสองชนิดที่อพยพผ่าน ชัว่ คราวและถิ่นอาศัย)

เส้นทาง East Asian Continental Flyway - รูปแบบการย้ายปลูกสาหร่ายใบมะกรูดเพื่อส่งเสริม

- การศึกษาปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการย้ายปลูก การลดคารบ์ อนไดออกไซด์ และองคค์ วามร้เู ก่ียวกับ

และแนวทางการใช้ประโยชน์จากสาหร่ายใบ แคลเซยี มของสาหร่ายใบมะกรดู

มะกรูด Halimeda macroloba - ข้อมูลการกระจายตัวและนิเวศวิทยาการหาอาหาร

- การศกึ ษาการกระจายและนิเวศวทิ ยาการหา ของนกทะเลขาเขยี วลายจุดในประเทศไทย

อาหารของนกทะเลขาเขยี วลายจุดในประเทศไทย

๔๘

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒
แนวคิดการอนุรักษ์ระบบนิเวศของนากและสัตว์ผู้
- การศึกษาสถานภาพการกระจายของนากและ - ล่าขนาดเล็กในป่าชายเลนและพื้นท่ีชุ่มน้าในภาคใต้
ของประเทศไทย
สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กชนิดอื่นๆ ที่อาศัยอยู่บริเวณ
แนวทางการอนุรักษ์หอยตะเภา บริเวณหาดหยงหลา
ป่ า ช า ย เ ล น แ ล ะ พ้ื น ท่ี ชุ่ ม น้ า ใ น ภ า ค ใ ต้ ข อ ง และเกาะมุก อทุ ยานแห่งชาตเิ จ้าไหม
ข้อมูลการติดตามการเปล่ียนแปลงของน้าทะเล
ประเทศไทย และปลาในแนวปะการงั และปะการงั ทอ่ี ่าวขอนแค
และอา่ วปะตก เกาะราชา จังหวดั ภเู กต็
การส่งสรมิ การสรา้ งองค์ความรทู้ างความ - ขอ้ มลู การแสดงออกของยีนในสาหรา่ ย
Symbiodinium และปะการังโขด Porites lutea
หลากหลายทางชีวภาพ และการประยุกต์ใช้ เพื่อ ทฟี่ อกขาว

ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - ข้อมูลการผลิตและการตลาดเห็ดเศรษฐกิจและเห็ด
ปา่ กนิ ไดข้ องไทย
- การศึกษาการอนุรักษ์หอยตะเภาบริเวณหาด ข้อมูลเห็ดและฤทธ์ิทางชีวภาพที่เก่ียวข้องกับโรค
อัลไซเมอร์ของสารทส่ี กัดได้จากเห็ด
หยงหลาและเกาะมกุ อุทยานแห่งชาตเิ จ้าไหม

- การศึกษาการติดตามระบบนิเวศปะการัง -

ระยะยาว : กรณีศึกษา เกาะราชาใหญ่ จังหวัด

ภเู ก็ต

- การศึกษาการแสดงออกของยีนในสาหร่าย

Symbiodinium และปะการังโขด Porites

lutea ท่ีฟอกขาว อันเน่ืองมาจากการเพ่ิม

อณุ หภมู ิของน้าทะเล

การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ เพื่อสร้าง -

ความมั่นคงทางอาหาร

- การรวบรวมข้อมูลการผลิตและการตลาดเห็ด -

เศรษฐกจิ และเห็ดปา่ กนิ ไดข้ องไทย

- การทดสอบฤทธ์ิทางชีวภาพจากสารสกัดเห็ด

เพื่อเสริมความจา

๒. แผนงานการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต

และสารชีวภาพใหม่จากฐานทรัพยากรชีวภาพ เพ่ือการเพิ่มมูลค่าให้วัตถุดิบทางการเกษตร และการใช้

ประโยชนใ์ นอุตสาหกรรมพลงั งาน เกษตรและอาหาร และอุตสาหกรรมชวี ภาพอย่างยัง่ ยนื

การพัฒนาเอนไซมเ์ พ่ือการใช้ประโยชนใ์ น - ต้นแบบเอนไซม์จากจุลินทรีย์ที่ใช้ในกระบวนการ

อตุ สาหกรรม ไฮโดรเทอร์มอล ในระดับห้องปฏิบัติการ และองค์

- การผลิตน้าตาลไซโลสจากชานอ้อยโดยใช้ ความรู้สภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการไฮโดร

กระบวนการไฮโดรเทอรม์ อลร่วมกับเอนไซม์ เทอร์มอล

๔๙

แผนการดาเนนิ งานและงบประมาณของ สวทช. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนการดาเนนิ งาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๒

การพัฒนาจุลินทรีย์/ชีวภัณฑ์เพื่อควบคุมโรคพืช - องค์ความรู้ผลการทดสอบประสิทธิภาพชีวภัณฑ์

และแมลงศัตรูพืชในระบบนิเวศแปลงเกษตร ควบคุมโรคแอนแทรกโนสในพริก ในระดบั โรงเรอื น

(Biocontrol) - องค์ความรู้การใช้ราควบคมุ ไสเ้ ดือนฝอยรากปม

- การทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์จาก - องค์ความรู้ผลการทดสอบประสิทธิภาพชีวภัณฑ์

จุลินทรีย์ในการควบคุมโรคแอนแทรกโนสใน กาจดั เพลี้ยไฟในพรกิ ในแปลงทดสอบ

พริกระดับโรงเรอื น

- การใช้รา Arthrobotrys oligospora และ

A.javanica เพ่ือควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม

(Meloidogyne sp.) ในพชื เศรษฐกิจ

- การทดสอบประสิทธิภาพของเช้ือราแมลง

Paecilomyces lilacinus BCC7058 ในการ

เปน็ สารชีวภณั ฑค์ วบคมุ เพลย้ี ไฟในระดับแปลง

การพฒั นาการผลิตสารมูลค่าสูง - องคค์ วามรู้สภาวะการผลติ ชวี มวลของสไปรูลินา่

- การสร้างตน้ แบบการผลิตชวี มวลของสไปรูลิน่า - องค์ความรู้การใช้เปปไทด์ออกฤทธ์ิจากสาหร่าย

ในสภาวะเครยี ดจากอณุ หภูมิ โดยการวเิ คราะห์ สไปรูลิน่าที่เหมาะสมสาหรับเป็นสารเสริมอาหารใน

เชิงระบบด้วยข้อมูลระดับโปรติโอม และวิธี สัตว์

วเิ คราะหฟ์ ลักซ์บาลานซ์ - องค์ความรู้ตาแหน่งยีนท่ีเก่ียวข้องกับสารพิษใน

- การใช้เปปไทด์ออกฤทธิ์จากสาหร่ายสไปรูลิน่า เชือ้ รา Myrothecium roridum

เพอ่ื เปน็ สารเสริมอาหารในสตั ว์

- การศึกษาความเป็นพิษและตาแหน่งยีนที่

เกี่ยวข้องโดยวิเคราะห์ลาดับจีโนมของเช้ือรา

Myrothecium roridum

การพัฒนาและใชป้ ระโยชนจ์ ุลินทรีย์ทม่ี ีศักยภาพใน - องค์ความรู้เชื้อจุลินทรีย์สาหรับบาบัดน้าเสียแบบ

อุตสาหกรรม Flexible substrate ในโรงงานแปง้ มนั สาปะหลัง

- การศึกษาและพัฒนาเชื้อจุลินทรีย์สาหรับบาบัด

น้าเสียแบบ Flexible substrate ในโรงงาน

แป้งมนั สาปะหลัง

๕๐


Click to View FlipBook Version