The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถังขยะอัตโนมัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wee Vee, 2023-09-15 10:21:55

ถังขยะอัตโนมัติ

ถังขยะอัตโนมัติ

โครงงานคอมพวิเตอร์ เรืÉองถังขยะอตัโนมัติ จดัทาํโดย นาย บทกวี ยนุ่สมาน เลขทีÉš นางสาว ศิริโสภา รัดคุ่ย เลขทีÉřś นางสาว วรรณภา อาจหยดุเลขทีÉŚŘ นางสาว ธิดาพร นนทะภา เลขทีÉŚř นางสาว ปณิตา บุญทนัเสน เลขทีÉŚŚ นางสาว ส้ม บุญมา เลขทีÉŚŜ ชัÊนมธัยมศึกษาปีทีÉŞ/ş โครงงานนีÊเป็นส่วนหนÉึงของรายวชิาการออกแบบเทคโนโลยี3รหสัวชิาว33287 ภาคเรียนทีÉ 1 ปี การศึกษา 2566 โรงเรียนราชวนิิต นนทบุรี


บทคดัย่อ โครงงานสิÉงประดิษฐ์นีÊเป็นการศึกษาแบบจ าลองถงัขยะเปิด-ปิดอตัโนมตัิดว้ยระบบเซ็นเซอร์ในขณะ เวลาทีÉขยะเต็ม จะมีเสียงแจง้เตือน ซÉึงตอ้งรู้จกัหลกัการท างานของอุปกรณ์การประกอบส่วนตา่ง ๆ ของ อุปกรณ์ และการเขียนโปรแกรมควบคุมการท างานตามวตัถุประสงค์มีการวิเคราะห์และ หาขอ้มูลในส่วน นัÊน โดย ควบคุมการท างานจาก Arduino 2560 สัÉงให้ Sensor รับสัญญาณ และส่งกลับไปยงัArduino 2560 ให้สัÉงให้ servo ท างาน ถงัขยะจะเปิดปิดอตัโนมตัิเพืÉอพฒันาและขยายความสามารถให้มากขÊึนจากแบบจาํลองถงัขยะ เปิ ด-ปิดอตัโนมตัิดว้ยระบบเซนเซอร์ต่อไป ผลการทดลองพบว่า ถังขยะเปิด-ปิ ดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ การควบคุมด้วย Arduino 2560 สามารถควบคุมการเปิด-ปิด ถงัขยะ แบบอตัโนมตัิด้วยการติด ตวัSensor สามารถรับสัญญาณไดใ้นทิศฉากกบั พืÊน ส่งไปยงัArduino 2560 สัÉงให้ Servo ท างาน จึงได้เพิÉมฐานรองพืÊนถังขยะเพืÉอท าให้ทราบว่า Sensor ตรวจจบั ในระยะนÊนัจึงท าให้ถงัขยะเปิด-ปิดอตัโนมตัิดว้ยและมีSensor ตรวจจบัขยะอยูบ่นฝาถงัควบคุมดว้ย Arduino 2560 จะสัÉงเสียงเตือน จะส่งผลใหท้ราบวา่ขยะเตม็ รายงานการศึกษาคน้ควา้อิสระดว้ยปัญหาการทิÊงขยะไม่เป็นทีÉกลายเป็ นปัญหาทีÉแกไ้ขไดย้าก ซÉึงวธิีการ แก้ปัญหาทีÉดีทีÉสุด คือ การแก้ไขทีÉตวัผูท้ ิÊง โดยการปลูกจิตส านึก และเสริมสร้างลกัษณะนิสัยทีÉดีแต่ในการ ปฏิบตัิจริงนÊันเป็นไปได้ยาก คณะผูจ้ดัท าจึงคิดทีÉจะสร้างแรงจูงใจในการทิÊงขยะให้เป็ นทีÉมากขึÊน โดยใช้ เทคโนโลยีการเขียนโคด้ สÉังงานบอร์ดสมองกลฝังตวัKidBright และโมดุลเสริม ในการช่วยแก้ปัญหาการทิÊง ขยะไม่เป็นทÉีให้ดีขึÊน โดยการน าถงัขยะธรรมดามาท าเป็นถงัขยะอตัโนมตัิโดยมีวตัถุประสงคข์องโครงงาน 1) เพืÉอศึกษาการท าถงัขยะคุณธรรม 2) เพืÉอสร้างถงัขยะคุณธรรม เปิด-ปิดอตัโนมตัิควบคุมเซ็นเซอร์ตรวจจบัการ เคลืÉอนไหว 3) เพืÉอสร้างนิสัยการทิÊงขยะให้ถูกทีÉไดท้ดลองตÊงัถงัขยะคุณธรรมในอาคารและภายนอกอาคาร ผล การทดลองครัÊงทีÉ1 พบว่าถงัขยะคุณธรรมทÉีตัÊงทัÊงภายใน อาคารและภายนอกอาคาร (บริเวณทางเดินใกลโ้รง อาหาร) เซนเซอร์ท างานไม่เสถียรกลไกการเปิดฝาถงัขดัขอ้ง ไม่แขง็แรง โมดุลเสียงไม่ท างาน จึงท าการแกไ้ข โค๊ดและกลไกการเปิดฝาถงัผลการทดลอง ครัÊงทีÉ2 พบวา่ถงัขยะคุณธรรมเริÉมท างานเมืÉอเซนเซอร์ตรวจจบัการ เคลืÉอนไหวในระยะ 3-5 ม. ถา้ไกลกวา่นÊนัเซนเซอร์จะไม่สามารถตรวจจบัได้ส่วนกลไกการเปิดฝาถงัท างานได้ สมบูรณ์ทดลองใชง้านภายนอกอาคารถงัขยะคุณธรรมท างานไดอ้ยา่งสมบูรณ์เช่นเดียวกนั


สารบัญ เรืÉอง หน้าบทคัดย่อ ก บททีÉ1 บทนํา 1 บททีÉ2 เอกสารทีเกีÉยวข้อง 2-6 É บททีÉ3 วสัดุอุปกรณ์และวธิีดําเนินการ 7


บททีÉ1 บทนํา ทีมาและความสําคัญÉ ขยะมูลฝอยหรือขยะทัวÉ ไป เป็นปัญหาของคนส่วนใหญ่ซÉึงสังคมในปัจจุบนัมีการทิÊงขยะหรือ สิÉงปฏิกูล ทุกวนัเช่น เศษอาหาร ถุงพลาสติก เศษกระดาษา ปัจจุบนัขยะมูลฝอยนÊันนับวนัจะเพÉิมมากขึÊน ตามจาํนวน ประชากรถา้หากไม่มีการจดัการทีÉดีและเหมาะสมกบั ปัญหาความสกปรกต่าง ๆ ท าให้เกิดปัญหา ต่อสุขภาพ อนามยัเช่น ปัญหาเรืÉองเชืÊอโรค สารเคมี และกลิÉนเหม็นทีÉแพร่ไปตามสถานทีÉต่าง ๆ ถังขยะทีÉมีอยู่ในปัจจุบนัส่วนใหญ่นÊันอยู่ในสภาพทÉีไม่สมบูรณ์เนืÉองจากผ่านการใช้งานเป็นระยะ เวลานาน เช่น ไม่มีฝาปิดฝาถงัชาํรุดถงัขยะมีรอยแตกร้าว และสะสมแบคทีเรียทาํใหส้กปรกและสามารถติดเชÊือ ได้ 1.วัตถุประสงค์ 1.1 ทาํใหเ้รามีความสะดวกสบาย 1.2 ทาํใหล้ดการสัมผสั 2.สมมุติฐาน ถา้นาํบอร์ด Arduinoป้อนโปรแกรมลงเพืÉอควบคุมการทาํงานต่างๆทีÉทาํใหก้ารทาํงานของ เซนเซอร์ สามารถเปิดปิดฝาเองได้และยงัสามารถบรรจุขยะไดห้ลายๆชิÊน 3.ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับÉ 3.1 ประหยดัเวลาไดม้ากขÊึน 3.2 มีความสะดวกสะบาย 3.3 ลดการสัมผสักบัสิÉงสกปรก


บททีÉ2 เอกสารทีÉเกียวข้องÉ การศึกษาโครงงาน เรืÉองถังขยะอตัโนมัติ จากการศึกษาโครงงาน เรืÉองถงัขยะอจัฉริยะ สิÉงทีÉจาํเป็นในการจดัทาํโครงงาน คือ ตอ้งรู้จกั หลกัการทาํงานของอุปกรณ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมการทาํงานตามวตัถุประสงค์มีการวิเคราะห์และหา ขอ้มูลในส่วนทÉีเกีÉยวขอ้ง เพืÉอเป็นแหล่งขอ้มูลในการทาํงานและพฒันาต่อยอดการศึกษาคณะผูจ้ดัทาํได้การ รวบรวมแนวคิดหลกัการและทฦษฏีต่างๆ จากเอกสารทีÉเกีÉยวขอ้งดงันÊี 2.1 การใช้งานของบอร์ด KidBright ส่วนประกอบของบอร์ด Kidbright มีส่วนประกอบตา่งๆ ดงันÊี 2.1.1 ใชไ้มโครคอนโทรลเลอร์ESP32 ทีÉมีวงจร WiFi และบลูทูธกาํลงัตÉาํในตวั 2.1.2 ส่วนแสดงผล LED ดอตเมตริกซ์ ขนาด 16 x 8 จุด แบบสีแดง 2.1.3 LED แสดงสถานการณ์ทาํงานประกอบดว้ย 1. สถานะการเชืÉอมต่อกบัคอมพิวเตอร์ผา่นพอร์ต USB 2. สถานะการเชืÉอมต่อ WiFi (ขึÊนกบัไลบรารีและบล็อกคาํสัÉงทีÉใช้) 3. สถานะการเชืÉอมต่อกบัคลาวเซิร์ฟเวอร์หรือIoT (ขึÊนกบัไลบรารีและบล็อกคาํสัÉงทีÉใช้) 2.1.4ลาํโพงเปียโซขบัเสียง 2.1.5 วงจรสวิตช์กดติด-ปล่อยดบัขนาดใหญ่2 ตวั 2.1.6 วงจรฐานเวลานาฬิกาจริงพร้อมแบตเตอรีÉสาํรองสําหรับรักษาค่าเวลาเมืÉอไม่มีไฟเลÊียง 2.1.7 สวติช์RESET การทาํงาน 2.1.8 เชืÉอมต่อกบัคอมพิวเตอร์ผา่นพอร์ต USB โดยใชค้อนเน็กเตอร์แบบ USB-C (ปรับปรุง


จาก V1.5 ดัÊงเดิม) สาํหรับการดาวน์โหลดโปรแกรมและสืÉอสารขอ้มูลอนุกรม (โดยความสามารถในการสืÉอสาร ขอ้มูลขÊึนกบัIDE ทีÉเลือกใช้) และยงัใชใ้นการรับไฟเลÊียง +5V ผา่นพอร์ต USB-C ดว้ย 2.1.9 จุดต่อพอร์ตทีÉใชค้อนเน็กเตอร์ JST2mm3ขา(JST: JapanStandard Terminal)รวม6ขา 1. พอร์ตอินพุตดิจิทลั ประกอบดว้ยขา IN1 (GPIO32) , IN2 (GPIO33), IN3 (GPIO34) และ IN4 (GPIO35) ตามการกาํหนดขาของ KidBright 2. พอร์ตเอาตพ์ุตดิจิทลัOUT1 (GPIO26)และ OUT2 (GPIO27) 3. จุดต่อพอร์ตทีÉเป็นจุดบดักรีขนาดรู 4 mm สาํหรับติดตÊงัแจ๊กบานาน่า รวม 10 จุด 4. พอร์ตอินพุตดิจิทลั ประกอบดว้ยขา IN1 (GPIO32) , IN2 (GPIO33), IN3 (GPIO34) และ IN4 (GPIO35) ตามการกาํหนดขาของ KidBright พอร์ตเอาตพ์ุตดิจิทลัOUT1(GPIO26)และ OUT2 (GPIO27) 5. จุดต่อไฟเลÊียง 3V และ กราวด์ (GND) 2.1.10 จุดต่อพอร์ตแบบจุดบดักรีอิสระประกอบดว้ยขาพอร์ต GPIO18, 19, 23, VN และบสั2.1.11 จุดต่อบสั I2C1สาํหรับต่ออุปกรณ์ภายนอกเพิÉมเติมเพืÉอขยายระบบแบบ KB CHAIN 5ขา2.1.12 ติดตัÊงตวัตรวจจบัแสง แบบ LDR หรือตวัตา้นทานแปรค่าตามแสง 2.1.13 ติดตัÊงตวัตรวจจบัอุณหภูมิทีÉทาํงานผา่นระบบบสัI2C วดัอุณหภูมิได้-40ถึง 150องศา เซลเซียส มีค่าความผิดพลาด±1 องศาเซลเซียส 2.1.14 ติดตัÊงตวัตรวจจบัความเร่งและสนามเหล็กเบอร์LSM303GR ทาํงานผา่นระบบบสัI2C (เป็ นความสามารถเพิÉมเติมใหม่มีเฉพาะในรุ่น 1.5i จาก INEX เท่านÊนั ) 1. ยา่นวดัความเร่ง 3แกน รองรับ 2, 4, 8และ16G ความละเอียดในการวดั10 บิต 2. ยา่นวดัความแรงสนามเหล็ก50 เกาส์นาํมาใชง้านเป็นเขม็ทิศดิจิทลัได้ 3. ทาํงานกบั ปลกอิน ัË iAC เพืÉอรองรับการตรวจจบัการเคลืÉอนทีÉของบอร์ดหลาย รูปแบบ อาทิการลอยกลางอากาศ (free fall)การพลิกบอร์ดควา่และหงายบอร์ด หมุนและเอียงบอร์ด 2.1.15 รับไฟเลีÊยง +5V จากจุดต่อพอร์ต USB-C ผา่นวงจรควบคุมแรงดนัคงทีÉ หรือ เรกูเลเตอร์ใหไ้ดไ้ฟเลÊียงคงทีÉ ทีÉ+33V สาํหรับเลÊียงวงจร 2.2การใช้เซนเซอร์วดัระยะทาง US-100


เซนเซอร์วดัระยะทาง US-100 Ultrasonic Sensor Ultrasonic Ranging Module เป็น โมดูลเซนเซอร์วดัระยะดว้ยคลืÉนอลัตร้าโซนิค สามารถวดัระยะไดอ้ยา่งแม่นยาํเนืÉองจากมีเซนเซอร์วดัอุณหภูมิ ในตวัทาํใหส้ามารถนาํมาคาํนวณหาความเร็วเสียงทีÉเปลีÉยนแปลงไปตามอุณหภูมิได้นอกจากนÊีโมดูลนีÊยงัมีขอ้ดี ทีÉสามารถสืÉอสารกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์หรือarduino ผา่น UART หรือการทริกสัญญาณแบบเดิม ทาํให้เกิด ความยืดหยุ่นในการใช้งานมากยÉิงขึÊน อีกทัÊงยงัสามารถใช้งานได้กบัแรงดนไฟฟ้า 3.3V และ 5V อีกด้วย ใช้ ั กระแสไฟฟ้าในการทาํงานเพียง 2mA 1.วดัระยะทางระหวา่งเซ็นเซอร์กบัวตัถุไดต้Êงัแต่2-450cm 2.ใชแ้รงดนัไฟเลÊียง 2.4-5.5V 3.ความถีÉ40KHz 4.สืÉอสารขอ้มูลกบัไมโครคอนโทรลเลอร์2 แบบ คือ แบบทริกสัญญาณ และสืÉอสารผา่น UART มีจัมËเปอร์สาํหรับเลือกโหมดการสืÉอสาร 5.สามารถวดัค่าไดอ้ยา่งแม่นยาํเพราะใชเ้ซ็นเซอร์วดัอุณหภูมินาํค่าทีÉไดไ้ปคาํนวณหา ความเร็วเสียงทีÉเปลีÉยนแปลงไปตามอุณหภูมิ 6.ขนาด 20x45mm


2.3 หลกัการServo Motor ในบทนีÊไดอ้ธิบายการออกแบบแต่ละส่วนทีÉใชใ้นโครงงานนÊีประกอบดว้ย บล็อกโดอะแกรม วงจรรวม ชิÊนส่วน ประกอบการทาํงานของเซ็นเซอร์ชัดระยะทาง การทาํงานของServo MotorการทาํงานทÊงหมดควบคุมด้วย ั บอร์ด KidBright หน้าทีของ É Servo Motor Servo Motor มีหน้าทีÉขับเคลืÉอนอุปกรณ์ของเครืÉองจักรกลหรือระบบของการทํางานนัÊนๆ ให้เป็ นไปตาม รูปแบบทีÉ ได้รับคําสัÉงจากตัว Servo Driver พร้ อมกับส่ งสัญญาณป้อนกลับให้กับตัว ServoDriver ว่าตอนนีÊ Servo Motor เคลืÉอนทีด้วย ความเร็วเท่าไหร่และระยะทางในการเคลืÉ Éอนทีเป็ นÉ ระยะทางเท่าไหร่แลว้ดว้ยสัญญาณของตวัEncoder ทีÉอยูภ่ายในตวัServo Moter ทาํให้การเคลืÉอนทีÉของ Servo Motor นัÊนมีความแม่นยาํสูงดว้ยองค์ประกอบขา้งตน้ทÊงหมดทั ัÊงมวลนัÊน พอจะทาํให้ผูท้ Éีจะใชง้านหรือผูท้ีÉกาํลงั ศึกษา พอทีÉจะมองภาพของการ ทาํงานของระบบ Servo Motor ว่าองค์ประกอบของระบบหรือการทÉีจะใชง้าน Servo Motor นัÊนตอ้งมีองคป์ระกอบอะไรบา้งจึงจะใช้ งาน Servo Moto คลืÉนอลัตราโซนิคเป็นคลÉืนความถีÉเหนือความถีÉสัญญาณเสียง ปกติแลว้มนุษยจ์ะไม่สามารถไดย้ินเสียงเพราะ มนุษย์สามารถไดย้ินเสียงไดท้ ÉีความถีÉ20 Hz ถึง 20 kHz ความถีÉอลัตราโซนิคนÊน ที ัÉนิยมใช้งานในเซนเซอร์วดั ระยะรุ่นต่าง ๆ จะมีความถีÉทีÉประมาณ 40kHz ขอ้ดีของการใช้ความถีÉนีÊคือมีลกัษณะของความยาวคลÉืนทีÉสัÊน ส่งผลให้คลÉืนไม่แตกจายออกเป็นวงกวา้งและสามารถยิงคลืÉนตรงไปชนวตัถุใดๆ ก็ได้และนอกจากนÊีความถีÉ 40kHz ยงัเป็นความถีÉทีÉมีระยะเดินทางเพียงพอกบัการใช้งาน หากใช้ความถีÉสูงขึÊน จะทาํให้คลืÉนเดินทางไดใ้น ระยะทางทีÉลดลง ทาํใหเ้มืÉอนาํมาใชง้านจริงจะวดัระยะไดใ้นระยะทีÉสัÊน


หลกัการวดัระยะด้วยคลืÉนอตัราโซนิค หลกัการของการวดัระยะดว้ยคลืÉนอตัราโซนิคคือการส่งคลÉืนอตัราโซนิคออกไปจากตวัส่ง(Transmitter) เมืÉอคลืÉนทีÉส่งออกไปวงิÉ ไปชนกบัวตัถุคลืÉนจะมีการสะทอ้นกลบัมา แลว้วงิÉกลบัไปชน ตวัรับ(Receiver) ดว้ยการ เริÉมนับเวลาทีÉส่งคลÉืนออกไปจนถึงได้รับคลืÉนกลับมา ทาํให้สามารถหาระยะห่างระหว่างวตัถุกับเซนเซอร์ 4. หลักการใช้งาน Buzzer บซัเซอร์(Buzzer)คือลาํโพงแบบแม่เหล็กหรือ แบบเปียโซทีÉมีวงจรกาํเนิดความถีÉ (Oscillator ) อยภู่ายใน ตวั ใชไ้ฟเลÊียง 3.3 - 5V สามารถสร้างเสียงเตือนหรือส่งสัญญาณทีÉเป็นรูปแบบตา่งๆ เราอาจจะเคยไดย้นิเสียงบซั เซอร์อยู่บ่อยๆ เช่น เสียง ปËีบทีÉอยู่ในคอมพิวเตอร์ก็ใช้บัซเซอร์ในการส่งสัญญาณให้ทราบสถานะของ คอมพิวเตอร์ใหท้ราบวา่มีปัญหาเกิดขÊึนกบัระบบต่างๆ


บทที3Éวสัดุอุปกรณ์ และวิธีดําเนินการ 3.1 สถานทีÉทาํการทดลองโครงงานถงัขยะอตัโนมตัิโรงเรียนราชวิต นนทบุรี 3.2 อุปกรณ์ทีÉใชใ้นการท าโครงงาน -ถงัขยะ - บอร์ดทดลอง - บอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ - ปื นกาว - เซนเซอร์จบัวตัถุ - แหล่งจ่ายไฟ - แบตเตอรีÉ 3.3ออกแบบและวางแผน 3.3.1 ออกแบบถงัขยะทÉีจะทาํ 3.3.2 วางแผนอุปกรณ์ทีÉตอ้งใชพ้ร้อมเตรียมอุปกรณ์ 3.3.3 ลงมือปฏิบตัิตามแผนทีÉวางไว้ 3.4 การเขียนโค้ด Arduino Uno 3.4.1ดาวโหลดโปรแกรมเขียนโคด้ของ Arduino Uno 3.4.2 เริÉมเขียนโคด้ Arduino Uno 3.5การท าโครงสร้างจ าลอง 3.5.1 น าถงัขยะวางลงบนพืÊนแลว้ท าการทดลอง


บททีÉ4 ผลการดาํเนินงาน ปัญหาการทิÊงขยะไม่เป็นทÉีกลายเป็ นปัญหาทีÉแกไ้ขไดย้าก ซÉึงวิธีการแกป้ ัญหาทีÉดีทีÉสุด คือ การแกไ้ขทÉี ตวัผูท้ ิÊง โดยการปลูกจิตสํานึก และเสริมสร้างลกัษณะนิสัยทÉีดีแต่ในการปฏิบตัิจริงนÊันเป็ นไป ได้ ยาก คณะ ผูจ้ดัทาํจึงคิดทÉีจะสร้างแรงจูงใจในการทิÊงขยะให้เป็ นทีÉมากขึÊนโดยใช้เทคโนโลยี การเขียน โคด้ สัÉงงานบอร์ด สมองกลฝังตวัKidBrightและโมดุลเสริม ในการช่วยแกป้ ัญหาการทิÊงขยะไม่เป็นทÉีให้ดีขึÊน โดยการนาํถงัขยะ ธรรมดามาทาํเป็นถงัขยะอตัโนมตัิทีÉเรียกว่า “ถงัขยะอตัโนมตัิ” จากการ ทดลองประดิษฐ์ถงัขยะอตัโนมตัิได้ ทดลองใช้งานในอาคาร และภายนอกอาคาร(บริเวณ ทางเดินใกล้ โรงอาหาร) ผลของการใช้งานในครัÊงแรก เซนเซอร์ทาํงานไม่เสถียร กลไกการเปิดฝาถงัขดัขอ้ง ไม่แขง็แรง โมดุลเสียงไม่ทาํงาน จึงทาํการแกไ้ขโค๊ดและ กลไกการเปิดฝาถงั ในการทดลองครÊังต่อมาถงัขยะคุณธรรมเริÉมทาํงานเมÉือเซนเซอร์ตรวจจบัการเคลืÉอนไหวใน ระยะ 3-5 ม. ถ้าไกลกว่านÊันเซนเซอร์ จะไม่สามารถตรวจจบั ได้ส่วนกลไกการเปิดฝาถังทาํงานได้สมบูรณ์ ทดลองใช้งานภายนอกอาคาร (บริ เวณทางเดินใกล้โรงอาหาร) ถังขยะอัตโนมัติทาํงานได้อย่างสมบูรณ์ เช่นเดียวกนั อภิปรายผลการทดลอง จากโครงงาน เรืÉอง ถงัขยะอตัโนมตัิเกิดจากความตระหนักของทางคณะผูจ้ดัทาํโครงงานใน เรืÉอง ปัญหาการทิÊงขยะไม่ถูกทีÉ และการเขียนโค้ดสัÉงงานบอร์ดสมองกลฝังตวั KidBright และโมดุล เสริม จึงได้ ออกแบบและประดิษฐ์ถงัขยะอตัโนมตัิโดยนาํเอาถงัขยะธรรมดามาพฒันาให้น่าสนใจและทนัสมยั21 สร้าง นิสัยการทิÊงขยะให้ถูกทีÉปลูกจิตสํานึกการคดัแยกขยะ นอกจากนÊีสามารถเป็ น ตน้แบบแก่ผูส้นใจและนาํไปต่อ ยอดไดถ้งัขยะอตัโนมตัิสามารถใช้งานในอาคาร และภายนอกอาคาร ได้อย่างสมบูรณ์ตามวตัถุประสงค์ของ การศึกษา เซนเซอร์ตรวจจบั ในระยะไกลมากถึง 3 - 5 ม. และ บอร์ด KidBright สServo Motor ให้เปิดฝาถัง พร้อมกบัสัÉงโมดุลเสียง ให้เปิ ดเสียง “เชิญทิÊงขยะรีไซเคิลลงถงัสีเหลืองนÊีนะคะ” เพืÉอ เป็ นการเชิญชวนการทิÊง ขยะดว้ยการคดัแยกขยะอยา่งถูกตอ้ง อธิบายวธิีการทาํงาน การทาํงานของระบบถงัขยะอจัฉริยะนÊนัแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดว้ยกนัคือ


ส่วนทีÉ1 เป็นระบบเปิด– ปิดฝาถงัอตัโนมตัิ หลกัการทาํงาน คือเมืÉอมีคนทีÉตอ้งการทิÊงขยะเดินเขา้มาทีÉดา้นหนา้ของถงัขยะ เซ็นเซอร์ตรวจวดัระยะก็ จะทาํงานและสัÉงให้มอเตอร์หมุนเปิดฝาถงัขยะเพืÉอทิÊงขยะและถา้คนทีÉทิÊงขยะยงัเดิน อยูฝ่าถงัก็จะยงัไม่ปิดเมืÉอ เซ็นเซอร์วดัระยะตรวจไม่พบคนทีÉทิÊงขยะแลว้ ฝาถงัก็จะปิดลงอตัโนมตัิ ส่วนทีÉ2 เป็นระบบตรวจดูวา่ถงัขยะเตม็หรือไม หลกัการทาํงาน คือในถงัขยะจะมีเซ็นเซอร์รยะอีกตวัหนÉึงคอยตรวจวดัปริมาณขยะทีÉอยูใ่น ถงัเมืÉอขยะ ขึÊนมาถึงระดบัหนÉึง เมืÉอเซ็นเซอร์ตรวจพบวา่ถงัขยะเต็มแลว้ก็จะสัÉงให้ระบบทุกระบบ หยุดการทาํงาน และสÉงั ให้ไฟ LED ทีÉอยู่ดา้นนอกถงัขยะเปิดเพÉือเป็นสัญญาณบอกว่า ถงัขยะเต็มแลว้และถ้ายงัไม่เอาขยะออกไปทิÊง ระบบทุกระบบก็จะยงัไม่ทาํงาน เมืÉอเอาขยะออกไปทิÊงแลว้ไฟ LED ก็จบัดบัลง และระบบทÊงัหมดก็จะกลบัมา ทาํงานไดเ้หมือนเดิม ส่วนทีÉ3 เป็นระบบสร้างจิตสาํนึกเมืÉอมีคนมาทิÊงขยะ จะมีเสียงพูด “ขอบคุณทีÉทิÊงขยะลงถงัขยะ


บททีÉ5 สรุปปัญหาและขอ้มูลเสนอแนะ จากการจดัทาํโครงงาน “ถงัขยะอตัโนมตัิ” สามารถสรุปผลการดาํเนินงานไดด้งันÊี สรุปผลการดาํเนินโครงการ ŝ.řได้ศึกษาเรืÉองการเขียนโปรแกรมเพืÉอควบคุมการทาํงานของถงัขยะโดยใชโ้ปรแกรม KidBright การ ออกแบบชิÊนงานโดยใช้โปรแกรม KidBright รวมถึงการต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ซÉึงเป็ น เรืÉองทีÉกลุ่มสนใจได้ อยา่งละเอียดลึกซÊึงมากขึÊนทาํให้มีความเขา้ใจมากขÊึน 5.1.2 ไดน้าํความรู้ทÉีไดจ้ากการศึกษามาประยกุตใ์ช้เพÉอสร้างชิ ื Êนงาน 5.1.3 ไดน้าํชิÊนงานทีÉสร้างขึÊน ไปทดลองใชก้บันกัเรียนภายในโรงเรียน 5.1.4 สรุปและอภิปรายผลการดาํเนินโครงงานกบัครูทีÉปรึกษาโครงงาน ปัญหาและอุปสรรค์ในการทดลอง ถงัขยะอตัโนมตัิเป็นเพียงแบบจาํลองการเชÉือมต่ออุปกรณ์และส่วนประกอบต่างๆ ดว้ยกาว ร้อน ทาํให้ ประสิทธิภาพทาํงานของระบบทีÉไม่คงทนและใชง้านไดใ้นระยะสÊัน ขอ้เสนอแนะและแนวทาํงในกาํรพฒันา ควรพฒันาและปรับปรุงชิÊนงานให้เป็นถงัขยะทีÉใชใ้นชีวิตประจาํวนัไดจ้ริง และมีความคงทน ใชง้านได้ ในระยะยาว


Click to View FlipBook Version