The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเยี่ยมบ้าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitty251400, 2022-09-12 01:31:40

รายงานเยี่ยมบ้าน

รายงานเยี่ยมบ้าน

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

คำนำ

การเย่ียมบ้านนักเรยี น เป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญและจำเป็นอยา่ งยิ่งในการดำเนินงานระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนซึ่งการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการ
ทำงานท่ีชัดเจน โดยมคี รทู ป่ี รกึ ษาเปน็ บุคลากรหลกั ในการดำเนนิ งาน พร้อมท้งั ความรว่ มมอื อยา่ งใกล้ชิดของครู
ท่ีเกีย่ วขอ้ งหรอื บุคคลภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกบั ผู้ปกครองนักเรียน

โรงเรยี นวิเชียรมาตุ จึงจัดใหม้ ีโครงการเย่ียมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖5 เพื่อสร้างสัมพันธภาพท่ี
ดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน รวมทั้งครูและผู้ปกครองนักเรียนจะได้หาแนวทางร่วมกันในการหาวิธีการส่งเสริม
พฒั นา ป้องกนั และแก้ไขปัญหาของนกั เรียนรว่ มกัน อนั นำไปสู่การดำเนนิ งานให้มีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึน้

การจัดทำรายงานผลการเยี่ยมบ้านนักเรียนจึงเป็นการรายงานผลการดำเนินงานการเยี่ยมบ้าน
เพื่อเป็นข้อมูลการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บังคับบัญชา
ทราบ อันนำไปสู่การนำผลการรายงานไปสู่การวางแผนการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ในโรงเรยี นตอ่ ไป

นางนิตยา ทองดยี ิ่ง
นายประจนั ทร์ หว่างสกุล


นางนิตยา ทองดียิง่ นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบา้ น ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

บทคดั ยอ่

เรื่อง การเยย่ี มบ้านนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
ผ้ศู กึ ษา นางนิตยา ทองดยี งิ่ นายประจนั ทร์ หวา่ งสกุล

การศึกษาและการแก้ปัญหานักเรยี นโรงเรยี นวิเชยี รมาตุ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5
โดยใช้ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสถานภาพส่วนตัวด้านต่าง ๆ ของนักเรียน และศึกษาผลการ
แก้ปัญหาโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่
6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5 จำนวน ๔2 คน ใช้เคร่อื งมือคือ แบบบนั ทกึ การเยี่ยมบา้ น

ผลการศึกษาตอนท่ี ๑ พบวา่ นักเรียนส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง คดิ เป็น รอ้ ยละ 53.30 และเปน็ เพศชาย
คิดเป็นร้อยละ 46.70 นักเรียนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 91.10 รองลงมา นักเรียนนับถือ
ศาสนาอสิ ลาม คิดเปน็ ร้อยละ 8.90 นกั เรยี นสว่ นใหญ่อาศัยอยใู่ นจังหวดั ตรัง คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ นักเรียน
ส่วนใหญ่อาศัยที่บ้านของตนเอง คิดเป็นร้อยละ ๘6.70 รองลงมานักเรยี นอาศัยที่บ้านพัก/บ้านเช่า คิดเป็นร้อย
ละ ๖.๘ นกั เรยี นส่วนใหญ่บา้ นสะอาดมีระเบยี บ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘6.70 รองลงมาบ้านไม่ค่อยสะอาดมรี ะเบียบ
คิดเป็นร้อยละ 11.10 นักเรียนส่วนใหญ่ในครอบครัวมีความสัมพันธ์รักใคร่กันดี คิดเป็นร้อยละ 84.40
รองลงมา ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวของนักเรียนมีความสัมพันธ์ ขัดแย้งทะเลาะกันบางครั้ง คิดเป็น
ร้อยละ 11.10นักเรียนส่วนใหญ่บิดามารดาของนักเรียนอยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 71.10 รองลงมา บิดา
มารดา ของนักเรียน หย่าร้าง คิดเป็น ร้อยละ 15.60 นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ร่วมกับบิดามารดา คิดเป็นร้อยละ
66.70 รองลงมา นักเรียนอาศัยอยู่กับญาติ คิดเป็นร้อยละ 15.60 นักเรียนส่วนใหญ่ผู้ปกครองของนักเรียน
อบรมเล้ียงดูโดยการใช้เหตุผล คิดเป็นร้อยละ 95.60 รองลงมา ผู้ปกครองของนักเรียนอบรมเลี้ยงดูโดยการ
เข้มงวดกวดขัน คิดเปน็ ร้อยละ 6.60 นักเรียนส่วนใหญ่อาชีพมีผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตร คิดเป็นร้อยละ
44.40 รองลงมาอาชีพของบิดาของนักเรียนประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 31.10 นักเรียนส่วนใหญ่
บิดา – มารดาของนักเรียนมีรายได้/เดือน ไม่เกิน ๑๐๐๐๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ 51.10 รองลงมา บิดา –
มารดาของนักเรียนมีรายได้/ปี ๑๐๐๐๐๐-๑๕๐๐๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ 31.10 นักเรียนส่วนใหญ่มีรายได้
เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 62.20 รองลงมา นักเรียนมีรายได้ไม่เพียงพอในบางครง้ั คิดเป็นร้อยละ 37.80 ส่วน
ใหญ่บุคคลในครอบครัวของนักเรียน ไม่มีสารเสพติด คิดเป็นร้อยละ 73.30 รองลงมา บุคลลในครอบครัวของ
นักเรียนมีการใช้สารเสพติด คิดเป็นรอ้ ยละ 26.70 สารเสพติดท่ีบุคคลในครอบครัวของนักเรียนใช้สารเสพติด
ประเภท บุหร่ี คิดเป็นร้อยละ 69.20 รองลงมา บุคคลในครอบครัวของนักเรียนใชส้ ารเสพตดิ ประเภท สุรา คิด
เปน็ ร้อยละ 15.40 นักเรียนสว่ นใหญ่ทำเป็นประจำ คิดเป็นร้อยละ 53.30 รองลงมานักเรียนทำเปน็ ครั้งคราว
คิดเป็นร้อยละ 33.30 นักเรียนส่วนใหญ่ไม่มีงานพิเศษ คิดเป็นร้อยละ 97.80 รองลงมา นักเรียนมีงาน



นางนิตยา ทองดยี ิ่ง นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบา้ น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5
พิเศษทำ คิดเป็นร้อยละ 2.20 นักเรียนส่วนใหญ่มาโรงเรียนด้วยรถประจำทาง คิดเป็นร้อยละ 53.30
รองลงมา นักเรียนมาโรงเรียนผู้ปกครองมาสง่ คิดเป็น ร้อยละ 31.10 นักเรียนส่วนใหญ่เข้านอนเวลา ๒๒.๐๐
- ๒๔.๐๐ น. คิดเป็นร้อยละ 62.20 รองลงมานักเรียนเข้านอน ก่อน ๒๒.๐๐ น. น. คิดเป็นร้อยละ 31.10
นักเรียนส่วนใหญ่ตื่นนอน เวลา ๐๕.๐๐ – ๐๖.๐๐ น. คิดเป็นร้อยละ 71.10 รองลงมา นักเรียนตื่นนอนหลัง
๐๖.๐๐ น. คิดเป็นร้อยละ 20.00 นักเรียนส่วนใหญ่ไม่เคยนอนค้างคืนบ้านเพ่ือน/คนอ่ืน คิดเป็นร้อยละ
66.70 รองลงมา นักเรียนนอนค้างบ้านเพ่ือน/คนอ่ืนเป็นคร้ังคราว คิดเป็นร้อยละ 33.30นักเรียนส่วนใหญ่ไม่
เคยเที่ยวกลางคืน คิดเป็นร้อยละ 68.90 รองลงมา นักเรียนเท่ียวกลางคืนบางเป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละ
31.10๔ นักเรียนส่วนใหญ่เลน่ เกมส์บ้างเป็นครัง้ คราว คิดเป็นรอ้ ยละ 44.40 รองลงมานกั เรียนบ่อยครัง้ คิด
เป็นร้อยละ 33.30 การศึกษาข้อมูลแสดงนักเรียนมีโทรศัพท์ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีโทรศัพท์มือถือ คิด
เป็นร้อยละ 100 นักเรียน ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มอื ถือเป็นคร้ังคราว คิดเป็นร้อยละ 71.10 รองลงมา นักเรียน
ใช้โทรศัพท์มือถือบ่อยครั้ง คิดเป็นร้อยละ 22.20 ส่วนใหญ่ความต้องการของผู้ปกครองเมื่อเรียนจบชั้นสูงสุด
ของโรงเรียน ต้องการให้ศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ ๙๕.60 รองลงมา ความต้องการของผู้ปกครองเม่ือเรียนจบ
ชนั้ สูงสุดของ ต้องการให้ประกอบอาชีพ คิดเป็น ร้อยละ ๔.40 นักเรียนส่วนใหญ่ทำการบ้าน/อ่านหนังสือ เป็น
คร้ังคราว คิดเป็นร้อยละ 42.20 รองลงมานักเรียนทำการบ้าน/อ่านหนังสือ บ่อยครั้ง คิดเป็นร้อยละ 35.60
นักเรยี นส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องเศรษฐกิจทุนการศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ 42.90 รองลงมา เรอื่ งการเรียน คิดเป็น
รอ้ ยละ 21.40


นางนิตยา ทองดยี งิ่ นายประจันทร์ หว่างสกุล

รายงานผลการเยี่ยมบา้ น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

กิตตกิ รรมประกาศ

ผู้ศึกษาขอขอบคุณผู้อำนวยการ นางยุภา พรเศรษฐ์ ท่ีได้สนับสนุนให้ครูทำการศึกษาเร่ืองการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ขอขอบคุณนักเรียน ผู้ปกครองท่ีให้ความร่วมมือในการออกเย่ียมบ้าน การสัมภาษณ์
ขอขอบคุณคณะกรรมการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและกลุ่มงานบริ หารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียน
วเิ ชียรมาตุทีอ่ ำนวยความสะดวกในการจดั ทำเอกสารในครั้งนี้


นางนติ ยา ทองดียง่ิ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

สารบัญ ก

คำนำ ง
บทคดั ย่อ จ
กิตตกิ รรมประกาศ ๑
สารบญั 6
บทท่ี ๑ บทนำ ๓6
บทที่ ๒ เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง 39
บทท่ี ๓ วิธดี ำเนนิ การศึกษา ๕2
บทที่ ๔ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ๕5
บทท่ี ๕ สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 56
เอกสารอ้างองิ 57
ภาคผนวก 61
63
เอกสารการเยย่ี มบา้ น 100
รายชื่อนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6/12
ภาพเยย่ี มบ้าน
เอกสารประกอบการเยี่ยมบ้าน


นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบา้ น ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5


นางนติ ยา ทองดียงิ่ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบ้าน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

บทท่ี ๑

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวซึ่งเป็นความตอนหนึ่งในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตร

แก่นิสิตมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในวันอังคารที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๑๕ ความว่า "เยาวชน

ทุกคนมิได้ต้องการทำตัวเองให้ตกต่ำหรือเป็นปัญหาแก่สังคมประการใดแท้ที่จริงต้องการจะเป็นคนดี

มคี วามสำเร็จ มีฐานะ มีเกียรติและอยรู่ ว่ มกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น แตก่ ารท่จี ะบรรลุถึงจุดประสงค์น้ันจำเป็นต้อง

อาศัยผู้แนะนำควบคุมให้ดำเนินไปอย่างถูกต้อง ในฐานะหน้าที่ที่เป็นครูเป็นอาจารย์ เป็นผู้บริหารการศึกษา

ท่านจะช่วยเขาได้มากที่สุดเพราะมีส่วนควบคุมใกล้ชิดอยู่ทุก ๆ ด้านรองลงมาจากบิดามารดา"

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๘๐ (๓) "พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการจัด

การศึกษาในทุกระดับและทุกรปู แบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมจัดใหม้ ีแผนการ

ศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกรวมทั้งการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกความเป็นไทย

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้กำหนดความมุ่งหมายและหลักการการจัด

การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างการ จิตใจ สติปัญญาความรู้ และคุณธรรม

มีจริยธรรมละวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (มาตรา ๖) และแนวการจัด

การศึกษายังได้ให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้

และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดต้องส่งเสริมให้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ (มาตรา ๒๒)

ในการจัดการศึกษาต้องเนน้ ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรูแ้ ละบูรณาการตามความเหมาะ

แต่ละระดับการศึกษา ซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือ ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการ

ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข (มาตรา ๒๓ ข้อ(๕) ) ทั้งนี้การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง

บุคคลให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาให้รู้จักคิดเป็นทำเป็น รวมทั้งปลูกฝัง

คุณธรรมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา อีกทั้งมีการประสานความร่วมมือกับบิด า-มารดา

ผู้ปกครอง และบุคลากรในชมุ ชนทกุ ฝา่ ยเพือ่ ร่วมกันพฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ"

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักการ ข้อ ๓ "ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา

และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ

และเต็มศักยภาพ"และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร คือ มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดีมีปัญญา

มีความสุขและมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพจงึ กำหนดจดุ หมาย ซง่ึ

ถอื เป็นมาตรฐานการเรยี นรู้ให้ผเู้ รียนเกดิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สำคญั ดังน้ี


นางนิตยา ทองดยี ิง่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบ้าน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

"เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเองปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์มีความคิดสร้างสรรค์ใฝ่รู้ใฝ่เรียนรักการอ่านรักการเรียนรักการ
ค้นคว้า..."

โรงเรียนวิเชียรมาตุตระหนักถึงความสำคัญในการที่จะพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพเป็นเด็ก เก่ง ดี
และมีความสุขซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้เติบโตงอกงามเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ
ของสังคมตอ่ ไปจงึ ไดจ้ ดั ทำโครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน

ผู้ศึกษาในฐานะครูที่ปรึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็น
ประโยชนแ์ ละเป็นข้อมูลพ้นื ฐานในการแก้ปัญหาหรอื ส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษของนักเรียนในโอกาสต่อไป

วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื ใหร้ ู้จกั และเขา้ ใจนกั เรียนในความรับผิดชอบเป็นรายบคุ คลสามารถคดั กรองเป็นกลุ่มเสย่ี งและ

กลมุ่ ปญั หาได้
๒. เพ่อื ให้สามารถวิเคราะหป์ ัญหาและคน้ หาวธิ ีการช่วยเหลือนกั เรียนกลุ่มเส่ยี งหรือกลมุ่ มปี ัญหา

รวมท้ังพฒั นานักเรยี นกลุม่ ปกติในเบ้อื งต้นได้
๓. เพื่อใหม้ ีแนวทาง ในการชว่ ยเหลือนักเรียน สามารถป้องกันวเิ คราะห์ แกไ้ ขปญั หาสามารถส่งต่อ

และให้คำปรึกษานักเรยี นได้

ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาในคร้งั นี้ศึกษาเฉพาะนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/12 ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 จำนวน

๔2 คน

นิยามศพั ท์
๑. นักเรยี นหมายถงึ นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ที่เรยี นในโรงเรยี นวเิ ชยี รมาตุ
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 จำนวน ๔2 คน
๒. สถานภาพส่วนตวั หมายถึง ข้อมลู ท่วั ไปเก่ียวกับนกั เรยี น บดิ า มารดา อาชีพ รายได้ ฯลฯ
๓. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง กระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่โรงเรียน

วิเชียรมาตุนำมาใช้
๔. การประเมนิ พฤติกรรมนกั เรยี น หมายถงึ การประเมินโดยใช้แบบประเมนิ พฤตกิ รรม (SDQ)
๓ ฉบับ คือ นกั เรยี นประเมนิ ตนเอง ครูประเมินนกั เรยี น และผูป้ กครองประเมินนักเรียน


นางนติ ยา ทองดยี ่งิ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

ประโยชนข์ องการศกึ ษา
๑. ครูทีป่ รึกษาร้จู กั นกั เรียนและมีสัมพันธภาพท่ีดีข้ึน
๒. นกั เรียนได้รบั การส่งเสรมิ และส่งต่ออย่างทันท่วงทแี ละมปี ระสทิ ธิภาพ

วิธดี ำเนินการศึกษา
๑. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดประชุมครูประจำชั้น

และผเู้ กยี่ วขอ้ งเพอ่ื วางแผนการดำเนินงาน จัดระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นตลอดปีการศึกษา
๒. จดั กิจกรรม ๕ ขน้ั ตอนตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ดังน้ี
๑. รูจ้ ักนกั เรยี นเป็นรายบุคคล
» สำรวจขอ้ มูลนกั เรียนรายบคุ คล
» ประเมนิ SDQ ฉบบั นกั เรยี นประเมินตนเอง
» ประเมนิ SDQ ฉบับครปู ระเมินนกั เรียน
» ประเมิน SDQ ฉบบั ผปู้ กครองประเมิน
» เยีย่ มบา้ นนกั เรยี น
» ระเบยี นสะสม (ปพ.๘)
» บันทึกขอ้ มูลสุขภาพ
» ประชุมผปู้ กครองชน้ั เรยี น (Classroom Meeting)
๒. การคดั กรองนักเรียน
» แบบสรปุ ผลการคัดกรองนกั เรยี น
» แบบรายงานสรุปผลการคดั กรองนกั เรยี น
๓. สง่ เสรมิ พฒั นา
» ส่งเสริมด้านวิชาการ
» สง่ เสรมิ ดา้ นศิลปะ ดนตรี กีฬา
» ส่งเสรมิ ดา้ นทกั ษะอาชพี
» ส่งเสริมด้านระเบียบวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
» กจิ กรรมโฮมรูม
» กจิ กรรมชมุ นมุ
» กจิ กรรมสอนซอ่ มเสริม
» กจิ กรรมเครอื ขา่ ยผ้ปู กครอง
๔. การป้องกันและการชว่ ยเหลอื
» การรณรงคป์ อ้ งกนั ยาเสพติด
» การใหค้ วามร้ดู า้ นอนามยั
» องค์กรนกั เรียน


นางนิตยา ทองดียิง่ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5
» การประชมุ ผู้ปกครองนกั เรียน
๕. การชว่ ยเหลอื /ส่งต่อนักเรียน
» ทำรายงานการส่งต่อภายใน
» จดั ทำรายงานการสง่ ตอ่ ภายนอกและข้อมูลย้อนกลับ


นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบา้ น ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5


นางนติ ยา ทองดียงิ่ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

บทที่ ๒

เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง

ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
ความหมายของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน
พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทำงานท่ีชดั เจนโดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินการดังกล่าว
และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองหรือบุคคลภายนอกที่มีความเช่ียวชาญ
เฉพาะด้านการดูแลช่วยเหลือ หมายรวมถึง การส่งเสริม การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาโดยวิธีการ
และเครื่องมือสำหรับครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการดำเนินงานพัฒนานักเรียนให้มี
คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์และปลอดภัยจากสารเสพตดิ (หน่วยศึกษานเิ ทศก์ กรมสามัญศึกษา,๒๕๔๖)

สรุป การดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง การกระทำที่ช่วยสนับสนุนส่งเสริม พัฒนาให้นักเรียน
มีคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ และมีคุณภาพ ตามทสี่ งั คมตอ้ งการ

การบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

ในปกี ารศึกษา ๒๕๔๙ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ได้กำหนดกรอบและแนวทาง การ

นำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ เพื่อให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้ง ๑๗๕ เขตและสถานศึกษาทั่วประเทศ นำไป

กำหนดกรอบและแนวทางระดบั เขตและสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกันต่อไป สำหรบั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต ๒ ได้กำหนดไว้ในกลยุทธ์ที่ ๒ การปฏิรูปการเรียนรู้สู่การใช้ความรู้

เปน็ ฐานในการดำรงชีพ โครงการท่ี ๒ พฒั นาการจดั การเรยี นรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ มตี วั ชว้ี ัด/ค่าเป้าหมาย

คือนักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๐๐ โดยมีอัตราการหนีเรียน ขาดเรียน ไม่เกินร้อยละ ๕

อัตราการทะเลาะวิวาทของนักเรียนไม่เกินร้อยละ ๓ อัตราการออกกลางคัน มีพฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม

การเกิดอุบัติเหตุ การเกยี่ วขอ้ งกับยาเสพติด ไม่เกินรอ้ ยละ ๑(สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาอุดรธานี เขต

๒,๒๕๔๘) และนโยบายรัฐบาลปจั จุบัน ยังได้กำหนดไว้ในข้อ ๒ พัฒนาคนและสงั คมทีม่ ีคุณภาพ ในด้านเด็กและ

เยาวชนรัฐบาลได้จัดหน่วยเคลื่อนที่ที่เข้าถึงตัวเด็กเรียกว่า คาราวานเสริมสร้างเด็ก มีหน้าที่สร้างสังคม

แหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพฒั นาให้มีความรู้และจริยธรรม เร่ิมต้ังแต่เด็กแรกเกิด ให้ความสำคัญแก่การ

สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ครอบครัวที่อบอุ่น และสถานศึกษาที่ใส่ใจดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างใกล้ชิด

ด้วยการปลูกฝังคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ ความรู้ที่ทันโลก และคุณค่าที่ดีของวัฒนธรรมไทย สร้างความเข้าใจ

ใหแ้ กพ่ อ่ แม่ ถงึ วธิ ีการดแู ลช่วยเหลือบตุ รท่ถี กู ตอ้ ง (นโยบายรัฐบาล,๒๕๔๘)

สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ ได้กำหนดเครื่องมือในการประเมินคุณภาพระบบ เพื่อให้สอดคล้อง

กับรูปแบบการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและเพื่อให้โรงเรียนทราบจุดตั้งของการพัฒนา



นางนติ ยา ทองดยี งิ่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5
โครงการและทีส่ ำคัญการประเมินจะเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกบั ผู้เก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
คือหน่วยประเมินของ สมศ. ฝ่ายประเมินของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ซึ่งนำไปสู่การพัฒนา
เป็นแนวทางการส่งเสริมการประเมินคุณภาพสถานศึกษา ทั้งหมด ๑๒ องค์ประกอบ ส่วนระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น ไดถ้ ูกกำหนดใหเ้ ป็นระบบหลัก ในองค์ประกอบที่ ๙ มี ๔ ขอ้ กำหนด ท่สี ถานศกึ ษาจะตอ้ งบริหารจดั การ
ให้มคี ณุ ภาพตามเกณฑท์ ่ี สมศ.กำหนดจงึ จะผ่านการประเมนิ ภายนอก ดังนี้

ข้อกำหนดท่ี ๑ มกี ารรจู้ กั ผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คลและจดั กลุม่ ผ้เู รยี นตามสภาพปัญหา
ข้อกำหนดที่ ๒ มีการวิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขสถานการณ์ ตลอดจนช่วยเหลือและประสานความ
ร่วมมอื กับฝา่ ยตา่ ง
ข้อกำหนดท่ี ๓ มกี ารพัฒนาทกั ษะชีวิตที่เชื่อมโยงกบั วิถีของชวี ติ
ข้อกำหนดที่ ๔ ร่วมมือและส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรัก ความเข้าใจ เอาใจใส่ในการอบรมสั่งสอน
บตุ รหลานและเป็นแบบอย่างท่ดี ี(สถาบนั วิจยั และพัฒนาการเรยี นรู้,๒๕๔๖)
กระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลชว่ ยเหนือนักเรียน โดยครทู ีป่ รึกษาเป็นบุคลากรหลกั ในการ
ปฏิบตั งิ านมีองคป์ ระกอบสำคัญ ๕ ประการ คอื

๑. การรจู้ ักนักเรียนเปน็ รายบคุ คล
๒. การคดั กรองนักเรียน
๓. การส่งเสริมนกั เรยี น
๔. การป้องกนั และแก้ไขปญั หา
๕. การส่งต่อ
กระบวนการดำเนินงานทั้ง ๕ ประการดงั กลา่ ว แสดงให้เหน็ เปน็ แผนภูมิในหนา้ ตอ่ ไป


นางนิตยา ทองดยี งิ่ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบ้าน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5
แผนภูมิแสดงกระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา

กระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่แสดงในแผนภูมิเป็นความรับผิดชอบ
ของครูที่ปรึกษาตลอดกระบวนการ โดยมีการประสานงานหรือรับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครูที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงผปู้ กครอง ซึง่ มีวิธกี ารและเครือ่ งมือตวั อยา่ งสรุปได้ ดังนี้


นางนิตยา ทองดยี ิ่ง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยีย่ มบ้าน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

กระบวนการดำเนินงาน วธิ กี าร เครอื่ งมอื

๑. การรู้จักนักเรียน เป็น ศึกษาข้อมลู จากการใช้

รายบุคคล ๑) ระเบียนสะสม ๑) ระเบยี นสะสม

๑.๑ ดา้ นความสามารถ ๒) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ๒) แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็ก(SDQ)

- การเรียน (SDQ) หรือ

- ความสามารถอื่น ๆ ๓) อนื่ ๆ ๓) อ่นื ๆ เช่น

๑.๒ ดา้ นสุขภาพ - แบบประเมินความฉลาด - แบบประเมินความฉลาดทาง

- ร่างกาย ทางอารมณ์ (E.Q.) อารมณ์ (E.Q.)

- จิตใจ - แบบสัมภาษณ์นกั เรยี น - แบบสัมภาษณ์นักเรยี น

- พฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสมั ภาษณป์ กครอง

๑.๓ ด้านครอบครัว นกั เรยี น และเย่ยี มบ้านนักเรยี น

- เศรษฐกจิ - แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง - แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ

- ก า ร ค ุ ้ ม ค ร อ ง และเยี่ยมบา้ นนักเรยี นฯลฯ ดว้ ยตนเองฯลฯ

นกั เรยี น

๑.๔ ดา้ นอ่ืน ๆ

๒. การคัดกรองนกั เรียน ดำเนินการตอ่ ไปน้ี

๒.๑ กลุ่มปกติ ๑) วิเคราะหข์ อ้ มลู จาก ๑) เกณฑ์การคดั กรองนกั เรยี น

๒.๒ กลุ่มเสีย่ ง/มปี ญั หา ๑.๑ ระเบยี นสะสม ๒) แบบสรุปผลการคัดกรองและ

๑ .๒ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ช่วยเหลือนกั เรียนเป็น

พฤตกิ รรมเด็ก (SDQ) รายบคุ คล

๑.๓ แหล่งข้อมลู อนื่ ๆ ๓) แบบสรุปผลการคัดกรองนักเรียน

๒) คัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์ เปน็ ห้อง

การคดั กรองของโรงเรียน

๑๐
นางนติ ยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบา้ น ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

กระบวนการดำเนินงาน วธิ ีการ เครื่องมอื

๓. การส่งเสริมนักเรียน ดำเนินการต่อไปนี้

(สำหรับนักเรียนทุกกลุ่ม) ๑) จัดกจิ กรรมโฮมรมู ๑) แนวทางการจัดกิจกรรม โฮม

(Homeroom) รมู ของโรงเรยี น

๒) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ๒) แนวทางการจัดกิจกรรม

(Classroom meeting) หรือ ประชมุ ผู้ปกครองชนั้ เรยี นของโรงเรียน

๓) จัดกิจกรรมอื่น ๆ ที่ครู ๓) แบบบนั ทึก/สรปุ ประเมินผล

พิจารณาว่าเหมาะสมในการ การดำเนินกจิ กรรม

ส่งเสริมนักเรียนให้มีคุณภาพมาก • โฮมรูม
ข้ึน • ประชุมผู้ปกครองช้ันเรยี น

• อืน่ ๆ

๔. การป้องกันและแก้ไข ดำเนนิ การต่อไปน้ี

ปัญหา (จำเป็นอย่างมาก ๑) ใหก้ ารศกึ ษาเบื้องต้น ๑) แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อการ

สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/ ๒) ประสานงานกับครูและ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาของ

มีปัญหา) ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อการจัด นักเรยี น ๕ กิจกรรม

กิจกรรมสำหรับการป้องกันและ ๒) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรองและ

ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรยี น ช่วยเหลือนกั เรียนเปน็

คอื รายบุคคล

๒.๑ กจิ กรรมในหอ้ งเรยี น ๓) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล

๒.๒ กจิ กรรมเสริมหลักสูตร ชว่ ยเหลือนักเรียน

๒.๓ กจิ กรรมเพื่อนช่วยเพ่อื น

๒.๔ กิจกรรมซอ่ มเสรมิ

๒.๕ กิจกรรมสื่อสารกับ

ผปู้ กครอง

๑๑
นางนิตยา ทองดียง่ิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบ้าน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

กระบวนการดำเนนิ งาน วธิ ีการ เครือ่ งมือ
๕. การส่งต่อ
ดำเนนิ การต่อไปน้ี
๕.๑ ส่งต่อภายใน
๕.๒ สง่ ตอ่ ภายนอก ๑) บันทึกการส่งนักเรียนไปยังครู ๑) แบบบันทึกการส่งต่อของ

ที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือ โรงเรียน

นักเรียนต่อไป เช่น ครูแนะแนว ๒) แบบรายงานแจ้งผลการช่วยเหลือ

ครูปกครอง ครปู ระจำวชิ า นักเรยี น

ครูพยาบาล เปน็ ตน้ ซ่ึง

เป็นการสง่ ตอ่ ภายใน

๒) บันทึกการส่งนักเรียนไปยัง

ผู้เชี่ยวชาญภายนอกโดยครูแนะ

แ น ว ห ร ื อ ฝ ่ า ย ป ก ค ร อ ง เ ป็ น

ผู้ดำเนินการ ซึ่งเป็นการส่งต่อ

ภายนอก

หมายเหตุ โรงเรียนสามารถพิจารณาเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมืออื่น ๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ระบุเพื่อ
การดำเนินงานอย่างมีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้นตามความสามารถเหมาะสมของสภาพโรงเรียน

รายละเอียดของแตล่ ะองค์ประกอบในระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดำเนินงานที่มีองค์ประกอบสำคัญ ๕ ประการ

ดังท่ีกล่าวมา คือ
๑. การรจู้ กั นกั เรยี นเป็นรายบุคคล
๒. การคดั กรองนักเรียน
๓. การสง่ เสรมิ นักเรยี น
๔. การป้องกนั และแก้ไขปญั หา
๕. การส่งต่อ

แต่ละองคป์ ระกอบของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นดงั กล่าว มีความสำคญั มวี ิธกี ารและเคร่อื งมือที่
แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มี
ประสทิ ธิภาพ (หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมสามัญศกึ ษา , ๒๕๔๖)

๑๒
นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเพราะในสังคม
ปัจจุบันมีสื่อและเทคโนโลยีที่ชวนให้นักเรียนหลงใหลในรูปลักษณ์ ซึ่งนำไปสู่การเสียการเรียน เพราะโรงเรียน
เป็นสถานบันหนึ่งที่มีหน้าทีส่ รา้ งเยาวชนของชาติให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนมีคุณภาพนำไปสู่
การพัฒนาชาตใิ ห้เจริญทดั เทียมกับอารยประเทศได้ การที่จะได้เยาวชนท่มี ีคุณภาพน้ันทุกคนที่มีส่วนได้เสีย เช่น
ผบู้ รหิ าร หวั หน้าระดับ ครทู ี่ปรกึ ษา ผู้ปกครองจะตอ้ งช่วยกนั อย่างจรงิ จัง

การรจู้ กั นักเรียนเป็นรายบคุ คล

ความสำคัญ
ด้วยความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนที่มีพื้นฐานความเป็นมาของชีวิตที่ไม่เหมือนกันหล่อหลอมให้

เกิดพฤตกิ รรมหลากหลายรูปแบบ ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบ ดังน้นั การรูจ้ ักข้อมูลที่จำเป็นเกย่ี วกับตัวนักเรียนจึง
เป็นสิ่งสำคัญ ที่จะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัด
กรองนักเรียน เป็นประโยชน์ในการส่งเสริม การป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อย่างถูกทาง ซึ่งเป็น
ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดาโดยเฉพาะในการแก้ไขปัญหานักเรียน ซงึ่ จะทำให้ไม่เกิด
ข้อผดิ พลาดต่อการชว่ ยเหลอื นักเรียนหรือเกิดได้นอ้ ยทส่ี ุด

ขอ้ มลู พืน้ ฐานของนักเรยี น

ครูทป่ี รึกษาควรมขี อ้ มูลเกีย่ วกับนักเรียนอย่างน้อย ๓ ด้านใหญ่ ๆ คอื

๑. ดา้ นความสามารถ แยกเป็น

ด้านการเรียน ดา้ นความสามารถอืน่ ๆ

๒. ด้านสขุ ภาพ แยกเปน็

ด้านร่างกาย ดา้ นจติ ใจ – พฤติกรรม

๓. ด้านครอบครัว แยกเป็น

ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านการคมุ้ ครองนักเรยี น

๔. ด้านอน่ื ๆ ที่ครูพบเพม่ิ เติมซงึ่ มีความสำคัญหรอื เก่ียวข้องกบั การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

ข้อมลู พ้ืนฐานของนกั เรียนทคี่ วรทราบ

ขอ้ มลู นกั เรียน รายละเอียดขอ้ มลู พน้ื ฐานที่ควรทราบ

๑. ด้านความสามารถ

๑.๑ ดา้ นการเรยี น - ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในแตล่ ะวชิ า

- ผลการเรียนเฉลีย่ ในแตล่ ะภาคเรยี น

- พฤติกรรมการเรียนในหอ้ งเรียนท่ีมีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เชน่

ไมต่ งั้ ใจเรยี น ขาดเรียน ฯลฯ

- บทบาทหน้าที่พิเศษในโรงเรียน

๑๓
นางนติ ยา ทองดียิ่ง นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบ้าน ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

๑.๒ ดา้ นความสามารถอืน่ ๆ - ความสามารถพเิ ศษ

- การเขา้ รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ทงั้ ในโรงเรยี นและนอกโรงเรียนฯลฯ

๒. ดา้ นสุขภาพ

๒.๑ ดา้ นรา่ งกาย - ส่วนสูง นำ้ หนกั

- โรคประจำตัว ความบกพร่องทางร่างกาย เช่น การได้ยิน การ

มองเห็นฯลฯ

๒.๒ ดา้ นจิตใจ - พฤติกรรม - อารมณ์ซมึ เศรา้ /วติ กกงั วล

- ความประพฤติ

- พฤติกรรมอยไู่ มน่ งิ่ /สมาธิสน้ั

- บคุ ลกิ ภาพเกบ็ ตวั /ขอ้ี ายฯลฯ

๓. ดา้ นครอบครัว

๓.๑ ดา้ นเศรษฐกจิ - รายได้ของบิดา มารดา/ผู้ปกครอง

- อาชพี ของผู้ปกครอง

- ค่าใชจ้ า่ ยทนี่ ักเรียนได้รับในการมาโรงเรยี นฯลฯ

๓.๒ ดา้ นการคุ้มครองนกั เรียน - จำนวนพีน่ อ้ ง/บุคคลในครอบครวั

- สถานภาพของบิดา มารดา

- บุคคลท่ดี ูแลรับผดิ ชอบนกั เรยี น

- ความสัมพันธ์ของบคุ คลในครอบครัว

- ลักษณะทอี่ ยอู่ าศัยและสงิ่ แวดลอ้ ม

- ความเจ็บปว่ ยของคนในครอบครัว หรอื การใช้สารเสพติด

การตดิ สุรา การพนนั ฯลฯ

วธิ กี ารและเครื่องมอื ในการรูจ้ กั นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล

ครูที่ปรึกษาควรใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่คอบคลุมทั้งด้านความสามารถ

ด้านสขุ ภาพ และดา้ นครอบครวั ท่ีสำคัญ คอื

๑. ระเบยี นสะสม

๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก (SDQ)

๓. วิธีการและเคร่ืองมอื อื่น ๆ เช่น การสัมภาษณน์ ักเรยี น การศึกษาจากแฟ้ม

สะสมผลงาน การเยี่ยมบ้าน การศึกษาข้อมูลจากแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วนตนเองซึ่งจัดทำโดยกรม

อนามัย เปน็ ตน้

ระเบียนสะสม
ระเบียนสะสม เป็นเครื่องมือในรูปแบบของเอกสารเพ่ือการเก็บรวบรวมข้อมูลทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ตวั นักเรียน

โดยนักเรียนเป็นผู้กรอกข้อมูล และครูที่ปรึกษานำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษา พิจารณาทำความรู้จักนักเรียน

๑๔
นางนติ ยา ทองดียิ่ง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

เบื้องต้น หากข้อมูลไม่เพียงพอ หรือมีข้อสังเกตบางประการ ก็ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
การสอบถามจากนักเรียนโดยตรง การสอบถามจากครูอื่น ๆ หรือเพื่อน ๆ ของนักเรียน เป็นต้น รวมทั้งการใช้
เครอื่ งมอื ทดสอบตา่ ง ๆ หากครทู ่ีปรกึ ษาดำเนนิ การได้

รูปแบบและรายละเอียดในระเบียนสะสมของแต่ละโรงเรียนมีความแตกต่างกันได้ขึ้นอยู่กับความ
ต้องการของแต่ละโรงเรยี นแต่อย่างน้อยควรครอบคลมุ ข้อมลู ทั้งด้านการเรยี นด้านสุขภาพและดา้ นครอบครัว

ระเบียนสะสม เป็นข้อมูลสว่ นตัวของนักเรียนจึงตอ้ งเป็นความลับและเก็บไว้อย่างดีมใิ ห้ผู้ที่ไม้เกี่ยวข้อง
หรือเด็กอ่นื ๆ มารอื้ คน้ ได้ หากเป็นไปได้ควรเก็บไว้กับครทู ่ีปรึกษาและมีผู้เกบ็ ระเบียบสะสมไว้ใหเ้ รยี บร้อย

ระเบียนสะสม ควรเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๓ ปีการศึกษา หรือ ๖ ปีการศึกษา
และส่งต่อระเบียนไปยังครูที่ปรึกษาคนใหม่ในปีการศึกษาต่อไป หรือการจัดครูที่ปรึกษาตามดูแลนักเรียน
อยา่ งต่อเน่ือง จนจบมธั ยมศกึ ษาในแต่ละตอน หรือจนจบ ๖ ปกี ารศึกษาก็ได้

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก (SDQ) (โรงเรียนอาจนำเครอ่ื งมอื อน่ื มาใช้แทนก็ได้)
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ไม่ได้เป็นแบบวัดหรือแบบทดสอบ แต่เป็นเครื่องมือสำหรับการคัดกรอง

นักเรียนด้านพฤติกรรม การปรับตัว ที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับสภาพกับสภาพจิตใจซึ่งจะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีแนว
การพิจารณานกั เรยี นดา้ นสุขภาพจติ มากข้ึน

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก เป็นเครื่องมือที่กรมสุขภาพจิตเป็นเป็นผู้จัดทำขั้น โดยพัฒนาจาก
The Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) ประเทศเยอรมนี ซึง่ ใชก้ นั แพร่หลาย ใน
ประเทศแถบยุโรป เพราะมีความเที่ยงและความตรงจำนวนข้อไม่มากนัก คณะผจู้ ัดทำของกรมสุขภาพจิต โดย
แพทย์หญิงพรรณพิมล หล่อตระกูล เป็นหัวหน้าคณะได้ทำการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ค่าความเที่ยง และความตรง
ของแบบประเมนิ และหาเกณฑม์ าตรฐาน (Norm) ของเดก็ ไทย
แบบประเมินพฤติกรรมเดก็ มี ๓ ชุด คือ

- ชุดทีค่ รเู ปน็ ผ้ปู ระเมินเดก็
- ชดุ ท่ีพอ่ แม่ ผู้ปกครอง เปน็ ผู้ประเมนิ เดก็
- ชดุ ทเ่ี ดก็ ประเมินตนเอง
ทงั้ ๓ ชดุ มเี นอื้ หาและจำนวนขอ้ ๒๕ ขอ้ เท่ากนั ทางโรงเรยี นอาจเลือกใช้ชดุ ทนี่ ักเรียนประเมิน
ตนเองชุดเดียว หรือใช้ควบคู่กับชุดที่ครูเป็นผู้ประเมินเพื่อความแม่นตรงยิ่งขึ้นโดยระยะเวลาที่ประเมินไม่ควร
ห่างจากนักเรียนประเมินตนเองเกิน ๑ เดือน ซึ่งหากเป็นไปได้ควรใช้แบบประเมินทั้ง ๓ ชุด พร้อมกัน
เพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของผลที่ออกมา

๑๕
นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

วธิ กี ารและเครือ่ งมอื อืน่ ๆ
ในกรณีที่ข้อมูลของนักเรียนจากระเบียนสะสมและแบบประเมนิ พฤติกรรมเด็กไม่พอเพียงหรอื เกิดกรณี

ที่จำเป็นต้องมีข้อมูลที่เพิ่มเติมอีก ครูที่ปรึกษาก็อาจใช้วิธีการและเครื่องมืออื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น การสังเกต
พฤตกิ รรมอน่ื ๆ ในหอ้ งเรยี น การสมั ภาษณ์และการเยี่ยมบ้านนกั เรียน เปน็ ตน้ (หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญ
ศกึ ษา,๒๕๔๖)

สรุป การรู้จักรนักเรียนเป็นรายบุคคลคือการที่ครูทุกคนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนจะต้องทำความรู้จัก
กับนักเรียนท่ีตนเองรับผิดชอบในทุกทกด้านโดยการศึกษาข้อของเดก็ จากลหายที่เช่น ระเบียนสะสม เยี่ยมบา้ น
สังเกต สัมภาษณ์ เปน็ ต้น

การคัดกรองนักเรยี น

ความสำคัญ
การคัดกรองนักเรียน เป็นการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน เพื่อการจัดกลุ่มนักเรียนเป็น ๒

กลุ่ม คอื
๑. กลุ่มปกติ คือ นกั เรียนทไ่ี ด้รับการวิเคราะห์ข้อมลู ตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์การคดั กรองของโรงเรียนแล้ว

อยใู่ นเกณฑข์ องกลุ่มปกติ
๒. กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรอง

ของโรงเรยี น ซ่งึ โรงเรียนตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื ป้องกนั หรอื แกไ้ ขปัญหาตามแต่กรณี
การจัดกลุ่มนักเรียนนี้ มีประโยชน์ต่อครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้อย่าง

ถูกต้อง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาให้ตรงกับปัญหาของนักเรียนยิ่งขึ้น และมีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหา
เพราะมีข้อมูลของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งหากครูที่ปรึกษาไม่ได้คัดกรองนักเรียนเพื่อการจัดกลุ่มแล้ว
ความชัดเจนในเป้าหมายเพื่อการแก้ไขปัญหาของนักเรียนจะมีน้อยลง มีผลต่อความรวดเร็วในการช่วยเหลือ
ซ่งึ บางกรณีจำเปน็ ต้องแกไ้ ขโดยเร่งด่วน

ผลการคดั กรองนักเรียน ครทู ่ปี รึกษาจำเป็นตอ้ งระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ที่จะไมท่ ำให้นักเรยี นรบั รู้ไดว้ ่าตนถูก
จัดกล่มุ อยใู่ นกลุ่มเสยี่ ง/มีปัญหา ซึง่ มคี วามแตกต่างจากกลมุ่ ปกตโิ ดยเฉพาะนักเรยี นวัยรุน่ ท่ีมีความไวต่อการรับรู้
(sensitive) แม้ว่านกั เรยี นจะรตู้ วั ดวี า่ ขณะนีต้ นมีพฤติกรรมอย่างไรหรือประสบกับปัญหาใดก็ตามและเพ่ือเป็น
การป้องกันการล้อเลียนในหมู่เพื่อนอีกด้วย ดังนั้น ครูที่ปรึกษาต้องเก็บผลการคัดกรองนักเรียนเป็นความลับ
นอกจากนี้ครูที่ปรึกษามีการประสานงานกับผู้ปกครองเพื่อการช่วยเหลือนักเรียน ก็ควรระมัดระวังการสื่อสาร
ทีท่ ำใหผ้ ปู้ กครองเกิดความรู้สึกว่า บตุ รหลานของตนถูกจดั อยู่ในกลุ่มท่ผี ิดปกติแตกต่างจากเพ่ือนนักเรียนอ่ืน ๆ
ซง่ึ อาจมผี ลเสียต่อนักเรยี นในภายหลงั ได้

๑๖
นางนิตยา ทองดยี ิง่ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

แนวทางการวิเคราะหข์ ้อมูลเพอ่ื การคัดกรองนักเรียน
การวิเคราะหข์ อ้ มลู เพื่อการคดั กรองนักเรยี นนั้น ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของครูท่ีปรึกษาและยดึ ถอื เกณฑ์การ

คัดกรองนักเรียนของโรงเรียนเป็นหลักดว้ ย ดั้งนั้น โรงเรียนจงึ ควรมีการประชุมครูเพื่อการพิจารณาเกณฑ์การ
จัดกลุ่มนักเรียนร่วมกัน เพื่อให้มีมาตรฐานหรือแนวทางการคัดกรองนักเรียนที่เหมือนกัน เป็นที่ยอมรับของครู
ในโรงเรยี น รวมทงั้ ใหม้ กี ารกำหนดเกณฑว์ า่ ความรนุ แรงหรือความถ่ีของพฤตกิ รรมเทา่ ใดจึงจัดอยู่ในกลุ่มเส่ียง/มี
ปัญหา

สำหรับประเด็นการพิจารณาเพื่อจัดทำเกณฑ์การคัดกรองและแหล่งข้อมูลเพื่อคัดกรองนักเรียนแต่ละ
ด้าน มีตวั อยา่ งตามตารางดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ มลู นักเรยี น ตวั อย่างประเดน็ การพิจารณา แหลง่ ขอ้ มลู
๑. ดา้ นความสามารถ
๑) ผลการเรียนที่ได้ และความ - ระเบยี นสะสม
๑.๑ ดา้ นการเรยี น

เปลี่ยนแปลงของผลการเรียน - วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกต

๒) ความเอาใจใส่ความพร้อมในการ พฤติกรรมนักเรียน การได้ข้อมูลจาก

เรยี น ครูที่เกีย่ วข้องกบั นกั เรียน เป็นต้น

๓) ความสามารถในการเรยี น

๔) ความสม่ำเสมอในการมาโรงเรยี น

,เวลาท่มี าโรงเรียน ,การเข้าช้นั เรียน

๑) การแสดงออกถึงความสามารถ

๑.๒ ด้านความสามารถ พิเศษทม่ี ี - ระเบยี นสะสม

อนื่ ๆ ๒) ความถนัด ความสนใจ และ - วิธีการอน่ื ๆ เชน่ การไดข้ ้อมูลจาก

ผลงานในอดตี ทผ่ี า่ นมา เพื่อนนักเรียน แฟ้มสะสมผลงาน

๓) บทบาทหน้าทพ่ี เิ ศษใน พฤติกรรมที่แสดงออกของนักเรียน

โรงเรียน เปน็ ต้น

๔) การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของ

นักเรยี น

๑๗
นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

ความสำคัญและความจำเป็นของระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน

การพัฒนานักเรียนให้นักเรียนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ

มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวังไว้ โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น

นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหาต่าง ๆ

ทเี่ กดิ ขึ้นกับนักเรียนก็เปน็ ส่ิงสำคัญประการหน่ึงของการพัฒนา เนือ่ งจากสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก

ทั้งด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งนอกจากส่งผลกระทบต่อผู้คนในเชิงบวกแล้ว ในเชิงลบก็มีปรากฏ

เช่นกัน เป็นต้นว่า ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการระบาดของสารเสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่าง ๆ

ปัญหาครอบครัว ซึ่งก่อให้เกดิ ความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด มีการปรับตัวที่ไม่เหมาะสมหรืออื่น ๆ

ที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพจิตและสุขภาพกายของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ภาพความสำเร็จที่เกิดจากการพัฒนา

นักเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามทม่ี งุ่ หวังนั้น จึงตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือจากผู้ที่เก่ยี วข้องทุกฝา่ ย ทกุ คนโดยเฉพาะบุคลากร

ครูทุกคนในโรงเรียน ซึ่งมีครูที่ปรึกษาเป็นหลักสำคัญในการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

อย่างใกล้ชิดด้วยความรกั และเมตตาที่มีต่อศิษย์ และภาคภมู ิใจใน บทบาทที่มีส่วนสำคัญตอ่ การพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตของเยาวชนให้เติบโต งอกงาม เปน็ บุคคลท่ีมี คุณค่าของสังคมตอ่ ไป

บทบาทของครูท่ีกล่าวมานน้ั คงมิใช่เรื่องใหม่ เพราะมกี ารปฏบิ ัติกันอย่างสมำ่ เสมอและได้ดำเนินการมา

นานแล้วนับตั้งแต่อดีตจนได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลแต่เพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย

โดยเฉพาะการทำงานอย่างมรี ะบบที่มีกระบวนการทำงาน มีหลักฐานการปฏิบัติงาน มีเทคนิค วิธีการ หรอื การ

ใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพ่ือการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแล้ว ความสำเร็จของงานย่อมเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมี

ประสิทธิภาพ ผลดีย่อมเกิดขึ้นกับทกุ คนทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

หรือสังคม

นอกจากนีพ้ ระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ได้กำหนดความมุง่ หมายและหลักการ

จัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้

และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่ นได้อย่างมีความสุข

(มาตรา ๖) และแนวทางการจัดการศกึ ษายงั ได้ใหค้ วามสำคญั แก่ผู้เรียนทกุ คน โดยยึดหลักว่าทกุ คน มี

ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตาม

ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (มาตรา ๒๒) ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม

กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้การ

ดำเนินการ คือ เรื่องความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข (มาตรา ๒๓

ข้อ (๕) ) ทั้งนี้การจัดกระบวนการการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์

ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม

และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา อีกทั้งมีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง

และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา่ ย เพอ่ื รว่ มกนั พัฒนาผเู้ รียนตามศักยภาพ

๑๘
นางนติ ยา ทองดีย่ิง นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

ในการปฏิรูปวิชาชีพครู ซึ่งเป็นการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถมีคุณลักษณะที่ได้
คุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพ ตามการประกันคุณภาพการศึกษาด้านปัจจัย คือ ครูที่ระบุในมาตรฐานที่ ๒
ครูมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยมีตัวชี้วัดที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของครู
ในการพัฒนานักเรียน คือ การมคี วามรกั เอื้ออาทร เอาใจใส่ ดแู ลผเู้ รยี นอย่างสมำ่ เสมอ การมมี นุษยสัมพันธ์
และสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะแนะนำและร่วมกันแก้ปัญหาของผู้เรียน แสดงให้เห็นว่า ครูต้องพัฒนาตนเอง
ให้เป็นครูมืออาชีพ คือ นอกจากจะทำหน้าที่ครูผู้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้แก่
นักเรียนแล้ว ยังต้องทำหน้าที่อื่น ๆ ที่เป็นการสนับสนุนหรือพัฒนาให้นักเรียนมีคุณภาพ ทั้ง ดี เก่ง มีสุข
ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานด้านผลผลิต คือนักเรียน ในการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนั้น ระบบการดูแล
ชว่ ยเหลือนกั เรียนจงึ เปน็ ระบบทส่ี ามารถดำเนินการเพื่อรับการประกนั คุณภาพได้ซึ่งครอบคลุมทัง้ ด้านปัจจัยด้าน
ผลผลติ และด้านกระบวนการ

โรงเรียนวิเชียรมาตุ จึงตระหนักถึงความสำคัญที่จะต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้มี
กระบวนการทำงานเปน็ ระบบมีความชัดเจน มีการประสานความร่วมมือของผูท้ เี่ กย่ี วข้องท้ังในและนอกโรงเรียน
รวมทั้งวิธีการกิจกรรมและเครื่องมือต่าง ๆ ที่มีคุณภาพในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอันจะส่งผลให้ระบบการ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบความสำเร็จโดยมแี นวคิดหลักในการดำเนินงาน ดงั นี้

๑. มนุษย์ทกุ คนมศี ักยภาพทจี่ ะเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวติ เพียงแต่ใชเ้ วลาและวธิ กี ารที่
แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละคนมีความเป็นปัจเจกบุคคล ดังนั้น การยึดนักเรียนเป็นสำคัญในการพัฒนาเพื่อ
ดแู ลชว่ ยเหลือ ท้ังดา้ นการปอ้ งกัน แก้ปัญหา หรือการสง่ เสรมิ จงึ เปน็ สิ่งจำเปน็

๒. ความสำเร็จของงาน ต้องอาศยั การมีส่วนร่วม ทัง้ การร่วมใจ รว่ มคดิ ร่วมทำของทกุ คนท่มี ี
สว่ นเกีย่ วข้อง ไมว่ า่ จะเปน็ บคุ ลากรโรงเรยี นในทุกระดบั ผูป้ กครอง หรอื ชุมชน

ปจั จัยสำคญั ทม่ี ผี ลต่อประสทิ ธิภาพของการดำเนินงานตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๑. ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นรวมทง้ั ผู้ช่วยผู้บรหิ ารโรงเรียนทุกฝ่ายตระหนักถงึ ความสำคัญ

ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและให้การสนับสนุนการดำเนินงาน หรือร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสม
อยา่ งสม่ำเสมอ

๒. ครทู กุ คนและผเู้ กี่ยวข้องจำเป็นตอ้ งมคี วามตระหนักในความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนและมที ศั นคติท่ีดตี ่อนกั เรียนมีความสุขทีจ่ ะพัฒนานักเรียนในทุกดา้ น

๓. คณะกรรมการหรอื คณะทำงานทกุ คณะตอ้ งมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชดิ และมีการประชุม
ในแตล่ ะคณะอย่างสม่ำเสมอตามท่ีกำหนด

๔. ครูที่ปรึกษาเปน็ บคุ ลากรหลักสำคัญในการดำเนินงานโดยตอ้ งได้รับความร่วมมือจากครูทกุ คน
ในโรงเรียนรวมทั้งการสนบั สนนุ ในเร่ืองตา่ ง ๆ จากโรงเรียน

๕. การอบรมให้ความร้แู ละทกั ษะรวมทั้งการเผยแพร่ข้อมลู ความรแู้ ก่ครูท่ปี รึกษา/ครูประจำช้นั ผทู้ ่ี

๑๙
นางนติ ยา ทองดีย่ิง นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยีย่ มบา้ น ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

เกี่ยวข้องเพ่อื เอ้อื ประโยชน์ต่อการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นเปน็ ส่งิ จำเป็น โดยเฉพาะเรื่องทักษะการปรกึ ษาเบ้ืองต้น
และแนวทางการแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ของนกั เรยี น โรงเรียนควรดำเนนิ การอยา่ งต่อเน่ืองและสมำ่ เสมอ

การดำเนินงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
ได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน

ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นดังน้ี

ผู้บริหารมบี ทบาทหนา้ ท่ี
๑. จัดประชุมครูระดมสมองเพื่อกำหนดวิสัยทัศน์กลยุทธ์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน

ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๒. กำหนดโครงสร้างการบริหารระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
๓. แต่งตง้ั คณะกรรมการในการดำเนินงาน
๔. สร้างความตระหนักใหค้ รทู กุ คนและบคุ คลที่เก่ียวข้องเห็นคุณค่าและความจำเปน็ ของระบบการดแู ล

ชว่ ยเหลือนักเรยี น
๕. ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน (ทมี ทำ) และกำหนดเกณฑก์ ารคัดกรองนักเรียน
๖. ส่งเสริมให้ครูทุกคนและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เพิ่มเติมมีทักษะเกี่ยวกับระบบการดูแล

ช่วยเหลือนักเรียนอย่างตอ่ เนือ่ ง
๗. เชิญหนว่ ยงานและบุคคลภายนอกเปน็ กรรมการและเครือข่ายในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนพร้อมท้ัง

ประชมุ ปรึกษาหารอื
๘. กำหนดปฏิทนิ การดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น
๙. นเิ ทศกำกบั ตดิ ตามประเมินผล
๑๐. ยกยอ่ งใหร้ างวัลเผยแพร่ผลงานการดำเนนิ งานในโอกาสต่าง ๆ

การแต่งต้ังคณะกรรมการ
ผู้บริหารประชุมปรึกษาหารือในฝ่ายบริหารกำหนดโครงสร้างบุคลากรในระบบการดูแลช่วยเหลือ

นักเรียนและแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ(ทีมนำ) และคณะกรรมการดำเนินงาน (ทีมทำ)โดยแต่ละทีมจะ
พิจารณาตามความเหมาะสมพร้อมทง้ั กำหนดบทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการดังน้ี

๑. คณะกรรมการอำนวยการ (ทมี นำ) พิจารณาจากตำแหนง่ เปน็ หลักประกอบดว้ ย
๑. ผู้อำนวยการโรงเรียนประธานกรรมการ
๒. รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการกรรมการ
๓. รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบริหารงบประมาณกรรมการ
๔. รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารทั่วไปกรรมการ

๒๐
นางนติ ยา ทองดยี ่ิง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบ้าน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

๕. รองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารบคุ คลกรรมการและเลขานกุ าร
๒. คณะกรรมการอำนวยการ (ทีมนำ) มบี ทบาทหน้าท่ี

๑. วิเคราะห์สภาพปัจจบุ ันปัญหาของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของโรงเรยี น
๒. รว่ มกำหนดนโยบายวัตถปุ ระสงค์ในการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของ
โรงเรยี น
๓. จัดประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน (ทมี ทำ) ทกุ ภาคเรยี นและ/หรอื ทุกครัง้ ทีต่ อ้ งการ
ขอ้ ตกลงในการปรบั ปรงุ วิธีการดำเนินงาน

๔. จดั ประชุมช้แี จงและจดั การฝกึ อบรมให้ความร้แู ก่บคุ ลากร

๕. กำหนดแนวปฏบิ ัติขอ้ บงั คับกฎระเบยี บทุกประเภทของนกั เรยี น

๖. จัดสรรสนับสนุนงบประมาณ

๗. นิเทศกำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นของโรงเรียน

๘. ประสานคณะกรรมการดำเนินงาน (ทีมทำ)

๓. คณะกรรมการดำเนินงาน (ทีมทำ) แยกเป็น ๖ คณะตามระดับชั้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ -

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖) แต่ละคณะประกอบด้วย

๑. งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ประธานกรรมการ

๒. หัวหน้าระดับช้ัน รองประธานกรรมการ

๕. ครทู ่ีปรึกษาในระดับช้ัน กรรมการและเลขานกุ าร

คณะกรรมการดำเนนิ งาน (ทีมทำ) มบี ทบาทหนา้ ท่ีดังน้ี

บทบาทหน้าที่งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

๑. ปฏบิ ัตงิ านในฐานะบุคลากรหลักในการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น

๒. ประสานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำเอกสารพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงานระบบการดูแล

ชว่ ยเหลือนักเรยี น

๓. จัดประชมุ คณะกรรมการในระดบั ชนั้ เพือ่ ปรึกษาหารือในการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น

๔. ประสานคณะกรรมการดำเนนิ งาน (ทีมทำ) จัดทำแผนงาน / โครงการกิจกรรมเพื่อพฒั นานกั เรียนใน

ดา้ นมรี ะเบียบวินยั ให้เปน็ ไปอย่างเหมาะสมถกู ต้องตามระเบียบของโรงเรียนท่ีกำหนด

๕. รวบรวมข้อมูลการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ สรปุ ผลการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน

๖. กำกบั ดูแลนักเรยี นท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น

๗. เพ่มิ คะแนนให้กับนักเรยี นท่ีประพฤติดีตัดคะแนนนักเรยี นทีป่ ระพฤตผิ ดิ ระเบียบของโรงเรียนและตัด

คะแนนนักเรยี นท่สี ่งต่อมาจากครูทปี่ รกึ ษา

๘. จดั ทำเอกสารเผยแพร่

๒๑
นางนติ ยา ทองดียงิ่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

บทบาทหน้าทข่ี องหวั หนา้ ระดับ
๑. วางแผนงานโครงการเพอ่ื พัฒนางานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
๒. ติดตามกำกบั การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนของครูทปี่ รกึ ษา
๓. ประสานงานผ้เู กยี่ วข้องในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
๔. ประชุมครูในระดบั เพ่ือพัฒนาประสิทธภิ าพในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๕. จัดประชมุ กลุ่มเพ่อื ปรึกษาปญั หารายกรณี
๖. จัดทำขอ้ มูลสถิตกิ ารดำเนนิ งานในระดับชั้นทุกประเภท
๗. บันทึกหลกั ฐานการปฏบิ ัติงานและจดั ทำรายงานประเมนิ ผลงานในระดับสง่ ทีมนำ

บทบาทหนา้ ทขี่ องรองหวั หน้าระดบั
๑. ร่วมกบั หัวหนา้ ระดบั ติดตามกำกับการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนของครทู ีป่ รกึ ษา
๒. ประสานงานกับหวั หน้าระดับรวมท้ังครทู ี่ปรึกษาและงานแนะแนวเพื่อพัฒนานกั เรียนในด้าน ต่าง ๆ

ตามความเหมาะสม
๓. รว่ มกับหวั หนา้ ระดบั จดั ทำข้อมูลสถิติการดำเนินงานในระดบั ชัน้ ทุกประเภท
๔. ร่วมกับหัวหนา้ ระดับบันทกึ หลกั ฐานการปฏิบัติงานและจัดทำรายงานประเมินผลงานในระดับส่งทีม

นำ

บทบาทหนา้ ท่ีของครูประจำวิชาในระดับ
๑. ศกึ ษาสังเกตดูแลรวบรวมขอ้ มลู นกั เรียนทกุ คนทท่ี ำการสอน
๒. ประสานงานกับครทู ป่ี รกึ ษาเพอ่ื สง่ เสรมิ ป้องกันแก้ไขพฤติกรรมนักเรยี น
๓. จัดกจิ กรรมส่งเสริมปอ้ งกันแกไ้ ขเพ่ือพัฒนานักเรยี น
๔. จัดสอนซ่อมเสริมใหก้ ับนกั เรยี นท่มี ปี ญั หาเร่ืองการเรียนในรายวชิ าของตนเอง

บทบาทหนา้ ที่ของครทู ่ีปรกึ ษา
๑. ดำเนนิ การตามระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนคอื
๑.๑ รจู้ กั นกั เรียนเป็นรายบคุ คล
๑.๒ วิเคราะหค์ ดั กรองจำแนกนักเรียน
๑.๓ จัดกิจกรรมตา่ ง ๆ เพือ่ สนบั สนุนส่งเสริมพฒั นานักเรียน
๑.๔ จดั กจิ กรรมป้องกนั แก้ไขปญั หาชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
๑.๕ ส่งต่อนักเรียนที่จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาแล้วพฤติกรรมไม่ดีขึ้นไปตัดคะแนนแล้วส่งต่อ
ภายในหรอื ภายนอกแล้วแตก่ รณี
๑.๖ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน

๒๒
นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

๒. ประสานงานกับผปู้ กครองและรว่ มมือกบั ทุกฝา่ ยในกรณีทนี่ ักเรยี นมปี ญั หาเกดิ ขึ้น
๓. ให้คำปรึกษาครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นการเรียนอาชพี และสังคมทั้งรายกล่มุ และรายบุคคล
๔. จัดทำการศกึ ษารายกรณี (Case Study)
๕. ส่งตอ่ ผ้เู ชย่ี วชาญภายในหรือภายนอก

การดำเนนิ งานตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
๑. การรจู้ ักนกั เรียนเป็นรายบุคคล
การรู้ข้อมลู ทีจ่ ำเป็นเก่ียวกบั ตัวนกั เรียนเปน็ สง่ิ ทสี่ ำคัญทจ่ี ะชว่ ยให้ครูทป่ี รึกษามีความเข้าใจนักเรียนมาก

ขึ้นสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคดั กรองนักเรยี นเป็นประโยชน์ในการสนับสนุนส่งเสริมการป้องกันและ
แกไ้ ขปญั หาของนกั เรียนได้อย่างถกู ทางซ่ึงเป็นขอ้ มลู เชิงประจักษ์มใิ ชค่ วามรูส้ กึ หรอื การคาดเดาโดยเฉพาะในการ
แก้ไขปัญหานกั เรยี นซึ่งจะทำให้ไม่เกดิ ข้อผิดพลาดต่อการชว่ ยเหลือนักเรยี นหรอื เกิดได้น้อยท่สี ดุ วธิ ีรวบรวมข้อมูล
มเี ครือ่ งมอื ต่าง ๆ ใหค้ รูที่ปรึกษาเลือกใชด้ ังน้ี

เครอ่ื งมือที่ใช้ในการรู้จักนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล
๑. แบบสังเกต
๒. แบบสัมภาษณ์
๓. ระเบยี นสะสม
๔. การเขยี นอัตชวี ประวตั ิ
๕. สังคมมิติ
๖. การศกึ ษาเด็กเป็นรายกรณี
๗. การเยีย่ มบา้ นนักเรยี น
๘. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ (SDQ)
๙. แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q)

การสังเกต(Observation)
เป็นวิธีการที่ใช้โดยทั่วไปเพื่อดูพฤติกรรมของเด็กเพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวินิจฉัยปัญหาการสังเกต

นบั วา่ เปน็ วธิ ีการทีง่ า่ ยและใชก้ นั มากท่ีสุดการสงั เกตพฤติกรรมของเดก็ ต้องมวี ัตถปุ ระสงคใ์ นการสังเกตการสังเกต
ใช้ในการศึกษาพฤตกิ รรมความสนใจทัศนคตคิ วามแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลเปน็ ต้น

การสังเกตมี ๒ ประเภท
๑. การสังเกตอย่างไม่เป็นทางการ (Informal Service) คือการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามเวลา
และโอกาสทอี่ ำนวยไม่กำหนดเวลาแน่นอน

๒๓
นางนติ ยา ทองดยี งิ่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

๒. การสงั เกตอยา่ งเป็นทางการ (Formal Service) เป็นการสงั เกตอยา่ งมีแบบแผนเกีย่ วกับเร่ืองใดเวลา
ใดผู้สังเกตต้องจัดแผนการตามลำดับเช่นวางแผนในการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับ การเรียนการเล่นการรู้ จัก
แกป้ ัญหาเป็นตน้

การสัมภาษณ์ (Interview)
คอื การเจรจาสนทนาระหว่างบุคคลสองคนเพื่อให้ทราบเกี่ยวกับส่ิงท่ตี ้องการจะทราบการสัมภาษณ์มี ๓

ชนิด
๑. การสัมภาษณ์เพื่อหาความเป็นจริง (Fact-Finding Interview) เป็นการสัมภาษณ์เพื่อหาข้อเท็จจริง

เพอื่ จะไดเ้ ข้าใจเด็กได้ดีการสัมภาษณ์อาจเปน็ การสัมภาษณ์เด็กโดยตรงเพ่ือหาข้อเท็จจรงิ เพ่ือนำไปวินิจฉัยปัญหา
เก่ียวกับตัวเดก็ และสมั ภาษณผ์ ู้ใกลช้ ดิ เด็กท่สี ดุ

๒. การสัมภาษณ์เพื่อการให้คำปรึกษาเมื่อเด็กมีปัญหามาขอรับคำปรึกษาผู้แนะแนวจำเป็นต้องทราบ
ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตวั เดก็ เพื่อเป็นแนวให้คำปรกึ ษาทเ่ี หมาะสม

๓. การสัมภาษณ์เพื่อการรู้จักคุ้นเคยเป็นการสมั ภาษณท์ ี่ช่วยให้เกิดความสนิทสนมเพื่อให้เด็กเกิดความ
สบายใจในการระบายความรู้สกึ

วัตถุประสงค์การสัมภาษณ์
๑.เปน็ การศึกษาบางอย่างจากผู้มาให้สัมภาษณ์เพื่อค้นหาข้อเทจ็ จรงิ และสามารถทราบถงึ ความต้องการ

ของเด็ก
๒. เป็นการแจ้งบางส่งิ บางอยา่ งทีผ่ มู้ าให้สมั ภาษณจ์ ะต้องทราบ
๓. เป็นการจงู ใจทท่ี ำใหผ้ มู้ าให้สัมภาษณม์ ที ศั นคตใิ นทางทีด่ ีต่อการมาขอรับคำปรกึ ษา
๔. เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกับตัวเด็ก
๕. เป็นการชว่ ยให้เกิดความสนิทสนมและคุน้ เคยมากขึน้ ทำใหผ้ ู้มาขอรับคำปรึกษากล้าพูดและกล้าบอก

ความจรงิ โดยไม่มกี ารปิดบัง
๖. เป็นการชว่ ยผ่อนคลายความตงึ เครียดทำให้สามารถเปลย่ี นแปลงอารมณแ์ ละความรสู้ ึกได้
๗. ช่วยให้นักเรยี นเขา้ ใจตนเองสามารถปรับตวั ใหอ้ ยู่ในสภาพแวดลอ้ มได้

หลกั การสมั ภาษณ์ ๒๔
๑. เตรียมหวั ขอ้ สมั ภาษณ์เวลาสถานที่
๒. การเรมิ่ ตน้ สัมภาษณ์ดว้ ยการสรา้ งมิตรภาพทำให้ผมู้ าใหส้ มั ภาษณร์ ูส้ ึกเปน็ กนั เอง
๓. ผสู้ ัมภาษณต์ อ้ งแสดงตนเป็นผู้ฟังท่ีดไี ม่แสดงอาการเบื่อหน่าย
๔. ผสู้ มั ภาษณต์ อ้ งใช้คำถามทีเ่ ขา้ ใจง่ายถามซำ้ ๆ และพดู อยา่ งชัดเจน
๕. ไม่ควรบันทึกคำพดู ของเด็กระหว่างการสมั ภาษณ์จะทำให้เด็กเกดิ ความระแวง

นางนิตยา ทองดยี งิ่ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบา้ น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

๖. ในการยุติการสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ต้องสร้างบรรยากาศที่ดีทำให้ผู้มารับการสัมภาษณ์พึงพอใจที่จะ
กลับมาอีกครัง้

๗. การบันทึกการสัมภาษณ์ต้องทำทันทเี มอื่ เสรจ็ การสัมภาษณ์

คณุ สมบัติของผู้สัมภาษณ์
๑. ต้องผ่านการฝกึ ฝนมากอ่ น
๒. ต้องมกี ารอดทนในการฟงั และการคยุ
๓. ต้องไม่มีอคติ
๔. ต้องมคี วามจริงใจใหค้ วามชว่ ยเหลอื อย่างแทจ้ รงิ
๕. ต้องมีบคุ ลิกภาพดอี ารมณด์ ี
๖. ต้องฉลาดมไี หวพริบดสี ติปญั ญาดี
๗. ตอ้ งไมม่ อี ารมณ์หว่นั ไหวง่าย
๘. ตอ้ งร้เู ทา่ ทันเหตกุ ารณ์อยูเ่ สมอ

ระเบียนสะสม (Cumulative Record)
เปน็ การบนั ทึกข้อมูลต่าง ๆ เก่ยี วกบั ตวั เด็กต้ังแต่เริ่มเขา้ เรียนจนกระท่ังออกจากโรงเรียนระเบียนสะสม

จะมขี ้อมลู เกี่ยวกบั ตัวเดก็ ดังน้ี
๑. ข้อมูลส่วนตัวประกอบด้วยชื่อสกุลเพศวันเดือนปีเกิดสถานที่เกิดเชื้อชาติที่อยู่ปัจจุบันอาชีพบิดา

มารดารายได้ของครอบครวั
๒. ข้อมลู เก่ียวกบั สขุ ภาพประวัติการเจ็บปว่ ยน้ำหนกั ส่วนสงู รวมทั้งการประสบอบุ ตั ิเหตใุ นอดีตท่ีผา่ นมา
๓. ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนดูผลการเรียนเรียงลำดับก่อนหลังดูความก้าวหน้าหรือถดถอยเกี่ยวกับการ

เรยี นรวมทั้งบันทึกความสนใจในการเรยี นเวลามาเรียนและอนื่ ๆ เก่ยี วกับการเรยี น
๔. ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพบันทึกเกี่ยวกับลักษณะต่าง ๆ เช่นความรับผิดชอบความ

พยายามความเช่อื ม่นั การทดสอบความถนัดเป็นตน้
๕. ข้อมูลเกี่ยวกับผลของการทดสอบบันทึกผลของการทดสอบทางด้านสติปัญญาการทดสอบทาง

บคุ ลิกภาพความสนใจเปน็ ต้น
๖. ข้อมลู เก่ยี วกบั การเข้าร่วมกจิ กรรมบนั ทึกการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีโรงเรียนจดั ข้ึน

วา่ เป็นสมาชกิ ชมรมใดบ้างสนใจเข้าร่วมมากนอ้ ยเพยี งใด
๗. ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการศึกษาและอาชีพสำรวจดูว่านักเรียนมีความสนใจที่ศึกษาวิชาอะไรในอนาคต

และวางแผนวา่ จะประกอบอาชีพอะไร
๘. ขอ้ มลู เกี่ยวกบั การปรับตัวเข้ากบั สังคมบนั ทกึ ข้อมูลเก่ียวกับการปรบั ตวั ของเดก็
๙. ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ระเบยี นพฤตกิ รรมคอื ระเบียนทที่ ำการบันทกึ จากการสงั เกต

๒๕
นางนติ ยา ทองดยี งิ่ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบ้าน ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

ระเบียนสะสมแบง่ เปน็ ๒ ชนิด
๑) ชนิดใส่ซองโดยข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนจะแยกกรอกลงในแผ่นระเบียนเป็นแต่ละชนิดไปเช่น

ขอ้ มลู ส่วนตวั ๑ แผน่ ขอ้ มลู เกย่ี วกับการเรียน ๑ แผ่นขอ้ มูลเกี่ยวกบั สุขภาพ ๑ แผน่
๒) ชนดิ พับโดยขอ้ มลู ทั้งหมดจะกรอกลงในกระดาษแผ่นเดยี วแลว้ พบั เปน็ แบบทีน่ ยิ มกันมากในโรงเรยี น

การจัดทำระเบียนสะสม
๑. ขอ้ มูลต่าง ๆ จะตอ้ งบันทกึ ทกุ ปีการศึกษา
๒. จัดทำแบบฟอรม์ ที่มรี ะเบียบงา่ ยตอ่ การกรอกข้อมลู
๓. ขอ้ มูลต้องเป็นปจั จบุ ันอยู่เสมอ
๔. ข้อมูลทบ่ี ันทึกต้องเลอื กสรรเฉพาะทีส่ ำคัญประหยดั เวลาในการบันทึก
๕. ขอ้ มูลในระเบียนสะสมต้องมีประโยชน์กับบุคคลที่เก่ียวข้อง
๖. ระเบยี นสะสมควรแยกเกบ็ ไว้และถอื วา่ เปน็ ความลบั สำหรบั นักเรียน

ประโยชนข์ องระเบยี นสะสม
๑. ช่วยให้ครูผู้แนะแนวผู้บรหิ ารโรงเรยี นรู้จกั และเขา้ ใจนักเรียนได้ดียิ่งข้ึน
๒. ขอ้ มูลต่าง ๆ ในระเบยี นสะสมใช้ประเมินผลเก่ยี วกับด้านต่าง ๆ ของนักเรยี นได้
๓. ช่วยให้เข้าใจพัฒนาการทุก ๆ ดา้ นและเป็นแนวทางในการสง่ เสรมิ การพฒั นาของนักเรียน
๔. ช่วยใหส้ ามารถจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการของนกั เรียน
๕. ชว่ ยใหส้ ามารถป้องกันปญั หาท่อี าจจะเกดิ ข้ึนได้
๖. ช่วยใหส้ ามารถจดั บริการแนะแนวเกีย่ วกบั การศึกษาการอาชีพท่ีถูกต้องเหมาะสมตรงตามความถนัด

ความสามารถของนกั เรียน

การเขยี นอัตชีวประวตั ิ (Autobiography)
เป็นวิธีสำคัญวิธีหนึ่งในการรวบรวมข้อมูลโดยให้นักเรียนเขียนอัตชีวประวัติเป็นการเขียนเรื่องราว

เกี่ยวกับตัวเองโดยให้เล่าประวัติส่วนตัววิธีนี้ใช้ได้กับนักเรียนทุกระดบั ช่วยใหท้ ราบถงึ ประสบการณ์ของนักเรยี น
ให้ทราบแนวทางการแก้ปัญหามากขึ้นเพราะประสบการณท์ ี่ผ่านมาจะสืบเน่ืองมาสู่พฤติกรรมในปจั จุบัน

ความม่งุ หมายในการเขยี นอตั ชีวประวตั ิ
๑. ทำให้บคุ คลรจู้ กั นึกคดิ เรอื่ งราวของตนเองอย่างมหี ลกั เกณฑ์
๒. ทำให้ครูและผู้แนะแนวสามารถรู้จกั เด็กไดด้ ียิ่งข้ึนสามารถทราบถึงประสบการณ์ทัศนคติความสนใจ
ยิ่งข้ึน

๒๖
นางนติ ยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบา้ น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

การเขยี นอัตชวี ประวัติมี ๒ อยา่ ง
๑.การกำหนดหัวข้อให้เขียน (Structured or Controlled Autobiography) เป็นวิธีการที่ครูกำหนด
อาจตั้งคำถามให้ตอบเช่นครอบครัวของข้าพเจ้าประสบการณ์ที่ประทับใจวิชาที่ชอบความหวังของข้าพเจ้า
โครงการในอนาคตของข้าพเจา้ ครูต้องอธบิ ายใหเ้ ข้าใจวตั ถุประสงค์ของการเขยี นให้ตรงกบั หวั ข้อทกี่ ำหนด
๒. การเขียนอยา่ งเสรี (Unstructured or Uncontrolled Autobiography) เป็นวิธี
ที่ผู้แนะแนวให้เด็กเขียนโดยอสิ ระตามความนึกคดิ ของตนเองและต้องแจง้ ให้เด็กทราบว่าเร่ืองราวที่เด็กเขียนเป็น
ความลบั

สังคมมิติ (Sociometry)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาเด็กเป็นรายบุคคลโดยการใช้จัดสถานภาพทางสั งคมของเด็กเพื่อให้ทราบถึง

สภาพหรือความสัมพันธ์ระหว่างเด็กที่อยู่ร่วมสังคมเดียวกันทำให้ทราบบุคลิกภาพของเด็กที่มีผลต่อสภาพของ
สังคมรอบ ๆ ตัวเพื่อทราบว่าบุคคลใดมีเพื่อนมากหรือน้อยเพียงใดสังคมมิติคือวิธีการที่จะศึกษาเกี่ยวกับสังคม
ของเดก็ ท่ีอยใู่ นการกลุม่ เดียวกนั โดยวธิ ถี ามถงึ สภาพความรูส้ ึกของเด็กแต่คนท่ีมีต่อเพือ่ นร่วมกลมุ่ ของตนเอง

เทคนิคทางสงั คมมิติ (Sociomitric Technique)
คอื วธิ กี ารทจี่ ะหาความสัมพันธ์ระหว่างนกั เรยี นในชนั้ เดยี วกนั ในสังคมเดียวกัน
ความมุ่งหมายของการใช้สงั คมมิติ
๑. เพ่ือทราบเกย่ี วกับสภาพสังคมของนกั เรียนในช้ันเรยี นเดียวกันกลมุ่ เดยี วกัน
๒. เพื่อทราบวา่ ใครคือบุคคลทเ่ี พอ่ื นใหก้ ารยอมรบั มากที่สดุ
๓. เพื่อทราบวา่ บคุ คลใดที่ถูกทอดทง้ิ ไม่มีสมาคมเพื่อหาแนวทางแก้ปญั หาต่อไป
สังคมมิติมีหลายแบบแบบง่ายจนถึงแบบสลับซับซ้อนจึงไม่ควรให้เลือกเพื่อนมากเกินไปเพราะจะทำให้
แปลความหมายยากเขียนแผนผังลำบาก
ตวั อยา่ งคำถามท่ใี ชใ้ นชัน้ เรียน
๑. ทา่ นชอบคยุ กับใครมากท่สี ดุ
๒. ท่านชอบไปไหนมาไหนกบั ใครมากทสี่ ดุ
๓. ทา่ นชอบทำงานรว่ มกับใครมากท่ีสุด
การใชส้ งั คมมติ จิ ัดแบง่ ประเภทของนกั เรียนได้ดังน้ี
๑. นกั เรยี นทถี่ กู เลอื กมากท่สี ดุ (Stars)
๒. นกั เรยี นทีเ่ พ่ือนเลือกนอ้ ยท่ีสดุ (Fringers)
๓. นกั เรียนทีไ่ ม่มีใครชอบ (Rejects)
๔. นักเรียนทอ่ี ยูโ่ ดดเดยี่ ว (Isolates)

๒๗
นางนติ ยา ทองดียิง่ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

การศึกษาเดก็ เป็นรายกรณี (Case Study)
เป็นวิธีที่ใช้สำหรับสรุปข้อมูลของบุคคลเป็นรายๆไปซึ่งตอ้ งการศึกษาประวัติรวบรวมข้อมูลจากแหล่งท่ี

เชอ่ื ถอื ไดก้ ารศึกษารายกรณจี ะออกมาในลกั ษณะของการวเิ คราะหโ์ ดยการตีความหมายของข้อเทจ็ จริงต่างๆจาก
ขอ้ มูลท่ีรวบรวมไวจ้ ะทำให้ทราบถงึ พฤติกรรมท่เี ปน็ ปัญหารวมท้ังบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลที่นำมาศึกษา

วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษาเดก็ เป็นรายกรณี
๑. เพอ่ื เป็นแนวทางในการศกึ ษาปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหานั้น
๒. เพื่อเป็นแนวทางในการสง่ เสริมพฒั นาการของเด็ก
๓. เพื่อช่วยให้เข้าใจนักเรียนได้ดียิ่งขึ้นเข้าใจถึงสาเหตุของการปรับตัวไม่ได้เข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม
ทว่ั ๆ ไปและทศั นคติของเด็ก
วธิ ีการศึกษาเด็กเปน็ รายกรณมี ี ๕ ข้นั ตอน
๑. ข้ันตั้งปัญหาเป็นวธิ ีการค้นหาเดก็ ทนี่ ่าสนใจมาศกึ ษาเชน่ เด็กทีเ่ รียนอ่อนเดก็ เรียนดีเปน็ ตน้
๒. ขั้นรวบรวมขอ้ มูลเป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อจะนำมาศึกษาเด็กเป็นรายกรณตี อ้ งดำเนินการรวบรวม
ดังนี้

๒.๑ การสงั เกตพฤตกิ รรมต่าง ๆ และประเมินผล
๒.๒ การสัมภาษณ์
๒.๓ การใหเ้ ดก็ เขียนอตั ชีวประวตั ิ
๒.๔ การใช้แบบสอบถามการใช้แบบทดสอบเพอื่ วัดความสนใจสติปัญญา
๒.๕ การไปเยี่ยมบ้าน
๒.๖ การใชส้ ังคมมิติ
๓. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อมูลที่รวบรวมเอาไว้ศึกษาข้อมูลแล้วตีความของ
พฤติกรรมและวนิ ิจฉัยสาเหตแุ หง่ ปญั หาไดถ้ ูกต้อง
๔. ขั้นแก้ปัญหาเป็นการคิดหาวิธกี ารที่ใช้เป็นแนวในการแกป้ ญั หาหรือแก้ไขพฤติกรรมที่ผิดปกติรวมทัง้
ป้องกันไมใ่ หป้ ญั หาเกดิ ขน้ึ แลว้ ดำเนินการใหค้ วามช่วยเหลือ
๕. ขั้นติดตามผลเป็นขั้นสุดท้ายเพื่อที่จะทราบการศึกษาเด็กเป็นรายบุคคลที่ได้กระทำมาตั้งแต่ต้น
รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือที่ผ่านไปแล้วต้องมีการติดตามผลว่ามีประสิทธิภาพเพียงใดประสบผลสำเร็จมาก
น้อยเพยี งใดมีข้อบกพร่องควรแก้ไขปรับปรุงใดบ้าง

วิธีบนั ทกึ ข้อมลู ของการศกึ ษาเดก็ เปน็ รายบคุ คล
๑. ชอ่ื ผู้ท่ที ำการศึกษาเปน็ รายกรณี
๒. ข้อมูลส่วนตัวทั่ว ๆ ไปของเด็กชื่อนามสกุลเพศวันเดือนปีเกิดชั้นเรียนโรงเรียนบุคคลลักษณะทั่ว ๆ

ไปของเดก็

๒๘
นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

๓. ปัญหาของเด็กลักษณะของเด็กความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาของตัวเองความคิดเห็นของครูแนะแนว
บิดามารดาเพอื่ นแพทย์

๔. สภาพแวดลอ้ มตวั เดก็ สภาพแวดล้อมทางโรงเรียนและทางบา้ น
๕. การปรับตวั ของเด็กการปรับตวั ด้านต่าง ๆ เช่นการปรับตวั ในการทำงานร่วมกบั
ผอู้ ่ืน
๖. การตีความหมายของข้อมูลโดยการตีความหมายของพฤติกรรมจากข้อมูลที่ได้เพื่อหาสาเหตุแห่ง
พฤติกรรม
๗. การสง่ เสริมการพัฒนาการการป้องกันปัญหาและการแก้ไขปญั หาเพ่ือใหม้ ี
การพัฒนาการทกุ ดา้ นขจดั ปญั หาและแก้ไขปญั หา
๘. การตดิ ตามผลบนั ทึกการติดตามผลดูผลการใหค้ วามชว่ ยเหลือท่ผี ่านมาว่าประสบความสำเรจ็ เพียงใด
มีข้อบกพรอ่ งอย่างไรเพ่ือจะหาทางแก้ไขข้อบกพรอ่ งนน้ั

การเยยี่ มบา้ น (Home Visits)
เป็นวิธีท่ีครูเดินทางไปเยี่ยมนักเรยี นเพ่ือพบปะปรึกษาหาหรือกับผู้ปกครองเพื่อช่วยให้ครูเข้าใจนักเรยี น

อย่างลึกซ้งึ เพ่ือประโยชน์ในการแก้ปัญหาโดยครูจะได้ทราบเรอื่ งราวของนักเรยี นจากผู้ปกครองเพิ่มมากข้ึนซ่ึงจะ
เปน็ ข้อมลู ที่ใช้ในการแก้ปญั หาได้

หลักเกณฑ์ในการไปเย่ียมบา้ น
๑. ก่อนไปเยี่ยมบ้านครูต้องทราบประวัติส่วนตัวของนักเรียนอย่างดีเสียก่อนทั้งนี้ต้องศึกษาจากวิธีการ
รวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ
๒. การไปเยี่ยมบา้ นควรติดต่อให้ผูป้ กครองทราบลว่ งหนา้ และตอ้ งอยูใ่ นความยินยอมของผปู้ กครอง
๓. การไปเยย่ี มบ้านไมค่ วรไปบ่อยคร้ังหรือไปแต่ละครั้งไมค่ วรอยนู่ านเกนิ ไปจะทำให้เกิดความรำคาญแก่
เจา้ บา้ นควรใช้ระยะเวลาสัน้ ๆและไปเทา่ ท่ีจำเป็นเทา่ นัน้
๔. เพื่อหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพภายในบ้านฐานะและเศรษฐกิจของครอบครัวความสัมพันธ์ของ
บคุ คลในครอบครวั รวมทั้งสภาพแวดล้อมรอบ ๆ บ้านเพื่อเปน็ แนวทางในการแก้ไขปญั หา
๕. ครูต้องใช้กลวิธีในการสัมภาษณ์อย่างดีต้องฉลาดในการถามและรับฟังอย่างตั้งใจต้องมีไหวพริบดไี ม่
นำปัญหาของนักเรียนมาใช้เริ่มต้นในทางสนทนาต้องพูดถึงความดีของนักเรียนด้วยการชมเชยก่อนการตำหนิ
หรอื วจิ ารณ์เด็กในทางลบตอ้ งพยายามใชค้ ำพูดใหน้ ่าฟังสภุ าพ
๖. ครูต้องสามารถปรับตัวเข้ากับผู้ปกครองได้อย่างดีทำให้เกิดความสนิทสนมและเป็นกันเองในเวลา
อันรวดเร็ว
๗. การไปเยยี่ มบา้ นถือวา่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาอนั เป็นหน้าที่ของครูไม่ใช่งานพเิ ศษครูท่ีจะไปเย่ียม
บ้านนกั เรยี นตอ้ งเป็นบุคคลทีก่ ระทำหนา้ ทดี่ ว้ ยความสมคั รใจไม่ใช่ฝนื ใจทำ

๒๙
นางนติ ยา ทองดีย่ิง นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบ้าน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

๘. พยายามสร้างความประทับใจทำให้ผู้ปกครองมีความประสงค์ที่เชื้อเชิญให้ครูมาเยี่ยมบ้านอีกใน
โอกาสต่อไป

๙. หลังจากเยี่ยมเยียนแล้วต้องกลับมาจดบันทึกลงไปทุกครั้งเพื่อจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องเมื่อสงสัยจะได้
อา่ นดเู พราะเวลาผา่ นไปอาจจะทำใหล้ มื เลือนไปได้

แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็ก (SDQ)
แบบประเมินพฤติกรรมเด็กไม่ได้เป็นแบบวัดหรือแบบทดสอบแต่เป็นเครื่องมือสำหรับการคัดกรอง

นักเรียนด้านพฤติกรรมการปรับตัวที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับสภาพจิตใจซึ่งจะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีแนวการพิจารณา
นกั เรียนดา้ นสุขภาพจิตมากขึ้น

แบบประเมินพฤติกรรมเด็กเป็นเครื่องมือที่กรมสุขภาพจิตเป็นผู้จัดทำขึ้นโดยพัฒนาจาก THE
STRENGTHS AND DIFFICULTIES QUESTIONNAIRE ( SDQ) ประเทศเยอรมันซึ่งใช้กันแพร่หลายในประเทศ
แถบยุโรปเพราะมีความเที่ยงและความตรงจำนวนข้อไม่มากนักคณะผู้จัดทำของกรมสุขภาพจิตโดยแพทย์หญิง
พรรณพมิ ลหล่อตระกลู เป็นหวั หน้าคณะได้ทำการวิจยั เพื่อวิเคราะหค์ ่าความเทยี่ งและความตรงของแบบประเมิน
และหาเกณฑม์ าตรฐาน (NORM) ของเด็กไทย
แบบประเมินพฤตกิ รรมเดก็ มี ๓ ชุดคอื

๑. ชดุ ทค่ี รเู ป็นผู้ประเมนิ เดก็
๒. ชดุ ท่ีพ่อแม่ผปู้ กครองเป็นผู้ประเมนิ เด็ก
๓. ชุดท่ีเด็กประเมนิ ตนเอง
ทั้ง ๓ ชุดมีเนื้อหาและจำนวนข้อ ๒๕ ข้อเท่ากันให้ใช้แบบประเมินทั้ง ๓ ชุดพร้อมกันเพื่อตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งของผลท่อี อกมา

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q)
เป็นแบบประเมินความสามารถทางอารมณ์ในการดำเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์และมีความสุขเป็น

เครื่องมือที่กรมสุขภาพจิตเป็นผู้จัดทำขึ้นแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q) แบ่งออกเป็น ๓ ด้านได้แก่
ด้านดดี ้านเกง่ และด้านสขุ
แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์เด็กมี ๓ ชุดคือ

๑. ชุดทค่ี รูเปน็ ผ้ปู ระเมนิ เด็ก
๒. ชดุ ทพ่ี ่อแมผ่ ูป้ กครองเปน็ ผูป้ ระเมนิ เด็ก
๓. ชดุ ที่เด็กประเมินตนเอง
ทั้ง ๓ ชุดมีเนื้อหาและจำนวนข้อ ๕๒ ข้อเท่ากันให้ใช้แบบประเมินทั้ง ๓ ชุดพร้อมกันเพื่อตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งของผลท่ีออกมา

๓๐
นางนิตยา ทองดียิ่ง นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบ้าน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

สรุปได้ว่าวิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลเช่นระเบียนสะสมแบบประเมิน
พฤติกรรมนักเรียนและเครื่องมืออื่น ๆ ที่ครอบคลุมทั้งด้านความสามารถด้านสุขภาพและด้านครอบครัวเพ่ือ
ประโยชน์ในการช่วยเหลือนักเรยี นครทู ป่ี รกึ ษาเลือกใชใ้ ห้ครอบคลมุ

กิจกรรมการรู้จกั นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล
๑. ควบคมุ การเขา้ แถวทกุ เช้าและเยน็
๑.๑ ตรวจระเบยี บแถว
๑.๒ ตรวจการแต่งกาย
๑.๓ รบั ทราบคำสัง่ หนา้ เสาธงและตดิ ตามผล
๑.๔ ติดตามการมาเรียนของนักเรยี น
- ถา้ นกั เรยี นคนใดไม่มาเรียนเกิน ๓ วนั ให้สง่ ใบแจง้ ผู้ปกครอง
- ถา้ นักเรยี นคนใดไม่มาเรยี นเกิน ๕ วันให้เชิญผู้ปกครองมาพบ
- ถ้านักเรียนคนใดไมม่ าเรียนเกิน ๗ วันให้รายงานรองผอู้ ำนวยการ
- นกั เรียนคนใดไม่มาเรยี นตอ้ งสง่ ใบลาในวันน้นั หรือวันท่ีมาเรียนใน

วนั แรกครูต้องตรวจลายมือผู้ปกครองให้ถกู ตอ้ งและเกบ็ ใบลานน้ั ไว้เปน็ หลักฐาน ๑ เดอื น
๒. ครทู ่ีปรึกษารว่ มมือกับนักเรียนในการจัดบรรยากาศเชงิ วิชาการในห้องเรยี นและในโรงเรยี น
๓. ส่งเสรมิ /สนับสนุนใหน้ กั เรียนได้ประพฤติดีประพฤติชอบสรา้ งช่ือเสยี งอันดงี ามใหก้ ับตนเองครอบครัว

และโรงเรียน
๔. อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมนกั เรยี น
๕. ประสานงานกับผปู้ กครองนักเรยี นเพื่อแจง้ ใหท้ ราบหรือขอความร่วมมือ
๖. ดูแลนักเรียนให้ร่วมรับผิดชอบเกี่ยวกับความสะอาดบริเวณโรงเรียนอาคารเรียนสวนหย่อมต้นไม้

ดอกไมส้ ถานทีต่ ่าง ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย
๗. นำนักเรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนชมุ ชนและครตู ามคำสั่งหรือ

คำร้องขอของโรงเรยี น
๘. เข้าพบและสอนนกั เรยี นในคาบกจิ กรรมโฮมรูม
๘.๑ ตอ้ งทำตามกำหนดของโรงเรียนใหเ้ ต็มเวลา
๘.๒ ถ้าโรงเรียนมิไดก้ ำหนดหัวข้อไว้ใหโ้ ฮมรูมตามที่เห็นสมควร
๙. ดำเนินการประชุมผปู้ กครองช้ันเรียน
๑๐. ประสานงานทะเบียนและวดั ผลเพอื่ จัดทำสมดุ ประจำตัวนกั เรียน
๑๑. สอดสอ่ งดูแลมิให้นักเรยี นในชัน้ เรียนไปมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพติดทกุ ชนดิ และสื่อลามกอนาจาร
๑๒. ตดิ ตามการแก๐้ ,ร, มส. ของนักเรยี นในชน้ั ให้นักเรียนดำเนินการให้ทนั ตามกำหนดเวลา
๑๓. ควบคมุ ดแู ลความสะอาดวสั ดคุ รภุ ณั ฑใ์ นห้องเรยี นของตน

๓๑
นางนิตยา ทองดียิ่ง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบ้าน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

๑๓.๑ ดูแลให้นกั เรียนรกั ษาห้องเรียนให้สะอาดเรยี บรอ้ ยอยู่เสมอ
๑๓.๒ ดูแลวสั ดคุ รภุ ัณฑภ์ ายในหอ้ งเรยี นให้อยใู่ นสภาพใชก้ ารไดห้ ากเกิด
ชำรุดเสียหายใหส้ อบถามหาสาเหตแุ ละรายงานหวั หนา้ ตึกในเวลาอันรวดเร็ว
๑๓.๓ กวดขนั ให้นกั เรียนมอี ุปกรณ์ครบและรู้จักระวงั รกั ษาไมใ่ หส้ ูญหาย
๑๔. คอยตรวจตราดูแลความสะอาดและอนามยั ของนกั เรียนเชน่ การรบั ประทานอาหารน้ำดม่ื และอ่ืน ๆ

การพบนักเรียนของครทู ่ปี รกึ ษา
๑. ชว่ งเวลากจิ กรรมหน้าเสาธงเช้า
๒. ในเวลาเชา้ หลงั กิจกรรมหน้าเสาธง
๓. ในคาบโฮมรมู /แนะแนว
๔. ในชว่ งเวลาทีค่ รูท่ปี รกึ ษาสอนนักเรยี นในช้นั นั้น ๆ
๕. เวลาพักกลางวัน
๖. เวลาหลังเลิกเรียน ๑๖.๐๐ น. เป็นต้นไป
๗. เวลาอืน่ ๆ ทีค่ รทู ่ปี รกึ ษานดั หมาย

การวิเคราะหแ์ ละคดั กรองนกั เรยี น
การวเิ คราะหแ์ ละคัดกรองนักเรยี นเป็นการพิจารณาข้อมลู ทเ่ี กยี่ วกบั ตัวนักเรยี นเพ่ือการจัดกลุ่มนักเรียน

เป็น ๓ กลุม่ คอื
๑. กลุ่มปกติซึ่งเป็นนักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนแล้ว

อยูใ่ นเกณฑ์ของกลุ่มปกติซง่ึ ควรไดร้ ับการสนบั สนนุ ส่งเสริมและป้องกนั
๒. กล่มุ เสย่ี งคือนักเรียนท่ีอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสยี่ งตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนซ่ึงโรงเรียนต้อง

ใหก้ ารสง่ เสริมปอ้ งกันและแกไ้ ขตามกรณี
๓. กลุ่มมีปัญหาคือนักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนซ่ึง

โรงเรียนต้องใหก้ ารชว่ ยเหลอื ปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขโดยเรง่ ด่วน
การจัดกลุ่มนักเรียนมีประโยชน์กับครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อช่วยดูแลนักเรียนได้อย่างถูกต้อง

โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาให้ตรงกับปัญหาของนักเรียนยิ่งขึ้นและมีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาเพราะมี
ข้อมลู ของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งหากครูทป่ี รึกษาไม่คดั กรองนักเรยี นเพ่ือการจัดกลุ่มนักเรียนแล้วความชัดเจน
ในเป้าหมายเพื่อการแก้ไขปัญหาของนักเรียนจะมีน้อยลงมีผลต่อความรวดเร็วในการช่วยเหลือซึ่งบางกรณี
จำเป็นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วนผลการคัดกรองนักเรียนครูที่ปรึกษาจำเป็นต้องระมัดระวังอย่ างยิ่งที่จะไม่ทำให้
นกั เรยี นรบั รู้ได้ว่าตนถกู จัดอยใู่ นกล่มุ เส่ยี งหรือมีปญั หาซึ่งมีความแตกต่างจากกล่มุ ปกติโดยเฉพาะนักเรียนวัยรุ่นที่
มีความไวต่อการรับรู้ (sensitive) แม้ว่านักเรยี นจะรูต้ ัวดีว่าขณะนี้ตนมีพฤติกรรมอยา่ งไรหรือประสบปัญหาใดก็
ตามเพื่อป้องกันการถูกล้อเลียนในหมู่เพื่อนอีกด้วยดังนั้นครูที่ปรึกษาต้องเก็บผลการคัดกรอง นักเรียนเป็น

๓๒
นางนติ ยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบ้าน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

ความลับนอกจากนี้หากครูที่ปรึกษามีการประสานงานกับผู้ปกครองเพื่อการช่วยเหลือนักเรียนก็ควรระมัดระวัง
การสื่อสารที่ทำให้ผู้ปกครองรู้สึกว่าบุตรหลานของตนถูกจัดอยู่ในกลุ่มผิดปกติแตกต่างจากเพื่อนนักเรียนกลุ่ม
อ่นื ๆ ซึง่ อาจมีผลเสียต่อนกั เรยี นภายหลงั ได้

การสง่ เสริมนักเรียน
เปน็ การสนบั สนุนให้นักเรียนทุกคนท่ีอยู่ในความดูแลของครูทป่ี รกึ ษาไม่ว่าจะเปน็ นักเรียนกลุ่มปกติกลุ่ม

เสี่ยงหรือมีปัญหาให้มีคณุ ภาพมากข้ึนมคี วามภาคภูมิใจในตนเองในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยป้องกันไม่ให้นักเรียนท่ี
อยู่ในกลุ่มปกติกลายเป็นนักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมีปัญหาและเป็นการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมีปัญหา
กลับมาเปน็ นักเรียนกลุ่มปกติและมีคุณภาพตามที่โรงเรยี นหรอื ชุมชนคาดหวงั ต่อไป

กิจกรรมอื่นท่เี ป็นกจิ กรรมสนบั สนุนสง่ เสริมนกั เรยี นของโรงเรียนวิเชียรมาตุ
- การเลือกต้งั คณะกรรมการสภานักเรยี น
- การพฒั นาทักษะชวี ติ โดยการเขา้ ค่ายพกั แรม
- สอนเสริมเพอื่ การศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖
- ทางธรรมนำชีวติ
- เชิดชูครกู ลอนสุนทรภู่
- แขง่ ขนั กฬี าภายใน
- กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมประจำสปั ดาห์
- วนั แมแ่ ห่งชาติ ฯลฯ

การป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
ในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนครูท่ีปรกึ ษาควรใหค้ วามเอาใจใสก่ บั นักเรียนทกุ คน

เท่าเทียมกันการป้องกันและแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนมีกิจกรรมที่ประกอบด้วยการให้การปรึกษาการจัด
กจิ กรรมในช้นั เรียนการสื่อสารกับผปู้ กครองกจิ กรรมเสริมหลักสูตรและกจิ กรรมซ่อมเสริม

กจิ กรรมอน่ื ท่เี ป็นกจิ กรรมป้องกนั และแก้ไขปญั หา ๓๓
- กิจกรรมพฒั นาพฤตกิ รรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์นักเรียนโดยใช้วธิ ีการใหค้ ำปรกึ ษา
- กจิ กรรมเย่ียมบา้ นนกั เรียนที่ขาดเรียน
- กจิ กรรมพฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ การมเี พศสัมพนั ธ์
- กิจกรรมทุนการศกึ ษา
- กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิตเพือ่ ป้องกันโรคเอดส์
- กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพตดิ

นางนติ ยา ทองดียง่ิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบ้าน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

การสง่ ต่อ
การส่งตอ่ นกั เรยี นหมายถึงกระบวนการส่งนักเรียนที่ต้องการความชว่ ยเหลือและครูทปี่ รึกษาไม่สามารถ

ดำเนินการแก้ไขได้จึงต้องส่งต่อให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านช่วยเหลือนักเรียนอย่างเร่งด่วนการส่งต่อแบ่งเป็น ๒
แบบคือ

๑. การส่งต่อภายในครูที่ปรึกษาส่งต่อไปยังครูที่ให้การช่วยเหลือได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาเช่นส่ง
ต่อครูแนะแนวครูพยาบาลครูประจำวิชาหรืองานดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นตน้ การส่งต่อภายในหากส่งไปยังครู
แนะแนวหรืองานดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะเป็นการแก้ปัญหาที่ยากต่อการช่วยเหลือของครูที่ปรึกษาเช่นปัญหา
เกี่ยวกับจิตใจความรู้สึกปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมซ้ำซอ้ นหรือรุนแรงแต่หากเกิดกรณียากต่อการช่วยเหลือก็ตอ้ ง
ส่งตอ่ ผเู้ ชยี่ วชาญภายนอกต่อไป

๒. การสง่ ต่อภายนอกครแู นะแนวหรืองานดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนเปน็ ผู้ดำเนินการสง่ ต่อไปยงั ผู้เชี่ยวชาญ
ภายนอก

ขัน้ ตอนการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๑. ประชมุ ผูป้ กครองนกั เรยี นกอ่ นเปิดภาคเรียนทกุ ภาคเรยี นเพื่อสรา้ งความ

เข้าใจในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการสถานศึกษาพระภิกษุ โต๊ะอิหม่ามแพทย์
ตำรวจพรอ้ มทงั้ ใหผ้ ู้ปกครองเสนอแนะในเรื่องการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

๒. ครูที่ปรึกษาประจำกลุ่มประชุมผู้ปกครองเลือกตัวแทนไปเป็นคณะกรรมการเครือข่ายรับฟัง
ข้อเสนอแนะจากผู้ปกครองครูที่ปรึกษามอบผลการเรียนให้ผู้ปกครองพร้อมทั้งรายงานพฤติกรรมนักเรียนเป็น
ลายลักษณ์อักษรและทำกิจกรรมร่วมกันเช่นกิจกรรมรู้จักพฤติกรรมของบุตรหลานข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง
ทา่ นอนื่ ที่ประสบความสำเรจ็ ในการเล้ียงดูบุตรหลาน

๓. การดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนการดูแลช่วยเหลือในแต่ละวนั
ครูเวรประจำวันคนที่ ๑ ดูแลนักเรยี นตั้งแต่ก่อนเข้าประตโู รงเรียนเพื่อช่วยให้นักเรียนเดินทางอย่างเป็น
ระเบียบเดินทางอย่างปลอดภัยช่วยดูแลนักเรียนหลงั จากตำรวจจราจรสง่ นักเรียนข้ามถนนครูเวรประจำวันจะมา
ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ยา่ งชา้ ท่ีสุดเวลา ๐๗.๐๐ น.
ครเู วรประจำวันคนท่ี ๒ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีท่ ่หี น้าประตโู รงเรยี นเพ่ือทักทายสรา้ งความอบอุน่ ให้นักเรียนและ
ดูแลความเรียบร้อยความพร้อมในการเรียนของนักเรียนครูเวรประจำวันจะมาปฏิบัติหน้าที่อย่างช้าที่สุดเวลา
๐๗.๐๐ น.
จัดให้ฝ่ายบริหารนิเทศการปฏิบัติหน้าที่ของครูเวรประจำวันเพื่อได้ช่วยแก้ปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
ในช่วงเชา้
นักเรียนที่มาอยู่ในบริเวณโรงเรียนแล้วจะมีหน้าที่รบั ผิดชอบดูแลความสะอาดเขตพืน้ ที่ของนักเรียนโดย
แบ่งเป็นเวรประจำวันทำให้นักเรียนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนซึ่งมีครูที่ปรึกษาดูแลนักเรียนและให้
คำแนะนำในการปรับปรงุ เขตพืน้ ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ

๓๔
นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

การเข้าแถวในช่วงเช้าจะเข้าแถวพร้อมกันเวลา ๐๗.๕๐ น. ในการเข้าแถวนี้ครูที่ปรึกษาประจำกลุ่มทกุ
คนจะเป็นผดู้ ูแลนักเรียนในกลมุ่ ของตนเองได้แนะนำเร่ืองระเบยี บวินัยมารยาทในการฟังความต้ังใจในการเคารพ
ธงชาติสวดมนต์ ปฏิญาณตน รับฟังข่าวสารของทางโรงเรียนซึ่งกิจกรรมหน้าเสาธงนี้จะให้คณะกรรมการ
นักเรียนดำเนนิ การทั้งหมดในการเขา้ แถวตอนเช้านี้หัวหนา้ ระดบั ชนั้ เป็น ผู้นเิ ทศครูทป่ี รกึ ษาประจำกลุ่มในแต่ละ
ระดบั ชนั้ และช่วยดูแลความประพฤติของนักเรยี นในระดบั ชั้นดว้ ย

เวลา ๐๘.๑๐ น. - ๐๘.๒๐ น. ครูที่ปรึกษาประจำกลุ่มใหก้ ารดูแลนักเรียนให้คำแนะนำปรกึ ษาทำความ
รู้จักนักเรยี นอบรมนกั เรียน

ตั้งแต่เลา ๐๘.๑๐ น. - ๐๙.๐๐ น. จะมีครูเวรประจำวันดูแลนักเรียนที่มาสายบันทึกการมาเรียนสายไว้
เพ่อื แจง้ ให้ครทู ปี่ รึกษาได้ตกั เตือนแกป้ ัญหาประสานผูป้ กครองหาสาเหตุทแ่ี ทจ้ ริง

ในช่วงเวลาเรียนนักเรียนจะอยู่ในความดูแลของครูประจำวิชาโดยต้องเข้าสอนทุกชั่วโมงถ้าครูประจำ
วชิ าไปราชการหรือลากจิ จะต้องมีการแลกคาบสอนก่อนทุกครั้งถ้าครลู าปว่ ยหรือมรี าชการดว่ นหัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้จะเป็นผู้รับผิดชอบจัดสอนแทนถ้าไม่สามารถจัดครูสอนแทนได้หัวหน้าฝ่ายวิช าการจะรับผิดชอบ
นักเรียนในชั่วโมงนั้นโดยจัดครูสอนแทนหรือให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เช่นศึกษาด้วยตนเองจาก
อนิ เทอรเ์ นต็ สื่อการสอนถา้ นกั เรียนมีพฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสมเช่นหนเี รียนเข้าเรียนสายไมต่ ้ังใจเรียนให้ครูประจำ
วิชาตักเตือนแล้วแจ้งให้ครูที่ปรึกษาทราบเพื่อได้ช่วยแก้ไขต่อไปในเวลาพักกลางวันให้มีการจัดกิจกรรม
หลากหลายเพื่อสนองความต้องการของนักเรียนได้แก่นันทนาการโดยนักเรียนชุมนุมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
และความบันเทิงการจัดการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติดนักเรียนสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตในห้องสมุดหรือ
ห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้เมื่อหมดชั่วโมงเรียนในแต่ละวันนักเรียนทำความสะอาดห้องเรียนทำความ
สะอาดเขตพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบบรเิ วณโรงเรียนใชเ้ วลา ๑๐ นาทีซ่งึ ครูทป่ี รกึ ษาประจำกลุม่ เปน็ ผูด้ แู ลเวลา ๑๖.๐๐ น.
นักเรียน เข้าแถวเตรียมเดินทางกลับบ้านครูเวรประจำวนั จะสำรวจความเรียบร้อยของนักเรียนอีกครัง้ ก่อนกลับ
บ้านนักเรียนที่มีเรื่องที่ต้องการปรึกษาครูสามารถปรึกษาได้ถ้ามีนักเรียนที่หนีเรียนครูที่ปรึกษาจะติดต่อ
ผู้ปกครองทันทีนักเรียนที่ขาดเรียน ติดต่อกันเป็นเวลา ๓ วันครูที่ปรึกษาก็จะรีบติดต่อผู้ปกครองเพื่อหาสาเหตุ
ของการขาดเรียนโดยทางโทรศัพท์หรอื การเยี่ยมบ้านในการเข้าแถวกอ่ นกลับบ้านนี้ก็จะมีครูเวรประจำวันเป็นผู้
นิเทศเพื่อช่วยดูแลและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและในช่วงเย็นนี้ก็ดำเนินการโดยคณะกรรมการนักเรียนเม่ือ
นักเรียนเดินทางกลับบ้านครูเวรประจำจะส่งนกั เรยี นก่อนออกประตูโรงเรียนและหน้าประตูโรงเรียนเพื่อดูแลให้
นักเรียนเดินทางเป็นระเบียบและดูแลความเรียบร้อยของการจราจรหน้าโรงเรียนก่อนที่ตำรวจจราจรจะนำ
นักเรียนข้ามถนนในแต่ละวันถ้านักเรียนคนใดมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมหรือประพฤติผิดระเบียบของโร งเรียน
งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะแจ้งให้ครูที่ปรึกษาประจำกลุ่มมาร่วมรับรู้และประสานผู้ปกครองเพื่อ
ช่วยกันแก้ไขพฤติกรรมของนกั เรียนต่อไปทุกสปั ดาห์คณะกรรมการดำเนินงานแต่ละระดบั ช้ันประชุมร่วมกันเพ่ือ
สรุปปัญหาตา่ ง ๆ ของระดบั ช้นั และหาแนวทางป้องกนั แก้ไขและแนวทางส่งเสรมิ นักเรยี น

๓๕
นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบา้ น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

๓๖
นางนติ ยา ทองดยี ง่ิ นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบา้ น ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปีการศึกษา ๒๕๖5

บทที่ ๓

วิธีดำเนินการศึกษา

วิธีดำเนินการศึกษา ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ
ท่ีใชใ้ นการศึกษา การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู มีรายละเอียดดงั นี้

วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา
๑. เพื่อให้รู้จักและเขา้ ใจนกั เรียนในความรับผดิ ชอบเปน็ รายบุคคลสามารถคดั กรองเปน็ กล่มุ เสยี่ ง

และกลุ่มปัญหาได้
๒. เพ่อื ให้สามารถวิเคราะห์ปญั หาและคน้ หาวิธกี ารชว่ ยเหลือนกั เรยี นกลุม่ เสี่ยงหรอื กลุม่ มีปัญหา

รวมทั้งพัฒนานักเรยี นกลมุ่ ปกตใิ นเบ้ืองตน้ ได้
๓. เพื่อใหม้ ีแนวทาง ในการช่วยเหลอื นกั เรียน สามารถป้องกันวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา สามารถส่งต่อ

และใหค้ ำปรึกษานักเรียนได้

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรท่ใี ช้ในการศกึ ษา คือนักเรียนโรงเรียนวเิ ชียรมาตุ ปกี ารศึกษา ๒๕๖5 กลุ่มตัวอยา่ งทีใ่ ช้

ในการศึกษาในครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 จำนวน ๔2 คน
โดยวิธกี ารเลอื กแบบเจาะจง (เพราะนกั เรยี นกลุ่มน้เี ป็นนกั เรยี นในความดูแล)

เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา
เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษา
๑. แบบรายงานการเย่ยี มบา้ นนกั เรียน เปน็ แบบบนั ทกึ ประวตั นิ กั เรยี น ประกอบดว้ ยข้อมลู สว่ นตัว

ขอ้ มลู ครอบครัว
๒. แบบประเมนิ สุขภาพจติ และพฤติกรรมนกั เรยี น จำนวน ๒๕ ข้อ แบง่ เป็น ๒ ฉบับ คือฉบบั

นักเรียนประเมินตนเองฉบับครูประเมินนักเรียน และฉบับปกครอง ประเมินนักเรียน แบ่งเป็น ๕ ด้านคือ ด้าน
อารมณ์ ด้านความประพฤติ ด้านพฤติกรรม ดา้ นบุคลิกภาพ และดา้ นความสมั พันธภาพ

๓๗
นางนติ ยา ทองดียงิ่ นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบา้ น ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5
การสร้างเครื่องมอื สำหรบั การศึกษา

ผศู้ ึกษาใช้เครอ่ื งมอื ในการศกึ ษาซึ่งสร้างโดยกรมสุขภาพจติ และงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

๑. ผศู้ ึกษาใหน้ ักเรยี นกรอกขอ้ มูลสถานภาพส่วนตวั
๒. ผู้ศึกษาสมั ภาษณน์ ักเรยี น
๓. ผู้ศกึ ษาให้นักเรยี นประเมนิ สขุ ภาพจติ -ของตนเอง
๔. ผ้ศู กึ ษาประเมนิ สขุ ภาพจิตประเมินนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
๕. ผู้ศึกษาใหผ้ ู้ปกครองประเมินสขุ ภาพจติ ของนกั เรียนในความดแู ล
การวเิ คราะหข์ ้อมูล
๑. นำแบบบันทกึ การเยยี่ มบ้านมาวเิ คราะหร์ ายด้าน โดยใชค้ า่ ความถ่แี ละรอ้ ยละ
๒. นำข้อมูลดา้ นสขุ ภาพจติ ที่สรา้ งโดยกรมสุขภาพจิตนำมาตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลตามที่
กรมสุขภาพจติ กำหนด
๓. การรายงานผลการแกป้ ัญหานกั เรยี นเขียนรายงานผลเชิงบรรยาย

๓๘
นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ียมบา้ น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

๓๙
นางนติ ยา ทองดยี ง่ิ นายประจนั ทร์ หวา่ งสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

บทที่ ๔

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

การวเิ คราะหข์ ้อมูลเพื่อศึกษาสถานภาพส่วนตวั ของนักเรียนและการแกป้ ัญหานักเรียนโดยใช้ระบบดูแล
นักเรียน ผ้ศู ึกษาได้นำผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ ๒ ตอนดังนี้

ตอนท่ี ๑ การวิเคราะหเ์ ก่ียวกบั สถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยการแจกแจงความถ่แี ละหาค่า
ร้อยละ เสนอเปน็ ตารางประกอบการบรรยาย

ตอนที่ ๒ การศึกษาผลการแก้ปัญหานักเรียนโดยใช้วิธีการเขียนบรรยายเชิงคุณภาพและแจกแจง
ความถ่ี หาคา่ ร้อยละ

ตอนที่ ๓ การศกึ ษาการแกป้ ัญหานกั เรยี นโดยใช้ระบบดแู ลนักเรียน

ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์เกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ
เสนอเป็นตารางประกอบการบรรยาย

ตารางท่ี ๑ แสดงเพศของนักเรยี น

เพศของนกั เรียน ร้อยละ

เพศชาย 37.20

เพศหญงิ 62.80

จากตารางที่ ๑ การศึกษาข้อมูลเพศของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็น
รอ้ ยละ 62.80 และเป็นเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 37.20

๔๐
นางนติ ยา ทองดียิง่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยี่ยมบ้าน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

ตารางที่ ๒ แสดงการนับถือศาสนาของนักเรียน ร้อยละ
การนับถือศาสนา
ของนกั เรียน

พุทธ 90.70
อสิ ลาม 9.30
คริสต์
อน่ื ๆ

จากตารางที่ ๒ การศึกษาการนับถือศาสนาของนักเรยี น พบว่า นักเรียนสว่ นใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ
คดิ เป็นร้อยละ 90.70 รองลงมา นักเรียนนับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นรอ้ ยละ 9.30

ตารางท่ี ๓ แสดงจงั หวดั ท่นี ักเรียนอาศัย

จงั หวดั ทนี่ ักเรยี นอาศยั ร้อยละ

ตรัง ๑๐๐

ตา่ งจังหวัด -

จากตารางที่ ๓ การศึกษาข้อมูลจังหวัดที่นักเรียนอาศัย พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นจังหวดั
ตรงั คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐

ตารางที่ ๔ แสดงลักษณะทอี่ ยู่อาศัย

ลักษณะท่ีอยู่อาศัย ร้อยละ

บา้ นของตนเอง 90.70

บ้านญาติ 7.00

บ้านพัก/บ้านเชา่ 2.30

อื่น ๆ -

จากตารางที่ ๔ การศึกษาข้อมลู ลกั ษณะที่อยู่อาศัยของนักเรียน พบวา่ นักเรยี นส่วนใหญ่อาศัยท่ีบ้าน
ของตนเอง คดิ เปน็ ร้อยละ 90.70 รองลงมานักเรยี นอาศัยทีบ่ ้านญาติ คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.0

๔๑
นางนติ ยา ทองดีย่งิ นายประจันทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยยี่ มบ้าน ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6/12 ปีการศกึ ษา ๒๕๖5

ตารางที่ ๕ แสดงสภาพภายในบ้าน

สภาพภายในบา้ น ร้อยละ

สะอาดมรี ะเบยี บ 93.00

ไมค่ ่อยสะอาดมรี ะเบยี บ 7.00

อืน่ ๆ -

จากตารางที่ ๕ การศึกษาข้อมลู สภาพภายในบา้ นของนักเรยี น พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่บา้ นสะอาดมี
ระเบยี บ คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.00 รองลงมาบา้ นไม่คอ่ ยสะอาดมรี ะเบยี บ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.00

ตารางที่ ๖ แสดงความสัมพนั ธ์ของสมาชกิ ในครอบครัว รอ้ ยละ
ความสมั พันธ์ของสมาชิกในครอบครวั
๘6.00
รกั ใครก่ นั ดี 14.00
ขดั แย้งทะเลาะกนั บางคร้ัง -
ขัดแยง้ และทำรา้ ยรา่ งกายบ่อยคร้งั -
อ่ืน ๆ

จากตารางที่ ๖ การศึกษาข้อมูลความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวของนักเรียน พบว่า นักเรียน
สว่ นใหญ่ในครอบครวั มีความสัมพันธ์รักใคร่กันดี คิดเปน็ ร้อยละ 86.00 รองลงมา ความสัมพันธ์ของสมาชิกใน
ครอบครัวของนกั เรียนมคี วามสมั พนั ธ์ ขดั แยง้ ทะเลาะกันบางคร้ัง คิดเป็นร้อยละ 14.00

๔๒
นางนิตยา ทองดียิง่ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเยย่ี มบา้ น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/12 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5

ตารางที่ ๗ แสดงสภาพปจั จบุ ันบิดามารดานักเรียน

สภาพปจั จุบันบิดามารดา รอ้ ยละ

นกั เรยี น

อยดู่ ว้ ยกนั 81.40

หยา่ รา้ ง 14.00

บิดาเสยี ชวี ิต 4.60

มารดาเสียชีวติ 0.00

บดิ ามารดาเสียชวี ิต 0.00

บิดาสมรสใหม่ 0.00

มารดาสมรสใหม่ 0.00

บิดามารดาสมรสใหม่ 0.00

อืน่ ๆ 0.00

จากตารางท่ี ๗ การศึกษาข้อมลู สถานสภาพของบดิ ามารดาของนักเรยี น พบว่า นกั เรียนส่วนใหญ่บิดา
มารดาของนักเรียนอยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 81.40 รองลงมา บิดา มารดา ของนักเรียน หย่าร้าง คิดเป็น
ร้อยละ 14.00

ตารางที่ ๘ แสดงสภาพความเปน็ อยูข่ องครอบครวั

สภาพความเปน็ อยู่ของ ร้อยละ

ครอบครวั

ตามลำพัง -

บิดามารดา 76.70

อยกู่ ับบดิ า 9.30

อย่กู บั มารดา 14.00

อยูก่ บั ผอู้ ่นื -

อ่นื ๆ -

จากตารางที่ ๘ การศึกษาข้อมูลสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วน
ใหญ่อยู่ร่วมกับบิดามารดา คิดเป็นร้อยละ 76.70 รองลงมา นักเรียนอาศัยอยู่กับมารดา คิดเป็นร้อยละ
14.00

๔๓
นางนิตยา ทองดีย่งิ นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ

รายงานผลการเย่ยี มบ้าน ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/12 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5

ตารางท่ี ๙ แสดงวธิ กี ารท่ีนักเรียนได้รับการอบรมเลีย้ งดูนกั เรียน

วธิ กี ารที่ผ้ปู กครองอบรมเลยี้ งดนู กั เรียน ร้อยละ

ตามใจ 0.30

ใช้เหตผุ ล 95.30

ปล่อยปละละเลย -

เขม้ งวดกวดขัน 4.40

อืน่ ๆ -

จากตารางที่ ๙ การศึกษาข้อมูลวิธีการที่ผู้ปกครองอบรมเลี้ยงดูนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่
ผูป้ กครองของนกั เรยี นอบรมเล้ยี งดูโดยการใชเ้ หตผุ ล คิดเป็นรอ้ ยละ 95.30 รองลงมา ผู้ปกครองของนักเรียน
อบรมเลยี้ งดูโดยการเข้มงวดกวดขัน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.40

ตารางท่ี ๑๐ แสดงอาชพี ของผปู้ กครอง

อาชีพของผู้ปกครอง ร้อยละ

เกษตรกร 53.50

ค้าขาย 20.90

รบั ราชการ 5.70

รับจ้าง 16.30

อืน่ ๆ 5.00

จากตารางที่ ๑๐ การศึกษาข้อมูลอาชีพของผู้ปกครอง พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อาชีพมีผู้ปกครอง
ประกอบอาชีพเกษตร คิดเป็นร้อยละ 53.50 รองลงมาอาชีพของบิดาของนักเรียนประกอบอาชีพค้าขาย
คิดเปน็ ร้อยละ 20.90

๔๔
นางนิตยา ทองดีย่ิง นายประจนั ทร์ หว่างสกลุ


Click to View FlipBook Version