The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.วงจรขยายแบบกลับเฟส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jakkapan Injan, 2023-02-05 23:32:06

1.วงจรขยายแบบกลับเฟส

1.วงจรขยายแบบกลับเฟส

OP-AMP รายงานเรื่อง วงจรขขยายแบบกลับเฟส (Inverting Amplifier) วงจรขยายแบบไม่กลับเฟส(Non-Inverting Amplifer) วงจรบัฟเฟอร์ (Buffer) วงจร Differential Amplifier Circuit วงจร Intrgaterd Circuit,IC


1.วงจรขยายแบบกลับเฟส ในวงจรขยายออปแอมป์นั้นสามารถที่จ ที่ ะกำ หนดอัตราการ ขยายของวงจรได้โดยการใช้ วงจรเนกาทีฟฟีด ฟี แบ็ค (Negative Feedback) เมื่อ มื่ เราป้อนสัญญาณเข้าทางขากลับ เฟส (ขา - ) แรงดันด้านทางออกจะมีมุมเฟสต่างไปจากแรง ดันทางเข้า 180 องศา ซึ่งมีลักษณะตรงข้าม สัญญาณตรง กันข้ามนี้จ นี้ ะถูกป้อนกลับผ่าน R2 เข้ามายังขาอินเวอร์ติ้ง ติ้ อีก ครั้งหนึ่ง ตรงจุดนี้จ นี้ ะทำ ให้สัญญาณเกิดการหักล้างกันอัตรา การขยายก็จะลดลง ถ้าตัวต้านทานที่เ ที่ ป็น ป็ ตัวป้อนกลับมีค่ามาก จะทำ ให้สัญญาณป้อนกลับมีขนาดเล็กอัตราการขยายออกจึง สูง ถ้าตัวต้านทานที่ป้ ที่ ป้ อนกลับมีค่าน้อยสัญญาณป้อนกลับไป ได้มากอัตราการขยายก็จะลดลง ฉะนั้นอัตราส่วนของความ ต้านทาน R1 และ R2 จะเป็น ป็ ตัวกำ หนดอัตราการขยายของ วงจรโดยไม่ขึ้นกับอัตราการขยายของออปแอมป์ ซึ่งสามารถ หาอัตราการขยายแรงดันได้จากสูตร


วงจรขยายนี้เ นี้ ป็น ป็ วงจรขยายอีกแบบหนึ่งที่ต้ ที่ ต้ องการเฟสในการ ขยายเป็น ป็ เฟสเดียวกัน ดังนั้นการป้อนสัญญาณอินพุทจึงต้อง ป้อนเข้าที่ข ที่ าอินพุทไม่กลับเฟส (+) ซึ่งเมื่อ มื่ ขยายออกที่เ ที่ อาท์พุท แล้วจะได้สัญญาณเอาท์พุทที่มี ที่ มี เฟสเหมือนเดิม ดังนั้นในวงจร ขยายแบบไม่กลับเฟสนี้ก นี้ ารป้อนกลับเพื่อลดอัตราการขยายจึง ยังคงต้องป้อนไปยังขาอินเวอร์ติ้ง ติ้ (-) เพื่อให้เกิดการหักล้าง ของสัญญาณกันภายในตัวไอซีออปแอมป์ โดยสามารถหา อัตราการขยายของวงจรได้จากสูตร 2.วงจรขยายแบบไม่กลับเฟส (Non-Inverting Amplifier)


3.วงจรบัฟเฟอร์ (Buffer) วงจรบัฟเฟอร์หรือวงจรกันชน เป็น ป็ วงจรที่ใที่ ช้เชื่อ ชื่ มวงจรสอง วงจรเข้าด้วยกัน เช่นระบบไอซีที่ต่ ที่ ต่ างตระกูลกันหรือทรานซิส เตอรืที่ไที่ ม่แมทชิ่ง ชิ่ อิมพีแดนซ์กัน คือวงจรที่จำ ที่ จำเป็น ป็ ต้องใช้ บัฟเฟอร์เพราะคุณสมบัติของออปแอมป์ทางเอาท์พุทอิมพี แดนซ์ต่ำ เมื่อ มื่ เชื่อ ชื่ มต่อกับวงจรอื่น อื่ แล้วจะไม่ทำ ให้วงจรอื่น อื่ มีผล แตกต่างไปจากเดิม วงจรบัฟเฟอร์นั้นจะมีอัตราการขยาย เท่ากับ 1


4.วงจร Differential Amplifier วงจรขยายผลต่าง (Differential Amplifier Circuit) คือ วงจรที่มี ที่ มี สองอินพุตมีภาคขยายสอง ภาคมาต่อร่วมกัน โดย วงจรจะเปรียบเทียบสัญญาณที่ไที่ ด้จากทั้งสองอินพุตและ ขยายออกมาเป็น ป็ สัญญาณ เอาท์พุต โดยทั่วไปจะใช้ ทรานซิสเตอร์เบอร์เดียวกันสองตัวหรือเฟตเบอร์เดียวกันกัน สองตัวต่อร่วมกัน เป็น ป็ วงจรขยายผลต่าง โดยถูกผลิตออกมา ในรูปของแบบไอซีลักษณะของวงจร


วงจรที่นำ ที่ นำเอา ไดโอด , ทรานซิสเตอร์ , ตัวต้านทาน , ตัว เก็บประจุ และองค์ประกอบวงจรต่าง ๆ มาประกอบรวมกัน บนแผ่นวงจรขนาดเล็ก ในปัจจุบันแผ่นวงจรนี้จ นี้ ะทำ ด้วยแผ่น ซิลิคอน บางทีอาจเรียก ชิป (Chip) และสร้างองค์ประกอบ วงจรต่าง ๆ ฝังอยู่บนแผ่นผลึกนี้ ส่วนใหญ่เป็น ป็ ชนิดที่เ ที่ รียกว่า Monolithic การสร้างองค์ประกอบวงจรบนผิวผลึกนี้ จะใช้ กรรมวิธีทางด้านการถ่ายภาพอย่างละเอียด ผสมกับขบวนการ ทางเคมีทำ ให้ลายวงจรมีความละเอียดสูงมาก สามารถบรรจุ องค์ประกอบวงจรได้จำ นวนมาก ภายในไอซี จะมีส่วนของ ลอจิก มากมาย ในบรรดาวงจรเบ็ดเสร็จที่ซั ที่ ซั บซ้อนสูง เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งใช้ทำ งานควบคุม คอมพิวเตอร์ จนถึง โทรศัพท์มือถือ แม้กระทั่ง เตาอบไมโครเวฟ แบบ ดิจิทัล สำ หรับชิป หน่วยความจำ (RAM) เป็น ป็ อีกประเภทหนึ่ง ของวงจรเบ็ดเสร็จ ที่มี ที่ มี ความสำ คัญมากในยุคปัจจุบัน 5.Integrated circuit ; IC )


Click to View FlipBook Version