The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerachai Thongpheng, 2022-09-15 13:29:26

ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง

มาตราต่างๆ

ความผิดเกี่ยวกับการ
ปกครอง

นาย วีรชัย ทองเพ็ง.



รหัสนิสิต 641081331
กลุ่ม S103

คณะ นิติศาสตร์

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
เสนอ

อาจารย์ วีณา สุวรรณโณ

คำนำ

รายงานเล่มนี้่่ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่ งของวิชา กฎหมายอาญา ปีที่2เพื่อให้ได้
ศึกษาหาความรู้ในเรื่่องความผิดเกี่ยวกัการปกครองและได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น
ประโยชน์ กับการเรียนผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ กับผู้อ่าน หรือ
นั กเรียน นั กศึกษา ที่กำลัง

หาข้อมูลเรื่องนี้ อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้ อม
รับไว้และขออภัยมา

นาย วีรชัย ทองเพ็ง
ผู้จัดทำ

สารบัญ หน้า
1
หมวดที่ 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
มาตรา 136 11
มาตรา 137 12
มาตรา 138
มาตรา 139 29
มาตรา 140
มาตรา 141
มาตรา 142
มาตรา 143
มาตรา 144
มาตรา 145
มาตรา 146

หมวดที่ 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
มาตรา 147
มาตรา 148
มาตรา 149
มาตรา 150
มาตรา 151
มาตรา 152
มาตรา 153
มาตรา 154
มาตรา 155
มาตรา 156
มาตรา 157
มาตรา 158
มาตรา 159
มาตรา 160
มาตรา 161
มาตรา 162
มาตรา 163
มาตรา 164
มาตรา 165
มาตรา 166

1




ลักษณะ ๒
ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง

หมวด ๑
ความผิดต่อเจ้าพนั กงาน
คำอธิบายทั่วไป
ความผิดต่อเจ้าพนั กงานซึ่งหมายถึงกรณีที่บุคคลธรรมดากระทำต่อ
เจ้าพนั กงานบัญญัติอยู่ในหมวด - ของลักษณะ ๒ ความผิดเกี่ยวกับการ
ปกครองซึ่งเป็นความผิดที่ราษฎรกระทำต่อเจ้าพนั กงานหรือเกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติหน้ าที่ของเจ้าพนั กงาน คำว่า "ต่อเจ้าพนักงาน" ไม่ได้
หมายความว่า เจ้าพนั กงานจะต้องเสียหายในทางทรัพย์สินหรือทางอื่น
เช่น การให้สินบนต่อเจ้าพนั กงานก็เป็นความผิดต่อเจ้าพนั กงาน
คำว่า "เจ้าพนั กงาน" หมายความว่า (๑) บุคคลซึ่งกฎหมายระบุไว้ชัดว่า
เป็นเจ้าพนั กงานตามกฎหมายลักษณะอาญา หรือประมวลกฎหมายอาญา
เช่น พนั กงานเทศบาล พนั กงานสุขาภิบาล และ (๒) บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้ง
ให้ปฏิบัติราชการ ไม่ว่าจะเป็นประจำหรือชั่วครั้งคราว และไม่ว่าจะได้รับ
ประโยชน์ ตอบแทนเพื่อการนั้ นหรือไม่
เช่นกำนั น ผู้ใหญ่บ้านก็เป็นเจ้าพนั กงาน เพราะได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติ
ราชการ แต่ตาลฎีกาไม่มีความเห็นดังกล่าว คือ เห็นว่าเจ้าพนั กงานต้อง
เป็นข้าราชการที่ได้รับเงินเดือนในงบประมาณแผนกเงินเดือนซึ่งไปเอา
เรื่องฐานะของข้าราชการที่มีต่อรัฐบาลไปปนกับฐานะของเจ้าพนั กงานที่มี
ต่อราษฎร ซึ่งเป็นเรื่องของกฎหมายอาญาผู้กระทำจะผิดตามลักษณะ ๒
หมวด ๑ ก็ต่อเมื่อผู้กระทำทราบว่าเป็น
"เจ้าพนั กงาน" (ดูมาตรา ๕๙ วรรด ๓)
ความผิดตามมาตรา ๑๓๖
ความผิดที่ ๑

2

องค์ประกอบภายนอก
(๑) ดูหมิ่น
(๒) เจ้าพนั กงาน
(๓) ซึ่งกระทำการตามหน้ าที่

องค์ประกอบภายในเจตนาธรรมดา
ความผิดที่ ๒

องค์ประกอบภายนอก
(๑) ดูหมิ่น
(๒) เจ้าพนั กงาน
องค์ประกอบภายใน
( ๑) เจตนาธรรมดา

หมายเหตุ
มาตรานี้ ดำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๔๑ เพิ่มโทษ
เพราะได้กระทำการตามหน้ าที่
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ
เป็นจำคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

คำอธิบาย
หมายถึงการกระทำการเหยียดหยามซึ่งอาจกระทำทาง
กิริยา เช่นยกสั้ท้าให้ หรือถ่มน้ำลายรด หรือกระทำทางว่าจา
เช่น ค่าด้วยคำหยาบ
เช่น ดำาบิดามารดา หรือด่ว่าเป็นสัตว์เตร์จฉาน
มาตรานี มีสองความผิดกล่าวคือ
(๑) "ดูหมิ่นเจ้าพนั กงานซึ่งกระทำการตามหน้ าที่"

หมายความถึงการ
ดูหมิ่นเจ้าพนั กงานขณะที่ระทำการตามหน้ าที่อยู่ เช่น ด่าตำรวจขณะยืนยาม
(ส่ วนมูลเหตุ
ชักจูงใจที่ทำให้ดูหมิ่นไม่เป็นข้อสำคัญ สำคัญที่เป็นการดูหมิ่นขณะทำหน้ าที่
แม้ดูหมิ่นเพราะเกลียดเจ้าพนั กงานเป็นส่วนตัวก็ผิดมาตรานี้ ในส่วนที่เกี่ยว
กับเจตนา
ผู้กระทำจะต้องทราบว่าบุดคลที่ตนดูหมิ่นเป็นเจ้าพนั กงานและกำลังกระทำ
การตามหน้ าที่อยู่ (ดูมาตรา ๕๓ วรรค ๓)นั้ น ต้องพิจารณาจากกฎหมาย
ส่วนเมื่อใดจึงจะถือว่า "กระทำตามหน้ าที่"ตลอดจนระเบียบ ข้อบังคับ และคำ
สั่งของราชการซึ่งออกได้โดยชอบด้วยกฎหมายว่าได้กำหนดหน้ าที่ของเจ้า
พนั กงานไว้อย่างไร

3

(๒) "ดูหมิ่นเจ้าพนั กงานเพราะได้กระทำการตามหน้ าที่"
สาเหตุที่ทำการดูหมึน

ซึ่งเป็นเรื่องของมูลเหตุชักจูงใจ กล่าวคือ ที่ดูหมิ่นก็เพราะ
เจ้าพนั กงานได้กระทำการตามหน้ าที่มาแล้ว เช่น โกรธตำรวจที่จับตนเมื่อเช้านี้ จึง
มาดำตำรวจขณะที่พักผ่อนอยู่กับบ้านก็มีความผิดตามมาตรานี้ แม้ขณะที่ดูหมิ่นเจ้า
พนั กงานไม่ได้กระทำการตามหน้ าที่
คำว่า "ดูหมิ่น"

หมายถึง
ความผิดตามมาตรา ๑๓๗
องค์ประกอบภายนอก
(๑) แจ้งข้อความ
(๒) อันเป็นเท็จ
(๓ ) แก่เจ้าพนั กงาน
(๔) ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย
องค์ประกอบภายใน
เจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
ความหมายของคำว่า
"เจ้าพนั กงาน"
ให้ดูดำอธิบายทั่วไปข้างต้น
"เจ้าพนั กงาน" ในที่นี้ หมายความถึงเจ้าพนั กงานซึ่งมีหน้ าที่ในการรับแจ้ง
ข้อความนั้ น ๆ-(เช่นตำรวจมีหน้ าที่รับแจ้งข้อความเกี่ยวกับการกระทำความผิด
อาญา
เช่น ลักทรัพย์ ถ้าไปแจ้งความต่อเจ้าพนั กงานซึ่งไม่มีหน้ าที่ในการรับแจ้งข้อความ
เช่นนั้ น ผู้กระทำก็ไม่มีความผิดตามมาตรานี้ ส่วนในการแจ้งนั้ นผู้แจ้งจะได้เป็น
ฝ่าย
ริเริ่มแจ้งต่อเจ้าพนั กงานโดยความสมัครใจของตนหรือเจ้าพนั กงานเป็นฝ่ายเรียก
บุคคล
นั้ นไปแจ้งข้อความก็ไม่เป็นข้อสำคัญข้อความที่แจ้งจะเป็นเท็จได้ก็ต่อเมื่อเป็นข้อ
เท็จจริงในอดีตหรือปัจจุบันข้อความในอนาคตย่อมไม่อาจเป็น "เท็จ" ได้ นอกจาก
ข้อความในอนาคตนั้ นจะอนุมานให้เป็นข้อความปัจจุบัน เช่น แจ้งต่อเจ้าพนั กงาน
ว่าพรุ่งนี้ นาย ก. จะปลันบ้านนายซึ่งแสดงว่าในปัจจุบันนี้ นาย ก. มีเจตนาจะปลัน
นาย ข. อยู่แล้ว(แม้ข้อความที่แจ้งจะเป็นท็จ แต่ถ้าไม่อาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชน
เสียหายก็ไม่เป็นผิดตามมาตรานี้ ส่วน "เสียหาย" ในที่นี้ หมายความถึงเสียหายทุก
วิถีทางไม่ว่าเสียหายในทางร่างกาย เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สิน หรือในทาง
คดีและปัญหาที่ว่า "อาจ" เสียหายหรือไม่นั้ นจะต้องพิจารณาดูว่าถ้าเจ้าพนั กงาน
หลงเชื่อแล้วความเสี ยหายจะเกิดขึ้นได้หรือไม่

4

ทั้งนี้ ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผลดามทฤษฎีผลธรรมดา (เทียบ
มาตรา ๖๓)เมื่อได้แจ้งความเท็จแล้วก็เป็นความผิด เจ้าพนั กงานจะเชื่อข้อความที่แจ้งหรือ
ไม่ ๆ สำคัญในส่วนที่เกี่ยวกับเจตนาผู้กระทำต้องรู้ว่าข้อความที่ตนแจ้งเป็นเท็จและผู้ที่
ตนแจ้งเป็นเจ้าพนั กงาน จึงจะถือได้ว่าได้กระทำโตยมีเจตนา ถ้าไม่รู้คือสำคัญผิดว่า
ข้อความที่นแจ้งนั้ นเป็นความจริงก็ดี รือแม้ทราบว่าเป็นความเท็จ แต่สำคัญผิด
ไปว่าเจ้าพนั กงานผู้ที่นแจ้งเป็นราษฎรสามัญ (เช่นเจ้าพนั กงานปลอมเป็นราษฎรมา
พิจารณาดูว่าถ้าเจ้าพนั กงานหลงเชื่อแล้วความเสียหายจะเกิดขึ้นได้หรือไม่
ทั้งนี้ ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผลดามทฤษฎีผลธรรมดา (เทียบมาตรา
๖๓)เมื่อได้แจ้งความเท็จแล้วก็เป็นความผิด เจ้าพนั กงานจะเชื่อข้อความที่แจ้งหรือไม่ ๆ
สำคัญในส่ วนที่เกี่ยวกับเจตนาผู้กระทำต้องรู้ว่าข้อความที่ตนแจ้งเป็นเท็จและผู้ที่
ตนแจ้งเป็นเจ้าพนั กงาน จึงจะถือได้ว่าได้กระทำโตยมีเจตนา ถ้าไม่รู้คือสำคัญผิดว่า
ข้อความที่นแจ้งนั้ นเป็นความจริงก็ดี รือแม้ทราบว่าเป็นความเท็จ แต่สำคัญผิด
ไปว่าเจ้าพนั กงานผู้ที่นแจ้งเป็นราษฎรสามัญ (เช่นเจ้าพนั กงานปลอมเป็นราษฎรมา

สืบสวนอาชญากรรม ผู้แจ้งอยากจะวดว่านเก่ง สามารถล่วงรู้อาชญากรร
จึงแจ้งข้อความเท็จให้ทราบก็ดี ผู้กระทำก็ไม่มีเจตนา (ดูมาตรา ๕๙ วรรค ๓) และ
ไม่มีความผิด
ถ้าเป็นการแจ้งข้อความเท็จเกี่ยวกับคดีอาญาแก่เจ้าพนั กงาน เป็นความผิด
ตามมาตรา ๑๗๒ ซึ่งมีโทษสูงกว่ามาดรานี้
เมื่อผู้แจ้งรู้ว่าข้อความที่ตนแจ้งเป็นเท็จ และรู้ด้วยว่าผู้ที่คนแจ้งเป็น
เจ้าพนั กงานก็ถือว่าได้กระทำโดยเจตนา ส่วนผู้แจ้งจะทราบหรือไม่ว่าข้อความที่
แจ้งอาจทำให้ผู้อื่น หรือประชาชนเสียหายได้นั้ นไม่เป็นข้อสำคัญ ถ้าข้อความที่แจ้ง
ในตัวของมันเองอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสี ยหายก็เป็นความผิดตามมาตรานี้
หรือจะกล่าวอีกอย่างหนึ่ งก็คือ เจตนาไม่จำต้องคลุมถึงผลของการแจ้ง คืออาจ
ทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย ความผิดฐานแจ้งความเท็จนี้ ก็เหมือนกับความผิด
อื่น กล่าวคือ ถ้าผู้กระทำมีอำนาจทำได้ ก็ไม่เป็นความผิด เช่นการที่ผู้ต้องหา
ให้การเท็จต่อพนั กงานสอบสวนด้วยข้อความเท็จเพื่อให้ตนพันผิด ย่อมไม่เป็น
ความผิดฐานแจ้งความเท็จ เพราะผู้ต้องหาก็มีอำนาจที่จะต่อสู้คดีได้เต็มภาคภูมิ
ความผิดตามมาตรา ๑๓๘

องค์ประกอบภายนอก
ต่อสู้ หรือขัดขวาง
(๒) บุคคลดังต่อไปนี้ (ก) เจ้าพนั กงาน หรือ (ข) ผู้ซึ่งต้องช่วยเจ้าพนั ก
งานตามกฎหมายในการปฏิบัติการตามหน้ าที่
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
วรรคสอง
เป็นเหตุเพิ่มโทษให้หนั กขึ้น ถ้าการต่อสู้หรือขัดขวางนั้ นได้กระทำโดยวิธี
ดังต่อไปนี้ (ก) โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือ (ข) โดยขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย

คำอธิบาย

วรรคแรก
ดำว่า "ต่อสู้" หมายความถึงใช้กำลังขัดขืนเจ้าพนั กงานหรือผู้ซึ่งต้องช่วย
เจ้าพนั กงานตามกฎหมาย ตัวอย่าง เช่น ตำรวจจะจับไม่ยอมให้จับ
คำว่า "ขัดขวาง" หมายถึงกระทำให้เกิดอุปสรรคแก่การกระทำของ

5

เจ้าพนั กงานในการปฏิบัติการตามหน้ าที่ หรือผู้ซึ่งต้องช่วยเจ้าพนั กงาน
ตามกฎหมายในการปฏิบัติการตามหน้ าที่
คำว่า "ผู้ซึ่งต้องช่วยเจ้าพนั กงานตามกฎหมาย" นั้ น หมายความว่า
มีกฎหมายกำหนดให้มุคคลนั้ น ๆ มีหน้ าที่ต้องช่วยเจ้าพนั กงาน เช่นผู้ที่
เจ้าพนั กงานเรียกให้ระงับเพลิงไหม้หรือสาธารณภัยอื่น ๆ ตามมาตรา
๓๘๓ เป็นตัน

ถ้าเป็นการต่อสู้หรือขัดขวางผู้ซึ่งเข้าช่ายเจ้าพนั กงานโดยความสมัคร
ใจ โดยไม่มีหน้ าที่ต้องช่วยตามกฎหมายผู้ต่อสู้ขัดขวางก็ไม่มีความผิดตาม
มาตรานี้ ผู้กระทำจะมีเจตนาตามมาตรานี้ ต่อเมื่อผู้กระทำทราบว่าบุดคล
ที่เขาต่อสู้หรือขัดขวางเป็นเจ้าพนั กงานในการปฏิบัติการตามหน้ าที่หรือ
ผู้ซึ่งต้องช่วยเจ้าพนั กงานตามกฎหมาย (ดูมาตรา ๕๙ วรรค ๓)

หมายเหตุ
วรรดหนึ่ งคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๔๑ ได้
เพิ่มโทษเป็นจำคุกไม่เกินหนึ่ งปีหรือปรับไม่เกินสองพันบาท
วรรคสอง เป็นเหตุเพิ่มโทษหนั กขึ้น ในกรณีที่ได้กระทำโดยใช้กำลัง
ประทุษร้ายหรือขู่เข็ญจะใช้กำลังประทุษร้าย
ความหมายของคำว่า "ใช้กำลังประทุษร้าย" ให้ดูมาตรา ๑ (๖) และดำ
บรรยายอาญา ๑ ประกอบในกรณีที่การต่อสู้หรือขัดขวางเป็นการทำร้าย
ร่างกาย ผู้กระทำก็มีความผิดตามมาตรา ๒๙๖ ประกอบด้วยมาตรา ๒๘๙
(๒) หรือ (๓) แล้วแต่กรณี ซึ่งเป็น
ความผิดหลายบท และต้องลงโทษตามมาตรา ๒๙๖ ซึ่งเป็นบทที่มีโทษ
หนั ก

ความผิดตามมาตรา ๑๓๙
องค์ประกอบภายนอก
(๑) ข่มขืนใจ
(๒) เจ้าพนั กงาน
(๓) ให้ (ก) ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้ าที่ หรือ (ข) ให้ละเว้นการปฏิบัติ
การตามหน้ าที่
(๔) โดย (ก) ใช้กำลังประทุษร้าย หรือ (ข) โดยขู่เข็ญว่าจะใช้กำลัง
ประทุษร้าย
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

6

คำอธิบาย
มาตรานี้ มีความผิดสองความผิด คือ
(๑) ข่มขืนใจเจ้าพนั กงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้ าที่ โดยใช้กำลัง
ประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ส่วนเมื่อใดจึงจะถือว่า
เป็นการปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้ าที่นั้ น หน้ าที่ของเจ้าพนั กงานย่อม
ได้แก่หน้ าที่ตามกฎหมายตลอดจน ณ ข้อบังคับระเบียบแบบแผนและคำสั่ง
ของทางราชการให้เจ้าพนั กงานปฏิบัติการ หรือ ละเวันปฏิบัติการอย่างใด
อย่างหนึ่ ง การปฏิบัติที่ผิดต้องถือว่ามิชอบด้วยหน้ าที่
(๒) ข่มขืนใจเจ้าพนั กงานให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้ าที่ โดยใช้กำลัง
ประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย
อันมีผลทำให้เจ้าพนั กงาน
คำว่า "ข่มขืนใจ" หมายความว่าบังคับใจ
ต้องตัดสินใจปฏิบัติการหรือละเว้นปฏิบัติการตามหน้ าที่ แต่การตัดสินใจ
ได้กระทำไปโดยความกลัว เพราะถูกผู้กระทำใช้กำลังประทุษร้ายหรือถูก
ขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย
ถ้าเจ้าพนั กงานผู้ถูกกระทำใช้กำลังเด็ดขาด เช่นถูกคนมีกำลังมากกว่าจับ
มือให้เขียนหนั งสือโดยเจ้าพนั กงานต้องปล่อยให้เป็นไปตามที่ถูกจับมือนั้ น
ย่อมไม่ถือว่าเป็นกรณีข่มขืนใจ การเขียนหนั งสือกไม่ใช่การกระทำของเจ้า
พนั กงานเลย แต่เป็นการกระทำของคนที่มีกำลังมากกว่าโดยเฉพาะ เพราะ
เจ้าพนั กงานไม่ได้คิด ไม่ได้ตกลงใจและทำตามที่ตกลงในอันที่จะปฏิบัติ
หรือละเว้นปฏิบัติการตามหน้ าที่ และคนที่ใช้กำลังเด็ดขาดแก่เจ้าพนั กงาน
ดังกล่าว ไม่มีความผิดตามมาตรานี้ แต่อาจผิดตามมาตราอื่น
คำว่า "ใช้กำลังประทุษร้าย" ให้ดูมาตรา ๑ (๖)ในส่วนที่เกี่ยวกับเจตนา
ผู้กระทำต้องทราบว่าบุคคลที่ตนข่มขืนใจเป็นเจ้าพนั กงาน (ดูมาตรา ๕๙
วรรด ๓)มาตรานี้ เป็นความผิดพิเศษจึงต้องมาหน้ าความผิดเสรีภาพตาม
มาตรา๓๐๙
คือถ้ากระทำผิดตามมาตรานี้ ก็ไม่ผิดตามมาตรา ๓๐๙ อีก
ความผิดตามมาตรา ๑๔๐
องค์ประกอบภายนอก
การกระทำตามมาตรา ๑๓๘ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๓๙
(๒) โดย (ก) มีอาวุธ (ข) โดยใช้อาวุธ หรือ (ค) โดยร่วมกระทำ
ความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป

7 ความผิดตามมาตรา๑๔๓

องค์ประกอบภายนอก
(๑) กระทำการต่าง ๆ
ตังต่อไปนี้ (ก) เรียก (ข) รับ หรือ (ค) ยอม
(๒) ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด
(๓) สำหรับตนเองหรือผู้อื่น
(๔)เป็นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรือได้จูงใจเจ้าพนั กงาน
(ข) สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ(ค)สมาชิกสภาจังหวัด
หรือ(ง) สมาชิกสภาเทศบาล โดยวิธีอันทุจริตหรือผิดกฎหมายหรือโดย
อิทธิพลของตนให้กระทำการหรือไม่กระทำการในหน้ าที่อันเป็นคุณหรือ
เป็นโทษแก่บุคคลใด
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

คำอธิบาย
มาตรานี้ ผิดเมื่อ (๑) เรียก (๒) รับ หรือ (๓) ยอมจะรับ ทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่น เป็นการตอบแทนกับการที่
ตนจะจูงใจในเวลา
ภายหน้ า หรือได้จูงใจเจ้าพนั กงาน ฯลฯ ไปแล้ว และการชักจูงใจหรือได้
จูงใจได้กระทำ
(ก) โดยอันทุจริต (อย่างไรเป็น "ทุจริต" ให้ดูมาตรา * (๑) หรือ (ข) โดยวิธี
ผิดกฎหมาย หรือ (ค) โดยอิทธิพลของตน เพื่อ (คำว่า "เพื่อ" แสตงว่าต้องมี
มูลเหตุชักจูงใจพิเศษ)
(-) ให้เจ้าพนั กงานกระทำการในหน้ าที่อันเป็นคุณหรือโทษแก่บุคคลใด
หรือ
(๒ ) ให้เจ้าพนั กงานไม่กระทำการในหน้ าที่อันเป็นคุณหรือโทษแก่บุคคล
ใดทั้งนี้ ไม่ว่าเจ้าพนั กงานจะได้ปฏิบัติหรืองดเว้นไม่ปฏิบัติการตามหน้ าที่
ตามที่จะจูงใจหรือได้จูงใจหรือไม่ คือ เมื่อเรียก รับหรือยอมรับทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ อื่นใด

เป็นการตอบแทนกับการที่จะจูงใจหรือได้จูงใจดังกล่าวก็เป็นความผิด
สำเร็จบริบูรณ์ ทั้งนี้ แสดงว่เป็นการลงโทษผู้กระทำตนเป็นคนกลาง
ระหว่างเจ้าพนั กงานกับบุดคลภายนอก

ความหมายของคำว่า"ทรัพย์สิน" เป็นไปตามมาตรา ๑๓๘ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งฯ
คำว่า "สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ"

หมายความว่า
สมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกสภาผู้แทนตามรัฐธรรมนูญจะต้องปรากฏว่า
เป็นบุคคลที่ระบุไว้ในมาตรานี้ ถ้าผู้กระทำจะจูงใจหรือได้จูงใจบุคคลอื่น
เช่น สมาชิกสภาตำบล ย่อมไม่ผิดตามมาตรานี้ เพราะการตีความประมวล
จะรับกฎหมายอาญาจะดีความขยายให้เป็นผลร้ายแก่ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่
ได้

8

ความผิดตามมาตรา ๑๔๔
องค์ประกอบภายนอก
(๑) กระทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้ คือ (ก) ให้ (ข) ขอให้ หรือ
(ค) รับว่าจะให้
(๒) ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด
(๓ ) แก่เจ้าพนั กงาน สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือ
สมาชิกสภาเทศบาล
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
มูลเหตุชักจูงใจ อย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้ คือ เพื่อจูงใจ (ก) ให้
กระทำการ
(ข) ไม่กระทำการ หรือ (ค) ประวิงการกระทำ บรรดาที่มิชอบด้วย
หน้ าที่
คำอธิบาย
มาตรานี้ ความผิดสำเร็จเมื่อได้ให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สิน หรือ
โยชน์ อื่นใด (เช่นประโยชน์ ในการให้ขึ้นรถประจำทาง โดยไม่เสียค่า
ส่วนเจ้าพนั กงาน ฯลฯ จะได้กระทำการ ไม่กระทำการ หรือประวิงการกระ
ทำอันมิชอบด้วยหน้ าที่ดามที่ประสงค์หรือไม่ หรือเจ้าพนั กงานจะรับ
ทรัพย์สินหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ นั้ น ๆ หรือไม่ย่อมไม่สำคัญ
ความสำคัญอยู่ที่มูลเหตุชักจูงใจ คือ การให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้นั้ น
ต้องทำโดยมูลเหตุชักจูงใจคือความมุ่งหมายที่จะจูงใจให้เจ้าพนั กงาน
กระทำ ไม่กระทำหรือประวิงการกระทำอันมิชอบด้วยหน้ าที่ปัญหาที่ว่าการ
กระทำ.ไม่กระทำ หรือประวิงการกระทำจะชอบด้วยหน้ าที่หรือไม่นั้ น ต้อง
พิจารณาจากตัวบทกฎหมาย กูฎ ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน หรือคำสั่งของ
คณะรัฐมนตรี หรือของผู้บังคับบัญชาซึ่งชอบด้วยกฎหมายในกรณีที่มีเหตุ
ชักจูงใจที่จะจูงใจให้เจ้าพนั กงานกระทำการหรือไม่กระทำการหรือประวิง
การกระทำ ซึ่งเป็นการอันชอบด้วยหน้ าที่ บุคคลธรรมดาไม่มีผิด แต่เจ้า
พนั กงานผู้เรียกรับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ นั้ น ๆ ย่อมมีผิด
ตามมาตรา ๑๔๙

9

วรรคสอง
วรรคแรก
องค์ประกอบภายนอก
(๑) แสดงตนเป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) กระทำการเป็นเจ้าพนั กงาน
(๓) โดยตนเองมิได้เป็นเจ้าพนั กงานที่มีอำนาจกระทำการนั้ น
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) ได้รับคำสั่งมิให้ปฏิบัติการตามตำแหน่ งหน้ าที่ต่อไปแล้ว
(๓) ยังฝ่าฝืนกระทำการใดในตำแหน่ งหน้ าที่นั้ น
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

คำอธิบาย
ที่จะเป็นผิดตามวรรคแรกจะต้องมีการกระทำสองการกระทำประกอบ
กันกล่าวคือ
(๑) แสดงตนเป็นเจ้าพนั กงาน เช่น แต่งเครื่องแบบเจ้าพนั กงาน หรือแม้
ไม่แต่งเครื่องแบบของเจ้าพนั กงาน แต่อวดอ้างว่าเป็นเจ้าพนั กงาน เช่น
อวดอ้างว่าเป็นตำรวจนอกเครื่องแบบเป็นต้น และ
(๒) ได้กระทำการเป็นเจ้าพนั กงานด้วย เช่นตรวจคันบุคคล
(๓) ทั้งนี้ โดยตนเองมิได้เป็นเจ้าพนั กงานเลย คือเพราะเป็นบุคคล
ธรรมดา
จึงไม่มีอำนาจกระทำการนั้ นได้ เช่นเป็นราษฎรธรรมดาอ้างว่าเป็นตำรวจ
และทำการจับกุมบุคคลที่ต้องหาว่ากระทำผิด หรือเป็นเจ้าพนั กงาน
เหมือนกัน แต่ไม่มีอำนาจที่จะกระทำการนั้ นได้ เช่นเป็นเจ้าพนั กงาน
ศุลกากร แต่ไปตรวจกันบุดคลในกรณีสงสัยว่ากระทำความผิดฐานลัก
ทรัพย์ เป็นตัน
มีข้อควรสังเกตว่า จะต้องทั้งแสดงตนเป็นเจ้าพนั กงานด้วยและได้
กระทำการ
เป็นเจ้าพนั กงานด้วย จึงจะผิดตามวรรคแรกนี้ เพียงแสดงตนอย่างเดียว
ไม่ผิด แต่ถ้าพยายามกระทำการเป็นเจ้าพนั กงานก็มีผิดฐานพยายาม
กระทำความผิดตามมาตรานี้ วรรคสอง เป็นกรณีที่เจ้าพนั กงานได้รับคำ
สั่งมิให้ปฏิบัติการตามตำแหน่ งต่อไปแล้ว

10

เช่นถูกพักราชการ แต่ยังฝ่าฝืนกระทำการใด ๆ ในตำแหน่ งนั้ นอยู่ เช่นคง
มาปฏิบัติการตามปกติ แต่จะเป็นความผิดตามวรรคสองนี้ จะต้องปรากฏว่า
เจ้าพนั กงานได้ทราบว่าได้มีคำสั่งห้ามมิให้ตนปฏิบัติการตามตำแหน่ งหน้ าที่
ต่อไปแล้ว เช่น ถ้าเพียงแต่รับคำสั่งที่ใส่ซองผนึ ก แต่เจ้าพนั กงานยังไม่ทัน
ฉีกออกอ่าน เพราะอยากจะทำงานให้เสร็จเสียก่อนจึงจะฉีกออกอ่าน จึงคง
ทำงานต่อไป เจ้าพนั กงานไม่มีผิด (ดูมาตรา ๕๙ วรรค ๓)

ความผิดตามมาตรา ๑๕๖
องค์ประกอบภายนอก
(-) ไม่มีสิทธิกระทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้ (ก) ไม่มีสิทธิที่จะ
สวมเครื่องแบบ หรือประดับเครื่องหมายของเจ้าพนั กงาน สมาชิกสภา
นิ ติบัญญัติแห่งรัฐสมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทตบาล หรือ (ข) ไม่มี
สิทธิชัยศ ตำแหน่ งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หรือสิ่งที่หมายถึงเครื่องราช
อิสริยาภรณ์
(๒) กระทำการเช่นนั้ น
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ เพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิ
คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาผิดกับ
( ๑) การสวมเครื่องแบบหรือประดับเครื่องหมายของเจ้าพนั กงาน ฯลฯ หรือ
(๒) การใช้ยศตำแหน่ ง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
หรือสิ่ งที่หมายถึง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ สิ่งใดเป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์"อมเป็นไปตามพระ
ราช
บัญญัติว่าด้วยเครื่องอิสริยาภรณ์นั้ น ๆ "สิ่งที่หมายถึงเครื่องราช
อิสริยาภรณ์" มี
ตัวอย่างเช่น เครื่องราชอิสริยาภรณ์จำลอง (ที่ทำให้ขนาดเล็กสำหรับใช้กับ
เครื่อง
ราตรีสโมสร) แถบเครื่องราซอิสริยาภรณ์ที่ใช้ประดับเครื่องแบบข้าราชการ
ทั้งนี้ โดยตนไม่มีสิทธิ ผู้กระทำจะต้องมีเจตนากระทำการนั้ น ๆ และจะต้อง
มีมูลเหตุชักจูงใจ เพื่อให้บุดคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิ โดยเหตุนี้ การกระทำดัง
กล่าวในการแสดงละครหรือภาพยนตร์ย่อมไม่มีผิด เพราะขาดมูลเหตุชักจูง
ใจที่จะให้บุคคลอื่นชื่อว่าตนมีสิทธิสวมเครื่องแบบ ฯลฯ นั้ น

11

หมวด ๒
ความผิดต่อตำแหน่ งหน้ าที่ราชการ



อธิบายโดยทั่วๆไป
ความผิดในหมวดนี้ เฉพาะผู้ที่เป็นเจ้าพนั กงานเท่านั้ นที่จะกระทำความ
ผิดได้ความหมายของคำว่า "เจ้าพนั กงาน" ได้อธิบายไว้ในดำอธิบาย
ทั่วไปของหมวด ถ้าบุคคลธรรมดาร่วมกระทำความผิดด้วยกันกับเจ้า
พนั กงาน บุคคลธรรมดาย่อมไม่เป็นตัวการเพระขาดองค์ประกอบ คือ
ความเป็นเจ้าพนั กงาน แต่เป็นผู้สนั บสนุนตามมาตรา ๘'๖ ส่วนเจ้า
พนั กงานซึ่งไม่ได้กระทำความผิดโดยตนเอง แต่เป็นผู้ใช้ราษฎร
ธรรมดาเป็นเครื่องมือกระทำความผิดนั้ นเป็น "ผู้กระทำผิดโดยทาง
อ้อม" ต้องรับผิดเสมือนได้กระทำผิดโดยดนเอง ดูคำบรรยายอาญา ๑
เรื่องผู้กระทำผิดโดยทางอ้อม

ความผิดตามมาตรา ๑๔๗
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
มีหน้ าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด
(๓) เบียดบังทรัพย์นั้ นเป็นของตนหรือของผู้อื่น หรือยอมให้ผู้อื่นเอา
ทรัพย์
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจโดยทุจริต

คำอธิบาย
มาตรานี้ บัญญัติถึงความผิดฐานเจ้าพนั กงานยักยอกทรัพย์
ดำว่า "ซื้อ" มีความหมายอย่างเดียวกับที่ประมวลกฎหมายแพ่งฯ
บัญญัติเรื่องสัญญาซื้อขาย ตามมาตรา ๔๕๓
คำว่า "ทรัพย์" มีความหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา ๑๓๗
ดำว่า "เบียดบังทรัพย์เป็นของตนหรือของบุคคลอื่น" ให้เทียบดูคำ
อธิบายมาตรา ๓๕๒ คำว่า "ยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้ นเสีย" หมายความ
ว่าอนุญาตให้คนอื่นนั้ นเสีย

12

เอาทรัพย์นั้ น หรือไม่ขัดขวางในการที่ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้ น เพราะมีเจตนาที่
จะยอมให้เอาไป (ดูมาตรา ๕๙ วรรค ๓)
คำว่า "โดยทุจริต" ให้ดูมาตรา ๑ (๑)

คำว่า "โดยทุจริตยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้ นเสีย" หมายความว่า ยอมให้
ผู้อื่นเอาทรัพย์ไปอันเป็นการแสวงหาผลประโยชน์ เพื่อเจ้าพนั กงานเอง
หรือผู้อื่น อันเป็นประโยชน์ ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ทรัพย์ตามมาตรานี้ จะเป็นของทางราชการหรือของเอกชนไม่เป็นข้อสำคัญ
ข้อสำคัญอยู่ที่ว่าทรัพย์นั้ นเป็นทรัพย์ที่เจ้าพนั กงานมีหน้ าที่ซื้อ ทำ จัดการ
หรือรักษาการเขียนฟ้องโจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยได้รับมอบหมายจาก
ทางราชการให้มีหน้ าที่รักษาเงินของทางราชการกองกำกับการตำรวจ
ตระเวนชายแดน จำเลยได้บังอาจเบียดบังเอาเงินทางราชการที่ประชุม
ใหญ่ศาลฎีกาเห็นว่า "โดยทุจริต" เป็นองค์ประกอบความผิดใน
มาดรา ๑๔๗ นั้ นจริง แต่เพียงการที่มิได้ระบุดำว่า "โดยทุจริต" ไว้ในคำฟ้อง
นั้ นหาใช่จะทำให้ฟ้องกลายเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์สมอไปไม่ เพราะตาม
หลักแห่งการบรรยายฟ้องตามวิ. อาญา มาตรา ๒๕๘ นั้ น ถ้าโจทก็ได้
บรรยายถึงการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดมาในฟ้อง
ประกอบด้วยข้อความอื่น ๆ ที่กฎหมายต้องการแล้ว ฟ้องนั้ นก็ย่อมสมบูรณ์
ได้ ดำฟ้องแห่งคดีนี้ เมื่อได้อ่านโดยตลอดแล้วเห็นได้ว่า โจทก็ได้
บรรยายฟ้องรวมดลอดถึงข้อที่กล่าวอ้างว่าจำเลยกระทำการโดยทุจริต
หรืออีกนั ยหนึ่ งจำเลยกระทำเพื่อแสวงหาประโยชน์ ที่มิควรได้โดยชอบด้วย
กฎหมายสำหรับตนเองอยู่ด้วยแล้ว โดยเฉพาะประโยดที่โจทก์กล่าวอ้าง
ในฟ้องว่าจำเลยได้บังอาจเบียดบังเงินของทางราชการ ฯลฯ ไป ก็แสดงให้
เห็นชัดถึงลักษณะของการกระทำโดยทุจริตของจำเลยคาลฎีกาจึงตัดสิ น
ว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามกฎหมาย (ฎีกาที่ ๖๙๕/
๒๕0๒ น. ๙๑๗) จำเลยเป็นเสมียนตราจังหวัด มีหน้ าที่รับจ่ายเก็บรักษา
เงินของที่ทำการปกดรองจังหวัดและเงินของทางราชการซึ่งมิได้อยู่ใน
หน้ าที่ของแผนกได จำเลยได้ยักยอกเงินค่าฌาปนกิจศพกำนั นผู้ใหญ่บ้าน
ศาลฎีกากล่าวว่า ความผิดตามมาตราละมาตรา มีลักษณะต่างกัน ความ
ผิดตามมาตรา ๑๔๗ เบียดบังตัวทรัพย์ที่อยู่ในหน้ าที่หรืออีกนั ยหนึ่ งเอาตัว
ทรัพย์นั้ นไปเป็นประโยชน์ ซึ่งตรงกับการกระทำของจำเลย ส่วนความผิด
ตามมาตรา ๑๕๑ ผู้กระทำมิได้เอาตัวทรัพย์ที่อยู่ในหน้ าที่ไว้เป็นประโยชน์
หรือเอาตัวทรัพย์นั้ นเสียหากแต่อาศัยหน้ าที่ที่ตนมีส่วน

13

เกี่ยวข้องกับทรัพย์อันใดอันหนึ่ ง หาประโยชน์ อื่นนอกเหนื อจากการเอา
ทรัพย์นั้ น

การกระทำของจำเลยจึงไม่ต้องด้วยมาตรา ๑๕๑ นอกจากนี้ เมื่อการก
ระทำของจำเลยเป็นผิดตามมาตรา ๑๔๗ ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว ก็ไม่เป็น
ความผิดตามมาตรา ๑๕๗ ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก อ้างฎีกาที่ ๑๑๘๔/๒๕0๕ น.
๑๑๖๔ (ฎีกาที่๖0๕/๒๕๑๑ น. ๖๔๓)

ความผิดตามมาตรา ๑๔๘
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) ใช้อำนาจในตำแหน่ งโดยมิชอบ
(๓) ข่มขืนใจ หรือจูงใจ
เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือให้บุคคลใดหามาให้
ประโยชน์ อื่นใด
(๕) แก่ตนเองหรือผู้อื่น

องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
คำว่า "ใช้อำนาจในตำแหน่ ง" หมายความว่าอำนาจเกี่ยวกับตำแหน่ ง
หน้ าที่ที่เป็นเจ้าพนั กงาน/ เช่นตำรวจใช้อำนาจในการจับกุม หรือเจ้า
พนั กงานศุลกากรใช้อำนาจในการตรวจคันของหนี ภาษีศุลกากรเป็นต้น
ถ้าเป็นการนอกตำแหน่ งหน้ าที่
เช่น เจ้าพนั กงานศุลกากรไปใช้อำนาจในการจับกุมผู้กระทำผิดอาญา
ซึ่งไม่เกี่ยวกับศุลกากร แม้จะข่มขืนใจให้เขามอบทรัพย์สินห้ตนก็ไม่เป็น
ความผิดตาม
คำว่า "โดยมิชอบ" หมายความว่า โดยไม่มีอำนาจที่จะทำได้ คือไม่มี
กฎหมายหรือระเบียบแบบแผนหรือดำสั่ งของทางราชการที่ชอบด้วย
กฎหมายให้ทำได้ถ้ามีอำนาจทำได้ เช่นเจ้าพนั กงานศุลกากรมีอำนาจ
เรียกเงินค่าล่วงเวลาตามระเบียบก็ไม่เป็นความผิด
คำว่า "ข่มขืนใจ" หมายความว่าบังคับใจให้เขาจำต้องยอม
คำว่า "ทรัพย์สิน" มีความหมายตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย
แพ่งฯ มาตรา ๑๓๘ ส่วน "ประโยชน์ " หมายความถึงประโยชน์ ทั้งใน
ลักษณะที่เป็นทรัพย์สินและในลักษณะที่ไม่เป็นทรัพย์สิน เช่น ให้ยกบุตรี
ให้ ให้ดูภาพยนตร์โดยไม่เสียค่าดูรับบุตรหลานของเจ้าพนั กงานเข้า
ทำงาน เป็นตัวอย่างซึ่งทรัพย์สินหรือ

14

ว่า "เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประการใด"
นั้ น แสดงให้เห็นว่า การข่มขืนใจหรือจูงใจต้องกระทำเพื่อประโยชน์
ให้" เป็นกรณีที่มีรัพย์สินหรือประโยชน์ อยู่แล้วส่วน "หามาให้" หมาย
กรณีที่เขายังไม่มีทรัพย์สินหรือประโยชน์ แต่ข่มขืนใจให้เขาหามาให้
เจ้าพนั กงานในเวลาภายหน้ า และดำดังกล่าวนี้ ประกอบคำว่า "ข่มขืน
ใจ" และคำว่า "จูงใจ" คือใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือ
ให้หามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์ ตำรวจชูราษฎรว่า ถ้ไมให้เงินแก่
ตำวจจะจับกุมฐานสงสัยว่าได้กระทำผิดฐานลักทรัพหรือถ้าผู้นั้ นยัง
ไม่มีเงินก็ให้หาเงินมาให้ในวันรุ่งขึ้น หรือตำรวจจูงใจราษฎรโดย
แสดงให้เป็นที่เข้าใจว่า ถ้าให้เงินจะไม่ถูกจับกุม เป็นต้น

ความผิดสำเร็จเมื่อข่มขืนใจหรือจูงใจ ส่วนผู้ถูกข่มขืนใจหรือจูงใจจะ
ได้กระทำตามที่ถูกข่มขืนใจหรือจูงใจหรือไม่ ๆ สำคัญ

ความผิดตามมาตรา ๑๔๙
องค์ประกอบภายนอก
เป็นเจ้าพนั กงาน สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด
หรือ สมาชิกสภาเทศบาล
(๒) กระทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้ (ก) เรียก (ข) รับ หรือ
ยอมจะรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด โดยมิชอบ
(๓) สำหรับตนเองหรือผู้อื่น
(๕) เพื่อกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่ ง
(๕) ไม่ว่าการนั้ นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้ าที่

องค์ประกอบภายในเจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
มาตรานี้ เพิ่มผู้กระทำผิดบางประเภทนอกเหนื อจาก "เจ้าพนั กงาน"
ขึ้นเป็นพิเศษซึ่งความจริงผู้กระทำความผิดนี้ หาใช่ "เจ้าพนั กงาน" ไม่
แต่กฎหมายเห็นว่าถ้าบุคคลประเภทนั้ น ๆรับสินบนแล้วอาจทำให้เกิด
ความเสียหายได้ เช่นเดียวกับเจ้าพนั กงานกระทำเพราะเป็นผู้ที่มา
อำนาจหน้ าที่สาธารณะ
คำว่า "สมาชิกสภานิ ติบัญญัติแห่งรัฐ" เป็นคำกลาง ๆเช่นในขณะใช้
รัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร หมายถึงสมาชิกสภาร่าง
รัฐธรรมนูญ ทั้สภาร่างรัฐธรรมนูญมีฐานะเป็นรัฐสภาด้วย ที่ใช้ดำ
กลาง ๆ เช่นนี้ เพราะต่อไปภายหน้ า

15

อาจมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเปลี่ยนจากระบบสองสภาไปใช้ระบบ
สภาเดียวแต่เปลี่ยนชื่อเป็น "สภาผู้แทนราษฎร" หรือเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น
ในปัจจุบันนี้ หมายถึงสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกผู้แทนตามรัฐธรรมนูญ
สำหรับองค์การท้องถิ่นนั้ น เมื่อมาตรานี้ จำกัดเฉพาะสมาชิกสภาจังหวัด
และสมาชิกสภาเทศบาลฉะนั้ นจึงขยายไปยังสมาชิกตำบลไม่ได้"เรียก"
หมายความว่า

เรียกทรัพย์สินหรือประโยชน์ จากผู้อื่นเพื่อให้เขา
มอบให้แก่ตน เพียงแต่ "เรียก"ความผิดก็สำเร็จบริบูรณ์ ภายหลังผู้ถูก
เรียกจะให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ ตามที่เรียกหรือไม่ไม่สำคัญ
"รับ"หมายความว่าได้การครอบครองทรัพย์สินหรือประโยชน์ มาแล้วจาก
"ยอมจะรับ" หมายความว่า ยอมจะรับสิ่งที่ผู้อื่นจะจัดหามาให้ในภายหน้ า
คือเขามาสัญญาจะให้ทรัพย์หรือประโยชน์ แก่จ้าพนั กงานในเวลาภายหน้ า
แล้วเจ้าพนั กงานยอมจะรับไว้ เพียงแต่แสดงออกมาภายนอกไม่ว่าโดยทาง
วาจา โดยทางหนั งสือ หรือโดยทางอื่นใดว่าตกลงจะรับทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์ มามอบให้ก็ไม่เป็นข้อสำคัญ

"ทรัพย์สิ น"
มีความหมายตามประมาลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา ๑๓๘
"ประโยชน์ " หมายความถึงประโยชน์ ทุกชนิ ด ไม่ว่าจะคำนวณเป็นราคาได้
หรือไม่ เช่นการเข้าฟังดนตรีที่เชิญเฉพาะบุคคลภายในวงอันจำกัดโดยไม่
เก็บค่าชม

คำว่า "โดยมิชอบ" ประกอบคำว่า "เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ อื่นใด" ซึ่งหมายความว่าโดยไม่มีอำนาจที่จะเรียก รับหรือ
ยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ นั้ น ๆ ได้ตามกูฎหมาย กฎข้อบังดับ
ระเบียบแบบแผนหรือคำสั่งของทางราชการที่ชอบด้วยกฎหมาย ตัวอย่าง
เจ้าพนั กงานศุลกากรเรียกเงินคำล่วงเวลาตามระเบียบของทางราชการ
ย่อมไม่เป็นความผิดตามมาตรานี้ เพราะมีอำนาจเรียกได้ จึงมิใช่เรียก
ทรัพย์สิ นโดยมิชอบ

คำว่า "เพื่อกระทำหรือไม่กระทำอย่างหนึ่ งอย่างใด" ตามมาตรานี้ ไม่ได้
แสดงถึงมูลเหตุชักจูงใจ แต่หมายถึงเป็นการตอบแทนกับการที่เจ้า
พนั กงานจะได้กระทำหรือไม่กระทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดในเวลาภายหน้ า
แต่ทั้งนี้ ต้องเกี่ยวกับ "ตำแหน่ ง" ของเจ้าพนั กงาน ถ้ารับไว้โดยไม่เกี่ยวข้อง
กับตำแหน่ งก็ไม่ผิดตามมาตรานี้ คำว่า "ไม่ว่าการนั้ นจะชอบหรือไม่ชอบตัห
หน้ าที่" นั้ นแสดงให้เห็นเจตนารมณ์ของกฎหมายที่จะไม่ยอมให้เจ้า

童พนั กงาน ฯลฯ รับทรัพย์สินหรือประโยชน์

16

เพื่อกระทำการในตำแหน่ งของเจ้าพนั กงาน ฯลฯ ทั้งนั้ น ไม่ว่าการรับ
หรือการยอมจะรับเพื่อกระทำ หรือไม่กระทำการนั้ น จะเป็นการชอบหรือ
ไม่ชอบด้วยหน้ าที่

ความผิดตามมาตรา ๑๕o
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) กระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่ ง
องค์ประกอบภายในเจตนาธรรมดา
(๑) โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด
(๒) มูลเหตุชักจูงใจเรียกรับหรือยอมจะรับไว้ ก่อนที่ตนจะได้รับแต่งตั้ง
เป็นเจ้าพนั กงานในตำแหน่ งนั้ น
คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาโทษแก่เจ้าพนั กงานซึ่งได้เรียกรับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ อื่นใดไว้ก่อนที่ตนจะได้รับแงตั้งเป็นเจ้าพนั กงานตำแหน่ ง
นั้ น ๆ
หมายความถึงกรณีสองกรณี คือ
(๑)ยังไม่เคยได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ งนั้ น ๆ มาก่อนเลย หรือ
(๒) ได้รับแต่งตั้งมาแล้วแต่ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่ งอื่น
แต่เจ้าพนั กงานรู้ว่าจะได้รับแต่งตั้งในตำแหน่ งนั้ นในภายหลัง
การที่เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ เพียงเท่านี้ ยังไม่
เป็นผิดตามมาตรานี้ เพราะได้เรียกรับหรือยอมจะรับตั้งแต่ยังไม่ได้ดำ
แหน่ งเป็นเจ้าพนั กงานจะเป็นผิดตามมาตรานี้ ก็ต่อเมื่อเจ้าพนั กงาน
กระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่ ง
โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์ นั้ น ๆ ในเมื่อได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า
พนั กงานแล้ว ถ้าเจ้าพนั กงานกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดใน
ตำแหน่ งโดยไม่ได้เห็นแก่การเรียก รับ หรือตกลงจะรับทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์ นั้ น เจ้าพนั กงานไม่มีความผิด เช่น รับทรัพย์สินไว้
โดยไม่มีเจตนาที่จะกระทำตามผู้ให้ทรัพย์สินร้องขอ แต่ภายหลังได้
กระทำไป เพราะตามระเบียบแบบแผ่นของทางราชการก็จะต้องกระทำ
เช่นนั้ นอยู่แล้ว เป็นตัน นอกจากนี้ ถ้เจ้าพนั กงานกระทำหรือไม่กระทำ
โดยไม่เกี่ยวกับตำแหน่ งความหมายของถ้อยคำให้เทียบดูตามมาตรา
ก็ไม่ผิดเช่นเดียวกันซึ่งตนได้

17

ิ องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ใดๆใช้อำนาจในตำแหน่ ง
(๔) อันเป็นกาารเสียหายแก่รัฐ

องค์ประกอบภายในเทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์
(๑) เจตนาธรรมดามูลเหตุชักจูงใจโดยทุจริต

คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาผิดแก่เจ้าพนั กงานเมื่อเข้าองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (๑) ใช้
อำนาจในตำแหน่ งโดยมีมูลเหตุชักจูงใจทุจริต (คือเพื่อแสวงหาผล
ประโยชน์ อันมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่นตาม
มาตรา๑ (๑) ดูคำบรรยายอาญา * ประกอบ) (๒)การใช้อำนาจในดำแหน่ ง
นั้ นต้องเกี่ยวข้องกับหน้ าที่ที่เจ้าพนั กงานเป็นผู้ซื้อ ทำจัดการ หรือรักษา
ทรัพย์ใดๆว่าการใช้อำนาจในตำแหน่ งจะต้องกระทำโดยวิธีใดข้อสำคัญก็
คือต้องอยู่ในมาตรานี้ ไม่จำกัดตำแหน่ งของเจ้าพนั กงาน (๓)การใช้อำนาจ
นั้ นต้องเป็นการเสียหายแก่รัฐ เทศบาลสุขาภิบาล หรือเจ้าของทรัพย์นั้ น
และ (๔) ได้กระทำการดังกล่าวโดยเจตนาทรัพย์ตามมาตรานี้ จะเป็นของ
ทางราชการหรือเอกชนก็ไม่เป็นข้อสำคัญความผิดสำเร็จ เมื่อเกิดความ
เสียหายแก่รัฐเทศบาล สุขาภิบาล หรือเจ้าของทรัพย์มิฉะนั้ นอาจเป็น
ความผิดฐานพยายาม
ความผิดตามมาตรา ๑๕๑
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่จัดการ หรือดูแลกิจการใด
(๓) เข้ามีส่วนได้เสียเนื่ องด้วยกิจการนั้ น

องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุซักจูงใจ
เพื่อประโยชน์ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น

18

คำอธิบาย
ในที่นี้ หมายถึงทั้งกิจการ
คำว่า "มีหน้ าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด"ของทางราชการและของ
เอกชนทั้งนี้ แล้วแต่ว่าหน้ าที่ของเจ้าพนั กงานนั้ นจะเป็นผู้จัดการหรือดูแล
กิจการของทางราชการหรือเอกชนต้องได้กระทำโดยมูลเหตุชักจูงใจคือ
เพื่อหาประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ถ้กระทำการเข้ามามีส่วนได้เสีย
หมายถึงการเข้าร่วมมีส่วนได้เสียในกิจการนั้ นเพื่อประโยชน์ ให้แก้รัฐ หรือ
ทบวงการเมืองซึ่งตนสังกัดอยู่ หรือเพื่อประโยชน์ ของบุดคลที่ตนจัดการ
หรือดูแลกิจการ ย่อมไม่ผิด ตัวอย่างเช่น เจ้าพนั กงานมีหน้ าที่ขัดการซื้อ
ของกลับเป็นผู้ขายของนั้ นให้แก่ทางราชการเสียเองหรือเข้าหุ้นกับผู้อื่นซึ่ง
ขายของนั้ นให้ทางราชการมาตรานี้ มีเจตนารมณ์ที่จะไม่ให้เจ้าพนั กงาน
เข้าไปเข้าเกี่ยวข้องหาผลประโยชน์ กับกิจการที่ตนมีหน้ าที่จัดการหรือดูแล
เพราะเจ้าพนั กงานอาจดำเนิ นการเข้าข้างตนเองได้ ความผิดนี้ สำเร็จเมื่อ
เข้าไปมีส่วนได้เสีย ส่วนในเวลาภายหลังผู้กระทำจะได้ผลประโยชน์ อัน
แท้จริงจากการนั้ นหรือไม่ไม่สำคัญ
เช่นแม้ภายหลังการเข้ามีส่ วนได้เสี ยจะขาดทุนก็ยังเป็นความผิด

ความผิดตามมาตรา๑๕๓
องค์ประกอบภายนอก
( ๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่จ่ายทรัพย์
(๓) จ่ายทรัพย์นั้ นเกินกว่าที่ควรจ่าย
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจเพื่อประโยชน์ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น
คำอธิบาย
มาตรานี้ จะเอาผิดก็ต่อเมื่อเป็นกรณีจ่ายทรัพย์เกินกว่าที่ควรจ่าย คือจ่าย
เกินกว่าที่มีหน้ าที่จะต้องจ่ายตามกฎหมายหรือตามสัญญา ถ้าจ่ายทรัพย์
น้ อยกว่าที่ควรจ่ายย่อมไม่เป็นความผิด นอกจากนี้ เจ้าพนั กงานต้องรู้ว่า
ตนจำยทรัพย์เกินกว่าที่ควรจ่ยมิฉะนั้ นเจ้พนั กงานก็ไม่ได้กระทำโดย
เจตนา (ดูมาตรา ๕๙ วรรด ๓) อนึ่ งจะต้องปรากฏว่เจ้าพนั กงานจะต้องจำย
ไปโดยมีมูลเหตุชักจูงใจ คือเพื่อประโยชน์ สำหรับตนเอง

19

หรือผู้อื่นด้วย ถ้าจ่ายไปเพื่อประโยซน์ ของรัฐบาลเป็นทำนอง "ขนทรายเข้า
วัด" ก็ไม่เป็นความผิด

ความผิดตามมาตรา ๑๕๔
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่หรือแสดงตนว่ามีหน้ าที่เรียกเก็บ หรือตรวจสอบภาษีอากรค่า
ธรรมเนี ยมหรือเงินอื่นใด
(๓) กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้ (ก) เรียกเก็บหรือละเว้นไม่เรียก
เก็บภาษีอากร ด่าธรรมเนี ยมหรือเงินนั้ น หรือ (ข) กระทำการหรือไม่กระทำ
การอย่างใด
(๔)เพื่อให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมนั้ นมิต้องเสีย หรือเสีย
น้ อยไปกว่าที่ต้องเสีย

องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ โดยทุจริต

คำอธิบาย
มาตรานี้ บัญญัติความผิดสำหรับเจ้าพนั กงานที่มีหน้ าที่เรียกเก็บหรือ
ตรวจ
สอบภาษีอากร ค่าธรรมเนี ยม หรือเงินอื่นใด หรือแม้จะไม่มีหน้ าที่ดังกล่าว
แด่
เจ้าพนั กงานได้แสดงแก่บุคคลอื่นว่าตนมีหน้ าที่ดังกล่าว มาตรานี้ ผิดกับ
มาตราอื่นในหมวดนี้ เพราะความผิดตามมาตราอื่นนั้ นจะเป็นความผิดต่อเมื่อ
เจ้าพนั กงานนั้ นมีหน้ าที่จริง ๆ เพียงแสดงว่ามีหน้ าที่ไม่เป็นความผิดส่วน
ลักษณะของการกระทำมีดังนี้
(๑) เรียกเก็บภาษีอากร ด่าธรรมเนี ยมหรือเงินอื่นใด โดยมีมูลเหตุชักจูงใจ
ทุจริต ซึ่งหมายถึงกรณีที่เขาไม่ควรจะเสียภาษี ฯลฯ ดามกฎหมายแต่ไปเรียก
เก็บ
จากเขาโดยทุจริต (ความหมายของคำว่า "ทุจริต" ดูมาตรา (๑))
(๒) ละเว้นไม่เรียกเก็บภาษีอากร ด่าธรรมเนี ยม หรือเงินอื่นใดโดยทุจริต
ซึ่งหมายถึงกรณีที่เขามีหน้ าที่ต้องเสียภาษี ฯลฯ ตามกฎหมายอยู่แล้วไม่เรียก
เก็บภาษีฯลฯ จากเขาโดยมีมูลเหตุชักจูงใจทุจริด
(๓) กระทำการอย่างใด เพื่อให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากร หรือค่ธรรมเนี ยม
มิต้องเสียหรือเสียน้ อยกว่าที่จะต้องเสียโดยมีมูลเหตุชักจูงใจทุจริต เช่น
แนะนำให้เขา

20

กรอกแบบภาษีเงินได้โดยไม่ตรงต่อความจริง เพื่อให้เขาเสียภาษีน้ อยห
รือไม่ต้องเสี ย
(๔) ไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากร หรือค่า
ธรรมเนี ยมมิต้องเสีย หรือเสียน้ อยกว่าที่จะต้องเสีย โดยมีมูลเหตุชักจูง
ใจทุจริต เช่นเจ้าพนั กงานเห็นราษฎรประเมินภาษีผิด ควรเรียกเก็บภาษี
เพิ่ม แต่กลับเพิกเฉยไม่เก็บภาษีเพิ่ม

ความผิดตามมาตรา ๑๕๕
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่กำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้าใด ๆ เพื่อเรียกเก็บภาษี
อากรหรือค่าธรรมเนี ยมตามกฎหมาย
(๓) กำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้านั้ น เพื่อให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากร
หรือค่าธรรมเนี ยมนั้ นมิต้องเสียหรือเสียน้ อยไปกว่าที่ต้องเสีย

องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ โดยทุจริด

คำอธิบาย
มาตรานี้ บัญญัติขึ้นใหม่เพื่อป้องกันมิให้เจ้าพนั กงานช่วยเหลือราษฎรไม่
ให้เสียภาษีหรือให้เสียภาษีน้ อยลง โดยเอาผิดแก่เจ้าพนั กงานที่มีหน้ าที่
ตีราคาทรัพย์สินหรือสินค้า เช่นเจ้าพนั กงานศุลกากรตีราดาสินค้าเข้า
เพื่อเก็บอากรขาเข้า ซึ่งมาตรานี้ ใช้

คำว่า "กำหนดราคาทรัพย์สิน หรือสินค้าใดๆ เพื่อเรียกเก็บภาษีอากร
หรือค่าธรรมเนี ยม"กล่าวคือเป็นกรณีที่เจ้าพนั กงานได้กำหนดราดา
ทรัพย์สินหรือสินค้านั้ นเพื่อให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยม
นั้ นมิต้องเสียหรือเสียน้ อยไปกว่าที่ต้องเสีย เช่น ของราคาแพงแต่เจ้า
พนั กงานตีราคาถูกจะได้ไม่ต้องเสียภาษีหรือเสียภาษีน้ อยลงเป็นต้น

ในส่วนที่เกี่ยวกับเจตนา ผู้กระทำจะต้องรู้ว่าการที่ตนกำหนดราดา
ทรัพย์สินหรือสินค้าอันมีผลทำให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากรหรือค่า
ธรรมเนี ยมไม่ต้องเสีย หรือเสียน้ อยไปกว่าที่จะต้องเสีย ถ้าเจ้าพนั กงาน
สำคัญผิดในราคาทรัพย์สิ นหรือสิ นค้าก็ไม่มีผิด
(ดูมาดรา ๕๔ วรรค ๓ ) นอกจากนี้ เจ้าพนั กงานยังต้องได้กระทำไปโดย
มูลเหตุชักจูงใจทุจริตอีกด้วย ความหมายของคำว่า "ทุจริต" ดูมาตรา ๑
(๑)

21

ความผิดสำเร็จเมื่อได้มีการกำนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้า ส่วนใน
เวลาภายหลังผู้มีหน้ าที่เก็บภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมจะไม่ต้องเสีย
ภาษีหรือเสียน้ อยลงหรือไม่ไม่สำคัญ

ความผิดตามมาตรา ๑๕๖
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย
(๓ ) แนะนำหรือกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้มีการ
ละเว้นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรือ
ซ่อนเร้นหรือทำหลักฐาน
ในการลงบัญชี
(๔) อันจะเป็นผลให้การเสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมนั้ นมิต้องเสีย
หรือเสียน้ อยกว่าที่ต้องเสีย
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ โดยทุจริต

คำอธิบาย
มาตรานี้ บัญญัติขึ้นสำหรับลงโทษเจ้าพนั กงานตรวจสอบบัญชีที่
กระทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดต่อไปนี้ คือ
(๑) แนะนำราษฎรโดยมีมูลเหตุชักจูงใจทุจริต เพื่อให้มีการละเว้นการ
ลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรือซ่อนเร้น
หรือทำหลักฐานในการลงบัญชี ซึ่งหมายความว่าเจ้าพนั กงานไม่ได้
กระทำเอง แต่ได้แนะนำให้
ราษฎรกระทำ เพียงที่แนะนำให้กระทำหรือไม่กระทำดังกล่าวก็เป็น
ความผิดสำเร็จ
(๒)กระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดโดยมีมูลเหตุชักจูงใจทุจริต เพื่อ
ให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไข
บัญชี หรือซ่อนเร้นหรือทำหลักฐาน
การลงบัญชี ซึ่งหมายถึงเจ้าพนั กงานกระทำหรือไม่กระทำโดยตนเอง
การกระทำตาม (๑) หรือ (๒) จะต้องเข้าถึงลักษณะอันเป็นผลให้การ
เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยมนั้ นไม่ต้องเสียหรือเสียน้ อยกว่าที่จะ
ต้องเสีย ส่วนภายหลังราษฎรจะไม่เสียค่าภาษีอากรหรือค่าธรรมเนี ยม
หรือเสียน้ อยลงหรือไม่ไม่สำคัญ

22

ความผิดตามมาตรา ๑๕๗
ความผิดที่ ๑
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) ปฏิบัติหรือละเวันการปฏิบัติหน้ าที่โดยมิชอบ
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใด
ความผิดที่ ๒
คำอธิบาย
มาตรานี้ เป็นมาตรากวาดกอง กล่าวคือการกระทำต่าง ๆ ของเจ้า
พนั กงานถ้าไม่เป็นความผิดเฉพาะเรื่องก็มักจะเป็นผิดตามมาตรานี้ ซึ่ง
บัญญัติการกระทำไว้สองประการ ดังต่อไปนี้
(๑) ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้ าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสีย
หายแก่ผู้หนึ่ งผู้ใด คำว่า "โดยมิชอบ" หมายความถึงโดยมิชอบด้วย
หน้ าที่ ซึ่งเจ้าพนั กงานมีอยู่ตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ คำสั่งของคณะ
วัฐมนตรี คำสั่งของผู้บังคับบัญชา หรือระเบียบแบบแผนของทาง
ราชการ ซึ่งออกได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ความสำคัญอยู่ที่มูลเหตุชักจูง
ใจ คือ ต้องกระทำเพื่อแกล้งให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น อนึ่ ง ความ
เสียหายในที่นี้ ไม่จำกัดเฉพาะความเสียหายในทางทรัพย์สินเท่านั้ น แต่
หมายความถึงความเสียหายทุกทาง เช่นความเสียหายแก่ชื่อเสียงหรือ
เสียหายต่อเสรีภาพ เป็นต้นซึงเป็นกรณีที่เจ้าพนั กงานมีเจตนาจะแกลัง
ผู้อื่น
(๒) ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้ าที่โดยทุจริต คือได้ปฏิบัติหรืองด
เว้นการปฏิบัติหน้ าที่โดยมีมูลเหตุชักจูงใจที่จะแสวงหาประโยชน์ ที่มิ
ควรได้โดยชอบด้วย

23

กฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่น ซึ่งเป็นกรณีที่เจ้าพนั กงานหา
ประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นอันเป็นประโยชน์ ที่มิควรได้โดยการ
ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้ าที่ส่วนภายหลังเจ้าพนั กงานจะได้
ประโยชน์ เพื่อตนเองหรือผู้อื่นหรือไม่ไม่สำคัญคดีได้ความว่าโจทก์ซึ่ง
เป็นบุดคลอื่นจะเข้าไปบูรณะซ่อมแซมหลังคาวิหารของวัดโดยพลการ
จำเลยซึ่งเป็นเจ้าอาวาสได้ห้ามปรามศาลฎีกาตัดสิ นว่าการที่โจทก็จะ
เข้าไปบูรณะวิหารโดยพลการถือว่าเป็นการกระทำมิชอบ เจ้าอาวาสจึง
มีอำนาจที่จะห้ามปรามการกระทำของโจทก์ได้ไม่ใช่เป็นเรื่องที่จำเลย
ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้ าที่โดยมิชอบตามมาตรา ๑๕๗ (ฎีกาที่
๗๖๓/๒๕๑๓ น. ๑๐๙๔)หมายเหตุ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.
๒๕.๕ เจ้าอาวาสเป็นเจ้าพนั กงาน

ความผิดตามมาตรา ๑๕๘
องค์ประกอบภายนอก

(๑)เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) ทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำให้สูญหายหรือ
ทำให้ไร้ประโยชน์ หรือยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ นซึ่งทรัพย์หรือ
เอกสารใดอันเป็นหน้ าที่ของตนที่จะปกครองหรือรักษาไว้
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

คำอธิบาย
การกระทำตามมาตรานี้ เป็นเรื่องเจ้าพนั กงานทำให้เสียทรัพย์ ความ
หมายของการกระทำต่าง ๆ ตามมาตรานี้ ให้เทียบดูคำอธิบายมาตรา
๓๕๘ เรื่องความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์

คำว่า "ซ่อนเร้น" หมายความว่าเอาทรัพย์หรือเอกสารไปไว้ที่อื่น ซึ่ง
ไม่ใช่ที่ที่เอกสารหรือทรัพย์อยู่หรือดวรอยู่ตามปกติ เพื่อให้หาไม่พบ
หรือยากแก่การดันหามาตรานี้ เอาผิดเมื่อเจ้าพนั กงานกระทำเอง หรือ
ยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ นทรัพย์หรือเอกสารที่เจ้าพนั กงานกระทำ
จะต้องเป็นทรัพย์หรือเอกสารที่เจ้าพนั กงานมีหน้ าที่ที่จะปกครองหรือ
รักษา ส่วนทรัพย์หรือเอกสารจะเป็นของทางราชการหรือของเอกชนก็
ไม่เป็นข้อสำคัญในส่ วนที่เกี่ยวกับการทำให้เสี ยหายทำลายและทำให้
ไร้ประโยชน์ ความผิดตามมาตรานี้ เป็นความผิดพิเศษ ซึ่งต้องมาหน้ า
มาตรา ๓๕๘

24

ความผิดตามมาตรา ๑๕๙
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่ดูแล รักษาทรัพย์หรือเอกสารใด
(๓) กระทำการอันมิชอบด้วยหน้ าที่
(๔) โดยถอน ทำให้เสียหายทำลายหรือทำให้ไร้ประโยชน์ ห
ยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ นซึ่งตราหรือเครื่องหมายอันเจ้าพนั กงาน
ได้ประทับหรือหมายไว้ที่หรือเอกสารนั้ น ในการปฏิบัติการตามหน้ าที่
เพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนั้ น
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

คำอธิบาย
การกระทำตามมาตรานี้ ให้เทียบดูคำอธิบายมาตรา ๑๕๘
เป็นแต่แทนที่เจ้าพนั กงานจะกระทำต่อทรัพย์หรือเอกสาร ได้กระทำต่อ
ตราหรือเครื่องหมาย ซึ่งจะเป็นตราหรือเครื่องหมายของทางราชการ
หรือไม่ใช่ก็ได้ ความสำคัญอยู่ที่การประทับหรือหมายไว้นั้ นกระทำโดย
เจ้าพนั กงาน เพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรือรักษาทรัพย์
หรือเอกสารนั้ น ๆ คำว่า "ถอน" หมายความว่าทำให้หลุดไป ความหมาย
ของการกระทำอย่างอื่น ให้ดูดำอธิบายมาตรา ๓๕๘
การกระทำตามมาตรานี้ เจ้าพนั กงานจะกระทำเองหรือยินยอมให้ผู้อื่น
กระทำก็เป็นความผิด สำหรับผู้อื่นนั้ นมีผิดตามมาตรา ๑๔๑
ความผิดตามมาตรานี้ สำเร็จเมื่อได้ถอนทำให้เสียหาย ทำลาย หรือทำให้
ไร้ประโยชน์ หรือเมื่อได้ยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ นและผู้อื่นก็ได้
กระทำการดังกล่าว

ความผิดตามมาตรา ๑๖๐
องค์ประกอบภายนอก
เป็นเจ้าพนั กงาน
มีหน้ าที่ทำเอกสารรักษาหรือใช้ดวงตราหรือรอยตราของราชการหรือ
กระทำการอันมิชอบด้วยหน้ าที่
โดยใช้ดวงดราหรือรอยตรานั้ น หรือโดยยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ น
ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสี ยหาย
ของผู้อื่น

25

องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
"ดวงตรา" หมายถึงแท่นตราที่แกะบนงาช้าง หรือยาง หรือไม้
"รอยตรา" หมายถึงรอยที่เกิดจากการเอาควงตรามาประทับ
การที่เจ้าพนั กงานใช้ดวงตราหรือรอยตราของราชการหรือผู้อื่น หรือ
ยินยอม
ให้ผู้อื่นใช้ ถ้าไม่อาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหายก็ไม่เป็นความผิด แต่
ถ้าใช้
ดวงตราหรือรอยตรของทางราชการหรือของผู้อื่น อันตนมีหน้ าที่รักษา
หรือใช้และการกระทำนั้ นเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยหน้ าที่ ถ้าการกระทำ
นั้ นอาจเกิดเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชนก็เป็นดวามผิดแล้ว เจ้าพนั กงาน
จะทราบว่า การใช้หรือยอมให้ผู้อื่นใช้ดวงตราหรือรอยตราดังกล่าว อาจ
ทำให้ผู้อื่น หรือประชาชนเสียหายหรือไม่ไม่เป็นข้อสำคัญ
คำว่า "มิชอบด้วยหน้ าที่" หมายความว่าไม่ชอบด้วยหน้ าที่ ซึ่งเจ้า
พนั กงานมีอยู่ตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ คำสั่งของคณะรัฐมนตรี คำสั่ง
ของผู้บังคับบัญชาและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ซึ่งออกได้โดย
ชอบด้วยกฎหมาย
ความผิดตามมาตรา ๑๖๑
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒ ) มีหน้ าที่ทำเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสาร หรือดูแลรักษา
เอกสาร
(๓) กระทำการปลอมเอกสาร
(๔) โดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้ าที่นั้ น

องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาโทษแก่เจ้าพนั กงานผู้ปลอมเอกสาร
ความหมายของการ
"ปลอมเอกสาร" ให้ดูมาตรา ๒๖๔
แต่เจ้าพนั กงานจะผิดตามมาตรานี้ ต่อเมื่อตนเองมีหน้ าที่ทำเอกสารกรอก
ข้อความในเอกสารหรือดูแลรักษาเอกสาร ทั้งต้องกระทำการปลอม
เอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้ าที่นั้ นด้วย

26

ความผิดตามมาตรา ๑๖๒
องค์ประกอบภายนอก
(๑)เป็นเจ้าพนั กงานรับเอกสาร
(๒) มีหน้ าที่ทำเอกสารหรือกรอกข้อความในเอกสาร
(๓ ) กระทำการตั้งต่อไปนี้ ในการปฏิบัติการตามหน้ าที่
หรือว่า(ก)รับรองเป็นหลักฐานว่าตนได้กระทำการอย่างใดขึ้น
การอย่างใดได้กระทำต่อหน้ าน อันเป็นความเท็จ(ข ) รับรองเป็นหลัก
ฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่งข้อความอันมิได้มีการแจ้งหรือจดเปลี่ยนแปลง
(ค)ละเว้นไม่จดข้อความซึ่งตนมีหน้ าที่ต้องจดข้อความเช่นว่านั้ นรับรอง
เป็นหลักฐานซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกสารนั้ นมุ่งพิสูจน์ ความจริง
อันเป็นความเท็จ
องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาผิดกับเจ้าพนั กงานที่มีหน้ าที่ทำเอกสารรับเอกสารหรือ
กรอกข้อความลงในเอกสาร < ประการด้วยกัน คือข้อ (ก)รับรองเป็น
หลักฐาน ตือทำไว้เป็นพยานเอกสารว่า เจ้าพนั กงานได้กระทำการอย่าง
ใดขึ้นซึ่งเป็นความท็จ หรือรับรองว่าการกระทำอย่างใต
เช่นการจดทะเบียนสมรสได้กระทำต่อหน้ าตนอันเป็นความเท็จ
ข้อ (ข)รับรองเป็นหลักฐานว่าได้มีการแจ้งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง
พนั กงานสอบสวนจดลงในสมุดประจำวันว่าผู้เสียหายได้มาร้องทุกข์ ซึ่ง
เป็นความเท็จข้อ (ค) มี ๒ การกระทำกล่าวคือ ( ๑) ละเว้นไม่จดข้อความ
ซึ่งตนมีหน้ าที่ต้องรับจด ซึ่งหมายความว่าเขามาแจ้งข้อความที่ควรจด
กลับไม่จด หรือ (๒)จดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้ น คือ เขามาแจ้ง
อย่างหนึ่ งจดลงไปอีกอย่างหนึ่ งข้อ (ง) รับรองเป็นหลักฐานซึ่งข้อเท็จ
จริงและซึ่งเอกสารนั้ นมุ่งพิสูจน์ ความจริงอันเป็นความเท็จ
ในส่วนที่เกี่ยวกับ "ความเท็จ" จะต้องปรากฏว่าเจ้าพนั กงานเองก็ไทราบ
ว่าเป็นความเท็จ จึงจะถือว่าเจ้าพนั กงานมีเจตนากระทำความผิด (ดูมาด
รา ๕๙ วรรถ ๓)

27

ความผิดตามมาตรา ๑๖๓
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่ในการไปรษณีย์ โทรเลขหรือโทรศัพท์
(๓) กระทำการอันมิชอบด้วยหน้ าที่ดังต่อไปนี้
(ก) เปิด หรือยอมให้ผู้อื่นเปิดจดหมาย หรือสิ่งอื่นที่ส่งทาง
ไปรษณีย์หรือโทรเลข(ข) ทำให้เสียหายทำลาย ทำให้สูญหายหรือ
ยอมให้ผู้อื่นทำให้เสียหาย ทำลาย หรือทำให้สูญหาย ซึ่งจดหมาย
หรือสิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์หรือโทรเลข(ค) กัก ส่งให้ผิดทาง
หรือส่งให้แก่บุดคล ซึ่งรู้ว่ามิใช่เป็นผู้ควรรับซึ่งจดหมายหรือสิ่งอื่น
ที่ส่งทางไปรษณีย์หรือโทรเลข(ง) เปิดเผยข้อความที่ส่งทาง
ไปรษณีย์ ทางโทรเลขหรือทาง
โทรศัพท์
องค์ประกอบภายในเจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
มาตรานี้ เอาผิดกับเจ้าพนั กงาน
ซึ่งมีหน้ าที่ในการไปรษณีย์โทรเลขหรือ
โทรศัพท์ไม่ว่าเจ้าพนั กงานจะสังกัดกระทรวงทบวงกรมใด
ข้อ (ก) คำว่า "ผู้อื่น" หมายถึงผู้ไม่มีสิทธิรับจดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่ง
ทางไปรษณีย์ หรือโทรเลขข้อ (ข) ความหมายของการกระทำให้
เทียบดูคำอธิบายมาตรา ๓๕๘ข้อ (ค ) คำว่า "ส่งให้ผิดทาง"
หมายความถึงส่งให้ผิดสถานที่ที่ควรส่งข้อ (ง) คำว่า "เปิดเผย" อาจ
กระทำโดยผู้กระทำเองไม่รู้ข้อความก็ได้
เช่น ผู้กระทำอ่านภาษาอังกฤษไม่ออก แด่เอาข้อความที่เขียนเป็น
ภาษาอังกฤษไปเปิดเผยโดยให้ผู้อื่นอ่าน เป็นต้น
ความผิดตามมาตรา ๑๖๔
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงานรู้หรืออาจรู้ความลับในราชการ

28

(๓) กระทำโดยประการใด ๆ อันมิชอบด้วยหน้ าที่ให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับ
นั้ น

องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
คำว่า "อาจรู้ความลับในราชการ" หมายถึงบุดคลที่อยู่ในฐานะที่อาจรู้
คำอธิบาย
ความลับได้ เช่นเป็นผู้ปกครองรักษาเอกสารอันปกปิดไว้เป็นความลับ
แต่เจ้าตัวเองอาจไม่รู้ก็ได้ เช่นเป็นเพราะยังไม่ได้อำานเอกสารนั้ น หรือ
เป็นเอกสารภาษาต่างประเทศซึ่งตนเองอ่านเอกสารนั้ นไม่ออก
"กระทำให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับ" อาจจะกระทำโดยดนเองไม่ได้ล่วงรู้ความ
ลับด้วยก็ได้ เช่นส่งข้อความอันเป็นความลับไปให้บุคคลอื่นทั้ง ๆ ที่ยังอยู่
ในซองปิดผนึ ก หรืออาจกระทำโดยดนเองล่วงรู้ความลับมาก่อนก็ได้
ความผิดสำเร็จเมื่อผู้อื่นล่วงรู้ความลับนั้ นแต่ผู้กระทำต้องรู้ว่า สิ่งที่ตน
กระทำให้ผู้อื่นล่วงรู้นั้ นเป็นดวามลับในราชการ(มาตรา ๕๙ วรรด ๓) มิ
ฉะนั้ นผู้กระทำย่อมมิได้กระทำโดยเจตนา
ความผิดตามมาตรา ๑๖๕
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) มีหน้ าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือดำสั่งซึ่งได้สั่งเพื่อ
บังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย
(๓) ป้องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมายหรือคำสั่งนั้ นองค์
ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา
คำอธิบาย
เพียงที่เจ้าพนั กงานงดเว้นไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งซึ่งได้รับเพื่อ
บังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายยังไม่ผิดตามมาตรานี้ (แต่อาจผิดทาง
วินั ยได้) เจ้าพนั กงานจะผิดตามมาตรานี้ ก็ต่อเมื่อได้กระทำการซึ่ง
เป็นการป้องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมายหรือดำสั่งนั้ น
ทั้งๆ ที่ตนมีหน้ าที่ๆ จะปฏิบัติการให้เป็นไปดามกฎหมาย
หรือคำสั่งนั้ นในส่วนที่เกี่ยวกับคำสั่งนั้ นจะต้องปรากฏว่าผู้ออกคำสั่งมี
อำนาจที่จะสั่งได้ตามกฎหมาย ซึ่งหมายความว่ามีกฎหมายบัญญัติให้ออก
ได้ ทั้งต้องเป็นคำสั่งเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายด้วย

29

ความผิดตามมาตรา ๑๖๖
องค์ประกอบภายนอก
(๑) เป็นเจ้าพนั กงาน
(๒) ละทิ้งงานหรือกระทำการอย่างใด ๆ
(๓) โดยร่วมกระทำการเช่นนั้ นด้วยกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป
องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาธรรมดา
(๒) มูลเหตุชักจูงใจ เพื่อให้งานหยุดชะงักหรือเพื่อให้งานเสียหาย
วรรคสอง เป็นเหตุเพิ่มโทษในกรณีที่ผู้กระทำได้กระทำการตาม
วรรคแรก แต่โดยมูลเหตุชักจูงใจอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
(๑) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน
(๒) เพื่อบังคับรัฐบาล หรือ
(๓) เพื่อข่มขู่ประชาชน
คำอธิบาย
วรรคแรก ห้ามมิให้เจ้าพนั กงานละทิ้งงานหรือกระทำการใดในเมื่อ
มีมูลเหตุชักจูงใจที่จะให้งานหยุดชะงักหรือให้งานเสียหาย คำว่า
"ร่วมกระทำการ" หมายความว่าได้ตกลงกันที่จะกระทำการนั้ น ๆ
ร่วมกัน ถ้าต่างคนต่างละทิ้งงานหรือกระทำอย่างใดเพื่อให้งานหยุด
ชะงักหรือเสียหาย หาเป็นความผิดตามมาตรานี้ ไม่วรรคสอง เอาโทษ
สูงขึ้น เพราะเป็นกรณีที่เจ้าพนั กงานได้เอาการละทิ้งงานหรือ
การกระทำใด ๆ มาใช้เป็นเครื่องมือในทางการเมือง กล่าวคือ ได้
กระทำความผิดโดยมีมูลเหตุชักจูงใจดังที่ระบุไว้ในวรรดสองของ
มาตรานี้ ความหมายของมูลเหตุชักจูงใจต่าง ๆ ที่มาตรานี้ กำหนดไว้
ให้เทียบดูดำอธิบายมาตรา ๑๑๗

บรรณานุกรม

หยุด แสงอุทัย.(2548).กฎหมายอาญา ภาค 2-3.(พิมพ์ครั้งที่10).สำนักพิมพ์
มหาลัยวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เพิ่มหัวเรื่องย่อย


Click to View FlipBook Version