หอผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาลศรีน รี ครินริทร์ กรรมการพัฒนาคุณภาพ งานการพยาบาลจักษุ โสต จิตเวช และตรวจวินิวินิจฉัยพิเศษ แนวทางการป้องกันพลัดตก หกล้มในผู้ป่วยจิตเวช
วัตถุประสงค์ ทบทวนหน้าที่และเเนวทางการดูเเลผู้ป่วย เพื่อป้องกันพลัดตกหกล้ม
ความสำ คัญในการเฝ้าระวังพลัดตกหกล้ม
BREAKING NEWS คร.เผยคนไทยตายจากการ "พลัดตกหกล้ม" สูงปีละ 1,600 คน สูงเป็นอันดับ 2 รองจากอุบัติเหตุ ห่วงแนวโน้ เพิ่มขึ้น ขึ้ อย่างต่อเนื่อง ในผู้สูงอายุ
การพลัดตกหกล้ม เป็นความเสี่ยงสำ คัญที่ต้องเฝ้าระวัง เพราะถ้าเกิดหกล้มแล้วอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบ ตามมามากมายทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม เกิดการบาดเจ็บ กังวลใจ กลัว อาจต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น ภาระการดูแลมากขึ้น เกิดความเสียความมั่นใจกับทีมผู้ดูแล
จากการศึกษาอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม (เป้าหมาย < 0.5/1000 วันนอน) อัตราการหกล้ม ปี 2563=1.54 ปี 2564=0.41 ปี ปี 2565 = 1.17 ปี 2566 = 0.76
ปัจจัยความเสี่ยง ที่ทำ ให้เกิดพลัดตกหกล้ม ในผู้ป่วยจิตเวชสูงกว่าผู้ป่วยวิกฤต เนื่องจากพยาธิสภาพของโรคที่ต่างกัน ดังนี้
1.พยาธิสภาพของโรค เช่น มีพฤติกรรมวุ่นวาย ควบคุมตนเองได้น้อย ความบกพร่องด้านการรับรู้ 2.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการรักษา เช่น ผลจากยาที่ใช้ในการรักษาที่มีผลทำ ให้ ผู้ป่วยซึมลง เคลื่อนไหวร่างกายไม่ประสาน เสียการทรงตัว
3.ตอบสนองช้า สับสน ความดันต่ำ กล้ามเนื้อเกร็ง ผลจากการรักษาด้วยไฟฟ้าทำ ให้ผู้ป่วยสับสนจากการรักษา 4.รูปแบบของกิจกรรมบำ บัดที่ผู้ป่วยที่ต้องมีกิจกรรม ไม่นอนติดเตียงตลอด
ปัจจัยความเสี่ยง ที่ทำ ให้เกิดพลัดตกหกล้ม อื่นๆ
*มองเห็นไม่ชัด หรือ วิงเวียนศีรษะ *เเขน ขา อ่อนเเรง *การเปลี่ยนแปลงของร่างกายและ จากการที่มีพยาธิสภาพจากอายุที่เพิ่มขึ้น
*มีประวัติหกล้ม ใน 1 ปีที่ผ่านมา *สิ่งของเกะกะกีดขวางทางเดิน พื้นลื่น แสงสว่างไม่เพียงพอ *ใช้ยานอนหลับ ยาต้านเศร้า หรือ ยากันชัก
แนวทางการดูเเล ป้องกันพลัดตกหกล้ม
ประเมินความเสี่ยงผู้รับบริการ ตั้งแต่แรกรับ
ติดตามความเสี่ยงทุกวันในผู้ป่วยเสี่ยงสูง EDMONSON PSYCHIATRIC FALL RISK ASSESSMENT และ ลงในบันทึกทางการพยาบาลทุกเวร
การทำ แบบประเมิน [ AUDIT ] ติดตามความเสี่ยงทุก 3 วัน ในผู้ป่วยไม่มีความเสี่ยงและความเสี่ยงต่ำ ติดตามความเสี่ยงทุกวันในผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูง
ประเมินความเสี่ยง เมื่อมีปัจัยเสี่ยงเพิ่มเติมในเวรทันที เช่น ได้ยาเพิ่มที่มีผลต่อการทรงตัว (HALOPERIDOL,DIAZEPAM เป็นต้น) หรือ มีอาการเปลี่ยนแปลง เช่น วิงเวียน ง่วงซึม
ให้ข้อมูลการดูแลเฝ้าระวังพลัดตกหกล้ม
แจ้ง วัน เวลา สถานที่ บุคคล ให้ผู้ป่วยทราบ ทุกครั้งที่เข้าไปให้การพยาบาล
แจ้ง วัน เวลา สถานที่ บุคคล ให้ผู้ป่วยทราบ ทุกครั้งที่เข้าไปให้การพยาบาล
ทบทวนการใช้ยาบ่อยๆ ประเมินอาการของผู้ป่วยโดย เฉพาะกรณีที่ใช้ยาหลายอย่างร่วมกัน เช่น ยาแก้ปวด ยา นอนหลับ ยากันชัก ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต เป็นต้น
จัดให้มีเจ้าหน้าที่อยู่บริเวณเตียงผู้ป่วย หรือ เดินตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุก 1 ชั่วโมง
พิจารณาความจำ เป็นในการผูกยึดโดยปฏิบัติ ตามมาตรฐานของการผูกยึด
แนะนำ สถานที่ แนวทางการ ใช้สัญญาณขอความช่วยเหลือ
ติดเครื่องหมายที่เตียง เพื่อระบุว่า เป็นผู้ที่มีความเสี่ยง แขวนป้ายสัญลักษณ์ “ข้อควรคำ นึงและการเฝ้าระวังความเสี่ยง ในการดูแลผู้สูงอายุ” และ “ผู้ป่วยเสี่ยงพลัดตกหกล้ม”
ช่วยติดตามความเสี่ยง ใกล้ชิดในผู้ป่วยมีความเสี่ยงขณะทำ กิจกรรม กิจวัตรประจำ วัน ทุก 1 ชั่วโมงในผู้ป่วยความเสี่ยงสูง
ติดตามสัญญาณชีพ รายงานพยาบาลเมื่อมีความผิดปกติ ผู้ป่วยวิงเวียนศีรษะ สัญญาณชีพผิดปกติ ความดันโลหิตต่ำ ผู้ป่วยซึมลง
ปรับเตียงที่ผู้ป่วยนอนให้อยู่ในระดับต่ำ สุด ยกราวกั้นเตียงขึ้นทั้ง 2 ด้าน ล็อคล้อเตียงไว้เสมอ
ช่วยเตรียม ที่นอนให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงและผู้ สูงอายุอยู่ใกล้ NURSE STATION ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย ผู้ป่วยที่กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ อยู่ใกล้ห้องน้ำ
ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ดูแลทำ ความสะอาด ไม่ให้พื้นเปียก วางป้ายเตือนทุกครั้งที่ทำ ความสะอาด ขอความร่วมมือผู้ป่วยไม่ให้เข้าบริเวณที่ ทำ ความสะอาด
จัดเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับผู้ป่วย พื้นรองเท้าไม่ลื่น เสื้อกางเกง ไม่หลวมเกินไป
ช่วยเฝ้าระวังผู้ป่วย โดยเฉพาะในกรณีเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ เเจ้งพยาบาลเมื่อผู้ป่วย มีอาการเปลี่ยนเเปลง
-ดูเ ดู เลเรื่อ รื่ งการรับ รั ประทานน้ำ เเละอาหารอย่า ย่ งเพีย พี ง พอเหมาะสม -ประเมิน มิปัญ ปั หาเรื่อ รื่ งเรื่อ รื่ งการขับ ขั ถ่า ถ่ ย เเละรายงานเเพทย์เมื่อ มื่ ต้อ ต้ งการการรัก รั ษาเพิ่ม พิ่ เติม ติ
1. ประเมิน มิ ความต้อ ต้ งการการช่ว ช่ ยเหลือ ลืในการขับ ขั ถ่า ถ่ ย ปัส ปั สาวะและ/หรือ รื อุจ อุ จาระ 2.จัด จัให้ผู้ ห้ ป่ผู้ว ป่ ยที่ก ที่ ลั้น ลั้ ปัส ปั สาวะไม่อ ม่ ยู่อยู่ ยู่ใยู่กล้ห้ ล้ อ ห้ งน้ำ
3. กระตุ้นตุ้ ให้ผู้ ห้ ป่ผู้ว ป่ ยขับ ขั ถ่า ถ่ ยให้เ ห้ป็น ป็ เวลา 4. ติด ติ ตาม สอบถามผู้ป่ผู้ว ป่ ยที่ไที่ ด้รั ด้ บ รั ยาระบาย และยาขับ ขั ปัส ปั สาวะอย่า ย่ งสม่ำ เสมอ
แนะนำ ให้ผู้ ห้ ป่ผู้ว ป่ ยที่มี ที่ อ มี าการเวีย วี นศีร ศี ษะ มีค มี วามเสี่ย สี่ งสูง สู ให้ปัห้ ส ปั สาวะในท่า ท่ นั่ง นั่ หรือ รืใช้ห ช้ ม้อ ม้ นอนหรือ รื กระบอก ปัส ปั สาวะรองขับ ขั ถ่า ถ่ ยที่เ ที่ ตีย ตี ง
แนะนำ ให้ผู้ ห้ ป่ผู้ว ป่ ยลุก ลุ ช้า ช้ ๆ ไม่ดึ ม่ ง ดึ ฉุด ฉุ ผู้ป่ผู้ว ป่ ย หากผู้ป่ผู้ว ป่ ยหกล้ม ล้ และเเนะนำ ให้เ ห้ ดิน ดิ อย่า ย่ งระมัด มั ระวัง วั สวมรองเท้า ท้ ที่ไที่ ม่ลื่ ม่ น ลื่
ให้ก ห้ ารช่ว ช่ ยเหลือ ลืในการเคลื่อ ลื่ นย้า ย้ ย ในรายที่ก ที่ ารทรงตัว ตัไม่มั่ ม่ น มั่ คง ได้แ ด้ ก่ ช่ว ช่ ยเคลื่อ ลื่ นย้า ย้ ยลงรถเข็น ข็ ช่ว ช่ ยพยุง ยุ เดิน ดิ
จัด จั อุป อุ กรณ์ที่ ณ์ เ ที่ หมาะสมในการช่ว ช่ ยเดิน ดิ และมีผู้ มี ช่ผู้ว ช่ ยเฝ้า ฝ้ ระวัง วั โดยตรวจสอบความ พร้อ ร้ มของอุป อุ กรณ์ก่ ณ์ อ ก่ นใช้ ในการเคลื่อ ลื่ นย้า ย้ ย
เพียงเราช่วยเหลือกัน ผู้รับบริการก็จะปลอดภัย
ก้าวสู่ Psychi Zero Fall ไปด้วยกัน
ทบทวนความพร้อ ร้ มกันหน่อ น่ ย
ทบทวนความพร้อ ร้ มกันหน่อ น่ ย
ทบทวนความพร้อ ร้ มกันหน่อ น่ ย
พร้อ ร้ มเเล้ว ทำ งานได้ ที่มา นิภนิาพร มีชิมีนชิ . (2566). THE DEVELOPMENT OFMODEL TO PREVENT FALLS IN HOSPITALIZED ELDERLY PATIENTS. วารสารสานักนังานสาธารณสุขสุจังจัหวัดวัขอนแก่น, 135-150. เนตดา วงศ์ทองมานะ. (2560). การป้อป้งกันการพลัดตกหกล้มในผู้ป่ผู้ วป่ยจิตจิเวช. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 49-61.