รายงาน
เรอื่ ง
ทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport)
จัดทาโดย
นางสาวศริ ิกรรณญา จรกา
ระดบั ช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สูงปีท่ี 1 หอ้ ง 1 แผนกวิชาภาษาตา่ งประเทศ
เสนอ
อาจารยภ์ ทั ราวรรณ วรรณบาเพญ็
รายงานน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของวิชาเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การจัดงานอาชีพ
รหัสวิชา 30001-1219
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
วิทยาลยั บริหารธรุ กจิ และการทอ่ งเทย่ี วกรุงเทพ
รายงาน
เรอื่ ง
ทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport)
จัดทาโดย
นางสาวศริ ิกรรณญา จรกา
ระดบั ช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สูงปีท่ี 1 หอ้ ง 1 แผนกวิชาภาษาตา่ งประเทศ
เสนอ
อาจารยภ์ ทั ราวรรณ วรรณบาเพญ็
รายงานน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของวิชาเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การจัดงานอาชีพ
รหัสวิชา 30001-1219
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
วิทยาลยั บริหารธรุ กจิ และการทอ่ งเทย่ี วกรุงเทพ
ก
คำนำ
รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าเทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ ช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
ช้นั สูงช้นั ปี ท่ี 1 แผนกวิชาภาษาตา่ งประเทศ โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรู้ท่ีไดจ้ ากเรื่องท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ
ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลือกหวั ขอ้ น้ีในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ ผจู้ ดั ทาตอ้ งขอขอบคณุ
อาจารยผ์ ใู้ หค้ วามรู้ และแนวทางการศึกษา หวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีจะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านทกุ ๆ
ทา่ น หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผจู้ ดั ทาขอรับไวด้ ว้ ยความขอบพระคุณยงิ่
นางสาวศิริกรรณญา จรกา
ผจู้ ดั ทา
สำรบัญ ข
คานา หนา้
สารบญั
ช่ือสนามบิน ก
ประวตั ิ ข
รายละเอียดทา่ อากาศยาน 1
สายการบิน 2
3
• จุดหมายปลายทางจากทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ 4
• สายการบินใหม่
8
สถิติ
21
• สถิติผใู้ ชบ้ ริการ
• สถิติการให้บริการ 22
• เสน้ ทางการบินที่มีผใู้ ชบ้ ริการรวมเกินเกา้ แสนราย 27
• เท่ียวบินที่ทาการบนิ ผโู้ ดยสารนอ้ ยท่ีสุดระหว่างประเทศ 28
• เสน้ ทางการบินระหวา่ งประเทศที่มีผใู้ ชบ้ ริการมากที่สุด
• เส้นทางการบินภายในประเทศทีม่ ีผใู้ ชบ้ ริการมากที่สุด
ผลการดาเนินงาน
• รางวลั บริการดีเด่น
การคมนาคมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ท่าอากาศยาน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
1
ชื่อสนามบิน
ชื่อสุวรรณภูมิ มีความหมายวา่ "แผน่ ดินทอง" เป็นชื่อที่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิ
พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทานเมื่อวนั ท่ี 29 กนั ยายน พ.ศ. 2543 โดยใชแ้ ทนช่ือเดิมคือ
"หนองงูเห่า" พระองคเ์ สดจ็ พระราชดาเนินไปทรงประกอบพธิ ีวางศิลาฤกษอ์ าคารผโู้ ดยสารทา่ อากาศยาน
สุวรรณภมู ิในวนั ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2545
ตวั สะกดชื่อของสนามบินใน อกั ษรโรมนั คือ "Suvarnabhumi" ซ่ึงเป็นการสะกดตามหลกั การ
เทียบ อกั ษรไทย เป็นอกั ษรโรมนั แบบภาษาบาลีและสนั สกฤต มิไดใ้ ชร้ ะบบ การถอดอกั ษรไทยเป็นอกั ษรโรมนั
แบบถา่ ยเสียงของราชบณั ฑิตยสถาน ซ่ึงจะสะกดไดว้ า่ "Suwannaphum"
2
ประวตั ิ
การซ้ือที่ดินและการก่อสร้างในช่วงแรก
แนวคิดในการก่อสร้างทา่ อากาศยานนานาชาติแห่งที่ 2 ในกรุงเทพมหานครเร่ิมมีข้ึนในปี พ.ศ. 2503 ใน
สมยั รัฐบาลจอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต์ ซ่ึงเป็นผลสืบเนื่องมาจากการจดั ต้งั "สภาเศรษฐกิจแห่งชาติ" ในสมยั จอม
พล แปลก พิบูลสงคราม เช่นเดียวกบั การศึกษาของบริษทั ลิตชฟ์ ี ลดแ์ ละ สานกั งานบริหารการบินแห่งชาติ
สหรัฐอเมริกาซ่ึงช้ีใหเ้ ห็นถึงความจาเป็นของการสร้างท่าอากาศยานพาณิชยแ์ ห่งท่ี 2 ในกรุงเทพมหานคร รัฐบาล
จึงเร่ิมเวนคืนและจดั ซ้ือท่ีดิน ซ่ึงเป็นข้นั ตอนที่ใชเ้ วลานานกวา่ 14 ปี ในพ้นื ท่ีตาบลหนองปรือ ตาบลบางโฉลง
และตาบลราชาเทวะ อาเภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ พ้ืนที่ท่ีเวนคืนส่วนใหญ่อยใู่ นพ้ืนที่ตาบลหนองปรือ
ทาใหห้ มบู่ า้ นหายไปกวา่ 7 หมูค่ ร่ึง โดยรัฐบาลจะจ่ายเงินใหค้ รอบครัวละ 800,000 บาท นอกจากน้ี ยงั มีการ
เคล่ือนยา้ ยศาสนสถาน 1 แห่ง และโรงเรียนอีก 3 แห่งไปสร้างบริเวณใหม่
รัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ใหส้ มั ปทานแก่บริษทั นอร์ททรอปแห่งสหรัฐอเมริกา แต่ยงั ไม่ทนั
ก่อสร้างกเ็ กิดเหตุการณ์ 14 ตุลา จนสมั ปทานถูกยกเลิก ต่อมารัฐบาลพลเอก เกรียงศกั ด์ิ ชมะนนั ทน์ วา่ จา้ งบริษทั
ท่ีปรึกษาแทมส์เพ่ือศึกษาพ้ืนที่ในการก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ จนเมื่อ พ.ศ. 2521 กไ็ ดข้ อ้ สรุปตามเดิมวา่
หนองงูเห่าเป็นพ้นื ท่ีท่ีเหมาะสมที่สุดเม่ือถึง พ.ศ. 2534 รัฐบาล อานนั ท์ ปันยารชุน ของคณะรักษาความสงบ
เรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) โดยมติคณะรัฐมนตรี อนุมตั ิให้ดาเนินการก่อสร้างทา่ อากาศยานกรุงเทพแห่งที่ 2 ณ
บริเวณหนองงูเห่า โดยมอบหมายใหก้ ารท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (บริษทั ท่าอากาศยานไทย จากดั
(มหาชน) ในปัจจุบนั ) เป็นผดู้ าเนินการ และต่อมาในรัฐบาล ชวน หลีกภยั ไดอ้ นุมตั ิงบประมาณ 120,000 ลา้ น
บาท เพ่ือใชด้ าเนินโครงการ และใหก้ ารทา่ อากาศยานแห่งประเทศไทย ไม่ตอ้ งนาเงินกาไร 50% ส่งเขา้ คลงั เป็น
เวลา 2 ปี เพอื่ ใหม้ ีงบประมาณเพียงพอที่จะอพยพโยกยา้ ยประชาชนออกจากพ้ืนท่ีเวนคนื
หลงั จากความไมแ่ น่นอนมานานหลายทศวรรษ ในปี พ.ศ. 2539 จึงมีการจดั ต้งั "บริษทั ท่าอากาศยาน
สากลกรุงเทพแห่งใหม่ จากดั " แต่การก่อสร้างทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ เพิ่งจะสามารถเร่ิมข้ึนไดใ้ นเดือน
มกราคม พ.ศ. 2545 ในสมยั รัฐบาล ทกั ษิณ ชินวตั ร สืบเนื่องมาจากการขาดเสถียรภาพทางการเมืองและ
เศรษฐกิจ ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 โดยก่อนหนา้ น้นั มีการปรับปรุงพ้ืนท่ีเป็น
เวลา 5 ปี (พ.ศ. 2540–พ.ศ. 2544) ต่อมาในวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 มีการโอนหนา้ ที่อานวยการก่อสร้างและ
การจดั การใหแ้ ก่บริษทั ท่าอากาศยานไทย จากดั (มหาชน) พร้อมท้งั ปิ ดกิจการบริษทั ทา่ อากาศยานสากล
กรุงเทพแห่งใหม่ จากดั เมื่อวนั ที่ 31 กรกฎาคม ปี เดียวกนั
3
รายละเอยี ดท่าอากาศยาน
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีพ้ืนท่ีประมาณ 20,000 ไร่ ต้งั อยทู่ ่ีถนนเทพรัตน ประมาณกิโลเมตรที่ 15 อยใู่ น
เขตตาบลราชาเทวะ อาเภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ ซ่ึงอยหู่ ่างจากใจกลางกรุงเทพมหานครไปประมาณ 25
กิโลเมตร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 1 ใชง้ บประมาณก่อสร้างในกรอบวงเงิน 123,942.25 ลา้ นบาท
ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิมีรันเวยข์ นาน 2 เส้น กวา้ งเส้นละ 60 เมตร ยาว 3,700 เมตร และ 4,000 เมตร
ห่างกนั 2,200 เมตร และมีทางขบั ขนานกบั ทางวิ่งท้งั 2 เส้น เพือ่ อานวยความสะดวกแก่อากาศยานขาออกและขา
เขา้ ไดพ้ ร้อมกนั และมีหลมุ จอดอากาศยาน มีจานวน 120 หลมุ จอด (จอดประชิดอาคาร 51 หลุมจอด และจอด
ระยะไกลอีก 69 หลุมจอด) รวมถึงหลุมจอดอากาศยานท่ีสามารถรองรับอากาศยานแอร์บสั เอ 380 ไดถ้ ึง 5 หลมุ
จอดและระยะไกลอีก3หลมุ จอดทาใหส้ ามารถรับไดส้ ูงสุด 8 ลา รวม 8 หลุมจอด มีทา่ เทียบรวม 51 จุด
ในช่วงแรกของการก่อสร้าง ทา่ อากาศยานมีศกั ยภาพรองรับปฏิบตั ิการเท่ียวบินได7้ 6 เท่ียวบินตอ่ ชวั่ โมง,
ผโู้ ดยสารไดก้ วา่ 45 ลา้ นคนต่อปี และสินคา้ 3 ลา้ นตนั ต่อปี และหนา้ อาคารผโู้ ดยสารหลกั เป็นโรงแรมภายใต้
เครื่องหมายการคา้ โนโวเตล ซ่ึงมีจานวน 600 ห้อง อีกท้งั ระหวา่ งอาคารผโู้ ดยสารและโรงแรมกม็ ีอาคารจอดรถ
5 ช้นั จานวน 2 หลงั ซ่ึงสามารถรองรับรถยนตไ์ ดถ้ ึง 5,000 คนั นอกจากน้ียงั มีพ้ืนท่ีจอดรถเหนือพ้ืนดินที่
สามารถรองรับรถยนตไ์ ดอ้ ีก 1,000 คนั และพ้นื ที่จอดรถในระยะยาวท่ีสามารถรองรับรถยนตไ์ ด้ 4,000 คนั และ
รถโดยสารอีก 78 คนั
นอกจากน้ี ทา่ อากาศยานไทยยงั มีแผนการที่จะขยายและปรับปรุงสนามบินสุวรรณภมู ิดว้ ยงบประมาณ
800 ลา้ นบาท โดยมีเป้าหมายที่จะเพิม่ เป้าผโู้ ดยสารจาก 45 ลา้ นคนตอ่ ปี เป็น 80 ลา้ นคนตอ่ ปี ภายในปี พ.ศ. 2559
และยงั เพ่มิ ความสามารถในการรองรับผโู้ ดยสารภายในประเทศโดยการลงทนุ สร้างอาคารผโู้ ดยสาร
ภายในประเทศ และทางว่งิ ท่ีสามเพิม่ ข้ึนอีก
4
สายการบิน
จุดหมายปลายทางจากทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ
ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิมีการเปล่ียนแปลงตารางบินในฤดูการเปล่ียนแปลงตารางบินทุก 6 เดือน ช่วง
ปลายเดือนตลุ าคม และปลายเดือนมีนาคมซ่ึงจะเป็นการเปล่ียนแปลงใหญ่อาจมีการเปล่ียนแปลงเวลาข้นึ ลงของ
แต่ละสายการบินท้งั น้ีเป็นไปตามขอ้ กาหนดของ IATA อย่างไรก็ตามทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิเป็นจุดหมายของ
สายการบินตา่ ง ๆ โดยในวนั ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 การบินไทยสมายล์ ไดย้ า้ ยฐานการบินมาท่ีทา่ อากาศยาน
สุวรรณภูมิท้งั หมด และในปี พ.ศ. 2562 ตลอดท้งั ปี มีสายการบินทาการบินท้งั หมด 121 สายการบิน แบ่งเป็น
ขนส่งผโู้ ดยสาร 105 สายการบิน ขนส่งอากาศยาน 13 สายการบิน รวมเป็นสายการบินประจา 118 สายการบิน
เช่าเหมาลา ระหวา่ งประเทศ 2 สายการบิน สายการบินเช่าเหมาลา ภายในประเทศ 1 สายการบิน นบั วา่ ในแง่ของ
สายการบินมีจานวนมากที่สุดนบั ต้งั แตเ่ ปิ ดกิจการ เที่ยวบินลา่ สุดคอื QW6111 ทาการบินใน วนั ท่ี 1 ธนั วาคม
พ.ศ. 2562 จากเจิ้งโจว และเท่ียวบิน SC2283 ทาการบินจากเมืองเยยี นไถ มณฑลชานตง แวะที่เมืองหลิน
อ้ี มณฑลชานตง
ในอดีตท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเคยมีเท่ียวบินไปกลบั ระหวา่ งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
กบั เอเธนส์ มาดริด โจฮนั เนสเบิร์ก ลอสแอนเจลิส และ ทา่ อากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี โดย
เท่ียวบินจากลอสแอนเจลิส มีท้งั แบบบินตรงเขา้ ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ และแบบแวะลงจอดที่ท่าอากาศยาน
นานาชาติอินช็อน ก่อนที่จะทาการบินเขา้ มาท่ีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาการบินโดยการบินไทย
ทา่ อากาศยานสุวรณภูมิเคยรับเที่ยวบินจากสหรัฐอเมริกา จานวน 4 เมือง เที่ยวบินจากซานฟรานซิส
โก แวะพกั ที่ทา่ อากาศยานนานาชาตินาริตะปลายทางทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ทาการบินโดยในยไู นเตด็ แอร์
5
ไลน์ เท่ียวบินท่ี UA837 เที่ยวบินจาก ลอสแอนเจลิส แวะพกั ที่ทา่ อากาศยานนานาชาตินาริตะ ปลายทางท่า
อากาศยานสุวรณภมู ิ ทาการบินโดยยไู นเตด็ แอร์ไลน์ ในเที่ยวบินท่ี UA891 เที่ยวบินไปกลบั จากทา่ อากาศยาน
นานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี นิวยอร์ก โดยการบินไทย TG790/TG791 และ เที่ยวบินจากท่าอากาศยาน
นานาชาติโอแฮร์ ชิคาโก แวะพกั ที่ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ปลายทางท่าอากาศยานสุวรณภูมิ ทาการบิน
โดยยไู นเต็ดแอร์ไลน์ ในเที่ยวบินที่ UA881 ซ่ึงเป็นเท่ียวบินที่ทาการบินระยะไกลที่สุดของทา่ อากาศยานสุวรรณ
ภูมิโดยไมเ่ ปล่ียนเคร่ืองบินตราบจนปัจจุบนั
ในปี พ.ศ. 2561 ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิเป็นทา่ อากาศยานที่รับผโู้ ดยสาร นกั บิน และ พนกั งานตอ้ นรับ
บนเครื่องบิน จาก 55 ประเทศทวั่ โลก หากนบั รวมประเทศไทยดว้ ย ทา่ อากาศยานแห่งน้ีรับผโู้ ดยสาร จาก 56
ประเทศทว่ั โลก ซ่ึงมากถึงร้อยละ 29 ของจานวนประเทศทวั่ โลก โดยประเทศซาอดุ ีอาระเบีย ทาการบินเฉพาะ
ช่วงพธิ ีฮจั ญ์ ไม่นบั รวมแซ็ง-เดอนี ฮ่องกง และมาเก๊า ซ่ึงเป็นเขตปกครองพิเศษ มีจานวนสายการบินท่ีทาการบิน
ท้งั เคร่ืองขนส่งสินคา้ อยา่ งเดียวและเครื่องขนส่งผโู้ ดยสารและสินคา้ ซ้ากนั 4 สายการบินไดแ้ ก่ ไชนาแอร์
ไลน์ ออล นิปปอน แอร์เวย์ อีวีเอแอร์ ฮ่องกงแอร์ไลน์
จานวนประเทศท่ีบินมากกวา่ 3 เมืองข้นึ ไป ไดแ้ ก่ ประเทศไตห้ วนั ประเทศเวียดนาม ประเทศ
จีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศเยอรมนี ประเทศญี่ป่ นุ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย ประเทศรัสเซีย และ
ประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2562 มีเครื่องขนส่งสินคา้ เพียงอยา่ งเดียวหรือขนส่งอากาศยาน 13 สายการบิน โดยเท่ียวบิน
ขนส่งสินคา้ ในไชน่าแอร์ไลน์ อีวเี อแอร์ ออล นิปปอน แอร์เวย์ ฮ่องกงแอร์ไลน์ ไมไ่ ดน้ บั รวมในสายการบิน
ขนส่งสินคา้ เน่ืองจากเป็นบริษทั เดียวกนั กบั ที่ทาการบินในเท่ียวบินขนส่งผโู้ ดยสาร ยกเวน้ สายการบินสิงคโปร์
แอร์ไลน์กบั สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก แมใ้ ชร้ หสั IATA เดียวกนั แต่ถือเป็นคนละสายการบิน ในปี พ.ศ. 2562
ขนส่งอากาศยาน มีสายการบินใหมท่ ่ีทาการบินมาที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2 สายการบินไดแ้ ก่ สายการบิน
มาย เจ็ทเอกซ์เพรส แอร์ไลน์ (MY Jet Xpress Airlines) และสายการบิน หยวนทง คาร์โกแอร์ไลน์ (YTO Cargo
Airline)
ในปี เดียวกนั ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิรับเครื่องบินแบบแอร์บสั เอ380 มากถึง 6 สายการบิน ไดแ้ ก่ การ
บินไทย เอเชียน่าแอร์ไลน์ [48]ลฟุ ทฮ์ นั ซ่า เอมิเรตส์แอร์ไลน์ โคเรียนแอร์ และกาตาร์แอร์เวย์
ในปี พ.ศ. 2563 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีเที่ยวบินภายในประเทศที่ทาการบินแบบประจามากถึง 18 ท่า
อากาศยาน จานวนท้งั สิ้น 17 จงั หวดั ภายในประเทศไทย เท่ียวบินเชิงพาณิชยท์ ่ีมีผโู้ ดยสารและสินคา้ ที่บินส้ัน
ที่สุด (แบบเท่ียวบินประจา) ในปัจจุบนั ไดแ้ ก่เท่ียวบินไปกลบั จากท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิไปท่าอากาศยาน
6
ตราด ระยะทาง 231 กิโลเมตร ทาการบินโดยบางกอกแอร์เวยส์ ในส่วนเที่ยวบินในเชิงพาณิชยท์ ่ีบินไกลท่ีสุดใน
ปัจจุบนั (แบบเที่ยวบินประจา) ไดแ้ ก่ เท่ียวบินไปกลบั ระหวา่ งทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยาน
ลอนดอนฮีทโธรว์ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจกั ร ของการบินไทย อีวีเอแอร์ และบริติชแอร์เวย์
เที่ยวบินที่ทาการบินใกลท้ ี่สุดไดแ้ ก่ เที่ยวบินของการบินไทย การบินไทยสมายล์ และบางกอกแอร์
เวย์ บินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปทา่ อากาศยานดอนเมือง ระยะทางเพียง 131 กิโลเมตร ในเท่ียวบิน
TG8422 WE8439 WE8432 และ PG3605 ตลอดปี พ.ศ. 2562 มีผโู้ ดยสารเพียง 2 ราย
ในส่วนของสายการบินที่ทาการบิน (แบบประจา) เครื่องบินขนาดเลก็ ท่ีสุดที่บินที่น่ี ไดแ้ ก่ เอทีอาร์
72 และขนาดใหญ่ท่ีสุดไดแ้ ก่ แอร์บสั เอ380
หากนบั เที่ยวบินท่ีทาการบินแบบไม่ประจาที่ทาการบินท่ีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เคร่ืองบินแบบ เซสน่า
208 คาราวาน ท่ีทาการบินไป สนามบินเกาะไมซ้ ้ี น้นั เป็นเครื่องบินขนาดเลก็ ท่ีสุดที่ทาการบินที่ทา่ อากาศยาน
สุวรรณภูมิ นอกจากน้นั ยงั มีเท่ียวบินแบบไมป่ ระจาทาการบินไปยงั ท่าอากาศยานหวั หินดว้ ยเครื่องบินแบบ เลียร์
เจต็ 60
สายการบินใหม่
ในปี พ.ศ. 2562 มีสายการบินใหม่ 6 สายการบินท่ีทาการบินมาท่ี ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไดแ้ ก่ ซานตง
แอร์ไลน์ ชิงเต่าแอร์ไลน์ วิสทาราแอร์ไลน์ รายาแอร์ไลน์ หยวนตงแอร์คาร์โกแ้ ละโกแอร์
อยา่ งไรก็ตามเน่ืองจากวกิ ฤตโรคระบาดสายการบินตา่ ง ๆ จึงยกเลิกเที่ยวบินโดยในปี พ.ศ. 2565 เหลือ
เพียง 1 สายการบินไดแ้ ก่
ในปี พ.ศ. 2562 สายการบินโกแอร์ ทาการบินจากท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธีมาที่ท่าอากาศ
ยานสุวรรณภูมิ เท่ียวบิน G8037 และทาการบินจากทา่ อากาศยานนานาชาติฉัตรปตี ศิวาจี มหาราช มาที่ทา่ อากาศ
ยานสุวรรณภมู ิ เที่ยวบิน G8025
ในปี พ.ศ. 2563 มีสายการบินใหม่ 3 สายการบินไดแ้ ก่ สตาร์ลกั ซ์แอร์ไลน์ ซิปแอร์ไลน์ เทียนจินแอร์ไลน์
ส่วนอียปิ ตแ์ อร์เพิม่ เครื่องบินขนส่งสินคา้ เท่าน้นั ตอ่ มาเทียนจินแอร์ไลน์ เลิกทาการบินไปกลบั เจ้ิงโจว
โดยในวนั ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2563 อียปิ ตแ์ อร์ไดท้ าการบินเส้นทางประจา เคร่ืองขนส่งสินคา้ จากท่า
อากาศยานนานาชาติฮ่องกงแวะทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิก่อนทาการบินไปยงั ทา่ อากาศยานนานาชาติไคโรใน
เท่ียวบิน MS510 และ MS511
ในวนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2563 สตาร์ลกั ซแ์ อร์ไลนท์ าการบินไปกลบั ระหวา่ งท่าอากาศยานนานาชาติ
ไตห้ วนั เถา-ยฺเหวยี นกบั ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ในเท่ียวบิน JX741 JX742
7
วนั ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ซิปแอร์ไลนท์ าการบินไปกลบั ระหวา่ งทา่ อากาศยานนานาชาตินาริตะกบั ท่า
อากาศยานสุวรรณภมู ิ ในเที่ยวบิน ZG052
เที่ยวบินใหม่ในวนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ไดแ้ ก่แอร์เบลเยยี ม ทาการบินขาเขา้ จากลีแยฌมายงั ท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิในเที่ยวบิน KF661
และทาการบินขาออกแวะดูไบก่อนไปท่ีลีแยฌในเท่ียวบิน KF662
8
สถิติ
สถิติผใู้ ชบ้ ริการ
ข้อมูลการจราจรในแตล่ ะปีปฏิทนิ
ปี พ.ศ. ผูใ้ ช้บริการ เปล่ียนแปลงจากปกี อ่ น เทยี่ วบิน สินค้า
(ตนั )
2550 41,210,081 N/A N/A 1,220,001
2551 38,603,490 6.3% N/A 1,173,084
2552 40,500,224 4.9% N/A 1,045,194
2553 42,784,967 5.6% N/A 1,310,146
2554 47,910,744 12.0% 299,566 N/A
2555 53,002,328 10.6% 312,493 N/A
2556 51,363,451 11.92% 288,004 1,236,223
2557 46,423,352 9.62% 289,568 1,234,176
2558 52,902,110 13.96% 317,066 1,230,563
2559 55,892,428 5.65% 336,345 1,351,878
2560 60,860,704 8.9% 350,508 1,439,913
2561 63,378,923 4.14% 369,476 1,647,442
2562 65,421,844 3.22% 380,054 1,326,914
ที่มา: Airports Council International
9
ท้งั น้ีจากสถิติดงั กล่าวในปี พ.ศ. 2554 เป็นปี แรกท่ีท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิมีผโู้ ดยสารเกิน 45 ลา้ นคน ซ่ึง
ถือวา่ เลยขดี จากดั ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิปัญหาน้ีส่งผลใหเ้ กิดปัญหาการรอคอยของผโู้ ดยสารในการตรวจ
คนเขา้ เมืองนานมาก กองตรวจคนเขา้ เมืองตอ้ งทางานหนกั เกินไปและมีปัญหาสุขภาพเช่น กระเพาะ
ปัสสาวะ อกั เสบ ในปี พ.ศ. 2555 ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิไดอ้ นั ดบั ท่ี 14 ประเภทจานวนผโู้ ดยสารสูงสุดของ
โลก นบั เป็นปี แรกท่ีทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิมีจานวนผโู้ ดยสารภายใน 15 อนั ดบั ทา่ อากาศยานหนาแน่นท่ีสุด
ของโลกใน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2556 ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิมีจานวนเที่ยวบินท่ีใหบ้ ริการลดลงเป็นปี แรกใน
รอบ 4 ปี ลดลง 12.07% เมื่อเทียบกบั ปี งบประมาณ พ.ศ. 2555
และจากปัญหาน้ีเอง บริษทั ทา่ อากาศยานไทย จากดั (มหาชน) จึงไดย้ น่ื แผนการพฒั นาท่าอากาศยาน
สุวรรณภมู ิเฟส 2 ข้ึน โดยจะก่อสร้างอาคารเทียบเคร่ืองบินหลงั ท่ี 2 และอาคารผูโ้ ดยสารหลงั ที่ 2 ทางทิศใตข้ ้ึน
โดยใชส้ ถาปัตยกรรมภายนอกแบบเดียวกนั กบั อาคารหลงั ท่ี 1 แตต่ กแต่งภายในใหม่ท้งั หมด แต่เนื่องจากการ
ก่อสร้างท่าอากาศยานตอ้ งใชเ้ วลาอยา่ งต่าถึง 5 ปี จึงทาใหแ้ ผนการร้ือฟ้ื นท่าอากาศยานดอนเมืองจึงถูกนามาใช้
ชวั่ คราว จนกวา่ การก่อสร้างทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิแบบเตม็ เฟสจะเสร็จสิ้นโดย เฟส 2 จะเปิ ดใหบ้ ริการใน
เดือน มกราคม พ.ศ. 2563
สถิติการใหบ้ ริการ
ในส่วนของเครื่องบินที่ท่าอากาศยานใหบ้ ริการขนาดเลก็ ที่สุดไดแ้ ก่ เครื่อง Cessna 208B Grand-Caravan
ขนาดใหญ่ท่ีสุดไดแ้ ก่ แอร์บสั เอ380 โบอิง 747-8I โบอิง 747-8F ในปี พ.ศ. 2561 เที่ยวบินภายในประเทศ ท่ีมี
ผใู้ ชบ้ ริการนอ้ ยที่สุดไดแ้ ก่ เที่ยวบินไปกลบั ระหวา่ ง สนามบินเกาะไมซ้ ้ี ไปกลบั ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
เนื่องจากบริการใหก้ บั นกั ทอ่ งเท่ียวของบริษทั โซเนวา คีรี จากดั เท่าน้นั ดว้ ยเครืองบิน ทะเบียน HS-SPL และ
HS-SKRซ่ึงเป็นเคร่ือง Cessna 208B Grand-Caravan
ในปี พ.ศ. 2561 จานวนเท่ียวบินเฉล่ียท่ีทาการบินท่ีทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ 998 เที่ยวบินตอ่ วนั
ในอดีตทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิยงั เป็นหน่ึง ในท่าอากาศยานที่รับผโู้ ดยสารจากเท่ียวบิน TG790 และ
TG791 ไปกลบั จาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไปกลบั ทา่ อากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี และ เท่ียวบิน
TG794 และ TG795 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไปกลบั ทา่ อากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส ซ่ึงเป็นเท่ียวบินท่ี
เดินทางเป็นระยะไกลมากท่ีสุดติดสิบอนั ดบั แรก ของการทาการบินเชิงพาณิชยท์ ว่ั โลก ในตลอดเดือนมกราคม ปี
พ.ศ. 2562 ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิมีเที่ยวบินระหวา่ งประเทศมากถึง 25,881 เท่ียวบิน เที่ยวบินภายในประเทศ
8,106 รวม 33,987 เที่ยวบินซ่ึงเป็นสถิติเท่ียวบินระหวา่ งประเทศมากท่ีสุดต้งั แต่ดาเนินกิจการ
10
เส้นทางการบินที่มีผใู้ ชบ้ ริการรวมเกินเกา้ แสนราย
ตลอดปี พ.ศ. 2562 มีจานวนเท่ียวบินรวมท้งั หมด 380,067 เที่ยวบิน มีจานวนทา่ อากาศยานที่ใหบ้ ริการ
ระหวา่ งประเทศไปกลบั โดยมีผโู้ ดยสารรวมมากกวา่ 1000000 รายในแตล่ ะเมืองมากถึง 14 ท่าอากาศยาน ซ่ึง
หากรวมท่าอากาศยานภายในประเทศแลว้ ท่าอากาศยานที่ใหบ้ ริการผโู้ ดยสารไปกลบั รวมมากกวา่ 1000000 ราย
มีท้งั หมด 17 ท่าอากาศยาน
อยา่ งไรก็ตามตลอดปี พ.ศ. 2562 เมื่อเรียงลาดบั จานวนทา่ อากาศยาน 20 ลาดบั แรกที่มีผโู้ ดยสารไปกลบั
จานวนมากท่ีสุด พบวา่ 20 ท่าอากาศยาน มีผโู้ ดยสารไปกลบั จานวนเกิน 9 แสนรายข้นึ ไป
มีจานวน 34 ท่าอากาศยานใหบ้ ริการผโู้ ดยสารไปกลบั เกิน 500000 รายข้ึนไป ซ่ึงเทา่ กบั วา่ จานวนทา่
อากาศยานท่ีใหบ้ ริการผโู้ ดยสารเกิน 500000 รายข้นึ ไป เพมิ่ ข้นึ เป็น 2 เทา่ หรือเพิ่มข้ึนในอตั ราร้อยละ 100 เม่ือ
เปรียบเทียบกบั จานวน ท่าอากาศยานที่ใหบ้ ริการผโู้ ดยสารไปกลบั เกิน 1000000 ราย
Busiest international routes (2019)
Rank Airport Passengers 2019 % Change Passengers 2018
2018/19
1 ทา่ อากาศยานนานาชาติฮ่องกง 3,756,449 6.57 4,020,613
2 ทา่ อากาศยานภเู กต็ 3,358,876 0.03 3,356,831
3 ท่าอากาศยานชางงีสิงคโปร์ 3,258,422 3.04 3,162,160
4 ทา่ อากาศยานนานาชาติเชยี งใหม่ 2,864,525 1.61 2,915,108
5 ทา่ อากาศยานนานาชาตอิ ินช็อน 2,689,306 4.93 2,562,998
6 ทา่ อากาศยานนานาชาติไตห้ วันเถา-ยเฺ หวียน 1,928,536 3.58 1,861,851
11
Busiest international routes (2019)
Rank Airport Passengers 2019 % Change Passengers 2018
2018/19
7 ทา่ อากาศยานนานาชาตดิ ไู บ 1,707,276 11.82 1,936,223
8 ท่าอากาศยานนานาชาติซา่ งไห่ผ่ตู ง 1,600,930 7.18 1,493,614
9 ทา่ อากาศยานนานาชาตสิ มุย 1,546,570 8.22 1,686,857
10 ท่าอากาศยานนานาชาติกวา่ งโจวไป๋-ยหฺ วนิ 1,510,461 8.96 1,386,259
11 ท่าอากาศยานนานาชาตเิ ตนิ เซินเญ้ติ 1,238,942 2.52 1,208,464
12 ทา่ อากาศยานนานาชาตโิ ตเกียว 1,230,506 9.81 1,120,555
13 ท่าอากาศยานนานาชาตนิ ินอย อากีโน 1,179,861 17.34 1,005,478
14 ท่าอากาศยานนานาชาตฮิ าหมัด 1,166,972 13.66 1,026,698
15 ทา่ อากาศยานนานาชาติอินทริ า คานธี 1,107,099 2.01 1,085,238
16 ท่าอากาศยานนานาชาตินารติ ะ 1,089,048 8.70 1,192,823
17 ทา่ อากาศยานนานาชาติกวั ลาลัมเปอร์ 1,078,045 5.26 1,137,939
18 ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ 976,966 26.52 772,127
12
Busiest international routes (2019)
Rank Airport Passengers 2019 % Change Passengers 2018
2018/19
19 ทา่ อากาศยานนานาชาตกิ รงุ ปกั ก่งิ 956,320 0.51 951,389
20 ทา่ อากาศยานนานาชาติกระบ่ี 929,294 12.46 862,529
เที่ยวบินที่ทาการบินผโู้ ดยสารนอ้ ยท่ีสุดระหวา่ งประเทศ
ในปี พ.ศ. 2562 เที่ยวบินที่ทาการบินเท่ียวบินระหวา่ งประเทศนอ้ ยท่ีสุดในแง่การขนส่งผโู้ ดยสารไดแ้ ก่
เท่ียวบินไปกลบั ทา่ อากาศยานนานาชาติคลาร์ก จงั หวดั ปัมปังกา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ มีผโู้ ดยสารเดินทางมาเพียง
รายเดียว หากดูรายประเทศ ประเทศท่ีมีการขนส่งผโู้ ดยสารนอ้ ยที่สุดใน ปี พ.ศ. 2562 ไดแ้ ก่ประเทศสเปน เมือง
ซาราโกซา มีผโู้ ดยสารรวม 8 ราย ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2560 ผโู้ ดยสารที่จะไปทวปี อเมริกาเหนือจาเป็นตอ้ งเปลี่ยน
เคร่ืองบิน เนื่องจากทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิไมม่ ีบริการเท่ียวบินผโู้ ดยสารระหวา่ งทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิกบั
ทวปี อเมริกาเหนือ ไมว่ า่ จะเป็นแบบบินตรงหรือแวะทา่ อากาศยานประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศญ่ีป่ นุ
นบั ต้งั แตเ่ ปิ ดบริการ ในปี พ.ศ. 2549 ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิไม่มีเท่ียวบินขนส่งผโู้ ดยสารไปทวีป
อเมริกาใต้ ไมว่ า่ จะเป็นแบบบินตรงหรือแวะทา่ อากาศยานอื่น อยา่ งไรกต็ ามท่าอากาศยานในเอเชียตะวนั ออก
และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ มม่ ีเที่ยวบิน "บินตรง" ไปกลบั ทวปี อเมริกาใต้
13
เส้นทางการบินระหวา่ งประเทศท่ีมีผใู้ ชบ้ ริการมากที่สุด
เสน้ ทางการบินระหว่างประเทศ ที่มีผู้ใช้บริการมากที่สดุ (พ.ศ. 2556)
อนั ดับ ท่าอากาศยาน จำนวนผู้โดยสารในปี พ.ศ. ความเปลยี่ นแปลง (ร้อย จำนวนผ้โู ดยสารในปี พ.ศ.
2556 (คน) ละ) 2555 (คน)
1 ฮ่องกง 3,566,950 9.17 3,267,195
2 สิงคโปร์ 3,344,500 1.84 3,407,354
3 โซล-อนิ ช็อน 2,121,430 1.25 2,095,145
4 โตเกยี ว-นะรติ ะ 1,787,405 13.46 1,575,302
5 ไทเป-เถาหยวน 1,328,120 17.03 1,134,857
6 เซย่ี งไฮ-้ ผู่ตง 1,279,536 40.12 913,177
7 ดูไบ-นานาชาติ 1,196,795 12.23 1,066,391
8 กวั ลาลมั เปอร์ 1,029,057 29.21 1,453,681
9 กวา่ งโจว 894,087 3.29 924,457
10 นวิ เดลี 865,595 0.83 858,511
11 โฮจิมินหซ์ ิตี 838,856 10.86 941,065
14
เสน้ ทางการบินระหว่างประเทศ ทม่ี ผี ูใ้ ชบ้ ริการมากท่สี ดุ (พ.ศ. 2556)
อนั ดบั ท่าอากาศยาน จำนวนผู้โดยสารในปี พ.ศ. ความเปลยี่ นแปลง (ร้อย จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ.
2556 (คน) ละ) 2555 (คน)
12 ปักกง่ิ -แคพิทอล 826,018 26.41 653,435
13 อาบดู าบี 768,051 7.12 717,032
14 ยา่ งกุ้ง 766,279 11.21 863,035
15 ลอนดอน-ฮีทโธรว์ 707,294 1.03 700,049
16 มะนิลา 703,592 9.56 642,218
17 โดฮา 671,402 19.31 562,726
18 ฮานอย 654,945 0.06 654,549
19 โอซะกะ-คนั ไซ 609,645 8.68 560,947
20 ซิดนีย์ 608,515 0.81 603,608
21 มุมไบ 604,156 19.16 747,384
22 แฟรงกเ์ ฟิร์ต 592,522 0.9 587,228
23 จาการ์ตา-ซูการโ์ น-ฮตั 588,171 21.32 484,822
ตา
15
เสน้ ทางการบินระหว่างประเทศ ท่ีมผี ู้ใช้บริการมากที่สดุ (พ.ศ. 2556)
อนั ดับ ท่าอากาศยาน จำนวนผูโ้ ดยสารในปี พ.ศ. ความเปลยี่ นแปลง (ร้อย จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ.
2556 (คน) ละ) 2555 (คน)
24 โตเกยี ว-ฮะเนะดะ 500,275 5.12 475,913
25 อมั สเตอรด์ มั 456,811 3.12 443,005
26 ปารสี -ชาลส์เดอโกล 453,531 9.52 414,108
27 โกลกาตา 434,281 1.67 427,137
28 พนมเปญ 428,845 4.51 449,122
29 เมลเบริ ์น 416,847 6.28 444,761
30 ปซู าน 373,709 11.1 336,363
31 โคลมั โบ 367,232 3.55 380,757
32 มาเก๊า 351,853 33.58 529,746
33 นะโงะยะ-เซน็ แทรร์ 332,906 18.93 279,929
34 เวยี งจนั ทน์ 319,278 15.47 276,503
35 มอสโก-โดโมเดโดโว 316,055 7.2 340,594
16
เส้นทางการบนิ ระหวา่ งประเทศ ทม่ี ผี ู้ใช้บริการมากที่สดุ (พ.ศ. 2556)
อนั ดบั ท่าอากาศยาน จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ. ความเปลยี่ นแปลง (รอ้ ย จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ.
2556 (คน) ละ) 2555 (คน)
36 ซรู กิ 299,831 1.41 304,131
37 โคเปนเฮเกน 291,740 21.59 372,068
38 มสั กตั 285,836 0.79 288,109
39 อสิ ตันบูล-อาตาตรุ ก์ 285,312 12.66 253,247
40 มอสโก-เชเรเมเตียโว 266,889 32.64 201,216
41 เฮลซิงกิ 262,456 0.06 262,301
42 เสียมราฐ 262,154 12.09 233,878
43 สต็อกโฮลม์ -อาร์ลนั ดา 258,674 12.87 229,170
44 คนุ หมงิ 258,015 35.23 190,796
45 เวยี นนา 236,074 1.64 232,274
46 โนโวซีบสี ค์ 212,715 28.7 165,286
47 ธากา 243,253 6.71 260,750
17
เสน้ ทางการบนิ ระหว่างประเทศ ท่มี ีผใู้ ชบ้ ริการมากทส่ี ดุ (พ.ศ. 2556)
อนั ดบั ท่าอากาศยาน จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ. ความเปลย่ี นแปลง (ร้อย จำนวนผ้โู ดยสารในปี พ.ศ.
2556 (คน) ละ) 2555 (คน)
48 ออสโล-การ์เดอร์มอน 202,570 37.78 147,022
49 เทลอาวฟี 209,384 11.15 188,386
50 มวิ นิก 200,313 5.75 212,526
เส้นทางการบินภายในประเทศที่มีผใู้ ชบ้ ริการมากท่ีสุด
เสน้ ทางการบนิ ภายในประเทศ ที่มผี ใู้ ชบ้ รกิ ารมากที่สดุ (พ.ศ. 2563) [135][136]
อนั ดบั ท่าอากาศ จำนวนผูโ้ ดยสารในปี พ.ศ. ความเปลยี่ นแปลง (ร้อย จำนวนผู้โดยสารในปี พ.ศ. 2562
ยาน 2563 (คน) ละ) (คน)
1 เชียงใหม่ 1,618,207 43.50 2,864,525
2 ภเู กต็ 1,462,454 43.53 3,358,876
3 สมยุ 640,575 58.58 1,546,570
4 หาดใหญ่ 588,967 9.04 540,115
5 เชียงราย 537,282 34.67 822,522
18
เส้นทางการบินภายในประเทศ ทมี่ ีผู้ใชบ้ รกิ ารมากทีส่ ดุ (พ.ศ. 2563) [135][136]
อันดับ ทา่ อากาศ จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ. ความเปลย่ี นแปลง (รอ้ ย จำนวนผู้โดยสารในปี พ.ศ. 2562
ยาน 2563 (คน) ละ) (คน)
6 กระบ่ี 445,943 52.01 929,294
7 ขอนแก่น 367,359 34.68 562,419
8 อดุ รธานี 337,552 27.89 468,129
9 นครศรีธรรมราช 198,118 N/A 0
10 อบุ ลราชธานี 196,345 29.57 278,792
11 สุราษฎร์ธานี 151,240 18.98 186,670
12 นราธิวาส 74,592 25.44 100,060
13 น่าน 57,621 N/A 0
14 ลาปาง 55,352 44.96 100,567
15 สุโขทยั 41,830 48.36 81,014
16 ตราด 36,277 64.12 101,109
19
เสน้ ทางการบินภายในประเทศ ที่มีผใู้ ชบ้ ริการมากทสี่ ดุ (พ.ศ. 2563) [135][136]
อนั ดบั ท่าอากาศ จำนวนผู้โดยสารในปี พ.ศ. ความเปลย่ี นแปลง (ร้อย จำนวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ. 2562
ยาน 2563 (คน) ละ) (คน)
17 นครพนม 12,785 N/A 0
18 เลย 3,207 N/A 0
19 เกาะไมซ้ ้ี N/A N/A N/A
20 หวั หิน 7 88.52 61
21 บุรีรัมย์ 6 99.72 2,174
22 ตรัง 1 N/A 0
23 ระนอง 0 100 6
24 ระยอง 0 100 5
25 กรุงเทพมหานคร 0 100 2
ในปี พ.ศ. 2559 ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิเคยใหบ้ ริการขนส่งผโู้ ดยสารภายในประเทศสูงสุด 23 จงั หวดั
25 ทา่ อากาศยานภายในประเทศโดยใหบ้ ริการ ทา่ อากาศยานชุมพร และ ทา่ อากาศยานนครราชสีมา
20
ในปี พ.ศ. 2563 การขนส่งนกั บินและเจา้ หนา้ ที่มีนกั บินทาการบินขนยา้ ยเครื่องบินจากท่าอากาศดอน
เมืองมายงั ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและนาเครื่องบินจาก ทา่ อากาศยานนานาชาติอ่ตู ะเภา (ระยอง–พทั ยา)มายงั ทา่
อากาศยานสุวรรณภมู ิ เช่น TG8406 ในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
ตลอดปี พ.ศ. 2563 ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิมีเที่ยวบินขนส่งผโู้ ดยสารและนกั บินภายในประเทศจานวน
22 จงั หวดั 24 ท่าอากาศยาน
ส่วนสนามบินเกาะไมซ้ ้ี อาเภอเกาะกูด น้นั มีเที่ยวบินไปกลบั ระหวา่ งทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิบินดว้ ย
เครื่องบิน 8 ท่ีนง่ั แตไ่ มม่ ีรายงานจานวนผโู้ ดยสารในปี พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563
ตลอดปี พ.ศ. 2564 มีเที่ยวบินท่ีทาการบินทา่ อากาศยานดอนเมืองมายงั ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิมากท่ีสุด
โดยมี ท้งั สิ้น 3 เท่ียวบิน ในวนั ที่ 7 พฤศจิกายน TG924 ทาการบินสุวรรณภมู ิแวะดอนเมืองปลายทางมิวนิก และ
ในวนั ท่ี 6 ธนั วาคม TG970 สุวรรณภูมิแวะดอนเมืองไปซูริก กบั วนั ท่ี 28 ธนั วาคม TG971 ซูริกแวะดอนเมืองบิน
ปลายทางสุวรรณภมู ิ
ในวนั ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2565 ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิใหบ้ ริการเท่ียวบินไปกลบั ทา่ อากาศยานร้อยเอด็
ทาการบินโดยการบินไทยสมายลแ์ ละในวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 การบินไทยสมายลท์ าการบินไปกลบั ทา่
อากาศยานตรัง
21
ผลการดาเนินงาน
รางวลั บริการดีเด่น
พ.ศ. 2551 – อนั ดบั ที่ 5 รางวลั บริการดีเด่น ประเภทท่าอากาศยานขนาดใหญ่ซ่ึงรองรับผโู้ ดยสาร
มากกวา่ 40 ลา้ นคนต่อปี ประจาปี พ.ศ. 2551 จากโครงการจดั อนั ดบั ท่าอากาศยานที่ให้บริการดีเด่นประจาปี
พ.ศ. 2551 ของสภาท่าอากาศยานสากล (ACI)
พ.ศ. 2552 – อนั ดบั ที่ 3 ของโลก ประเภทดีเด่นดา้ นอาหารประจาปี พ.ศ. 2552 จาก SKYTRAX
พ.ศ. 2553 – อนั ดบั ท่ี 5 รางวลั บริการดีเด่น ประเภทท่าอากาศยานขนาดใหญซ่ ่ึงรองรับผโู้ ดยสาร
มากกวา่ 40 ลา้ นคนต่อปี ประจาปี พ.ศ. 2553 จากโครงการจดั อนั ดบั ทา่ อากาศยานท่ีใหบ้ ริการดีเด่นประจาปี
พ.ศ. 2553 ของสภาท่าอากาศยานสากล (ACI)
พ.ศ. 2555 – อนั ดบั ท่ี 5 รางวลั บริการดีเด่น จากการสารวจความพึงพอใจผใู้ ชบ้ ริการสนามบินสารวจ
โดยเวบ็ ไซด์ Agoda.com บริษทั ผใู้ หบ้ ริการเวบ็ ไซตส์ ารองหอ้ งพกั ในโรงแรมแบบออนไลน์
22
การคมนาคมท่เี กย่ี วข้องกบั ท่าอากาศยาน
เสน้ ทางเขา้ -ออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท้งั หมด 6 เสน้ ทาง :
(1) - (5) เป็นทางเขา้ -ออกสาหรับรถยนต์ รถแทก็ ซ่ี รถโดยสาร และแอร์พอร์ตเอกซเ์ พรส
(6) เป็นทางเขา้ -ออกสาหรับรถไฟฟ้าเช่ือมทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ
รถยนต์
ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิมีเส้นทางเขา้ ออกสาหรับรถยนตอ์ ยู่ 5 เสน้ ทาง ซ่ึงรถแทก็ ซ่ี รถโดยสารขนส่ง
มวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารแอร์พอร์ตเอกซเ์ พรส ใชเ้ พ่ือการคมนาคมดว้ ย โดยทางเขา้ หลกั คอื เสน้ ทางจาก
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนกรุงเทพมหานคร-ชลบรุ ี) อีกเส้นทางหน่ึงสามารถเขา้ ไดจ้ ากทางพิเศษบรู พาวถิ ี
หรือถนนเทพรัตน
รถไฟฟ้าเชื่อมทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ
เสน้ ทางรถไฟฟ้าเช่ือมทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะทาง 28.6 กิโลเมตร ใชร้ ถไฟฟ้าความเร็วสูงแบบทาง
คู่ ยกระดบั ขนานไปตามแนวเสน้ ทางรถไฟทางไกลสายตะวนั ออก มีสถานีรายทางจานวน 8 สถานี ไดแ้ ก่ สถานี
พญาไท, สถานีราชปรารภ, สถานีมกั กะสนั (สถานีขนส่งผโู้ ดยสารท่าอากาศยานในเมือง), สถานีรามคาแหง
, สถานีหวั หมาก, สถานีบา้ นทบั ชา้ ง, สถานีลาดกระบงั และจะตีโคง้ แลว้ ลดระดบั ลงไปยงั อโุ มงคใ์ ตด้ ิน เพ่ือเขา้ สู่
สถานีทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ซ่ึงต้งั อยบู่ ริเวณช้นั ใตด้ ินของอาคารผโู้ ดยสาร
23
โครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิ ดเดินรถในสองรูปแบบ คอื รถไฟฟ้าท่าอากาศยาน
สุวรรณภมู ิ (สายซิตี) ตวั รถคาดสีน้าเงิน คดิ คา่ โดยสายเร่ิมตน้ ท่ี 15 บาท สูงสุด 45 บาท ตามระยะทาง โดยจะรับ-
ส่งผโู้ ดยสารในทกุ ๆ สถานีตลอดรายทาง และในรูปแบบรถไฟฟ้าด่วนทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ (สายเอก็ ซ์
เพรส) ตวั รถคาดสีแดง คดิ คา่ โดยสารเท่ียวละ 150 บาทต่อคน ว่ิงตรงจากสถานีขนส่งผูโ้ ดยสารทา่ อากาศยานใน
เมือง (City Air Terminal) หรือสถานีมกั กะสนั ถึงสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดว้ ยความเร็ว 160 กิโลเมตรต่อ
ชวั่ โมง โดยไม่จอดท่ีสถานีใด ๆ ซ่ึงจะใชเ้ วลาเดินทางประมาณ 15 นาทีตอ่ เที่ยว
รถไฟฟ้าท้งั สองสาย ว่งิ อยบู่ นทางยกระดบั คู่เส้นเดียวกนั โดยมีการสับหลีกและควบคุมการเดินรถดว้ ย
ระบบคอมพวิ เตอร์ เพื่อใหร้ ะบบรถด่วนสามารถว่ิงไดต้ ่อเน่ืองดว้ ยความเร็วสูงตรงสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
โดยเมื่อวนั ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553 ไดเ้ ริ่มทดสอบการใหบ้ ริการ และเปิ ดใหบ้ ริการเชิงพาณิชยใ์ นวนั ที่ 23
สิงหาคม พ.ศ. 2553
รถโดยสารประจาทาง
รถโดยสารประจาทางที่เดินรถเขา้ ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ มีท้งั หมด 3 เส้นทาง โดยอตั ราคา่ โดยสาร
เขา้ ท่าอากาศยาน จะเกบ็ เพ่ิมจากราคาตามระยะทางปกติอีก 10 บาท และรถโดยสารประจาทางท่ีเดินรถเขา้
ภายในทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ มีท้งั หมด 1 เสน้ ทาง โดยอตั ราคา่ โดยสารเขา้ ท่าอากาศยานจะเก็บราคา 60 บาท
(ตลอดสาย) รวมท้งั หมด 4 เสน้ ทาง โดยมีเสน้ ทางดงั น้ี
• รถโดยสารปรับอากาศขององคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีท้งั สิ้น 2 เส้นทาง คือ
- สาย 555 รังสิต - ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ เดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1
เส้นทาง : รังสิต - ทา่ อากาศยานดอนเมือง - แยกหลกั สี่ - แยกลาดพร้าว - แยกสุทธิสาร - ทางด่วนดินแดง
- ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ
- สาย S1 ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ - สนามหลวง เดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 3
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - ทางหลวงพิเศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ทางด่วนยมราช - ถนน
หลานหลวง – สนามหลวง
• รถโดยสารปรับอากาศเอกชนร่วมบริการ โดยบริษทั สมาร์ทบสั จากดั มีท้งั สิ้น 2 เส้นทาง คอื
- สาย 554 รังสิต - ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ
เส้นทาง : รังสิต - ทา่ อากาศยานดอนเมือง - ม.ราชภฏั พระนคร - ถนนรามอินทรา - ทางหลวงพเิ ศษ
ระหวา่ งเมืองหมายเลข 9 - ทางหลวงพิเศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
24
- สาย 558 เคหะธนบุรี - ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
เส้นทาง : เคหะธนบุรี - เซ็นทรัลพระราม 2 - แยกพระราม 2 - บางปะกอก - วดั สน กม.9 - ทางด่วนสุข
สวสั ด์ิ - ไบเทคบางนา - เซ็นทรัลบางนา - ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
โดยรถท้งั 3 เสน้ ทางจะจอดที่ Bus Terminal ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และสามารถโดยสารรถ
Shuttle Bus ไปยงั อาคารผโู้ ดยสารได้
รถตโู้ ดยสารประจาทาง
รถตโู้ ดยสารประจาทางที่เดินรถเขา้ ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ มีท้งั หมด 8 เส้นทาง ดงั น้ี
• สาย 549 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - มีนบุรี
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - สน.ลาดกระบงั - ถนนร่มเกลา้ - ม.เกษมบณั ฑิต - มีนบรุ ี
• สาย 552 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - อ่อนนุช
เส้นทาง : ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ - ถนนบางนา - รพ.จุฬารัตน์ 1 - รามคาแหง 2 - เซ็นทรัลบางนา - อุดม
สุข - สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ออ่ นนุช
• สาย 552A ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ - สมุทรปราการ
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ - ถนนบางนา - รพ.จุฬารัตน์ 1 - รามคาแหง 2 - เซ็นทรัลบางนา -
สาโรง - สมทุ รปราการ
• สาย 554 ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ - แยกลาลูกกา
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ทางหลวงพิเศษระหวา่ ง
เมืองหมายเลข 9 - ถนนรามอินทรา - วงเวียนหลกั ส่ี - สะพานใหม่ - ตลาดประตกู รุงเทพ - ปากทางลาลกู กา
• สาย 555 ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - ทา่ อากาศยานดอนเมือง
เส้นทาง : ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ - ทางหลวงพิเศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ทางด่วนพระราม 9 - ดิน
แดง - สุทธิสาร - ม.เกษตรศาสตร์ - แยกหลกั ส่ี – ทา่ อากาศยานดอนเมือง
25
• สาย 559 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - ฟิ วเจอร์ปาร์ค รังสิต
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมืองหมายเลข 7 - ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ ง
เมืองหมายเลข 9 - ดรีมเวิลด์ - ถนนรังสิต-นครนายก (คลอง 4-3-2-1) - ฟิ วเจอร์ปาร์ค รังสิต
รถ Shuttle Bus ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - ทา่ อากาศยานดอนเมือง
รถ Shuttle Bus ใหบ้ ริการฟรีสาหรับผโู้ ดยสารท่ีตอ้ งการเดินทางระหวา่ งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - ดอน
เมือง เวลาที่ใหบ้ ริการต้งั แต่ 05.00-24.00 น. ซ่ึงสงวนสิทธ์ิเฉพาะผโู้ ดยสารท่ีตอ้ งต่อเครื่องบินเทา่ น้นั โดย
ผใู้ ชบ้ ริการจะตอ้ งมีตวั๋ โดยสารของสายการบินท่ีจะตอ้ งเชื่อมต่อระหวา่ งท่าอากาศยานเทา่ น้นั จึงจะสามารถใช้
บริการได้
เส้นทาง : ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ - ถนนสุวรรณภูมิ 1 - ทางหลวงพเิ ศษหมายเลข 7 - ทางพเิ ศษศรี
รัช - ทางพิเศษเฉลิมมหานคร - ทางยกระดบั อุตราภิมุข - ท่าอากาศยานดอนเมือง
รถ Shuttle Bus ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ[แก้]
รถ Shuttle Bus ใหบ้ ริการฟรีสาหรับผโู้ ดยสารท่ีเดินทางเขา้ ทา่ อากาศยานโดยรถโดยสารประจาทางและ
รถตโู้ ดยสารประจาทาง โดยเช่ือมต่อระหวา่ ง Bus Terminal กบั ส่วนตา่ งๆ ภายในทา่ อากาศยาน มี 5 เส้นทาง
ดงั น้ี
• สาย A
เส้นทาง : Bus Terminal - ลานจอดระยะยาว B,E - ลานจอดระยะยาว A,C - บริษทั BAFS - ตรงขา้ ม
สถานีดบั เพลิง - ตึกปฏิบตั ิการภาคพ้นื ดิน การบินไทย - ตึกการบินไทย - ตึกฝ่ายช่าง - ช่องทาง 3 - ช่องทาง 2 -
อาคารผูโ้ ดยสารช้นั 1 ประตู 1 - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 1 ประตู 10 - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 2 ประตู 5 - ครัวการบิน
บมจ.การบินไทย - สถานีดบั เพลิง - Bus Terminal
• สาย B
เส้นทาง : Bus Terminal - บริษทั LSG Sky Chefs - ตรงขา้ มสถานีดบั เพลิง - ตึกปฏิบตั ิการภาคพ้ืนดิน
การบินไทย - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 1 ประตู 1 - อาคารผูโ้ ดยสารช้นั 1 ประตู 10 - VIP Room - จุดจอดเพ่ิม 1 (
Free Zone ) - จุดจอดเพิ่ม 2 ( Free Zone ) - จุดจอดเพ่มิ 3 ( Free Zone ) - ประตูทางออกหนา้ ( Free Zone ) - แยก
ไฟแดง Free Zone - ครัวการบิน บมจ.การบินไทย - สถานีดบั เพลิง - Bus Terminal
26
• สาย C
เส้นทาง : Bus Terminal - สถานีตารวจราชาเทวะ - ตรงขา้ มสถานีตารวจราชาเทวะ - แยกสุขสมาน - Sky
Lane - ตรงขา้ ม ตึก ( AMF ) - กรมอุตุ ฯ - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 1 ประตู 3 และ 8 - ทางออกเขตปลอดอากรประตู
2 - Bus Terminal
• สาย D
เส้นทาง : Bus Terminal - ตรงขา้ มสถานีดบั เพลิง - ตึกปฏิบตั ิการภาคพ้ืนดิน การบินไทย - สานกั งานท่า
อากาศยาน ( AOB ) - โรงแรมโนโวเทล - บริษทั วิทยกุ ารบิน - ครัวการบินไทย - สถานีดบั เพลิง - LSG Sky
Chefs - Bus Terminal
• สายด่วน Express
เส้นทาง : Bus Terminal - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 4 ประตู 5 - อาคารผโู้ ดยสารช้นั 2 ประตู 5 - Bus Terminal
รถไฟฟ้าภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ[แก้]
รถไฟฟ้าสาหรับใชข้ นส่งผโู้ ดยสารใตท้ างวิง่ เชื่อมอาคารผโู้ ดยสารปัจจุบนั กบั อาคารผูโ้ ดยสารหลงั ใหม่
โดยมีท้งั หมด 2 สถานี ระยะทางรวม 1 กิโลเมตร โดยใชร้ ถไฟฟ้าลอ้ ยางแบบไร้คนขบั (Automated People
Mover หรือ APM) ซ่ึงตวั รถไฟฟ้าเลือกใชร้ ถไฟฟ้าจากบริษทั ซีเมนส์ รุ่นAirval รวมท้งั หมด 6 ขบวน ขบวนละ
2 ตู้ มีที่นงั่ ตลู้ ะ 25 ที่นงั่ รองรับผโู้ ดยสารไดป้ ระมาณ 210 คนตอ่ ขบวน วง่ิ ใหบ้ ริการตลอด 24 ชว่ั โมง สามารถ
ขนส่งผโู้ ดยสารไดม้ ากถึง 3,590 คนต่อชวั่ โมงตอ่ ทิศทาง[159] คาดหมายวา่ จะพร้อมเปิ ดใหบ้ ริการในเดือนตุลาคม
พ.ศ. 2565
27
บรรณานุกรม
1. Fernquest, Jon. "Suvarnabhumi: New runway 12. Bangkokpost newspaper (20 October 2005) Dream city
by 2018". Bangkok Post. สืบค้นเม่อื 20 called flood nightmare : Environmental chaos will ensue -
March 2019. Apirak
2. ↑ "Air transport statistic 2019 13. ↑ นสพ.เดลินิวส์ 11 กย.49 ผโู้ ดยสาร 'ป่ วนแน่!' 'แทก็ ซ่ี'
summary" (PDF). Airports of Thailand PLC. เซ็ง! 'ไมไ่ ปสุวรรณภมู ิ??'
23 January 2020.
14. ↑ กระโดดข้นึ ไป:21.0 21.1 สุวรรณภูมใิ นมุมมองวิศวกรไทย อยา่
3. ↑ "ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูม"ิ . ประวตั ิ หลงระเริงกบั ความอลงั การ มองไปขา้ งหนา้ ...กา้ วสู่ฮบั ให้
ความเป็ นมาของท่าอากาศยานสุวรรณ ไดด้ งั่ ฝัน, นสพ.มติชน 8 ก.ย. 2549
ภูมิ Archived 2009-11-09 ที่ เวย์แบก็ แมชชีน.
สืบค้นเม่ือ 18 เมษายน 2553. 15. ↑ Incident: Qantas B744 near Bangkok on Jan 25th 2011,
engine consumed too much fuel
4. ↑ "ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ". ท่าอากาศยาน
สุวรรณภมู ิ แผ่นดินทอง ความภมู ิใจของคน 16. ↑ ชอ็ ก! รถแทรกเตอร์ลากจงู เครื่องบินชนพนกั งานลาน
ไทย Archived 2010-05-10 ที่ เวย์แบก็ แมชชีน. จอด “สุวรรณภูมิ” ดบั
สืบค้นเม่ือ 18 เมษายน 2553.
17. ↑ เครื่องรัสเซียบินมอสโก-กรุงเทพตกหลมุ อากาศบาดเจ็บ
5. ↑ ACI reveals top 20 airports for passenger 27คน
traffic, cargo, and aircraft movements
18. ↑ Richard Lloyd Parry, "Poo Ming – a blue ghost who
6. ↑ ACI reveals top 20 airports for passenger haunts $4bn airport", The Times, 2006-09-27
traffic, cargo, and aircraft movements
19. ↑ ThaiDay, "THAI discounts tickets for historic test
7. ↑ AOT Air Traffic Report 2019 flights" Archived 2011-05-03 ที่ เวยแ์ บก็ แมชชีน, July 1,
8. ↑ กระโดดขนึ้ ไป:8.0 8.1 Suvarnabhumi Airport. About 2006.
Suvarnabhumi Airport Archived 2011-05-11 20. ↑ "PM Thaksin says Suvarnabhumi Airport ready in two
ท่ี เวย์แบก็ แมชชีน. สืบค้นเม่ือ 18 เมษายน 2553. months" Archived 2007-10-13 ท่ี เวยแ์ บ็กแมชชีน, MCOT,
29 July 2006.
9. ↑ Suvarnabhumi Airport: Thai Auspicious
Name Archived 2010-05-05 ท่ี เวย์แบก็ แม 21. ↑ USA Today, "Bangkok's new airport opens to first
ชชีน (อังกฤษ) commercial flights", 15 September 2006.
10. ↑ ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงเู ห่าสู่สุวรรณ 22. ↑ TG947
ภูมิ". NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบบั
ภาษาไทย. (ปี ท่ี 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513- 23. ↑ TG992
9840. หน้า 81.
24. ↑ TG949
11. ↑ ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงูเห่าสู่สุวรรณ
ภูม"ิ . NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบับ 25. ↑ AOT วา่ จา้ งกล่มุ EPM Consortium บริหารจดั การ
ภาษาไทย. (ปี ที่ 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513- โครงการขยายสุวรรณภมู ิเฟส2
9840. หน้า 82.
26. ↑ Monitor EIA_ทสภ. ระยะก่อสร้าง 2-2562 - สานกั งาน
นโยบายและแผน ...
27. ↑ ปักกิ่งตา้ ซิงเปิ ดบริการเท่ียวบินระหว่างประเทศประเดิม
กรุงเทพมหานครที่แรก
28. ↑ Air China 757
28
ภาคผนวก
เวบ็ ไซตห์ ลกั ของทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ
เวบ็ ไซตเ์ ขตปลอดอากร ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
ขอ้ มลู ของโครงการจาก Airport Technology Archived 2006-08-13 ท่ี เวยแ์ บก็ แมชชีน (องั กฤษ)
สภาพอากาศปัจจุบนั ของท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ (องั กฤษ)
แผนท่ีและภาพถ่ายทางอากาศของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ