วัคซีนโควิด19
Vaccine COVID-19
สารบัน
คำนำ
ชนิดของวัคซีน
วัคซีนต่างๆ
ของปฏิบัติเมื่อได้รับวัคซีน
ก่อนรับวัคซีน
ระหว่างรับวัคซีน
หลังรับวัคซีน
ประโยชน์ของวัคซีน
คำถามเพิ่มเติม
เฉลยคำถามเพิ่มเติม
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกปีที่
1 โดยมีจุดประสงค์ของรายงานเพื่อให้ความ
รู้เกี่ยวกับ”วัคซีนcovid-19”
การจัดทำรายงานได้ค้นคว้าหา
ข้อมูลและภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ตหาก
เกิดข้อมูลผิดพลาดประการใดต้องข้ออภัยมา
ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ
นักเรียน ม.1/2 กลุ่ม 8
ชนิดวัคซีนโควิด19
วัคซีนเชื้อตาย
ซิโนแวค
ซิโนฟาร์ม
วัคซีนทำจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ
โนวาแวค
วัคซีนชนิดสารพันธุกรรม
ไฟเซอร์
โมเดอร์นา
วัคซีนชนิดเป็นพาหะ
จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน
แอสตร้าเซนเนก้า
ซSิIโ
NนOเVเวAคC
ชื่ออย่างเป็นทางการ : วัคซีนโคโรนาเเวค
ผลิตโดย : ซิโนแควไบโอเทค(Sinovac
Biotech)บริษัทเวชภัณฑ์สัญชาติจีน
ชนิดของวัคซีน : Inชaนcิtดivเชaื้tอeตdาvยaccines หรือวัคซีน
อายุที่ฉีดได้ : ในช่วงเเรกอนุญาตให้ฉีดได้เฉพาะอายุ
18-59 ปี
จำนวนเข็ม : 2 เข็ม เข็มเเรกห่างจากเข็มที่ 2 ราว 2-4
สัปดาห์
ผลขอ้ัากงเเสคบียบงรทิีเ่พวณบท:ี่ฉอีาดกบาราทงั่รวาไยปอมาีจไขม้ีอปาวกดาเรมืท่้ออยงตเสาียมตัว
ประสิทธิภาพอใานเกจียารนป้หอรงือกัมนีผืก่นารตตาิมดรเ่ชาื้งอกไาวยรัส : 51-84 %
(จะขึ้นอยู่กับเเต่ละประเทศ เป็นการประเมินของ
WHO)
ปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพใในนกกาารรลลดดอกาากราเเรพรุนร่เเชเื้รองถ:ึไงมช่ีพวิตบข:้อ8ม5ู%ล
ประสิทธิภาพของซิโนเเวคต่อเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์
ต่างๆ
-สายพันธุ์อังกฤษหรือสายพันธุ์อัลฟ่า : มีประสิทธิภาพ
ดี
-สายพันธุ์เเอ7ฟ0ร%ิกเามืใ่อต้ฉหีดรืคอสรบาย2พัเนข็ธมุ์เบต้า : ลดลง
-สายพันธุ์บราซิลหรือสายพันธุ์แกมมา: มีประสิทธิภาพ
ดี
-สายพันธุ์อินเดียหเมรืื่ออสฉีาดยคพรันบธุ2์เดเขล็มตา : ลดลง 4.9 เท่า
ประเทศที่ฉีด : มากกว่า 30 ประเทศ
สถานะการรับรองโดย WHO : ได้รับการจดทะเบียนให้
เป็นวัคซีนที่ใช้ในกรณี ฉุกเฉิ น
ข้อควรระวัง : สามารถฉีดให้กับคนอายุ 18-59 ปีได้
อย่างปลอกภัย เเต่อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ควรให้
เเพทย์พิจารณาถึงความพร้อมของร่างกายก่อนเข้ารับ
การฉีดวัคซีนซิโนเเวค ควรหลีกเลี่ยงในผู้หญิงที่กำลังมี
ประจำเดือน
ชื่ออย่างเป็นทางการ : วัคซีนBBIBP-CorV
ผลิตโดย : บริษัท Beijing institute of biological
product ที่ปักกิ่งและ บริษัท wuhan institute of
biological productที่อู่ฮั่น ที่นำเข้ามาในประเทศไทย
คือบริษัทปักกิ่ง
ชนิดของวัคซีน:Inactivated vaccines หรือวัคซีน
ชนิดเชื้อตาย
อายุที่ฉีดได้: อายุมากกว่า18 ปีขึ้นไป
จำนวนเข็ม: 2 เข็ม เข็มแรกห่างจากเข็มที่ 2 ราว 3-4
สัปดาห์
ผลข้างเคียงที่พบ: ยังไม่พบผลข้างเคียงที่อันตราย
รุนแรง พบเพียงอาการที่พบได้ทั่วไป เช่น ปวดศีรษะ
อ่อนเพลีย ปวดบริเวณที่ฉีด คลื่นไส้ มีไข้ หนาวสั่น ผื่น
ภูมิแพ้ผิวหนัง เป็นต้น
ประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัส78.1-
79.34%(จะขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศ เป็นการประเมิน
ของWHO)
ประสิทธิภาพในการลดอาการรุนแรงถึงชีวิต:100%
ประสิทธิภาพในการลดการแพร่เชื้อ:ไม่พบข้อมูล
ประสิทธิภาพของซิโนฟาร์มต่อเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์
ต่างๆ
-สายพันธุ์อังกฤษ หรือ สายพันธุ์อัลฟ่า:ยังไม่พบข้อมูล
-สายพันธุ์แอฟริกาใต้หรือสายพันธุ์เบต้า:ลดลง 1.6
เท่า
สายพันธุ์บราซิลหรือ สายพันธุ์แกมมา :ยังไม่พบข้อมูล
สายพันธุ์อินเดียหรือ สายพันธุ์เดลตา :ยังไม่พบข้อมูล
สถานะรับรองโดย WHO :วัคซีนซิโนฟาร์มที่ผลิตโดย
บริษัทจากปักกิ่ง ได้รับการรับรองจาก WHO โดยได้
จดทะเบียนให้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน แต่วัคซีนซิโนฟาร์ม
ที่ผลิตโดยบริษัทอู่ฮั่นยังไม่ได้รับรอง จาก WHO
ข้อควรระวัง : เนื่องจากยังไม่มีผลศึกษา คือหญิงตั้ง
ครรภ์ และผู้มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
ชื่ออย่างเป็นทางการ: วัคซีน NVX-CoV2373
ผลิตโดย: บริษัทNovavaxรัฐMarylandประเทศ
สหรัฐอเมริกา
อายุที่ฉีดได้: 18 ปีขึ้นไป
ชนิดของวีคซีน: protein-based ผลิตโดยสร้างโปรตีน
ของเชื้อไวรัสด้วยระบบ cell culture,yeast,baculovirus
เป็ นต้นแล้วนำมาผสมกับสารกระตุ้นภูมิเมื่ อฉีดเข้าสู่
ร่างกายจะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ต่อต้านโปร
ตีนสไปค์ของไวรัสโรคโควิด-19โดยเทคโนโลยีนี้ใช้ใน
การผลิตวัคซีนหลายชนิด เช่น วัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้ องกันไวรัสตับอักเสบบี เป็นต้น
จำนวนเข็ม: 2 เข็ม เข็มแรกห่างจากเข็มที่ 2 ราว 3 สัปดาห์
ผลข้างเคียงที่พบ: ยังไม่พบผลข้างเคียงที่รุนแรง พบ
แต่อาการข้างเคียงจากวัคซีนทั่วไป เช่น ปวดบวมแดง
บริเวณที่ฉีด มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เป็นต้น
ประสิทธิภาพในการป้ องกันเชื้อไวรัส: ในเดือนมิถุนายน
2564 The Guardian ระบุว่า Novavax สามารถป้ องกันโค
วิด-19โดยรวมมาก็ถึง 93% (เฉพาะสายพันธุ์ อัลฟ่า เบต้า
เกมม่า ยังไม่มีข้อมูลสายพันธุ์เดลต้า)
ไไฟฟเเซซออรร์์
PPHHIIZZEERR
วัคซีนไฟเซอร์ มีชื่อทางการว่า BNT162b2เป็น
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดmRNA ที่คิดค้น
โดยบริษัทไฟเซอร์ร่วมกับบริษัทสัญชาติเยอรมัน
ชื่ อ ไ อ โ บ เ อ็ น เ ท็ ค ( B i o N T e c h ) ไ ด้ รั บ ก า ร อ นุ มั ติ ใ ห้
ใช้ในกรณี ฉุกเฉินจากองค์การอาหารเเละยาสหรัฐ
เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 เเละ WHO ให้การ
รับรองเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2563 สำหรับใน
ประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการอาหารเเละ
ยา ได้มีการอนุมัติเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นวัคซีนไฟ
เซอร์ ให้สามารถใช้ได้ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24
มิถุนายน 2564 นับเป็นวัคซีนโควิดรายที่ 6ที่ผ่าน
การอนุมัติจาก อย. วัคซีนไฟเซอร์เป็นวัคซีนที่ผลิต
ด้วยวิธีใหม่ล่าสุดที่เรียกว่า mRNA ซึ่งไม่เคยมีการ
ผลิตวัคซีนด้วยวิธีนี้ มาก่อน เป็นการจำลองสาร
พันธุกรรมโมเลกุล คล้ายหนามของเชื้อไวรัส
หนามของไวรัสมีหน้าที่จับเซลล์ในร่างกายทำให้
ติดเชื้อ mRNA มีไขมันอนุภาคนาโนห่อหุ้มอยู่
เพื่อป้องกันการย่อยสลายจากเอนไซม์ หลังจากฉี ด
วัคซีน mRNA เข้าไป เซล์ในร่างกายจะกินไขมันดัง
กล่าว ทำให้เซลล์ผลิตสารโปรตีนที่คล้ายหนาม
ของไวรัสโปรตีนก็จะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายเพื่อป้องกันไวรัส วัคซีนไฟเซอร์ สามารถ
ป้องกันโควิด-19 สายพันธุ์อังกฤษ หรือ อัลฟ่า ได้
ถึง 89.5% ป้องกันโควิด-19 สายพันธุ์เเอฟริกาใต้
หรือ เบต้า ได้ถึง 75% อายุที่ฉี ดได้ 12 ปีขึ้นไป ผล
ข้างเคียงของวัคซีนไฟเซอร์ มี ปวดศรีษะ ปวด
กล้ามเนื้ อ ปวดข้อต่อ ท้องเสีย อ่อนเพลีย ปวดบวม
หรือรอยเเดงบริเวณที่ฉี ด
โMมOเDดEอRNร์NนAา
ประเทศสหรัฐอเมริกา
วัคซีนชนิดmRNA-1273หุ้มด้วยlipidnanoparticleข้อมูล
จากphase3randomized,observer-blinded,placebo-
controlledtrial
primary endpoint คือ ป้องกันsymptomatic COVID-19
หลังได้รับวัคซีนครบ 2 โดสไป 14 วันsecondaryendpointคือ
การป้องกันsevereCOVID-19
enrolled อาสาสมัคร30,420 คน แต่อยู่จนจบการทดลอง ได้
ครบ 2 โดสจานวน 28,207 คน คิดสถิติ จาก per protocol
ผลการศึกษาพบผู้เข้าร่วมการศกึษาติดCOVID-19
-11เคสในกลุ่มที่ได้รับวัคซีน14,134คน
-185เคสในกลุ่มที่ได้placebo14,073คน
vaccine efficacy ในการป้องกันsymptomatic COVID-19
คิดเป็น 94.1% (95% CI, 89.3 to 96.8%; P<0.001)
secondaryendpointในการศึกษาทั้ง30เคสที่
เกิดsevereCOVID -19เกิดในกลุ่มplaceboทั้งหมดADRปวด
บรเิวณที่ฉีด ปวดหัว ปวดเมื่อย
จอห์นสัน&จอห์นสัน
JOHNSON&JOHNSON
ยังอยู่ในระหว่างการศึกษา(ปัจจุบันศึกษา
เรียบร้อยแล้ว) phase 3 ในประเทศอาเจนตินา
บราซิล ชิลี โคลอมเบีย เเม็กซิโก เปรู อเมริกาาใต้
และ สหรัฐอเมริกา
randomized, double-blind, placebo-
controlled clinical trial enrollเข้า
ร่วมการศึกษามาทั้งหมด44,325คน
primaryendpointคือ
ป้องกันsymptomaticCOVID-19หลังได้รับ
วัคซีน28วันsecondaryendpointคือการ
ป้องกันsevereCOVID-19
ผลจาก Interim Analysis พบประสิทธิภาพ
ในการป้องกัน symptomatic COVID-19
(overall) คิดเป็น 66%และ
ป้องกันsevereCOVID-19ได้85%ซึ่งเป็นผลหลัง
จากได้รับวัคซีนไปแล้ว 28 วัน
AstraZeneca
อังกฤษ-สวีเดน
ชื่ออย่างเป็นทางการ :Vaxzevria[3],Covishield[4]
[5]
วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า เป็นวัคซีนโควิดที่คิดค้น
โดยบริษัทแอสตราเซเนกา ร่วมกับมหาวิทยาลัยออก
ซ์ฟอร์ด ( Oxford University ) โดยใช้เชื้อไวรัสอดิ
โน่ (Adinovirus ) มาดัดแปลงพันธุกรรมให้มี
โปรตีนโคโรนาไวรัส ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายมนุษย์สร้าง
ภูมิคุ้มกันโคโรนาไวรัส เป็นวัคซีนแบบเทคนิคไวรัส
แว็กเตอร์ (Viral Vector) ผลิตจาก เชื้อไวรัสอดีโน
เป็นพาหะ (Adenoviral vector) พัฒนา โดยการนำ
ไวรัสที่ถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง แล้วฝากสาร พันธุกรรม
ของโควิด -19 เข้าไปซึ่งทำให้ไม่สามารถแบ่งตัวและ
ไม่สามารถก่อให้เกิดโรคในมนุษย์ได้
ประสิทธิภาพของวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า สามารถ
ป้องกันการติดเชื้อทุกแบบได้ 63.1 (78% หากเว้น
ระยะห่างระหว่างเข็มมากกว่าหรือ เท่ากับ 12 สัปดาห์)
ป้องกันโรคแบบแสดงอาการ 70.4% ป้องกันโรค
รุนแรง -ถึงขั้นเสียชีวิต 100% แต่ยังป้องกันโรค
แบบไม่มีอาการไม่ได้
-ได้รับการยอมรับจาก WHO
-เมื่อรับวัคซีนชนิดแอสตร้าเซนเนก้า ต้องเข้ารับการ
ฉีดจำนวน 2 โดนที่แขน โดยต้องทิ้งระยะเวลาห่าง
จากโดสแรก 8-12 สัปดาห์ถึงกับจะทำการฉีดโดสที่
สองได้
อายุที่ฉีดได้ : เหมาะที่จะใช้สำหรับฉีดให้กับผู้ที่มีอายุ
มากกว่า 18 ปีขึ้นไป
ผลข้างเคียงที่พบ :ปวดบริเวณที่ฉีด อ่อนเพลีย ปวด
ศีรษะ อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
ผลข้างเคียงอื่นๆที่อาจพบได้ : ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน
(ในอังกฤษมีรายงาน 1 ใน 50000โดส ในกลุ่มอายุ
น้อยกว่า 40 ปี
ข้อปฏิบัติก่อนฉีดวัคซีน
-ผักผ่อนให้เพียงพอ
-ดื่มน้ำให้เพียงพอ
-งดการออกกำลังกายหนัก
-หากมีไข้เจ็บป่วยควรเลื่อน
การฉีดวัคซีนออกไป
-หลีกเลี้ยง ชา กาแฟ
-งดดื่มแอลกอฮอล์
ข้อปฏิบัติระหว่างฉีด
วัคซีน
-เตรียมเอกสารที่ต้องใช้ในการเข้า
รับการฉีด วัคซีนให้พร้อม
-ใส่เสื้อผ้าหลวมสบายเปิดหัวไหล่
สะดวก ง่ายต่อการฉีดวัคซีน
-สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา
ล้างมือให้สะอาด และเว้นระยะห่าง
-แนะนำให้ฉีดแขนข้างที่ไม่ค่อย
ถนัด งดใช้หรือเกร็งแขนข้างที่ฉีด
-ปฏิบัติตามคำแนะของเจ้าหน้าที่
อย่างเคร่งครัด
-พักดูอาการเช่น เวียนศรีษะ.
อาเจียน
-หลีกเลี่ยงการใช้งานแขนที่ฉีด
วัคซีน
-ไม่ควรออกกำลังกายหนัก
-ถ้ามีไข้ให้รับประทานยา
พาราเซตามอล
-พักดูอาการที่บ้าน2-3วัน
ประโยชน์ของการฉีด
วัคซีนโควิด -19
- เพิ่มภูมิคุ้มกันโอกาสที่ป่วยเป็น
โรคก็น้อยลง การระบาดก็จะลดลง
- ลดอัตราการตายเเละเป็นการ
ป้องกันการป่วยหนัก ลดอัตราการ
ต้องรักษาในรพ.นานๆ
- เป็นการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับสังคม
จนสามารถลดการเเพร่ระบาด หาก
ฉีดในประชากรทั้งหมด 60-70%
ไวรัสก็จะหายไป
- ชีวิตความเป็นอยู่เเละสังคมจะ
ค่อยๆกลับคืนสู่ภาวะปกติในทุกๆ
ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การท่อง
เที่ยว
- สุขภาพจิตเเละภาวะความเครียด
จะค่อยๆดีขึ้น
คำถ
าม
1.เมื่อฉีดวัคซีนแล้วหากมีไข้ หรือ ปวด
เมื่อยมาก ควรทำอย่างไร ?
2. วัคซีนโควิด Covid-19 ต่างชนิด/
ยี่ห้อ สามารถฉีดสลับกันได้หรือไม่ ?
3.ผู้มีประจำเดือน สามารถเข้ารับวัคซีน
Covid-19 ได้หรือไม่
4. เคยติดโควิด -19 และหายแล้ว ต้อง
เข้ารับการฉีดวัคซีนไหม?
5. การฉีดวัคซีนโควิด -19 พร้อมกับ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่
เฉล
ย
1. ถ้ามีไข้ หรือ ปวดเมื่อยมาก ทนไม่ไหว
สามารถกินยาพาราเซตามองขนาด 500มก.
ครั้งละ 1 เม็ด ซ้ำได้ถ้าจำเป็นแต่ให้ห่าง
6ชั่วโมง
2. ในขณะนี้แนะนำให้ฉีดวัคซีนเดิมไปก่อน
จนกว่าจะมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม(ยกเว้นกรณี
ที่ไม่สามารถหาวัคซีนชนิดเดิมฉีดได้ หรือ มี
อาการไม่พึงประสงค์หลังฉีดวัคซีนชนิดเดิม)
3. ผู้หญิงที่มีประจำเดือน สามารถเข้ารับวัคซีน
COVID-19 ได้ตามปกติไม่มีข้อห้ามใดๆ ใน
การเข้ารับวัคซีน
4. สำหรับผู้ที่เคยติดโควิด -19 มาแล้ว แม้ว่า
ร่างกายจะมีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ แต่พบ
ว่าระดับภูมิคุ้มกันนั้นลดลงอย่างรวดเร็วจึง
สามารถติดเชื้อซ้ำได้อีก แนะนำผู้ที่เคยติดเชื้อ
โควิด -19 มาแล้ว ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด -19
หลังหายจาก อาการป่วย โดยเว้นระยะหลังจาก
ติดเชื้ออย่างน้อย 3 เดือน ทั้งนี้แนะนำให้
ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีดวัคซีน
5. วัคซีนโควิด -19 เป็นวัคซีนใหม่ จึงยังไม่
อยากฉีดพร้อมกับวัคซีนอื่น เพราะหากมีอาการ
ข้างดคียงจะไม่ทราบว่า เกิดจากวัคซีนใด จึง
ควรฉีดห่างกัน2 สัปดาห์ หรือ 1 เดือนขึ้น ไป
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของวัคซีนด้วย ยกเว้นกรณี
ป้องกัน โรครุนแรงถึงชีวิตสมารถฉีดได้ เช่น
ถูกสุนัขกัด จำเป็นต้อง ฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก
จบแล้ว
จบแล้ว
จบแล้ววัขคอซใีหน้เไรด็้วรัๆบ
จบแล้ว
จบแล้ว
จบแล้ว
ผู้จัดทำ E-book
1. ด.ญ.กานต์พิชชา แสงแก้ว เลขที่5 ม.1/2
2. ด.ญ.ปุญญิสา เกราะแก้ว เลขที่12 ม.1/2
3. ด.ญ.วิรตา รุ่งคุณากิจ เลขที่14 ม.1/2
4. ด.ญ.พิชชาภา แซ่ลิ้ม เลขที่25 ม.1/2
TThyhyoaoauunn!!kk