The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อุกฤษฎ์ โอปนพันธ์ 116410905089-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by earth086890, 2021-10-22 03:38:30

เทคโนโลยีการสื่อสาร

อุกฤษฎ์ โอปนพันธ์ 116410905089-1

เทคโนโลยกี ารส่ือสาร

นาย อุกฤษฎ์ โอปนพนั ธ์ กลุ่มที่ 38
รหสั นักศึกษา 116410905089-1

รายงงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาการค้นคว้าและการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ
สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564







เทคโนโลยกี ารส่ือสาร

นาย อกุ ฤษฎ์ โอปนพนั ธ์ กลุ่มที่ 38
รหัสนกั ศึกษา 116410905089-1

รายงงานนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาวิชาการค้นคว้าและการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ
สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564





คานา

รายงานฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือปฏิบตั ิการเขียนรายงานการคน้ ควา้ ท่ีถูกตอ้ งอย่างเป็ น
ระบบ อนั เป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวิชา 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงาน
เชิงวิชาการ ซ่ึงจะนาไปใช้ในการทารายงานคน้ ควา้ สาหรับรายวิชาอ่ืนไดอ้ ีกต่อไป การท่ี
ผูจ้ ดั ทาเลือกทาเรื่อง “เทคโนโลยีการสื่อสาร” เน่ืองด้วยในการใช้ชีวิตประจาวนั มีการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการส่ือสารอยู่บ่อยคร้ัง ดงั น้ันจึงมีความจาเป็ นอย่างมากท่ีจะตอ้ งนาเสนอ
ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เทคโนโลยกี ารส่ือสาร

รายงานเล่มน้ีกล่าวถึงเน้ือหาเก่ียวกบั ความหมาย ความสาคญั ความเป็นมา ประโยชน์
ของเทคโนโลยีการส่ือสาร ประเภทของการส่ือสาร และ องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของการส่ือสาร
ขอ้ มูลเหมาะสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการรับรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การส่ือสารทางเทคโนโลยีที่ถูกตอ้ ง
และทราบแนวทางการสื่อสารโดยใชเ้ ทคโนโลยี

ขอขอบคุณผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ ท่ีกรุณาให้ความรู้และคาแนะนา
โดยตลอด และขอขอบคุณเพื่อนๆทุกคน ที่ใหค้ วามสะดวกในการคน้ หาขอ้ มูล รวมไปถึงท่าน
เจา้ ของบทความ ท่ีผเู้ ขียนใชอ้ า้ งอิงทุกท่าน หามีขอ้ บกพร่องประการใด ผูเ้ ขียนขอ้ นอ้ มรับไว้
เพื่อปรับปรุงต่อไป

นาย อุกฤษฎ์ โอปนพนั ธ์
18 ตุลาคม 2564





สารบญั

หนา้
คานา....................................................................................................................................................ก
บทท่ี

1. บทนา...........................................................................................................................................1
1.1ความหมายของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร....................................................................................1
1.2 ความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร...................................................................................2
1.3 ความเป็นมาของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร...................................................................................2
1.4 ประโยชนข์ องเทคโนโลยกี ารสื่อสาร......................................................................................3

2. องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของการส่ือสารขอ้ มูล....................................................................................4
2.1 ขอ้ มูลขา่ วสาร..........................................................................................................................4
2.1.1 ขอ้ ความ..........................................................................................................................4
2.1.2 ตวั เลข..............................................................................................................................4
2.1.3 รูปภาพ............................................................................................................................4
2.1.4 เสียง ...............................................................................................................................4
2.1.5 วดิ ีโอ...............................................................................................................................4





สารบัญ (ต่อ)

บทท่ี หนา้
2.2 ผสู้ ่ง...............................................................................................................................................5
2.3 ผรู้ ับ...............................................................................................................................................5
2.4 สื่อกลาง .......................................................................................................................................5
2.5 โปรโตคอล...................................................................................................................................5

3. ประเภทของการสื่อสาร.......................................................................................................................6
3.1 การส่ือสารระหวา่ งผรู้ ับและผสู้ ่ง..................................................................................................6
3.1.1 การสื่อสารขอ้ มูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) ......................................................6
3.1.2 การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางสลบั กนั (Half Duplex Transmission)....................................6
3.1.3 การส่ือสารขอ้ มูลสองทิศทางพร้อมกนั (Full Duplex Transmission)...................................6
3.2 การส่ือสารขอ้ มูลทางคอมพวิ เตอร์................................................................................................6
3.2.1 ประเภทของสญั ญาณทางไฟฟ้า............................................................................................7
3.2.1.1 สญั ญาณแบบดิจิทลั (Digitals signal)................................................................................7
3.2.1.2 สญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก (Analog Signal).........................................................................7
3.3 ประเภทของระบบเครือขา่ ย..........................................................................................................7
3.3.1 ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ Local Area Network (LAN) ........................................................7
3.3.2 ระบบเครือข่ายระหวา่ งเมือง Metropolitan Area Network (MAN) .....................................8





สารบญั (ต่อ)

บทที่ หนา้
3.3.3 ระบบเครือข่ายระยะไกล Wide Area Network (WAN) .......................................................8

4. สรุป......................................................................................................................................................9
5.บรรณานุกรม.......................................................................................................................................10

1

บทท่ี 1
บทนา

ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ในปัจจุบนั ทาใหค้ นเราจาเป็นตอ้ ง
เรียนรู้และกา้ วทนั กบั ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน เทคโนโลยกี ลายเป็นสิ่งที่เกี่ยวขอ้ งกบั
ชีวติ ประจาวนั ในทุกดา้ นรวมท้งั ในดา้ นการจดั การศึกษาดว้ ย เทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสื่อสาร (information and communication technology: ICT) ซ่ึงหมายความถึง
คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ ระบบสื่อสารขอ้ มูล ดาวเทียม หรือเคร่ืองมือสื่อสารใด ๆ ท้งั ท่ีมีสาย
และไร้สาย (national electronics and computer technology center (NECTEC),
2002: 12) ส่งผลใหส้ งั คมแต่ละสงั คมเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งมาก ในการจดั การศึกษา
ของไทยกเ็ ช่นกนั ควรจะตอ้ งมีการพฒั นาปรับเปลี่ยนใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
และเทคโนโลยี

1.1 ความหมายของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร
เทคโนโลยี (technology) คือการประยกุ ตค์ วามรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ที่เก่ียวขอ้ งการ

ผลิต การสร้างวธิ ีการดาเนินงาน และรวมถึงอปุ กรณ์ต่างๆ ที่ไม่ไดม้ ีในตามธรรมชาติโลกแห่งเทคโนโลยยี คุ น้ี
ทาใหม้ นุษยไ์ ดร้ ับสิ่งอานวยความสะดวกจากเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชก้ บั การดาเนินชีวติ ประจาวนั มากมายนบั
ไม่ถว้ น
การสื่อสาร (communication) หมายถึงกระบวนการถา่ ยทอดข่าวสาร ขอ้ มูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก
ความคิดเห็น ความตอ้ งการจากผสู้ ่งสารโดยผา่ นสื่อต่าง ๆ ท่ีอาจเป็นการพดู

2

การเขียน สญั ลกั ษณ์อ่ืนใด การแสดงหรือการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ไปยงั ผรู้ ับสาร ซ่ึงอาจจะใช้
กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกนั ไปตามความเหมาะสม หรือความจาเป็นของตนเองและคูส่ ่ือสาร โดยมี
วตั ถุประสงคใ์ หเ้ กิดการรับรู้ร่วมกนั และมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกนั บริบททางการสื่อสารท่ีเหมาะสมเป็น
ปัจจยั สาคญั ที่จะช่วยใหก้ ารส่ือสารสมั ฤทธ์ิผล

เทคโนโลยกี ารสื่อสาร (communication technology) หมายถึง ส่ิงที่มนุษยพ์ ฒั นาข้ึนเพื่อใชใ้ นการ
สื่อสารระหวา่ งกนั โดยการถา่ ยทอด รับรู้ขา่ วสารร่วมกนั ผา่ นเครื่องมือเหล่าน้นั ซ่ึงไม่จาเป็นตอ้ งเป็น เคร่ืองมือ
อปุ กรณ์ เคร่ืองจกั ร วสั ดุ เพยี งอยา่ งเดียว อาจหมายรวมถึงกระบวนการต่าง ท่ีเกิดจากการประยกุ ตท์ าง
วทิ ยาศาสตร์ดว้ ย

1.2 ความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร

การส่ือสารถือเป็นส่วนสาคญั ในการติดต่อขา่ วสารถึงกนั การพฒั นาทางดา้ นการสื่อสารข้ึนมาเพื่อ
อานวยความสะดวกในการส่งขา่ วสารมากข้ึน ติดต่อสื่อสารไดไ้ กลมากข้ึน สิ่งที่นกั วทิ ยาศาสตร์สนใจใน
จุดเริ่มตน้ ของการสื่อสารคือต้งั ความมุ่งหมายที่จะกระจายขา่ วสารจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจุดอื่น ๆ ท่ีอยไู่ กลไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็ว และแผก่ วา้ งออก

การสื่อสารเป็นสิ่งสาคญั ต่อการดารงชีวติ อยขู่ องมนุษยโ์ ลก ในปัจจุบนั ซ่ึงเป็นยคุ ของโลกไร้พรมแดน
(globalization) หากมีการติดต่อส่ือสารที่สะดวก รวดเร็ว ยอ่ มทาใหก้ ารพฒั นาประเทศชาติในทุก ๆ ดา้ น
เจริญกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็ว เนื่องจากการติดต่อส่ือสารตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาเกี่ยวขอ้ งมากมาย

1.3 ความเป็ นมาของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร

เทคโนโลยกี ารส่ือสารมีการพฒั นาควบคู่กบั การเปล่ียนแปลงในระบบการเมืองและเศรษฐกิจและการ
ขยายระบบของการใชพ้ ลงั งาน การสื่อสารมีต้งั แต่กระบวนการแลกเปลี่ยนที่ละเอียดออ่ นไปจนถึงการสนทนา
เตม็ รูปแบบและการส่ือสารมวลชน ประวตั ิความเป็นมาของการสื่อสารท่ีตวั เองสามารถจะยอ้ นไปต้งั แต่ท่ีมาของ
คาพดู ประมาณ 500,000 คริสตศกั ราช การใชเ้ ทคโนโลยใี นการส่ือสาร

3

อาจพิจารณาไดต้ ้งั แต่การใชส้ ญั ลกั ษณ์คร้ังแรกเม่ือประมาณ 30,000 ปี ก่อนคริสตศกั ราช ท่ามกลางสญั ลกั ษณ์ที่
ใชม้ ีภาพเขียนถ้า, petroglyphs, รูปสญั ลกั ษณ์และideograms การเขียนเป็นนวตั กรรมที่สาคญั เช่นเดียวกบั
เทคโนโลยกี ารพิมพแ์ ละเมื่อเร็ว ๆ น้ีการสื่อสารโทรคมนาคมและอินเทอร์เนต็

1.4 ประโยชน์ของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร
เทคโนโลยกี ารส่ือสารสามารถพฒั นาประสิทธิภาพการดาเนินงานท้งั ในดา้ นเวลา ดา้ นการใชท้ รัพยากร

บุคคลและตน้ ทุน ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึงสารสนเทศไดจ้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกองคก์ ร จึงเป็น
ประโยชนต์ ่อบุคคล, กลุ่มบุคคล, องคก์ ร

4

บทที่ 2
องค์ประกอบพืน้ ฐานของการส่ือสารข้อมูล

องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของการส่ือสารขอ้ มูลคือปัจจยั ท่ีทาใหเ้ กิดการสื่อสารทางเทคโนโลยี มีอยู่ 5 อยา่ ง
คือ ขอ้ มูลข่าวสาร (message) ผสู้ ่ง (sender) ผรู้ ับ (receiver) สื่อกลาง (medium) โปรโตคอล (protocol)

2.1 ข้อมูลข่าวสาร (message)

คือสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีส่งผา่ นไปในระบบส่ือสาร ซ่ึงอาจถูกเรียกวา่ สารสนเทศ (information)
โดยแบ่งเป็น 5 รูปแบบ ดงั น้ี

2.1.1 ขอ้ ความ (text)
ใชแ้ ทนตวั อกั ขระต่าง ๆ ซ่ึงจะแทนดว้ ยรหสั ต่าง ๆ เช่น รหสั แอสกี

2.1.2 ตวั เลข (number)
ใชแ้ ทนตวั เลขต่าง ๆ ซ่ึงตวั เลขไม่ไดถ้ ูกแทนดว้ ยรหสั แอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสอง

โดยตรง
2.1.3 รูปภาพ (images)

ขอ้ มูลของรูปภาพจะแทนดว้ ยจุดสีเรียงกนั ไปตามขนาดของรูปภาพ
2.1.4 เสียง (audio)

ขอ้ มูลเสียงจะแตกต่างจากขอ้ ความ ตวั เลข และรูปภาพเพราะขอ้ มูลเสียงจะเป็นสญั ญาณ
ต่อเน่ืองกนั ไป
2.1.5 วิดีโอ (video)

ใชแ้ สดงภาพเคล่ือนไหว ซ่ึงเกิดจากการรวมกนั ของรูปภาพหลาย ๆ รูป

5

2.2 ผู้ส่ง (sender)
เป็นตน้ ทางท่ีใชใ้ นการส่งข่าวสาร (Message) เป็นตน้ ทางของการส่ือสารขอ้ มูลมีหนา้ ท่ีเตรียมสร้าง

ขอ้ มูล เช่น ผพู้ ดู โทรทศั น์ กลอ้ งวดิ ีทศั น์ เป็นตน้

2.3 ผู้รับ (receiver)
เป็นปลายทางการส่ือสาร มีหนา้ ที่รับขอ้ มูลที่ส่งมาให้ เช่น ผฟู้ ัง เครื่องรับโทรทศั น์ เครื่องพิมพ์ เป็นตน้

2.4 ส่ือกลาง (medium)
หรือตวั กลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพอ่ื นาขอ้ มูลจากตน้ ทางไปยงั ปลายทางโดยใชเ้ ทคโนโลยกี าร

สื่อสาร สื่อส่งขอ้ มูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายใยแกว้ นาแสง หรือคลื่นที่ส่งผา่ นทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คล่ืน
ไมโครเวฟ คลื่นวิทยภุ าคพ้นื ดิน หรือคลื่นวทิ ยผุ า่ นดาวเทียม

2.5 โปรโตคอล (protocol)
คือ วธิ ีการหรือกฎระเบียบที่ใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูลเพอ่ื ใหผ้ รู้ ับและผสู้ ่ง สามารถเขา้ ใจกนั หรือคุยกนั รู้

เรื่อง โดยท้งั สองฝ่ังท้งั ผรู้ ับและผสู้ ่งไดต้ กลงกนั ไวก้ ่อนลว่ งหนา้ แลว้ ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยใู่ นส่วนของ
ซอฟตแ์ วร์ท่ีมีหนา้ ท่ีทาใหก้ ารดาเนินงานในการสื่อสารขอ้ มูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้

6

บทท่ี 3
ประเภทของการสื่อสาร

การสื่อสารทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีการจาแนกการสื่อสาร แบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ การสื่อสาร
ระหวา่ งผรู้ ับและผสู้ ่ง การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางสลบั กนั และ ประเภทของระบบเครือข่าย

3.1 การส่ือสารระหว่างผู้รับและผู้ส่ง

3.1.1 การสื่อสารขอ้ มูลทิศทางเดียว (simplex transmission)

เป็นการติดต่อส่ือสารเพยี งทิศทางเดียว คือผสู้ ่งจะส่งขอ้ มูลเพียงฝ่ังเดียวและโดยฝั่งรับ
ไม่มีการตอบกลบั เช่น การกระจายเสียงของสถานีวทิ ยุ การส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์

3.1.2 การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางสลบั กนั (half duplex transmission)

เป็นการส่ือสาร 2 ทิศทางแต่คนละเวลากนั เช่น วิทยสุ ื่อสาร

3.1.3 การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางพร้อมกนั (full duplex transmission)

เป็นการสื่อสาร 2 ทิศทาง โดยสามารถส่งขอ้ มูลในเวลาเดียวกนั ได้ เช่น การคุย

โทรศพั ท์ เป็นตน้

3.2 การสื่อสารข้อมูลทางคอมพวิ เตอร์

การส่ือสารขอ้ มูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ขอ้ มูลหรือการแลกเปลี่ยนขอ้ มูล
ระหวา่ งผสู้ ่งตน้ ทางกบั ผรู้ ับปลายทาง ท้งั ขอ้ มูลประเภท ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง หรือขอ้ มูลสื่อผสม โดยผสู้ ่งตน้
ทางส่งขอ้ มูลผา่ นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีหนา้ ท่ีแปลง

7

ขอ้ มูลเหลา่ น้นั ใหอ้ ยใู่ นรูปสญั ญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากน้นั ถึงส่งไปยงั อปุ กรณ์หรือ
คอมพิวเตอร์ปลายทาง
ประเภทของสญั ญาณทางไฟฟ้า
สญั ญาณทางไฟฟ้า จาแนกสญั ญาณได้ 2 ลกั ษณะ คือ

3.2.1 สญั ญาณแบบดิจิทลั (digitals signal)
คือสญั ญาณที่ถูกแบ่งเป็นช่วงๆ อยา่ งไม่ต่อเน่ือง (Discrete) โดยลกั ษณะของสญั ญาณจะแบ่ง

ออกเป็นสองระดบั เพือ่ แทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละ
สถานะคือ การใหแ้ รงดนั ทางไฟฟ้าที่แตกต่างกนั การทางานในคอมพวิ เตอร์ใชส้ ญั ญาณดิจิทลั
3.2.2 สญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก (analog Signal)

สญั ญาณคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ีมีความต่อเนื่องของสญั ญาณ โดยไม่เปล่ียนแปลงแบบ
ทนั ทีทนั ใดเหมือนกบั สญั ญาณดิจิทลั เช่น เสียงพดู หรืออุณหภูมิในอากาศเม่ือเทียบกบั เวลาที่เปล่ียนแปลงอยา่ ง
ต่อเน่ือง

3.3 ประเภทของระบบเครือข่าย
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ( computer network ) เป็นการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ต่อพว่ งเขา้

ดว้ ยกนั เพ่อื ใหส้ ามารถใชข้ อ้ มูลทรัพยากรร่วมกนั ได้
3.3.1 ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ Local Area Network (LAN)
คือ การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเลก็ ในพ้ืนท่ีไม่ใหญ่มากนกั เช่น ภายในหอ้ งปฎิบตั ิการ

คอมพวิ เตอร์ของโรงเรียน หรือภายในตวั อาคารสานกั งานต่างๆ

8

3.3.2 ระบบเครือขา่ ยระหวา่ งเมือง Metropolitan Area Network (MAN)
คือ การเช่ือมต่อเครือขา่ ยที่มีขนาดที่ใหญข่ ้ึนกวา่ LAN มกั เกิดจากการเเชื่อมโยง

เครือข่าย LAN ในบริเวณเดียวกนั เขา้ ดว้ ยกนั เช่น การเชื่อมต่อระบบระหวา่ งองคก์ รกบั องคก์ ร
3.3.3 ระบบเครือข่ายระยะไกล Wide Area Network (WAN)
เครือขา่ ยบริเวณกวา้ ง ซ่ึงอาจมีขอบเขตการเชื่อมต่อท่ีกวา้ งไกลมากข้ึนกวา่ ระบบ LAN

และ MAN ซ่ึงเม่ือเชื่อมต่อแลว้ จะก่อใหเ้ กิดเป็นระบบเครือขา่ ยในระดบั จงั หวดั ประเทศ หรือทวีปต่างๆทวั่ โลก

8

บทท4ี่

สรุป

ปัจจุบนั เทคโนโลยกี ารส่ือสารมีบทบาทต่อชีวติ ประจาวนั เป็นอยา่ งมาก เช่น มีการใชค้ อมพวิ เตอร์โทร
คุยในการทางาน หรือรับ-ส่งขอ้ มูลระหวา่ งกนั ตลอดจนใชโ้ ทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี (mobile phone) หรือ
โทรศพั ทม์ ือถือในการติดต่อสื่อสารองคก์ ารท้งั ภาครัฐและเอกชน ไดน้ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
เขา้ มาใชง้ านในทุกระดบั ช้นั ขององคก์ ร เช่น งานดา้ นการบริหาร การจดั การ และการปฏิบตั ิการ

องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของการส่ือสารขอ้ มูลคือปัจจยั ที่ทาใหเ้ กิดการสื่อสารทางเทคโนโลยี มีอยู่ 5 อยา่ ง
คือ

2.1 ขอ้ มูลขา่ วสาร (message)
2.2 ผสู้ ่ง (sender)
2.3 ผรู้ ับ (receiver)
2.4 สื่อกลาง (medium)
2.5 โปรโตคอล (protocol)
รัฐบาลไดเ้ ห็นความสาคญั ของระบบเทคโนโลยที างดา้ นคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร จึงประกาศใหป้ ี
พ.ศ.2538 เป็นปี แห่งเทคโนโลยสี ารสนเทศไทย มีการลงทุนเก่ียวกบั โครงการพ้นื ฐานทางดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการส่ือสารเป็นจานวนมาก เช่น มีการขยายระบบโทรศพั ท์ และขยายเครือข่ายการสื่อสาร มีการ
สร้างระบบฐานขอ้ มูลทะเบียนราษฎร์ ทาใหเ้ กิดการส่ือสารท่ีแตกต่างกนั จาแนกเป็นประเภทการสื่อสาร



9

บรรณานุกรม

“เทคโนโลยสี ่ือใหม่การส่ือสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/144966.pdf (สืบคน้ เม่ือ 7/9/2564)

“การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสารในองคก์ รกรณีศึกษา” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/144966.pdf (สืบคน้ เมื่อ 7/9/2564)

“เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www2.nrct.go.th/Portals/0/report/MP2559.pdf (สืบคน้ เม่ือ 7/9/2564)

“เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/sonrod222/bth-thi-1-thekhnoloyi-laea-kar-suxsar
(สืบคน้ เม่ือ 7/9/2564)

“เทคโนโลยกี ารส่ือสาร” (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://krunhon25.blogspot.com/p/blog-page_559.html (สืบคน้ เมื่อ 7/9/2564)

“เทคโนโลยกี ารสื่อสาร” (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.gotoknow.org/posts/308385 (สืบคน้ เมื่อ 8/9/2564)



10

“เทคโนโลยกี ารสื่อสาร” (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://communcationtechinfo.blogspot.com/ (สืบคน้ เมื่อ 8/9/2564)

“เทคโนโลยกี ารส่ือสารในองคก์ ร” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก

http://courseware.npru.ac.th/admin/files/20201016105452_7c1e6e83d7988d051e1ecddd92da92b8.pd
f (สืบคน้ เม่ือ 8/9/2564)

“เทคโนโลยกี ารส่ือสาร” (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://kru-it.com/computing-science-m2/communication-technology/ (สืบคน้ เมื่อ 8/9/2564)

“การประเมินโครงสร้างพ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา“
(ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://wb.yru.ac.th/bitstream/yru/2088/1/การประเมินโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ น

(สืบคน้ เม่ือ 8/9/2564)





เทคโนโลยกี ารส่ือสาร

นาย อุกฤษฎ์ โอปนพนั ธ์ กลุ่มที่ 38
รหสั นักศึกษา 116410905089-1

รายงงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาการค้นคว้าและการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ
สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564


Click to View FlipBook Version