The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประกวดโครงงาน ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 11

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pextw, 2021-09-17 01:02:04

การเผยแพร่โครงงาน แบบโปสเตอร์

การประกวดโครงงาน ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 11

การนำเสนอโครงงานของนักเรยีนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรคณติศาสตรเทคโนโลยแีละสง่ิแวดลอม
โรงเรยีนหอวงั

ผจูดัทำนายธนทัวาสนกุลนางสาวกัญญณชัเพชรบัวทองนางสาวภิญญาพัชญศรโีคตรครูทีป่รกึษาครสูพุจนชณุหะเพศย

อตัราสวนเซรามิกคอมโพสติระหวางแกลบและฟางขาวตอคณุสมบัตคิวามตานทานการแตกราวและฉนวนกนัความรอน
EffectofHusktoStrawRatioonCrackingandThermalResistanceofCeramicMatrixComposites

บทคดัยอ

โครงงานน้ีมีวตัถปุระสงคคือเพื่อศกึษาหาอัตราสวนของแกลบและฟางขาวท่มีปีระสิทธภิาพในการตานทานความแตกราวและกันความรอนไดดีท่สีดุในการทำแผนเซรามิกคอมโพสิตท่ผีสมแกลบและฟางขาวโดยศกึษาอตัราสวน
ระหวางแกลบตอฟางขาวในหนวยกรัมไดแก140:15,145:10และ150:5มาผสมกบัปนูซเีมนต1500กรมัแลวนำไปทดสอบความสารถในการทนความรอนโดยการนำไปเขาตูท่ใีหความรอนจากหลอดไฟขนาด100วตัตจำนวน
2หลอดแลววดัความรอนของผิวทงั้ดานที่โดนความรอนและดานทไ่ีมโดนเปนเวลา3ช่ัวโมงแลวนำมาเปรยีบเทยีบกนัหลังจากนัน้นำไปเขาเครื่องทดสอบUH-XSeriesUniversalHydraulicTestFramesเพือ่ทดสอบความสามารถ
ในการตานทานการแตกราวพบวาแผนเซรามกิคอมคอมโพสติระหวางทม่ีกีารผสมระหวางปนูซเีมนต:แกลบ:ฟางขาวในอตัราสวน(กรัม)1,500:140:15สามารถรบัแรงไดมากท่ีสุดที่45.944กิโลกรมัตอตารางเซนติเมตร
และสามารถกันความรอนไดมากท่ีสุดเม่ือเทียบกบัแผนเซรามิกคอมคอมโพสติระหวางท่ีมีการผสมระหวางปนูซีเมนต:แกลบ:ฟางขาวในอัตราสวน(กรมั)1,500:150:5และ1,500:145:10

ทีม่าและความสำคัญ วตัถุประสงค

เนื่องจากปจจบุนัน้ันในงานกอสรางบานนิยมใชวัสดปุระเภทอฐิและคอนกรีตเพราะมีความแข็งแรงหาซือ้งาย เพอ่ืศึกษาหาอัตราสวนของแกลบและฟางขาวทีม่ปีระสทิธิภาพในการตานทานความแตกราว
และใชงานสะดวกแตในตอนเชาทำใหวสัดุท่นีำมากอสรางโดนแดดเปนเวลานานทำใหเกิดการอมความรอนสงผลให และกันความรอนไดดทีสีุ่ดในการทำแผนเซรามิกคอมโพสติที่ผสมแกลบและฟางขาว
ภายในบานมีอณุหภูมสิงูขึน้คนจงึสรรหาวสัดุในการสรางบานทเ่ีปนฉนวนกนัความรอนสามารถปองกันความรอนไดดี
สมมติฐาน
แกลบซงึ่เปนวัสดุเหลือท้ิงทไี่ดจากกระบวนการสีของเปลือกขาวซงึ่แกลบมีซลิิกาจำนวนมากทำใหแกลบมคีวามแข็งสงู
และมกัถกูใชเปนสวนผสมของอฐิกอสรางเนอื่งจากสามารถทนความรอนไดดมีากกวา1000องศาเซลเซียส แผนเซรามกิคอมโพสติทม่ีกีารผสมระหวางปนูซีเมนต:แกลบ:ฟางขาวในอตัราสวน(g)
1,500:400:15มีประสทิธภิาพในการตานทานความแตกราวและกันความรอนไดดีท่สีดุ
ฟางขาวซงึ่พบในทองตลาดจำนวนมากมนี้ำหนกัเบาและมซีิลกิาเปนองคประกอบประมาณ13%รวมไปถงึยงัมงีานวิจัย
ของมหาวิทยาลยัเชยีงใหมและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงชาติ(สวทช.)กลาววาฟางขาวสามารถกนัไฟ ตัวแปรทีเ่กยี่วของ
และลดความรอนไดถงึ20องศาเซลเซยีส
ตัวแปรตน:ปรมิาณอตัราสวนของแกลบและฟางขาว
จากคณุสมบัตดิังกลาวของแกลบและฟางขาวคณะผูจดัทำจึงสนใจท่ีจะศกึษาการนำแกลบและฟางขาวในอัตราสวนท่ี ตวัแปรตาม:ความตานทานความแตกราวและความสามารถในการกันความรอน
แตกตางกนัมาผสมกบัปนูซเีมนตเพ่ือใหไดแผนเซรามกิคอมโพสติที่ผสมแกลบและฟางขาว ตวัแปรควบคมุ:ปรมิาณของปนูซเีมนต

วธิีทำการทดลอง ผลการทดลอง

1.นำแกลบและฟางขาวไปตากนำมาผสมกนัในอตัราสวนแกลบ:ฟางขาว(g)150:5,145:10และ140:15 ผลการทดสอบการกันความรอน
2.นำฟางขาวและแกลบท่ีผสมกันมาผสมกบัปนูซเีมนตในอัตราสวนคงที่ที่1,500กรมั
3.สรางแมแบบในการหลอซีเมนตความหนา7ซ.ม.สงู19ซ.ม.ยาว39ซ.ม.(มอก.58-2533)สำหรบันำไป ผลการทดสอบความตานทานการแตกราว
ทดสอบความตานทานการแตกราวและทดสอบความสามารถในการกันความรอน
4.นำอัตราสวนของปนูซเีมนตแกลบและฟางขาวผสมกับน้ำ40%ของนำ้หนักปนูซเีมนตแลวนำลงแมแบบ
5.เกล่ยีใหปูนกระจายอยางสมำ่เสมอไมใหเกิดชองโหวของอากาศภายในแลวปาดผิดหนาดานบนใหเรยีบ
รอใหแหงวางเกบ็ไวใหหางจากความช้ืนแลวแกะออกจากแมแบบ
การทดสอบการกนัความรอน
จดัทำตูท่ีเอาไวใชในการทดสอบโดยมชีนั้กัน้ตรงกลางเพือ่วางวสัดุตวัอยางชัน้บนเปนสวนที่ถูกจำลอง
ใหรบัความรอยโดยตรงจากหลอดไฟขนาด100วัตตจำนวน2หลอดสวนชนั้ลางถูกจำลองเปนหองภายในอาคาร
เทอรโมมิเตอรดจิิตอล2ชดุสำหรบัวัดอณุหภูมิท่ีผิวบนและผวิลางของวัสดุตวัอยางโดยวธิีการทดสอบคือตดิตงั้
เครื่องเทอรโมมเิตอรดิจิตอลของผวิท้งั2ของวัสดุจากนั้นเปดไฟใชเวลาในการทดสอบตวัอยางละ3ช่วัโมง
การทดสอบความตานทานการแตกราว
ใชเครื่องทดสอบการตานทานการแตกราวโดยการนำแผนวสัดุคอมโพสติไปวางอยรูะหวางฐานสำหรบัวางวสัดุ
และฝงสงแรงกดกดจนกระท่ังวัสดุคอมโพสิตแตกนำคาแรงกดมาเขาสมการ

วสัดุตวัอยาง1คอืการผสมระหวางปูนซีเมนต:แกลบ:ฟางขาวในอตัราสวน(กรัม)1,500:150:5
วัสดตุวัอยาง2คือการผสมระหวางปูนซเีมนต:แกลบ:ฟางขาวในอัตราสวน(กรัม)1,500:140:15
วสัดตุวัอยาง3คือการผสมระหวางปูนซีเมนต:แกลบ:ฟางขาวในอัตราสวน(กรมั)1,500:145:10

อภิปรายผลการทดลอง

จากการทดสอบความสามารถในการรับแรงอดัและการกันความรอนของแผนเซรามกิคอมโพสิตของปนูซเีมนต:แกลบ:ฟางขาวในอตัราสวนทตี่างกนัพบวาแผนเซรามิกคอมคอมโพสิตทม่ีีการผสมระหวางปนูซีเมนต:แกลบ:ฟางขาว
ในอตัราสวน(กรมั)1,500:150:5มคีาแรงอดั8.4373กโิลกรัม/ตารางเซนติเมตรและกันความรอนไดนอยทส่ีดุแผนเซรามกิคอมคอมโพสติระหวางทม่ีีการผสมระหวางปนูซเีมนต:แกลบ:ฟางขาวในอตัราสวน(กรมั)1,500:140:15
มคีาแรงอัด45.944กโิลกรมั/ตารางเซนตเิมตรและกนัความรอนไดมากทส่ีดุแผนเซรามิกคอมคอมโพสติระหวางทมี่กีารผสมระหวางปนูซเีมนต:แกลบ:ฟางขาวในอัตราสวน(กรัม)1,500:145:10มีคาแรงอดั33.97
กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตรและกนัความรอนไดมากเปนอันดับ2

โรงเรยีนโครงการหองเรยีนพิเศษวทิยาศาสตรคณติศาสตรเทคโนโลยีและสงิ่แวดลอม
เครือขายภาคกลางตอนบนวันที่15-16กนัยายนพ.ศ.2564



การนำเสนอโครงงานของนกัเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวทิยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยแีละสง่ิแวดล้อม

โรงเรียนเทพศริินทร์

บานสตัวเลีย้งหลอเยน็

บทคัดยอ 1 4 วธิกีารดำเนนิงาน

ขอมูลอางองิจากในนิตยาสารรกัสัตวปพ.ศ.2551พบวามีคนไทยเล้ียงสัตว 1.วางแบบบาน
จำนวน150ลานตัวและในปพ.ศ.2556พบวาการเลยี้งสตัวจำนวนมากขึน้ถงึ 2.วางแบบวงจรภายในบานภายในระบบ
180ลานตวัซ่งึแสดงใหเห็นวาจำนวนประชากรไทยมีแนวโนมเล้ยีงสตัวมากข้นึ 3.ตดัไมตามแบบบาน
โดยเฉพาะอบางย่ิงสนุขัทม่ีีถนิ่กำเนดิมาจากเมืองหนาวเชนไซบเีรยีนฮสัก้ี 4.นำไมที่ตดัมาประกอบตามแบบบาน
เยอรมันเชพเพิรดและโกลเดนรทีรฟีเวอรเปนตนซ่งึสตัวเหลาน้จีงึมขีนยาว 5.ยดึไมเขาดวยกันโดยใชการตอกตะปู
เพ่อืปรบัตัวใหเขากบัสภาพอากาศทีห่นาวเยน็แตการนำสตัวเหลานีม้าเลยี้ง 6.เริม่วางสายไฟตามแบบแผน
ในประเทศไทยซึ่งมสีภาพอากาศรอนจึงทำใหสุนขัเกดิอาการหงุดงดิโมโหราย 7.การตอสายไฟเขาpowersupplyแลวตอเขากับอุปกรณภายในวงจร
กัดทำลายส่งิของแตเมอ่ืนำเขามาเล้ยีงภายในบานท่ีมีเคร่อืงปรับอากาศก็อาจทำให 8.จัดเก็บสายไฟใหสวยงาม
คนในบานเกิดอาการแพขนสัตวจนเกดิอันตรายหรือมกีลน่ิเหมน็อบั
อันเกดิจากมาจากตวัสุนขัจากปญหาทไ่ีดกลาวมาในขางตน 5 สรปุผลการทดลอง

ทม่ีาและความสำคัญ 2 1.สามารถสรางบานสัตวเล้ยีงหลอเยน็
2.จากการศึกษาการควบคุมอุณหภูมิพบไดวามกีารคลาดเคลอ่ืนของอณุหภูมิภาย
สตัวเลยี้งบางประเภทไมสามารถอาศัยอยูในอณุหภูมปิระเทสไทยได เพราะถาอณุหภมูิภายนอกสงูการทำงานของระบบกจ็ะทำงานหนักตามไปดวย
คนสวนใหญจงึหาวธิกีารในการเลย้ีงดตูางๆมากมายเพอ่ืใหสามารถอาศัยอยูรวมกันไดหนงึ่ใน ทำใหการปรบัอุณหภมูภิายในใชเวลานานข้ึนกวาจะถงึตามหนาแสดงผลทเ่ีราตัง้
วิธีนน้ักค็อืการติดต้งัเคร่ืองปรบัอากาศหรอืสตัวทีต่องอาศัย
อยูในอุณหภมูิตำ่จำพวกหมาไซบีเรียนแตในการทำแบบนจี้ำเปนตองเปดเคร่อืงปรับอากาศ 6 ผลการวจิยั
ไวตลอด24ชม.ทำใหเปลืองคาไฟเปนจำนวนมากทั้งยังทำใหเครอ่ืงปรบัอากาศเส่ือมสภาพ
เนือ่งจากใชงานหนักมากเกินไปจงึทำใหเสียเงนิจำนวนมากกบัการบำรุงรักษาและคาไฟฟา

วตัถุประสงค 3 เม่ือทดลองการควบคมุอุณหภูมภิายในบานสตัวเลย้ีงหลอเยน็พบวาจากการทดลอง
ทงั้หมด2ชวงเวลาคอืกลางวัน(12.00-15.00)และกลางคนื(19.00–22.00)
พบวาตอนกลางวันสามารถควบคมุอณุหภมูไิดตพสุดเฉล่ีย26องศาตอนเยน็
สามารถควบคุมอุณหภมูไิดต่ำสุดเฉลี่ย23.5องศา

1.ประดิษฐบานทีม่เีครอ่ืงปรับอากาศสำหรบัสตัวเล้ียงบางประเภทท่ีไมสามารถอาศยัอยู
ในสภาพแวดลอมของประเทศไทยได
2.เพื่อตรวจสอบการทำงานของเคร่ืองปรับอากาศสำหรับสัตวเล้ียงวาประหยัดไฟมากกวา
เครอ่ืงปรับอากาศบานหรอืไม

โรงเรียนโครงการหองเรียนวทิยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยแีละส่งิแวดลอม
เครอืขายภาคกลางตอนบนวันที่15-16กนัยายนพ.ศ.2564

การนาํ เสนอโครงงานของนักเรยี นโครงการหองเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ ม
โรงเรยี นเทพศิรินทร

เครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของเบรก ผลการทดลอง
รถยนต์อยา่ งง่าย
ผลการประดิษฐเ์ ครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของเบรกรถยนต์อยา่ งง่าย

คณะผู้จัดทําโครงงาน ครูทีปรึกษา

นายพิช ุตม์ วงศ์พันธุ์ นางสิริรัตน์ ประจักษ์วรวิทย์
นายนรุตม์ พู นพลังใจ นางสาวนฤมล วัฒนศฤงฆาร
นายสธน เลาลักษณเลิศ

บทคัดย่อ การทดสอบประสทิ ธภิ าพการแจ้งเตือนของเครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของ
เบรก รถยนต์อยา่ งง่าย พบวา่ เปนไปตามทีวางแผนไว้ แต่ฟงก์ชนั การแจ้ง
คณะผจู้ ดั ทําโครงงานได้ตระหนกั ถึงปญหาอุตบตั ิเหตทุ างรถยนต์ทีเกิดจากอาการเไหม้ จงึ เกิดแนวคิดทีจะหาวธิ กี ารปองกันคือ การ เตือนด้วยเสยี งสามารถใชไ้ ด้แค่ในบางบราวเซอร์ เนอื งจากนโยบายความ
ประดิษฐ์ "เครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของเบรกรถยนต์อยา่ งง่าย" เพอื ลดโอกาสในการเกิดอุบตั ิเหตบุ นท้องถนน อันเนอื งมาจากอาการ เปนสว่ นตัวของGoogle
ผา้ เบรกไหมโ้ ดยใช้ Infrared Sensor รุน่ GY-906 MLX90614 ในการวดั อุณหภมู จิ ากนนั จะสง่ ค่าให้ Raspberry Pi ผา่ น
GPIO แล้ว Raspberry Pi จะทํา การเก็บอุณหภมู เิ ขา้ ฐานขอ้ มูล firebase ซงึ สามารถเรยี กดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ซงึ จากการทดสอบ จากตารางพบว่า ในขณะทีอุ ณหภูมิน้อยกว่า 150 องศาเซลเซียส
เครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของเบรกรถยนต์อยา่ งง่าย พบวา่ เครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นเบรกรถยนต์อยา่ งง่ายนนั สามารถแสดงผลใหผ้ ู้ จะไม่มีเสียงแจ้งเตือนเกิดขึน แต่ในช่วงอุ ณหภูมิทีมากกว่า 150
ใชด้ ขู อ้ มูลอุณหภมู ไิ ด้ผา่ นทางหน้าจออุปกรณท์ ีสามารถเชอื มอินเทอรเ์ น็ตได้ (เชน่ โทรศัพท์มอื ถือ คอมพวิ เตอร์ แท็ปเล็ต เปนต้น) โดย องศาเซลเซียสจะมีเสียงแจ้งเตือนด้วย ซึงประโยคทีพู ดจะแตก
ฟงก์ชนั เสยี งแจ้งเตือน สามารถเปดได้เฉพาะใน บราวเซอรF์ irefox เนอื งด้วยนโยบายของบราวเซอรอ์ ืนๆ ไมอ่ นญุ าตใหเ้ ปดเสยี ง ต่างกันตามความสูงอุ ณหภูมิ
โดยทีผใู้ ชไ้ มไ่ ด้สมั ผสั หน้าจอขณะเขา้ ใชเ้ วบ็ ไซต์ และจากการนาํ ไปทดลองจบั ความรอ้ น โดยสงิ ประดิษฐด์ ังกล่าวสามารถแจ้ง เตือน
อุณหภมู ไิ ด้อยา่ งแมน่ ยาํ เมอื อุณหภมู ถิ ึงเกณฑ์ต่างๆ ซงึ การแจ้งเตือนดังกล่าวชว่ ย ใหผ้ ขู้ บั ขที ราบถึงอุณหภมู เิ บรก ณ ขณะนนั และ สรุปผลการทดลอง
ทําการหยุดพกั การเบรกได้ทันเวลา
1. สามารถออกแบบและประดิษฐ์เครืองแจ้งเตือนความร้อนของ
ทีมาและความสาํ คัญ เบรกรถยนต์อย่างง่ายได้แต่ยังไม่สามารถนาํ ไปทดลองติดตังและ
ใ ช้ ง า น กั บ ร ถ จ ริ ง ไ ด้ เ นื อ ง จ า ก มี ส ถ า น ก า ร ณ์ แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค โ ค
จากทีเราจะเหน็ กันได้บอ่ ยๆตามขา่ ว วา่ มอี ุบตั ิเหตทุ างท้องถนนทีเกิดจากเบรกไหม้ สง่ ผลใหห้ ลายๆคนได้รบั บาดเจ็บหรอื เสยี ชวี ติ ซงึ วิด-19
ผคู้ นทีเหน็ ขา่ วนนั ต่างก็หวาดวติ กกับการขบั รถลงทางลาดไปด้วย 2. การประดิษฐ์เครืองแจ้งเตือนความร้อนของเบรกรถยนต์อย่าง
ง่าย ทําให้พบว่าเครืองแจ้งเตือนความร้อนของเบรกรถยนต์อย่าง
อุบตั ิเหตเุ บรกไหม้ สว่ นหนงึ เกิดจากเบรกรถ แต่สว่ นสาํ คัญทีทําใหเ้ กิดอุบตั ิเหตนุ นั อีกอยา่ งก็คือการทีผขู้ บั ขไี มร่ ูอ้ ุณหภมู ขิ องเบรก ง่าย สามารถวัดอุ ณหภูมิแสดงผลเปนค่าอุ ณหภูมิและแจ้งเตือน
รถตัวเอง มารูอ้ ีกทีเมอื เบรกรอ้ นเกินไปก็สายไปเสยี แล้ว ทางผจู้ ดั ทําได้เล็งเหน็ ถึงปญหานี จงึ ได้สรา้ งสรรค์เครอื งวดั ความรอ้ นเบรก เปนเสียงตามระดับของอุ ณหภูมิได้
อยา่ งง่ายทีสามารถทําได้ในราคาทีตําและนาํ ไปใชไ้ ด้จรงิ

วัตถุประสงค์ ขันตอนการดําเนินงาน

1.เพอื ประดิษฐเ์ ครอื งแจ้งเตือนความรอ้ นของเบรก 1. ออกแบบคําสังการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา
รถยนต์อยา่ งง่าย PYTHON
2.เพอื ตรวจสอบคณุ ภาพของเครอื งแจ้งเตือนความ 2. ร่างแปลนเครืองแจ้งเตือนความร้อนของเบรก
รอ้ นของเบรกรถยนต์อยา่ งง่าย ร ถ ย น ต์ อ ย่ า ง ง่ า ย

3. ประดิษฐ์เครืองแจ้งเตือนความร้อนของเบรก
ร ถ ย น ต์ อ ย่ า ง ง่ า ย ต า ม แ ป ล น ที อ อ ก แ บ บ ไ ว้

โรงเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศารตร คณิตศาสตร เทตโนโลยีและสิ่งแวดลอม
เครือขายภาคกลางตอนบน วันที่ XX-XX กันยายน พ.ศ.2564

การนาํ เสนอโครงงานของนกั เรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม
โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์

การเปรยี บเทียบสมบตั ิทางกายภาพของเพคติน ทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยแต่ละชนดิ

บทคัดยอ่

งานวจิ ยั ครงั นมี วี ตั ถปุ ระสงค์เพอื ศึกษาหาปรมิ าณสารเพคติน และศึกษาคณุ สมบตั ิทางกายภาพและทางเคมขี องเพคตินทีไดจ้ ากเปลือกกล้วย 5 ชนดิ ไดแ้ ก่
เปลือกกล้วยตานี เปลือกกล้วยนาํ วา้ เปลือกกล้วยไข่ เปลือกกล้วยเล็บมอื นาง และเปลือกกล้วยหอม พบวา่ ปรมิ าณเพคตินทีไดจ้ ากเปลือกกล้วยหอมมปี รมิ าณ
มากทีสดุ รองลงมาเปนเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยไขแ่ ละเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยนาํ วา้ มปี รมิ าณนอ้ ยสดุ เท่ากับรอ้ ยละ 0.93 , 0.91 และ 0.79
ตามลําดบั เมอื นาํ เพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยตานี เปลือกกล้วยนาํ วา้ เปลือกกล้วยไข่ เปลือกกล้วยเล็บมอื นาง และเปลือกกล้วยหอม ไปศึกษาคณุ สมบตั ิ
เฉพาะพบวา่ เพคตินทัง 5 ชนดิ จดั เปนเพคตินชนดิ HMP เนอื งจากมปี รมิ าณเมทอกซลิ ในเพคตินรอ้ ยละ 13.81 ± 0.21, 15.05 ± 0.66, 13.11 ± 0.61 14.68 ± 0.32,
13.51± 0.77 ตามลําดบั และมคี ่าใกล้เคียงกับเพคตินมาตรฐาน (รอ้ ยละ14.66 ± 0.25)

บทนาํ วธิ กี ารทดลอง

เพคติน (pectin) เปนสารประกอบพอลิแซก็ คารไ์ รด์ โดยทัวไปจะพบในชนั ของ 1.นาํ เปลือกกล้วยมาหนั เปนชนิ เล็ก ๆ
มดิ เดลิ ลาเมลลาของเซลล์พชื ทกุ ชนดิ โดยเพคตินทีเกิดขนึ ครงั แรกเปนเพคติน 2.นาํ เปลือกกล้วยทีหนั แล้วไปอบแหง้ ทีอุณหภมู ิ 80 °C 2 ชวั โมง
ชนดิ ทีไมล่ ะลายนาํ เรยี กวา่ โปรโตเพคติน (protopectin) สามารถพบไดใ้ นผลไม้ 3.นาํ เปลือกกล้วย แต่ละชนิ ทีแหง้ แล้วมาปนใหล้ ะเอียด 500 กรมั
ทีดบิ แต่พอผลไมเ้ รมิ สกุ โปรโตเพคตินจะเปลียนกลายเปนเพคตินทีสามารถ 4.นาํ ผงเปลือกกล้วยมาเติมนาํ กลัน 1 ลิตร
ละลายนาํ ไดจ้ งึ ทําใหผ้ ลไมส้ กุ อ่อนนมิ สารประกอบเพคตินจะประกอบดว้ ยหนว่ ย 5.ปรบั pH ดว้ ยกรดไฮโดรคลอลิก ใหเ้ ท่ากับ 2.0
ยอ่ ยของกรดกาแล็กทโู รนกิ ต่อเชอื มกันดว้ ยพนั ธะแอลฟา 1,4 ไกลโคซดิ กิ (α- 1,4 6.ต้มทีอุณหภมู ิ 60 องศาเซลเซยี ส เปนเวลา 1 ชวั โมง จากนนั ทิงใหเ้ ยน็
glycosidic) โดยในโมเลกลุ ของเพคตินมนี าํ ตาลหลายชนดิ เปนองค์ประกอบ เชน่ 7.กรองเอากากกล้วยออก นาํ สารละลายทีไดม้ าตกตะกอนดว้ ยเอทานอล 95 %
กลโู คส กาแล็กโทส แมนโนส ซงึ สว่ นใหญจ่ ะพบในปรมิ าณเล็กนอ้ ย อยา่ งไรก็ตาม ที pH 3.0
ถ้ามสี ว่ นประกอบของนาํ ตาลปรมิ าณมากจะทําใหเ้ พคตินมคี ณุ ภาพลดลง 8.นาํ กากกล้วยไปทําซาํ ตังแต่ขอ้ 1
9.กรองเอาตะกอน จากนนั นาํ ตะกอนทีไดม้ าอบทีอุณหภมู ิ 50 °C
เวลา 1 ชวั โมง แล้วบดใหเ้ ปนผง
10.นาํ เพคตินทีไดไ้ ปชงั นาํ หนกั เพอื หาปรมิ าณเพคติน

ตารางที 1 วตั ถปุ ระสงค์
การเปรยี บเทียบ
ผลการวดั ค่า pH 1.เพอื เปรยี บเทียบปรมิ าณสารสกัดเพคตินจากเปลือกกล้วยแต่ละชนดิ
2.เพอื ศึกษาคณุ สมบตั ิของสารเพคตินทางเคมแี ละกายภาพทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยแต่ละชนดิ
3.เพอื เปรยี บเทียบสมบตั ิทางกายภาพของของเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยแต่ละชนดิ

ตารางที 2 ตัวแปร
การเปรยี บเทียบ
สารเพคตินทีมอี ยูใ่ น ตัวแปรต้น : ชนดิ ของเปลือกกล้วยทีนาํ มาทําการทดลอง
เปลือกกล้วยแต่ละชนดิ ตัวแปรตาม : รอ้ ยละปรมิ าณสารสกัดเพคตินจากเปลือกกล้วย
ตัวแปรควบคมุ : นาํ หนกั เปลือกกล้วยทีนาํ มาทดลอง ปรมิ าณสารทีใชส้ กัด
อุณหภมู ใิ นการทดลอง ระยะเวลาในการอบ

จากการศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกกล้วย 5 ชนดิ ไดแ้ ก่ เปลือกกล้วยตานี ตารางที 3 การหาปรมิ าณ methoxy content
เปลือกกล้วยนาํ วา้ เปลือกกล้วยไข่ เปลือกกล้วยเล็บมอื นาง และเปลือกกล้วยหอม พบวา่

- ผลการเปรยี บเทียบปรมิ าณเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยแต่ละชนดิ
พบวา่ ปรมิ าณเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยหอมมปี รมิ าณมากทีสดุ รอ้ ยละ 0.93
- ผลการวดั ค่า pH ของเพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วย 5 ชนดิ
พบวา่ เพคตินทีสกัดไดจ้ ากเปลือกกล้วยหอมมคี ่าความเปนกรดสงู สดุ คือ 2.48
- ผลการหานาํ หนกั สมมูลของเพคตินจากเปลือกกล้วย 5 ชนดิ เพคตินทีสกัดไดจ้ าก
เปลือกกล้วยนาํ วา้ มนี าํ หนกั สมมูลสงู สดุ เท่ากับ 1,428
- เพคตินทีมเี มทอกซลิ รอ้ ยละ 8.16 ขนึ ไป จดั เปนเพคตินชนดิ HMP พบวา่ เพคตินทีสกัดได้
จากเปลือกกล้วยตานี กล้วยนาํ วา้ กล้วยไข่ กล้วยเล็บมอื นาง และกล้วยหอม จดั เปนเพคตินชนดิ HMP
โดยมปี รมิ าณเมทอกซลิ ในเพคตินรอ้ ยละ 13.81 ± 0.21, 15.05 ± 0.66, 13.11 ± 0.61 14.68 ± 0.32,
13.51 ± 0.77 ตามลําดบั

โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กันยายน พ.ศ.2654

การนาํ เสนอโครงงานของนกั เรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม

โรงเรยี น เทพศิรนิ ทร์

การศึกษาประสทิ ธภิ าพของไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาว
เพอื ทําฟล์มเคลือบผวิ มะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้

บทคัดยอ่ วตั ถปุ ระสงค์

วธิ กี ารสกัดไคตินและไคโตซานทีแตกต่างกัน ทังปรมิ าณสารทีใชใ้ นการสกัด ขนั ตอนและ การเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพของโคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาวและไคโตซาน
ลําดบั ทีใชใ้ นการสกัด สง่ ผลใหป้ ระสทิ ธภิ าพของไคตินและไคโตซานทีไดจ้ ากการสกัดมปี ระสทิ ธภิ าพที สาํ เรจ็ รปู ทีมผี ลต่อการชว่ ยชะลอความสกุ ของมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้
แตกต่างกันออกไป โดยไคโตซานแต่ละแบบ มปี ระสทิ ธภิ าพในการใชง้ านแต่ละประเภทแตกต่างกัน
สง่ ผลใหไ้ คโตซานสาํ เรจ็ รปู มสี ตู รทีใชใ้ นท้องตลาดมหี ลากหลายสตู ร การนาํ ไคโตซานไปใช้ สามารถ ตัวแปรทีเกียวขอ้ ง
ทําไดห้ ลากหลายวธิ ี ทังการนาํ ไปใชใ้ นการผสมเพอื เปนอาหารเสรมิ ใหแ้ ก่สตั วน์ าํ การนาํ ไปใชเ้ พอื ผสม
เปนปุยอินทรยี ใ์ นการเกษตร หรอื การแปรรปู เปนฟล์มสาํ หรบั การถนอมผลไมเ้ ชน่ กัน

การใชไ้ คโตซานเพอื ชะลอการสกุ ของผลไมส้ าํ หรบั การบรโิ ภคยงั ไมม่ กี ารใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายใน ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่ วธิ กี ารสกัดไคโตซาน ชนดิ ของสงิ มชี วี ติ ทีนาํ มาสกัดไคโตซาน ความเขม้ ขน้
ของสารละลายไคโตซาน
ท้องตลาดสง่ ผลใหไ้ คโตซานทีใชส้ าํ หรบั การแปรรปู เปนฟล์ม สามารถหาซอื ไดย้ าก งานวจิ ยั นจี งึ มี

วตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษาวธิ กี ารสกัดไคโตซานทีไดจ้ ากเปลือกก้งุ ขาว เพอื นาํ ไปเปรยี บเทียบ

ประสทิ ธภิ าพกับไคโตซานสาํ เรจ็ รปู สตู รมาตรฐาน ในการชว่ ยชะลอการสกุ ของผลมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ระยะเวลาทีผลมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไมส้ กุ

ดอกไม้ โดยการนาํ ก้งุ ขาวจาํ นวน 1.8 กิโลกรมั มาคัดแยกเปลือกก้งุ ไดป้ รมิ าณนาํ หนกั แหง้ ของ

เปลือกก้งุ ขาว 90.72 กรมั และนาํ ไปกําจดั โปรตีนดว้ ยสารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ ความเขม้ ขน้ ตัวแปรควบคมุ ไดแ้ ก่ อุณหภมู ิ สถานที ขนาดของผลมะมว่ ง พนั ธุข์ องมะมว่ ง จาํ นวนผลมะมว่ ง
ความหนาของสารละลายไคโตซานทีใชเ้ คลือบผวิ มะมว่ ง
4% w/v จากนนั กําจดั แรธ่ าตดุ ว้ ยสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ ความเขม้ ขน้ 4% v/v และกําจดั สดี ว้ ย

สารละลายเอทานอล 95% v/v ตามลําดบั ไดป้ รมิ าณไคติน 26.42 กรมั (29.12% w/w) จากนนั

ทําการกําจดั หมูอ่ ะซที ิลดว้ ยสารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ ความเขม้ ขน้ 40% w/v และนาํ มาบด

ละเอียด จะไดป้ รมิ าณไคโตซานบรสิ ทุ ธิ 18.61 กรมั (20.51% w/w) ผลการทดลอง

จากการตรวจสอบค่าสแี ละค่า pH ของไคโตซานจากเปลือกก้งุ และไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ไมพ่ บวา่ ค่าสี (L* a* และ b*)
มคี วามแตกต่างกัน (p>0.05) จากการเคลือบผวิ มะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้ ดว้ ยสารละลายไคโตซานทีได้
จากเปลือกก้งุ และไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ความเขม้ ขน้ 0, 1 และ 2 (w/v) ผลการวจิ ยั พบวา่ ในชุดทดลอง จากตารางวดั ค่าสี จะเหน็ ไดว้ า่ ค่าสที ีไดจ้ ากการวดั ไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาว และไคโตซาน
ทีมกี ารเคลือบดว้ ยสารละลายไคโตซาน สามารถชว่ ยชะลอการสกุ ของมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้ ได้ สาํ เรจ็ รปู มคี ่าสี L* a* และ b* ไมแ่ ตกต่างกัน (p>0.05)
ยาวนานกวา่ ชุดทดลองทีไมม่ กี ารเคลือบสารละลายไคโตซาน และในชุดการทดลองทีมกี ารเคลือบผวิ
ของมะมว่ งดว้ ยสารละลายไคโตซานทีไดจ้ ากการสกัดเปลือกก้งุ ขาว สง่ ผลชว่ ยชะลอการสกุ ของ ทีค่าสขี องไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาว มคี ่าไมแ่ ตกต่างกับค่าทีไดจ้ ากไคโตซานสาํ เรจ็ รปู เพราะ
มะมว่ ง ไดย้ าวนานกวา่ ชุดทดลองทีเคลือบดว้ ยสารละลายไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ในทกุ ความเขม้ ขน้ มกี ารกําจดั สดี ว้ ยสารละลายเอทานอล 95% v/v จงึ ทําใหส้ ารสจี ากเปลือกก้งุ โดนกําจดั ออกจนมคี ่า
ใกล้เคียงกับไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ทีคาดวา่ ผา่ นกระบวนการ การกําจดั สมี าเชน่ เดยี วกัน
สามารถกล่าวโดยสรปุ ไดว้ า่ ไคโตซานทีไดจ้ ากการสกัดดว้ ยเปลือกก้งุ ขาว มปี ระสทิ ธภิ าพ
มากกวา่ ไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ในการชว่ ยชะลอการสกุ ของมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้ ค่า pH

ทีมาและความสาํ คัญ ค่า pH ทีไดจ้ ากการวดั ไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาว และไคโตซานสาํ เรจ็ รปู มคี ่าทีไมแ่ ตกต่าง
กัน (p>0.05) ซงึ ค่าทีไดจ้ ากการวดั ไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาวมคี ่า 7.28 และค่าทีไดจ้ ากการวดั ไค
ในปจจุบนั มกี ารนยิ มใชฟ้ ล์มสงั เคราะหใ์ นการหอ่ หมุ้ ผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ ตัวอยา่ งเชน่ โตซานสาํ เรจ็ รปู มคี ่า 7.32 ซงึ มคี ่าเปนกลางและมคี ่าใกล้เคียงกับนาํ กลันทีไดน้ าํ มาวดั (7.29)
ผลิตภัณฑ์อาหารกึงสาํ เรจ็ รปู ผลิตภัณฑ์ประเภทของสดต่างๆ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เปนต้น ซงึ
การใชฟ้ ล์มสงั เคราะหใ์ นการหอ่ หมุ้ ผลิตภัณฑ์สาํ หรบั การบรโิ ภค สามารถทําใหผ้ บู้ รโิ ภคไดร้ บั สารเคมี สาเหตทุ ีวดั ค่า pH ของไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาว และไคโตซานสาํ เรจ็ รปู ไดค้ ่าใกล้เคียงกับ
เขา้ สรู่ า่ งกาย และอาจสง่ ผลเสยี ต่อระบบรา่ งกายในระยะยาว หากไมจ่ ดั การกับผลิตภัณฑ์ทีซอื มา ค่ากลาง (7) เนอื งจากไดม้ กี ารล้างสารละลายทีไดใ้ ชใ้ นระหวา่ งการสกัดออกจนหมด จงึ ทําใหค้ ่าทีไดม้ ี
อยา่ งถกู ต้อง ค่าใกล้เคียงค่ากลาง ซงึ คณุ สมบตั ิของไคโตซานตามปกติแล้ว จะมคี ่า pH อยูท่ ีประมาณ 7

จากปญหาในขา้ งต้น ทําใหเ้ หน็ ถึงผลกระทบต่อผบู้ รโิ ภคในการบรโิ ภคผลิตภัณฑ์ทีมกี ารใช้ ผลการเปรยี บเทียบการชะลอของความสขุ ของผลมะมว่ ง
ฟล์มสงั เคราะห์ และไดส้ บื ค้นแนวทาง จนไดพ้ บวา่ มกี ารใชส้ ารละลายไคโตซานในการเคลือบผวิ ของ
ผลิตภัณฑ์ ซงึ เปนสารทีไดจ้ ากธรรมชาติ ไมม่ สี ารตกค้าง และไมส่ ง่ ผลเสยี ต่อรา่ งกายเมอื บรโิ ภค เล็ง จากชุดควบคมุ ระยะเวลาทีมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไมส้ กุ คือ 6 วนั ระยะเวลาของผลมะมว่ งพนั ธุน์ าํ
เหน็ ไดว้ า่ ไคโตซาน อาจเปนแนวทางใหเ้ หล่าผคู้ ้า ในการเลือกใชไ้ คโตซาน แทนทีการใชฟ้ ล์มสงั เคราะห์ ดอกไมท้ ีเคลือบดว้ ยไคโตซานสาํ เรจ็ รปู คือ 9 วนั และระยะเวลาของผลมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไมท้ ีเคลือบ
ทีเปนอันตรายต่อผบู้ รโิ ภคได้ ดว้ ยไคโตซานจากเปลือกก้งุ ขาวคือ 11 วนั ซงึ มรี ะยะเวลายาวนานกวา่ ชุดควบคมุ (183.33%) และมี
ระยะเวลายาวนานกวา่ มะมว่ งทีเคลือบดว้ ยไคโตซานสาํ เรจ็ รปู (122.22%) โดยคาดวา่ มสี าเหตมุ าจาก
เนอื งจากไคโตซานในปจจุบนั นยิ มใชใ้ นการเกษตร ใชเ้ ปนสว่ นผสมในการทําปุยธรรมชาติ ใช้ การชว่ ยชะลอการลดลงของปรมิ าณแปง และการเพมิ ขนึ ของปรมิ าณนาํ ตาลภายในผลมะมว่ ง ทําให้
ในการใหเ้ ปนอาหารเสรมิ แก่สตั วน์ าํ ทีเลียงไว้ มากกวา่ การทีนาํ มาใชท้ ําเปนสารเคลือบผลิตภัณฑ์ อัตราการสกุ ของผลมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้ มอี ัตราทีลดตําลง และสามารถขยายระยะเวลาการสกุ ของ
สาํ หรบั บรโิ ภค ทําให้ การจะหาซอื ไคโตซานตามท้องตลาด ทีมกี ารสกัดและปรบั ปรงุ สตู รใหใ้ ชส้ าํ หรบั ผลมะมว่ งได้
การทําฟล์มเคลือบนนั สามารถหาซอื ไดโ้ ดยยาก และอาจเปนเหตผุ ลทีทําใหไ้ มน่ ยิ มการใชไ้ คโตซาน ใน
การนาํ มาใชเ้ ปนสารละลายไคโตซานสาํ หรบั การเคลือบผลิตภัณฑ์เพอื การบรโิ ภค

เราจงึ เล็งเหน็ ปญหานี และไดท้ ําการศึกษา โดยการนาํ เปลือกก้งุ ขาว ซงึ สามารถหาซอื ไดง้ ่าย
และเปนสว่ นทีเหลือหลังจากการบรโิ ภคก้งุ แล้ว มาสกัดเปนไคโตซาน และนาํ มาเปรยี บเทียบกับไคโต
ซานสาํ เรจ็ รปู ทีหาซอื ไดต้ ามท้องตลาดปจจุบนั เพอื เปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพในการชว่ ยชะลอการสกุ
ของมะมว่ งพนั ธุน์ าํ ดอกไม้ ซงึ เปนผลไมเ้ ศรษฐกิจ ทีไทยไดม้ กี ารสง่ ออกจาํ หนา่ ยเปนอันดบั ต้นๆ
ของประเทศ และเปนแนวทางใหผ้ ทู้ ีสนใจ สามารถนาํ ไปศึกษาต่อไดโ้ ดยง่าย

โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กันยายน พ.ศ.2564

การนําเสนอโครงงานของนักเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดลอ้ ม
โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์

ชะลอการเหยี วของผกั คะน้าดว้ ยสารสกดั จากธรรมชาตใิ นครวั เรอื น

บทคดั ยอ่

โครงงานเรอื งการคงสภาพของผกั คะน้าเปนโครงงานทบี รู ณาการความรใู้ นรายวชิ าเคมี จดั ทาํ ขนึ เนืองจากผศู้ กึ ษาไดส้ งั เกตจากพชื แตล่ ะชนิดมคี วามแตก
ตา่ งกนั ซึงผกั คะน้าจดั เปนพชื ผกั ทมี คี วามตอ้ งการของตลาดสงู และนิยมนํามาปลกู เพอื ขาย หรอื แมแ้ ตป่ ลกู เปนผกั สวนครวั เพอื นํามาประกอบอาหารไดห้ ลาย
อยา่ ง แตผ่ กั คะน้าเมอื เราเกบ็ ไวเ้ ปนเวลานานมกั จะมสี ภาพชา เหยี ว หรอื เฉา อาจมสี าเหตมุ าจากหลายปจจยั เช่น ไมท่ นตอ่ สภาพอากาศทรี อ้ น หรอื อาจจะมี
ความชืนมากเกนิ ไป จงึ ทาํ ใหผ้ ศู้ กึ ษามแี นวคดิ ทจี ะหาสารสกดั ชนิดตา่ ง ๆ จากพชื 3 ชนิดมาคงสภาพผกั คะน้าใหอ้ ยไู่ ดน้ านขนึ กวา่ เดมิ โดยการนําผกั ซึงผศู้ กึ ษา
ตอ้ งการคงสภาพ คอื ผกั คะน้าถกู นํามาใช้ในการประกอบอาหารมากอยแู่ ลว้ นํามาแช่ในสารสกดั 3 ชนิด คอื สารสกดั จากบรอกโคลี สารสกดั จากแครอทสาร
สกดั จากมะเขอื เทศ และผลทไี ดค้ อื สารสกดั จากแครอท สามารถช่วยชะลอการเหยี วของผกั คะน้าไดด้ ที สี ดุ

บทนํา วธิ กี ารทดลอง

เกดิ ปญหาในการเกบ็ รกั ษาอาหารทนี ํามากกั ตนุ ประสบปญหาการรกั ษา 1.นําแครอท มะเขอื เทศ บรอ็ คโคลี และไปชังนาหนักอยา่ งละ 50 กรมั
ความสดของผกั ขา้ พเจา้ จงึ สนใจในการแกป้ ญหานีโดยการทดสอบสารทหี า 2.นําพชื ทลี ะชนิดและนาทเี ตรยี มไวป้ นในเครอื งปน แลว้ นําสารสกดั ทไี ดไ้ ปกรอง
ไดใ้ นครวั เรอื น หรอื ภายในชุมชนทสี ามารถรกั ษาสภาพของผกั ตา่ ง ๆ จงึ มี 3.ใสน่ าสกดั ทไี ดจ้ ากพชื งชนิดลงในภาชนะทเี ตรยี มไวใ้ สภ่ าชนะ ภาชนะละ 200
ความพยายามทจี ะทาํ ใหค้ งสภาพของผกั โดยปลอดสารเคมี ถกู หลกั อนามยั มลิ ลลิ ติ ร
และปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภค การคน้ ควา้ จากสารธรรมชาตชิ นิดตา่ ง ๆ ทมี ี 4.ใสค่ ะน้าลงในภาชนะทจี ดั เตรยี มไว้
ประสทิ ธภิ าพในการทยี ดื อายคุ วามสดของผกั 5.บนั ทกึ ผลในแตล่ ะวนั

แครอท บลอ็ กโคลี มะเขอื เทศ ไมไ่ ดใ้ สส่ าร วตั ถปุ ระสงค์

ตารางที 1 1.เพือศึกษาการคงสภาพของคะน้า
บนั ทกึ ผลเปน 2.เพือทดสอบสารทีช่วยคงความสดของคะน้า
เวลา48ชัวโมง

ตารางที 2 ตวั แปร
บนั ทกึ ผลเปน
เวลา 72 ชัวโมง ตวั แปรตน้ : การเหยี วของผกั คะน้า
ตวั แปรตาม : สารสกดั จากธรรมชาตมิ ผี ลในการชะลอการเหยี วของผกั คะน้า
ตวั แปรควบคมุ : สถานที อณุ หภมู ิ ชนิดผกั เวลา

ตารางที 3 ขอบเขตการศกึ ษา
บนั ทกึ ผลเปน 1.ศกึ ษาโดยใช้ผกั คะน้าเปนตวั กาํ หนดการคงสภาพของผกั
เวลา 120 ชัวโมง 2.ศกึ ษาโดยใช้สารสกดั จากพชื ชนิดไดแ้ ก่ บรอ็ คโคลี แครอท และ มะเขอื เทศ

ตารางที 4 ประโยชน์ทคี าดวา่ จะไดร้ บั
บนั ทกึ ผลเปน
เวลา 144 ชัวโมง 1.ผลจากการทดลองโครงงานในครงั นีจะไดส้ ารทใี ช้ในการคงสภาพความเหยี วของผกั

จากการศกึ ษาการคงสภาพของตน้ คะน้าโดยใช้สารสกดั จากพชื
3 ชนิด ไดแ้ ก่ แครอท บลอ็ กโคลี มะเขอื เทศ ไดผ้ ลสรปุ ผลการคงสภาพของตน้
คะน้า นันสามารถคงสภาพ แตไ่ มส่ ามารถชะลอไดเ้ กนิ 144 ชัวโมง โดยเรยี ง
ลาํ ดบั ประสทิ ธภิ าพ จากมากไปน้อยในการชะลอการเหยี วตามลาํ ดบั ดงั นี
แครอท บลอ็ โคลี และมะเขอื เทศตามลาํ ดบั

โรงเรยี นโครงการห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ แวดลอ้ ม
เครอื ข่ายภาคกลางตอนบน วันที 15-16 กนั ยายน พ.ศ.2654

การนําเสนอโครงงานของนักเรยี นหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิงแวดลอ้ ม
โรงเรยี นสตรนี นทบรุ ี

การลดปรมิ าณคราบไขมนั ในนําทงิ
โดยสารสกดั จากไคโตซาน

Reducing the amount of grease in effluent by chitosan extractt

บทคัดยอ สมมตฐิ าน

การจัดทําโครงงานครงั นีมีวัตถปุ ระสงค์ เพือศึกษาการสกัดไคโตซาน ถ้านําแผน่ กรองจากไคโตซานมากรองนําเสียแลว้ ปริมาณสารอนิ ทรีย์ในนําจะลดลง
และความสามารถดักจับไขมนั ของไคโตซาน ขอบเขตการศึกษา หา
ปริมาณไคโตซานทีเหมาะสมสําหรับการดกั จบั ไขมนั ในนําผา่ นการ การสกดั ไคโตซาน วธิ กี ารดาํ เนินงาน
ลา้ งจาน โดยมีขันตอนการดาเนินงาน คอื นําเปลอื กกงุ้ ลา้ งและตาก
ให้แห้ง จากนันกาํ จัดแรธ่ าตุโดยใชก้ รดไฮโดรคลอลกิ แล้วนกไปลา้ ง นําเปลอื กกุ้งมาแกะขา แชH่ CIอีก ทดสอบ
ใหค้ า่ pHเปนกลาง และอบให้แห้ง จากนันนําไปกําจดั โปรตนี โดยใช้ และหวั ออกแล้วนํามา หนึงรอบ การทดสอบการดักจับไขมนั โดย
โซเดยี มไฮดรอกไซด์ แลว้ นําไป ลา้ งใหค้ า่ pHเปนกลาง และอบให้ ควั ใหแ้ ห้ง แลว้ ทงิ ไว้ เราจะนําไคโตซานไปแช่ในนําที
แห้ง จากนันกาจดั หม่อู ะซทิ ิล ดว้ ยโซเดยี มไฮดรอกไซด์ 50%w/v หนึงคนื ลา้ งจาน
ล้างใหเ้ ปน กลางและอบให้แหง้ ด้วยอณุ หภมู ิ 70 องศาเซลเซยี ส แลว้ นําไปตาํ ให้ละเอียดให้
นําไปกําจดั สีด้วยเอทานอล 95% จากนันนาไคโตซาน มาทดสอบการ ไดป้ ระมาณ 2-3 mm ตงั ทิงไว้แลว้ คน ทําเปน ไคโตซาน 2 กรัม 4 กรมั
ดกั จับไขมันในนําจากการลา้ งจานจากผลการทดลองพบว่าปริมาณ ตลอด2ชวั โมง และ 6 กรัม จาํ นวน 3 ชุดการ
ไคโตซานทีเหมาะสมทสี ุดคอื 2 กรัมตอ่ น้า 100 มลิ ลลิ ิตร เพราะ จากนันนําไปลา้ ง ทดลอง
สามารถดักจับไขมันไดม้ ากกวา่ และยงั มีค่า DO ในนํามากกวา่ ไคโต
ซานปรมิ าณ4 กรัม และ 6 กรัม ทางคณะ ผจู้ ดั ทํา จึงนาไคโตซานมา
ทําเปนผลิตภัณฑด์ ักจับไขมัน เพือลดการเน่าเสียของแหลง่ นํา

นําไปแช่HCI แลว้ เอาไป นําไปอบให้ เพอื หาปรมิ าณทเี หมาะสมในการ
ล้างใหค้ ่าpHเปนกลาง แห้ง ดกั จับไขมันมากทสี ุด จากนันนํา
ไคโตซาน
ท่มี าและความสําคญั
หาคา DO ทีแชน่ ันไปอบและชงั นําหนักเพอื
นําเปนองคป์ ระกอบหลักเเละเปน 3 ใน 4 ของโลกและนํายงั เปนสิง การทดสอบคา DO ทางคณะผูจัดทําจะใชช ุดทดสอบ เปรยี บเทยี บนําหนักที
สําคญั ในการดํารงชวี ติ ของสิงมชี วี ิตแต่ในปจจบุ ันมแี หลง่ นําเน่าเสียอยู่ ของมหาลัยมหิดลในการทดสอบคา DO เปลยี นแปลงไป
มากสาเหตุทที ําใหเ้ กิดมลพิษทางนําส่วนหนึงมาจากกิจกรรมในกรรม เช่น
การลา้ งจานเพราะจะมีไขมนั ทเี ปนสาเหตทุ ําให้เน่าเสียและปริมาณ น้ํ าหนักไคโต น้ํ าหนักหลังการทดลอง ผลการทดลองDissolved Oxygen ; DO ชุดท่ี 1
ออกซเิ จนในนําลดลงนําในธรรมชาติ จะมีค่าDO หรอื ปริมาณออกซิเจนที ซาน เฉล่ีย 3 ชดุ การทดลอง ชุดท่ี 2
ละลายอยใู่ นนํา 5-7 mg/L แต่นําเสียจะมคี ่า DO ตาํ กวา่ 3 mg/L ซึงสิง 8
มีชีวติ ไมส่ ามารถอาศัยอยู่ไดไ้ คโตซานเปนสารพอลิเมอร์ พบในเปลอื กกุ้ง 2g 2.04 g 6
กระดองปู แกนหมึกปจจุบันมีการนําไคโตซานมาประมาณใช้มากๆ และ 4
เปนพอลเิ มอรธ์ รรมชาติซึงไคโตซานเปนสารทีมีประจุบวกซึงดูดจับไขมนั 4g 4.02 g
ทีเปนประจุบวกทางคณะผ้จู ัดทําจงึ นําไคโตซานทีมคี ณุ สมบัตดิ ักจบั ไข
มันซงึ เปนผลติ ภณั ฑท์ ไี ด้จากธรรมชาตนิ ํามาบําบัดนําเสีย

วตั ถปุ ระสงค 6 g 6.01 g 2 ชดุ ท่ี 3

เพอื ศึกษาการสกดั ไคโตซาน สรปุ และอภิปรายผล 0
เพอื ศึกษาประสิทธิภาพของแผน่ ไคโตซานในการดักจบั ไขมนั ไคโตซาน2กรมั ไคโตซาน4กรมั ไคโตซาน6กรมั

ครทู ีปรึกษาโครงงาน การใชไ้ คโตซานมาดักจบั ไขมนั จําเปนต้องใช้ไคโตซานในปรมิ าณทเี หมาะสมกบั ปริมาณนํา
นางสาวปวณี วัสสา บาํ รงุ อุดมรัชต์ เสีย เพราะถ้าใช้ในปริมาณทมี ากเกนิ ไปหรอื น้อยเกนิ ไป ความสามารถในการดกั จบั ไขมนั จะ
ไม่มีประสิทธภิ าพเทา่ ทีควร
นางสาวปฐวี บญุ พิทักษ์
โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิงแวดลอ้ ม
อาจารยท์ ีปรกึ ษาโครงงาน เครือขา่ ยภาคกลางตอนบนวันที 15-16 กันยายน พ.ศ. 2564
ผศ.ดร. จักร แสงมา
ดร. ชมภูนุช ตันเจรญิ

การขจัดคราบหมึกดว้ ยสารสกัดจากธรรมชาติ
(Ink remover extracts from nature)

นายภาสวร แซโ่ ค้ว นายลักษณ์อธปิ บณั ฑติ อาภรณ์ นายภัทรภณ วชิ ยั ศรี
ครูทปี รกึ ษา ครูปยมาศ ศรสี มพนั ธ์

โครงงานนีมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื ศกึ ษาและทดสอบประสทิ ธภิ าพของสารสกัดจากธรรมชาติทมี คี ณุ สมบตั ิในการขจัดคราบหมกึ โดยแบง่ การทดลองเปน 2 สว่ น
ซงึ คือการสกัดสารจากผลไมต้ ัวอยา่ งและการทดสอบประสทิ ธภิ าพของสารสกัดจากธรรมชาติในการขจัดคราบหมกึ ลกู ลืน โดยจะใชค้ วามเขม้ ขน้ ของสารสกัดจาก
ธรรมชาติในชว่ งความเขม้ ขน้ 0.5 M, 1.0 M, 1.5 M และ 2.0 M และทดสอบโดยใชเ้ วลาในชว่ ง 3, 5, 7, 10 นาที แล้วนําไปเปรยี บเทยี บกับสเกลวดั ประสทิ ธภิ าพทมี ี
ระดับความจางของคราบหมกึ จากระดับ 7 (จางน้อยสดุ ) ไประดับ 1 (จางมากสดุ ) ซงึ จากการทดลองพบวา่ สารสกัดจากธรรมชาติมคี ณุ สมบตั ิในการขจัดคราบ
หมกึ และความเขม้ ขน้ ของสารสกัดจากธรรมชาติแปรผนั ตรงกับประสทิ ธภิ าพในการขจัดคราบหมกึ ซงึ ความเขม้ ขน้ ที 2 M พบวา่ มี ประสทิ ธภิ าพมากทสี ดุ ในการ
ขจัดคราบหมกึ โดยเมอื ครบ 10 นาที ระดับความจางตามสเกลวดั ประสทิ ธภิ าพลดลงจาก 7 ไป 1

Introduction Objectives

หมกึ ปากกาเปนสงิ ทมี นุษยน์ ํามาใชป้ ระโยชน์มาเปนเวลานาน ทวา่ นํามาซงึ 1) เพอื ศกึ ษาสารสกัดฯทปี ลอดภัยและมคี ณุ สมบตั ิในการขจัดคราบหมกึ
ปญหาคือ หมกึ ปากกาเปรอะเปอนตามผวิ หนังได้ ด้วยเหตนุ ีทางคณะผทู้ าํ วจิ ัยจึง 2)...ทดสอบประสทิ ธภิ าพของสารสกัดจากธรรมชาติทมี คี ณุ สมบตั ิในการ
ต้องการศกึ ษาวธิ กี ารขจัดคราบหมกึ โดยเลือกทจี ะศกึ ษาสารสกัดทมี คี ณุ สมบตั ิใน ขจัดคราบหมกึ
การขจัดคราบหมกึ ทสี กัดมาจากธรรมชาติ เนืองจากวา่ มคี วามปลอดภัยต่อผวิ หนัง
และสามารถสกัดได้ด้วยขนั ตอนทไี มซ่ บั ซอ้ น แล้วทดลองกับหมกึ ปากกาลกู ลืน เพอื Result & Discussion
ค้นหาประสทิ ธภิ าพในการขจัดคราบหมกึ ของสารสกัดจากธรรมชาติ

Experiment

1) ขนั ตอนการสกัดสาร

คันนามะนาวให้ได้ ต้มและกรองจน
ปรมิ าตร 500 มิลลิลิตร เหลือตะกอน

ใส่ กรองและใส่

NaOH CaCl2

ความเข้มข้น 10% m/v ความเข้มข้น 28.5% m/v
ปรมิ าณมากเกินพอ 70ml

C6H8O7 3NaOH Na3C6H5O7 3H₂O 1) จากการทดลอง พบว่ามกี ารเจือจางของคราบหมกึ บนหนงั หมู .ซงึ
แปรผนั ตามความเขม้ ขน้ ของกรดซติ รกิ ทีใชท้ ดลองตามสมมติฐาน .และตาม
ใส่ คนสารละลายแล้ว นําไปเข้าตู้แช่ หลักการในการรบกวนโมเลกลุ ของโครโมฟอรด์ ้วการออกซเิ ดชนั โดยโมเลกลุ
กรองกับต้มจนระเหยหมด แข็ง 24 ชัวโมง กรดซติ รกิ ในนา ..เพอื ปล่อยโมเลกลุ อิเล็กตรอนออกไปรบกวนโครงสรา้ งของ
H2SO4 โครโมฟอรบ์ นคราบหมกึ จนเปลียนแถบการดดู ซบั และสะท้อนสเปกตรมั แสง
ได้ผลึกกรดซิตรกิ
ความเข้มข้น 10.5% v/v 2) ตามขอ้ มลู ในตารางทีความเขม้ ขน้ p2[[ M มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ทีสดุ
200 ml และที 0.5 M มปี ระสทิ ธภิ าพตาทีสดุ โดยทีอาจมสี าเหตมุ าจากการทีปรมิ าณ
โมเลกลุ กรดซติ รกิ ยงั ไมเ่ พยี งพอในการทําออกซเิ ดชนั
2) การทดสอบประสทิ ธภิ าพ
Conclusion
นํากรดซิตรกิ มาแบ่งความ หยดหมึก 1 หยดบนหนังหมูจุ่มใน นํามาเทียบกับ
เข้มข้นเปน สารละลายสังเกตการเปลียนแปลง สเกลวัดความจาง จากการทดลองพบว่ากรดซติ รกิ นนั มคี ณุ สมบตั ิในการขจัดคราบหมกึ ที
เปอนตามรา่ งกายได้ และประสทิ ธภิ าพของสารสกัดแปรผนั ตรงกับความเขม้
2 M, 1.5 M, 1 M และ 0.5 M เพือหาเวลาทีเหมาะสม และบันทึกผล ขน้ ของสารสกัด โดยความเขม้ ขน้ 2 M นนั พบว่ามปี ระสทิ ธภิ าพในการขจัด
คราบหมกึ มากทีสดุ
จับเวลา 3, 5, 7, 10 นาที
References
สังเกตการเปลียนแปลง
ในแต่ละความเข้มข้นทํา3ซา F Nwoseu, A Kareem ,Production of citric acid from lemon and
cassava waste peels,Nigerian J. Mater. Sci. Eng 6 (1), 1-7, (2015)

Haustein, Catherine Hinga. K. Lee Lerner and Brenda Wilmoth
Lerner (eds.). Oxidation–Reduction Reaction. The Gale Encyclopedia
of Science (5th ed.). Farmington Hills, MI: Gale Group. (2014)

โครงการห้องเรยี นพิ เศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ แวดลอ้ ม
SK SCIENCE EXHIBITION วันที 15-16 กนั ยายน 2564

การนาํ เสนอโครงงานของนกั เรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดลอ้ ม
โรงเรยี นหอวงั

ผจู้ ดั ทํา นายจริ ฐั า เกยี รตมิ นั คง นางสาวณฐั ปภสั ร์ ศลี รตั นวงศ์ นางสาวพชิ ญา ฤทธวิ ธุ ครทู ปี รกึ ษา นายไชยา พรมโส

วสั ดปุ ดแผลจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละเจลาตนิ ผสมสารสกดั เคอรค์ มู นิ

Wound dressing from polyvinyl alcohol and gelatin containing curcumin

บทคดั ยอ่

โครงงานนมี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื สงั เคราะหว์ สั ดปุ ดแผลจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอล์ (PVA) และเจลาตนิ (Gelatin) ผสมสารสกดั เคอรค์ มู นิ จากขมนิ ชนั โดยการทดลองวตั ถปุ ระสงคท์ ี 1 ไดศ้ กึ ษาอตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ทมี ผี ลตอ่
การคณุ สมบตั ขิ องวสั ดปุ ดแผล โดยใชส้ ารละลายกรดซติ รกิ (Citric acid) ความเขม้ ขน้ 1.0 โมลาร์ เปนสารเขอื มขวาง พบวา่ ทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลท์ ี 6 : 4 มคี วามสามารถในการดดู ซบั นาํ อยทู่ รี อ้ ยละ 98.57 ซงึ เปนคา่ สงู สดุ เมอื เทยี บกบั
อตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ อนื วตั ถปุ ระสงคท์ ี 2 ไดต้ รวจสอบประสทิ ธภิ าพในการปลดปลอ่ ยสารของอตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอล์ (PVA) และเจลาตนิ (Gelatin) ทงั 4 อตั ราสว่ น พบวา่ จากการเปรยี บเทยี บอตั ราการปลดปลอ่ ยสารดว้ ยเครอื ง UV-Vis
spectrophotometerพบวา่ ทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอล์ (PVA) ตอ่ เจลาตนิ (Gelatin) ที 10 : 0 มอี ตั ราการปลดปลอ่ ยสารเฉลยี นอ้ ยทสี ดุ แสดงวา่ ความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลท์ มี ากกวา่ จะสง่ ผลใหก้ ารปลดปลอ่ ยสารของวสั ดปุ ด
แผลชา้ กวา่

ดงั นนั สรปุ ไดว้ า่ อตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ทเี หมาะสมทสี ดุ ในการการสงั เคราะหว์ สั ดปุ ดแผลคอื อตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ที 6 : 4 เนอื งจากใหค้ า่ รอ้ ยละการดดู ซบั นําสงู ทสี ดุ

ทมี าและความสาํ คญั วธิ กี ารทดลอง

ตงั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจจบุ นั ววิ ฒั นาการเกยี วกบั การแพทยก์ ม็ มี าอยา่ งตอ่ เนอื ง การฟนฟูและรกั ษารา่ งกายกม็ กี ารพฒั นามากขนึ ซงึ รา่ งกายมนษุ ย์ การทดลองที 1 การศึกษาอัตราสว่ นความเขม้ ขน้ ทีเหมาะสมของพอลิไวนลิ แอลกอฮอล์ต่อเจลาติน
สามารถเกดิ ทงั แผลหรอื อาการเจบ็ ปวยทงั ภายในและภายนอกรา่ งกาย และทกี ําลงั จะกลา่ วถงึ คอื แผลภายนอกรา่ งกาย ในปจจบุ นั มกี ารใชว้ สั ดปุ ดแผลหรอื ที
เรยี กไดอ้ กี อยา่ งวา่ วสั ดทุ ดแทนผวิ หนงั ซงึ มคี วามสาํ คญั คอื การปดปองบาดแผล โดยเฉพาะจากบาดแผลทสี ญู เสยี นาํ มากและมกี ารตดิ เชอื อยา่ งรนุ แรง เจอื จางเจลาตนิ เจอื จางกรดซติ รกิ ในนาํ กลนั ให้ ผสมพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละเจลาตนิ ที นาํ ตัวอยา่ งไฮโดรเจล มาแชใ่ นนาํ กลัน
โดยวสั ดปุ ดแผลนกี เ็ ปนสงิ ทมี กี ารพฒั นามาเปนระยะเวลานานและยงั คงมกี ารพฒั นาตอ่ ไปอยา่ งตอ่ เนอื ง พอลไิ วนลิ แอลกอฮอลใ์ นนาํ กลนั ไดค้ วามเขม้ ขน้ 1 โมลาร์ ติดตามการบวมตัว แล้วบนั ทึกผลและ
ใหไ้ ดค้ วามเขม้ ขน้ 10 โดยมวล ได้ 4 อตั ราสว่ นทกี ําหนดไวแ้ ละ นาํ ตัวอยา่ งไฮโดรเจลมาตากแหง้
ไฮโดรเจลคอื พอลเิ มอรท์ เี กดิ จากการเชอื มตอ่ กนั แบบโครงรา่ งตาขา่ ย 3 มติ ิ (3 Dimension cross-linking network) ทมี คี ณุ สมบตั พิ เิ ศษบาง ผสมกรดซติ รกิ ปรมิ าตร 10 มลิ ลลิ ติ ร คํานวณรอ้ ยละการดดู ซบั นาํ
ประการ ยกตวั อยา่ งเชน่ การชอบนาํ (Hydrophilic polymer)นนั เอง ไฮโดรเจลนนั สามารถหดตวั ไดเ้ มอื มกี ารสญู เสยี โมเลกลุ ของนาํ ออกไป ในขณะ
เดยี วกนั กจ็ ะรบั โมเลกลุ นาํ เขา้ ไปไดเ้ ชน่ กนั ซงึ ไฮโดรเจลกเ็ ปนอกี หนงึ วสั ดสุ งั เคราะหท์ สี ามารถนาํ มาสงั เคราะหว์ สั ดปุ ดแผลได้ และยงั คงมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ การทดลองที 2 ศึกษาประสทิ ธภิ าพในการปลดปล่อยยาของไฮโดรเจลทัง 4 ตัวอยา่ งทีผสมสารสกัดเคอรค์ มู นิ
เนอื ง
ล้างเหง้าขมนิ ใหส้ ะอาดและนาํ อบทีอุณหภมู ิ 60 องศาเซลเซยี ส นาํ ผงแหง้ มาสกัดSoxhlet ดว้ ย นาํ ผงทีสกัดเสรจ็ มา 0.25 กรมั ผสมกับแอซโี ตน
ดงั นนั คณะผจู้ ดั ทําจงึ สนใจทจี ะเตรยี มวสั ดปุ ดแผลโดยประยกุ ตใ์ ชจ้ ากไฮโดรเจลโดยเตรยี มจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลท์ เี ปนเทอรโ์ มพลาสตกิ ทมี สี มบตั ิ มาหนั เปนแผน่ บางๆ เปนเวลา 48 ชวั โมงแล้วนาํ มาบด เอทานอลเปนเวลา 2 ชวั โมง ประมาณ 22 หยดและไฮโดรเจลทีอัตราสว่ นต่างๆ
พเิ ศษ คอื สามารถยอ่ ยสลายไดท้ างชวี ภาพและเจลาตนิ ทไี มเ่ ปนพษิ ตอ่ เซลล์ หาซอื ไดง้ า่ ย และมรี าคาถกู ซงึ จะเชอื มขวางดว้ ยกรดซติ รกิ นาํ มาผสมกบั
สารสกดั เคอรค์ มู นิ จากขมนิ ชนั ทมี ปี ระสทิ ธภิ าพในการยบั ยงั เชอื แบคทเี รยี โดยขมนิ ชนั นนั ไมเ่ ปนพษิ ตอ่ เซลล์ หาซอื ไดง้ า่ ย และไมท่ ําลายสงิ แวดลอ้ ม
อกี ดว้ ย

วตั ถปุ ระสงค์ นาํ ไฮโดรเจลแหง้ แชใ่ นสารละลาย Phosphate buffer saline ทีมคี ่า pH 7.4 ในปรมิ าตร 50 มลิ ลิลิตร(ในกรณที ีไมม่ สี ารละลาย สามารถใชน้ าํ กลันแทนได)้ หลังจากนนั ดดู
สารละลายครงั ละ 5 มลิ ลิลิตร 3 ครงั ณ ทีเวลา 5 10 15 30 45 60 120 240 360 480 600 นาที และหยดสารละลายPhosphate buffer saline คืนตามปรมิ าตรทีดดู มาตา
1. เพอื ศกึ ษาอตั ราสว่ นทเี หมาะสมของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ในการขนึ รปู วสั ดปุ ดแผล มดว้ ยนาํ สารละลายทีดดู มาวดั ค่าการดดู กลืนแสงทีความยาวคลืน 658 นาโนเมตรดว้ ยเครอื ง UV-Vis Spectrophotometerเพอื วดั ปรมิ าตรเคอรค์ มู นิ ทีปลดปล่อยออกมา
2. เพอื สงั เคราะหว์ สั ดปุ ดแผลจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละเจลาตนิ ผสมสารสกดั เคอรค์ มู นิ
3. เพอื ทดสอบคณุ สมบตั ขิ องวสั ดปุ ดแผลจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละเจลาตนิ ผสมสารสกดั เคอรค์ มู นิ ผลการทดลอง การทดลองที 2 ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพในการปลด
4. เพอื ทดสอบประสทิ ธภิ าพของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละเจลาตนิ ผสมสารสกดั เคอรค์ มู นิ ปลอ่ ยยาของไฮโดรเจลทงั 4 ตวั อยา่ งทผี สมสารส
การทดลองที 1 การศกึ ษาอตั ราสว่ นความ
สมมตฐิ าน กดั เคอรค์ มู นิ โดยทดสอบการปลดปลอ่ ยสาร
เขม้ ขน้ ทเี หมาะสมของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่
1. ถา้ อตั ราสว่ นทเี หมาะสมของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ สง่ ผลตอ่ คณุ สมบตั ขิ องวสั ดปุ ดแผล ดงั นนั อตั ราสว่ นของ เจลาตนิ โดยทดสอบรอ้ ยละการดดู ซบั นํา
พอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ที 6:4 สง่ ผลใหไ้ ดว้ สั ดปุ ดแผลทมี คี ณุ สมบตั เิ หมาะสมทสี ดุ ตอ่ การสงั เคราะหว์ สั ดปุ ดแผล

2. ถา้ สารสกดั เคอรค์ มู นิ จากขมนิ ชนั มปี ระสทิ ธภิ าพในการยบั ยงั แบคทเี รยี ดงั นนั วสั ดปุ ดแผลจากพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่
เจลาตนิ ในอตั ราสว่ นทเี หมาะสมทสี ดุ ผสมกบั สารสกดั เคอรค์ มู นิ จากขมนิ ชนั มปี ระสทิ ธภิ าพในการยบั ยงั เชอื แบคทเี รยี ได้

ตวั แปรทเี กยี วขอ้ ง

ตวั แปรอสิ ระ อตั ราสว่ นของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ทใี ชใ้ นการขนึ รปู ไฮโดรเจล
ตวั แปรตาม คณุ สมบตั ขิ องแผน่ ฟลม์ (รอ้ ยละการดดู ซบั นาํ และการปลดปลอ่ ยยา)
ตวั แปรควบคมุ สถานทที ําการทดลอง, อุปกรณใ์ นการทดลอง, ปรมิ าณสารเชอื มขวางทใี ส,่ ปรมิ าณสารละลาย

ทใี ชใ้ นการขนึ รปู และวธิ กี ารตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องวสั ดปุ ดแผล

อภปิ รายผลการทดลอง

การเตรยี มวสั ดปุ ดแผลดว้ ยพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ แตกตา่ งกนั ทําใหว้ สั ดปุ ดแผลทไี ดม้ คี ณุ สมบตั ติ า่ งกนั โดยทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ 6 : 4 ใหค้ า่ รอ้ ยละการดดู ซบั นาํ สงู ทสี ดุ สรปุ ไดว้ า่ อตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลแ์ ละ
เจลาตนิ ทมี คี วามเขม้ ขน้ ของเจลาตนิ นอ้ ยลง สง่ ผลใหว้ สั ดปุ ดแผลมรี อ้ ยละการดดู ซบั นาํ เพมิ ขนึ สว่ นทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ 10 : 0 จะไมส่ ามารถทดสอบได้ เนอื งจากไมม่ เี จลาตนิ เพอื มาเชอื มกนั ไดเ้ ปนไฮโดรเจลและพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลม์ สี มบตั ลิ ะลายนาํ การตรวจสอบประสทิ ธภิ าพในการ
ปลดปลอ่ ยสาร(เคอรค์ มู นิ )ของวสั ดปุ ดแผลทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ แตกตา่ งกนั พบวา่ ในการวดั อตั ราการปลดปลอ่ ยสารดว้ ยเครอื ง UV-Vis Spectrophotometer ทอี ตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลต์ อ่ เจลาตนิ ที 10 : 0 มอี ตั ราการปลดปลอ่ ยสารเฉลยี ทนี อ้ ยทสี ดุ จงึ

สรปุ ไดว้ า่ การทมี คี วามเขม้ ขน้ ของพอลไิ วนลิ แอลกอฮอลน์ อ้ ยทสี ดุ มผี ลใหก้ ารปลดปลอ่ ยสารของวสั ดปุ ดแผลชา้ ลง

โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดลอ้ ม

เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กนั ยายน พ.ศ.2564

การนำเสนอโครงงานของนกัเรียนโครงการหองเรยีนพเิศษวทิยาศาสตรคณติศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม
โรงเรียนสงิหบุรี

¼Ù¨Œ´Ñ·Ó การปองกนัปลวกจากสารสกัดจากไมสัก
¹Ò³¸¹»Ò¹¾Ñ¹¸ØàÅ¢·Õè4
Çѵ¶»ØÃÐʧ¤
¹Ò¾§È¸ÃÃÍ´à§Ô¹àÅ¢·Õè9 à¾èÍ×ÈÖ¡ÉÒ»ÃÐÊ·Ô¸ÔÀÒ¾¡Òû‡Í§¡Ñ¹»ÅÇ¡¨Ò¡¡ÒÃÊ¡´ÑÊÒÃ

¹Ò§ÊÒǸÁÕÒ¾Ãáʧá¡ÇŒàÅ¢·Õè17 ¨Ò¡äÁŒÊ¡Ñ
ÊÁÁµÔ°Ò¹

¤Ã·Ùè»ÕáÖÉÒ¤³Ø¤Ã»Ù¹Ñ´´ÒÊØÃàÁ¸Ê¡ØÅ ÊÒÃÊ¡´Ñ¨Ò¡äÁŒÊÑ¡ÊÒÁÒö»‡Í§¡¹Ñ»ÅÇ¡ä´Œ

¤³Ø¤Ã¹Ùѹ·Ãѵ¹»ÃоØÊâà µÑÇá»Ã¡Ò÷´Åͧ

º·¤´ÑÂÍ‹ -µÑÇá»Ãµ¹Œ»ÃÔÁÒ³¤ÇÒÁà¢ÁŒ¢Œ¹¢Í§ÊÒÃÅÐÅÒÂÃŒÍÂÅÐ5
1020(â´ÂÁÇŵ͋»ÃÔÁÒµÃ)
â¤Ã§§Ò¹¡Òû͇§¡¹Ñ»ÅÇ¡¨Ò¡ÊÒÃÊ¡´Ñ¨Ò¡äÁŒÊÑ¡ÁÕ¨´Ø»ÃÐʧ¤
à¾Íè×È¡ÖÉÒÇÔ¸Õ¡ÒÃÊ¡Ñ´â´Â¡ÒÃ㪵ŒÇÑ·ÓÅÐÅÒÂàΡૹáÅйÓéÁѹʹ -µÇÑá»ÃµÒÁ¡ÒÃà»ÅÂÕè¹á»Å§¢Í§äÁ·Œ´Åͧ·Õè·ÒÊÒÃÊ¡Ñ´
-µÇÑá»Ã¤Çº¤Áت¹Ô´¢Í§»ÅÇ¡»ÃÔÁÒ³»ÅÇ¡ª¹´Ô¢Í§äÁŒ

໚¹µÇÑ·ÓÅÐÅÒÂ㹡ÒÃÊ¡Ñ´â´ÂàÃÒä´·ŒÓ¡Ò÷´Åͧâ´Â¡ÒÃ¹Ó Ê¡Ñ·èãÕªŒÊ¡´Ñ¤ÇÒÁÅÐàÍÕ´¢Í§äÁŒÊÑ¡·Õè㪷Œ´Åͧ

¢àéÕÅÍ×è¢ͧäÁÊŒ¡Ñã¹»ÃÁÔÒ³1¡ÃÑÁ2¡ÃÁÑáÅÐ6¡ÃÑÁ ·ÕèÁÒáÅФÇÒÁÊÓ¤ÞÑ
᪋änj㹵ÇÑ·ÓÅÐÅÒÂàΡૹáÅйÓéÁ¹Ñʹ»ÃÔÁÒµÃ30ÁÔÅÅÔÅԵà ã¹áµÅ‹Ð»‚»ÅÇ¡·Ó¤ÇÒÁàÊÂÕËÒµ͋·Ã¾ÑÊÔ¹ËÅÒÂÅÒŒ¹

໹šÃÐÂÐàÇÅÒ24ªÑèÇâÁ§¨Ò¡¹Ñ¹é¨Ö§¹ÓÊÒ÷ÊèÕ¡Ñ´ä´äŒ»·Ò¡ºÑäÁŒ ºÒ·áµ‹»ÅÇ¡¡ç§ÑÁÕ¤ÇÒÁÊÓ¤Þѵ‹ÍÃкº¹ÔàÇÈ»†ÒäÁÁŒÒ¡â´Â

áÅŒÇÊѧࡵ¼Å¡Ò÷´ÅͧNjһÅÇ¡Áվĵ¡ÔÃÃÁ¡ÒÃà»ÅÕÂè¹á»Å§Í‹ҧäà »ÅÇ¡ªÇ‹ÂÂÍ‹ÂÊÅÒÂäÁŒà¾Íè×໚¹ÍÔ¹·ÃÂÕǏѵ¶ÀØÒÂã¹´Ô¹¡Å‹ØÁ¢Í§

»ÅÇ¡¢éÖ¹äÁŒËÃ×ÍäÁ‹áÅÐà»ÃÂÕºà·Õº¤ÇÒÁà¢ÁŒ¢Œ¹¢Í§ÊÒÃÅÐÅÒÂÇ‹Ò ¾Ç¡àÃÒ¨Ö§ÍÂÒ¡·¨Õèл͇§¡Ñ¹»ÅÇ¡¢éÖ¹äÁŒµÒÁºÒŒ¹¤Çº¤Ù‹ä»¡Ñº

µŒÍ§ÁÕ¤ÇÒÁࢌÁ¢Œ¹à·‹Òã´¨§Ö¨ÐÁ»ÕÃÐÊÔ·¸ÀÔҾ㹡Òû‡Í§¡¹Ñ»ÅǡʧٷèÕÊ´Ø ¡ÒÃ͹ÃØ¡ÑÉ»ÅÇ¡ãËŒ¤§ÍÂÙ‹ÊÌҧ¤ÇÒÁÊÁ´ØÅãË¡ŒÑº¸ÃÃÁªÒµµÔ‹Í

ผลการดำเนนิงาน 仨֧à¡Ô´à»¹šâ¤Ã§§Ò¹¹é¢Õ¹Öé

Cheminpestcontrol.(2563).¤ÇÒÁÃàÙŒ¡ÕÂèǡѺàÃ×èͧ»ÅÇ¡

(Í͹䬏).Ê׺¤¹Œ¨Ò¡:

www.cheminpestcontrol.com/products/product-34[30

µÅØÒ¤Á2563]

Panawan.(2563).¤³ØÊÁºÑµ¢ÔͧäÁʌѡ(Í͹äŹ).Ê׺¤Œ¹¨Ò¡:

www.panawan49.com/

[30µØÅÒ¤Á2563]

Pro-team2010.(2563).¢ŒÍÁÙÅà¡ÕèÂǡѺ»ÅÇ¡(Í͹äŹ).ʺפ¹Œ

¨Ò¡:

www.pro-team2010.com/[30µÅØÒ¤Á2563]

Rentokill.(2563).»ÅÇ¡(Í͹äŹ).ʺפŒ¹¨Ò¡:www.ww-

w.rentokil.co.th/termites/

[30µØÅÒ¤Á2563] ปลวกไมกนิไมทท่ีาสารสกัดจากไมสักทีส่กดัโดยตวัทำละลาย
Termitebug.(2563).¤ÇÒÁÃÙ·ŒÑèÇä»à¡ÕèÂÇ¡ºÑ»ÅÇ¡(Í͹äŹ).ʺפŒ¹

¨Ò¡: เฮกเซน็นำ้มันสนและไมไอติมทไี่มทาสารสกัด
http://www.termitebug.com/[30µØÅÒ¤Á2563]

โรงเรยีนโครงการหองเรยีนพิเศษวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยแีละส่งิแวดลอม
เครือขายภาคกลางตอนบน
วันที่15-16กนัยายน2564

¡ÒùÓàʹÍâ¤Ã§§Ò¹¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹â¤Ã§¡ÒÃˌͧàÃÂÕ¹¾àÔÈÉÇ·ÔÂÒÈÒʵϤ³ÔµÈÒʵÏ෤â¹âÅÂÕáÅÐÊÔ§èáÇ´ÅÍŒÁ
âçàÃÕ¹෾ÈÃԹԷÏ

º·¤´ÑÂÍ‹ Çѵ¶Ø»ÃÐʧ¤

»ÃÐà·Èä·Â໚¹»ÃÐà·È·ÕèÁÕ¡Ò÷Óà¡ÉµÃ¡ÃÃÁÁÒ¡»ÃÐà·È˹Öè§áÅÐ 1.à¾×èÍÊÌҧ¡ÃдÒÉ´Ù´«ºÑàÍ·ÅÔ¹Õ¼ÊÁ¢Õàé¶ÒŒá¡ÅºáÅСҺÁоÃÒŒÇà¼Ò
˹Öè§ã¹¾×ª¼Å·Õ褹ä·Â»ÅÙ¡¡Ñ¹Í‹ҧá¾Ã‹ËÅÒ¡ç¤×ÍÁÐà¢×Íà·Èᵋ 2.à¾è×Íà»ÃÂÕºà·Õº»ÃÐÊÔ·¸ÀÔÒ¾¢Í§¡ÃдÒÉ´´Ù«ºÑàÍ·ÔÅÕ¹¼ÊÁ¢ÕéඌÒá¡Åº
ÁÐà¢×Íà·È¹Ñé¹ÊØ¡àÃçǨ֧à¡çºÃÑ¡ÉÒä´ŒäÁ‹¹Ò¹Ê‹Ç¹ÊÒÃà¤Å×ͺ¼ÔÇà¾×èÍ áÅСҺÁоÃÒŒÇà¼Ò
ªÐÅÍ¡ÒÃÊØ¡¡çÁÕÃÒ¤ÒÊÙ§¤³Ð¼ÙŒÇԨѨ֧ʹ㨷Õè¨Ð¼ÅÔµ¡ÃдÒÉ´Ù´
«ÑºàÍ·ÅÔ¹Õ·ÁèÕҨҡǵѶ´ØºÔ¸ÃÃÁªÒµáÔÅд×ÍÒ¡ØÒÃࡺçáÑÉҢͧÁÐà¢Í× ¢éѹµÍ¹¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹
à·Èä´Œ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒà¾×èÍà»ÃÕºà·Õº¤Ø³ÊÁºÑµÔ㹡ÒêÐÅÍ¡ÒÃÊØ¡¢Í§
ÁÐà¢×Íà·Èâ´Â㪌¡ÃдÒÉ´Ù´«ÑºàÍ·ÔÅÕ¹·Õè¼ÊÁ¡ÒºÁоÌÒÇà¼ÒáÅТÕéà¶ŒÒ 1.ÊÌҧ¡ÃдÒɨҡ¡Òº¡ÅŒÇÂ3Ẻ䴌ᡋäÁ‹¼ÊÁ,¼ÊÁ¡ÒºÁоÌÒÇ
á¡Åº·´Êͺ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾¡ÃдÒÉâ´Â¹Ó¡ÃдÒÉ,¡ÃдÒɼÊÁ¡Òº à¼Ò,¼ÊÁ¢ÕéඌÒá¡Åº
ÁоÌÒÇà¼ÒáÅСÃдÒɼÊÁ¢ÕéඌÒá¡ÅºË‹ÍÁÐà¢×Íà·È·ÕèÂѧäÁ‹ÊØ¡áÅÐ 2.µÑ´¡ÃдÒÉãËŒÁÕ¢¹Ò´20x30ૹµÔàÁµÃ¹ÓÁÒË‹ÍÁÐà¢×Íà·ÈáÅŒÇ
ÊѧࡵÊբͧÁÐà¢×Íà·È·Õèà»ÅÕè¹价ء3Çѹ໚¹àÇÅÒ12Çѹ¾º ãʋ㹶ا¾ÅÒʵԡáŌǹÓä»ãʋ㹡ŋͧ·Öº·ÕèàµÃÕÂÁäÇŒ
Ç‹ÒÁÐà¢×Íà·È·èËÕ‹Í´ŒÇ¡ÃдÒɼÊÁ¡ÒºÁоÌÒÇà¼ÒÁÊÕÕ·èÕà»ÅèÕ¹á»Å§ä» 3.Êѧࡵ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§ÊÕ¼ÔÇÁÐà¢×Íà·È·Ø¡3Çѹ໚¹àÇÅÒ12
¹ŒÍ·ÕèÊØ´ÃͧŧÁÒ¤×ÍÁÐà¢×Íà·È·ÕèË‹Í´ŒÇ¡ÃдÒɼÊÁ¢ÕéඌÒá¡ÅºáÅÐ Çѹ
¡ÃдÒÉ·ÕèäÁ‹¼ÊÁµÒÁÅӴѺ´Ñ§¹Ñ鹨֧ÊÃػ䴌NjҡÃдÒÉ·Õè¼ÊÁ¡Òº
ÁоÌÒÇà¼ÒÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡Òôٴ«ÑºàÍ·ÔÅչ䴌´Õ·ÕèÊØ´ ÀÒ¾ÃÐËÇ‹Ò§¡Ò÷´Åͧ

¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹
µÒÃÒ§ÃдѺÊÕ¼ÇԢͧÁÐà¢Í×à·È

µÒÃÒ§áÊ´§ÃдºÑʼÕÔǢͧÁÐà¢×Íà·È

â´Â ¤ÃÙ·èջáÖÉÒ
¹Ò¡ÄÉ´Ò¹Ô¾¹ØµÔÂѹµ ¹Ò§ÊÒÇÀÑ·ÃȏÞÒÊÁÁÒ¹Ð
¹Ò¾šĵ¶¹ÍÁ¾Å ¹Ò¹¹·¡ÃÍÃس¾Ä¡ÉÒ¡ÅØ
¹ÒÂÀÙÃÔ·µÑʹѵÀÔÒ¾

âçàÃÕ¹â¤Ã§¡ÒÃˌͧàÃÕ¹¾ÔàÈÉÇ·ÔÂÒÈÒʵϤ³µÔÈÒʵÏ෤â¹âÅÂÕáÅÐÊèÔ§áÇ´ÅÍŒÁ
à¤ÃÍ×¢Ò‹ÂÀÒ¤¡ÅÒ§µÍ¹º¹

การนำเสนอโครงงานของนักเรียนโครงการหองเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดลอ ม
โรงเรยี น เทพศริ นิ ทร

การศึกษาประสทิ ธิภาพของวัสดุแทนดินจากเปลอื กถัว่ ลสิ งและขุยมะพรา ว

บทคดั ยอ การเตรยี มวัสดปุ ลกู ข้นั ตอนการดำเนินงาน
การศึกษาประสทิ ธภิ าพของวัสดปุ ลกู แทนดินจากขยุ มะพรา ว เปลอื กถ่ัวลิสง และ
เปลอื กถัว่ ลสิ งผสมขยุ มะพราว(1:1) เปรยี บเทียบกบั ดิน และ พีทมอส มผี ลดงั นก้ี ารทดลอง 1.นำเปลือกถวั่ ลสิ งมาปน ดใหละเอียดและนำบางสวนมาผสม
การอุมนำ้ พบวา ขุยมะพรา วดีทสี่ ดุ เปลอื กถ่ัวลิสงผสมขุยมะพราว(1:1) เปลือกถ่ัวลสิ ง กับขุยมะพราว (1 : 1)
พที มอส และดินตามลำดบั การทดลองการยอ ยสลาย พบวา ขุยมะพราวดที สี่ ดุ พที มอส 2.แบง วสั ดปุ ลกู เปน 5 ชนิด ไดแก ดนิ พที มอส เปลือกถ่วั ลสิ ง ขยุ มะพรา ว
เปลือกถ่ัวลิสงผสมขุยมะพรา ว(1:1) ดิน และเปลอื กถ่วั ลสิ งตามลำดบั การทดลองการงอก และเปลอื กถั่วลิสงผสมขุยมะพรา ว(1 : 1)
และการเจรญิ เตบิ โต พบวา พที มอสมีรอ ยละการงอกมากทสี่ ดุ ดิน เปลือกถั่วลิสงผสม 3.นำวสั ดุปลกู มาตากแดดเพ่ือระเหยเอาความชน้ื ออก
ขุยมะพรา ว(1:1)ขยุ มะพราว และเปลอื กถว่ั ลสิ งตามลำดบั สวนอัตราการเจรญิ เติบโตของ การทดสอบการอมุ นำ้ ของวสั ดุปลูก
ตน พริกในวัสดุปลูกพบวา พีทมอสมีอตั ราการเจริญเตบิ โตมากทส่ี ุดตามดวย เปลอื กถั่วลิสง 1.นำวสั ดุปลกู แตล ะชนดิ มาชัง่ น้ำหนัก และนำไปใสถ ุงพลาสตกิ ชนดิ ละ 6 ถุง
ผสมขุยมะพรา ว(1:1) ดนิ ขุยมะพรา ว และเปลือกถ่วั ลสิ งตามลำดับ 2.นำถงุ พลาสตกิ ที่ใสวสั ดุปลกู เรยี บรอ ยแลวไปช่ังน้ำหนัก เพ่อื หาน้ำหนักเรมิ่ ตน
3.ตวงน้ำ100 มลิ ลลิ ิตร ใสลงไปในถงุ พลาสติกท่บี รรจวุ ัสดปุ ลูก แลวตงั้ ท้งิ ไว 1 ช่ัวโมง
4.เจาะถงุ พลาสตกิ เพ่อื ใหนำ้ ไหลออกจากถุงใหห มด
ทม่ี าและความสำคัญ 5.ชง่ั น้ำหนักถุงพลาสติกทบ่ี รรจวุ ัสดปุ ลกู หลังการดูดซึมนำ้
การปลูกพชื ดวยดินโดยทวั่ ไป มกั พบปญหาวา ดินมคี วามอุดมสมบรู ณไ มเพียงพอ เน่อื งจาก
สภาพพ้ืนที่ และการปลูกพชื ในบรเิ วณเดมิ ซำ้ ๆ เปน เวลานานโดยไมปลอยใหพกั หรอื ปรับสภาพ การทดสอบการยอยสลายของวสั ดุปลูก
มีผลใหด นิ ขาดธาตุอาหาร เกิดการสะสมตวั ของสารเคมีในดนิ ทำใหด นิ เปนกรดหรือดาง 1.ตัดแบงถาดหลุมเพาะชำใหเหลือถาดละ 1 หลุม จำนวน 30 หลมุ
2.นำวสั ดปุ ลกู แตละชนดิ มาช่ังนำ้ หนัก และใสใ นถาดหลมุ ท่ีตัดไวช นิดละ 6 หลมุ
มากเกินไปกอใหเ กดิ โรคในพืช และสงผลตอผลผลติ ทางการเกษตร ซ่ึงการปลูกพชื โดย 3.นำถาดหลุมทใ่ี สวัสดปุ ลกู เรียบรอ ยแลว ไปชัง่ น้ำหนกั เพือ่ หานำ้ หนักเร่มิ ตน
ใชว สั ดุอ่นื ทดแทนใชด นิ เปนการแกไขปญหาการทำการเกษตรในพ้นื ที่ทีด่ นิ อยใู นสภาพ
ไมเหมาะสม อีกทงั้ การปลกู ในวสั ดุทดแทนยังชว ยแกป ญ หาการขาดออกซเิ จนบรเิ วณราก 4.นำไปตง้ั ไวกลางแดดเปนระยะเวลา 4 สปั ดาห โดยชง่ั นำ้ หนกั ทุกๆ สัปดาห
การทดสอบการงอกและการเจริญเติบโตของพืชในวัสดปุ ลกู
ของพืช ไดอกี ดว ย โดยวัสดปุ ลกู ที่นิยมนำมาทดแทนดินมักเปน อินทรียสาร เชน ฟางขาว 1.นำวัสดปุ ลูกและเมล็ดพรกิ ข้หี นใสลงในถาดหลมุ อยา งละ 6 หลมุ หลุมละ 10 เมลด็
ขยุ มะพราว และเปลอื กถวั่ ดว ยเหตนุ ี้คณะผจู ดั ทำจึงจะทำการทดลองหาประสิทธิภาพ
ของวสั ดุปลกู ชนดิ ตา งๆ ไดแ ก เปลือกถ่ัวลิสง ขุยมะพรา ว และเปลือกถั่วลิสงผสมขยุ มะพราว 2.รดนำ้ หลมุ ละ 100 มิลลลิ ติ ร ทุกวันเปน ระยะเวลา 4 สปั ดาห
3.นบั จำนวนเมล็ดทงี่ อกใน 1 หลมุ เม่ือเวลาผาน 1 สัปดาห
(อัตราสว น 1 : 1) โดยศกึ ษาในดานการอุม นำ้ การยอ ยสลาย และการเจริญของพืช 4.วัดความสงู ตนพืชทส่ี ูงที่สดุ ของแตละหลมุ ทกุ ๆ สัปดาห จนครบ 4 สปั ดาห
เปรยี บเทยี บกบั ดนิ และพีทมอท

วตั ถปุ ระสงค ผลการทดลอง
1.เพื่อศกึ ษาประสิทธิภาพของวสั ดปุ ลูกจาก เปลอื กถ่วั ลิสง ขุยมะพราว ในดา นการอุมน้ำ
2.เพ่ือศึกษาประสทิ ธภิ าพของวัสดปุ ลกู จาก เปลือกถวั่ ลสิ ง ขยุ มะพราว ในดานการยอยสลาย
3.เพ่ือศกึ ษาประสิทธภิ าพของวสั ดุปลกู จาก เปลือกถ่ัวลสิ ง ขุยมะพราว ในดา นการเจริญของพชื

สรุปและอภิปรายผล
ขยุ มะพรา วมีประสทิ ธิภาพในการอุมน้ำและการยอ ยสลายดีทสี ดุ เนอ่ื งจาก มคี วามละเอียด
และนำ้ หนักเบาเมื่อเทยี บกับวัสดุปลกู ชนิดอ่นื ๆในขณะท่พี ที มอสเปนวสั ดุปลูกท่ชี วยกระตุน
การงอกของเมลด็ พรกิ ขหี้ นแู ละการเจรญิ เติบโตของตน พริกข้ีหนูไดด ีท่สี ดุ เนอ่ื งจาก
พริกข้หี นูเปนพืชทที่ นตอ สภาวะแหง แลง ไดด ี ไมชอบบริเวณน้ำขัง ประกอบกบั พที มอส
มธี าตุอาหารทีจ่ ำเปน ตอ พชื อยมู ากและมีประสิทธภิ าพการยอยสลายคอนขางดี

คณะผจู ัดทำ : นายภพธร ญาณอภิมนตรี ,นายคนั ธพจน จิรประภาพร ,นายธนชาติ วานชิ ผดุงธรรม
ครูท่ปี รึกษา : คณุ ครนู นทกร อรุณพฤกษากุล , คุณครูภัทรศญา สมมานะ

โรงเรยี นโครงการหองเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ ม
เครือขายภาคกลางตอนบน วนั ที่ 15-16 กันยายน พ.ศ.2564



การนําเสนอโครงงานของนกั เรยี นโครงการห้องเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดลอ้ ม
โรงเรียนเสาไห้ " วมิ ลวทิ ยานุกูล "

สูตรอาหารปลาดุกอยุ อัดเมด็ เพอื ลดตน้ ทุนในการเลียง คณะผูจ้ ดั ทาํ โครงงาน
Formula Pellet food of Broadhead catfish to Reduce the cost of raising
1.นางสาวทติ าวีร์ สําเนียง
2.นางสาวนิธินันท์ ธรรมโรจน์จิระ
3.นางสาวศุภรัศยา สุขสบาย

ทมี าและความสําคญั ประโยชน์ทีคาดว่าจะไดร้ ับ
ในการเลยี งปลาดุกปจจุบนั เกษตรกรมักจะประสบปญหาอาหารสําเร็จรปู ทีมรี าคาแพง ลดตน้ ทุนในการเลียงปลาดุกอุย
ทําให้ตน้ ทนุ การผลิตเพิมสูงขึน การผลิตอาหารสําเร็จรปู ทีมีประสิทธภิ าพเพอื การเลยี ง
ปลาจงึ เปนแนวทางหนึงในการลดตน้ ทุนการเลียงปลา ผลการทดลอง
1. กราฟแสดงผลการทดลองนําหนักเฉลียตวั ปลา
วัตถปุ ระสงค์
เพือศึกษาการทาํ สูตรอาหารอัดเมด็ ในการลดต้นทนุ อาหารปลาดกุ อยุ

สมมติฐานและตวั แปรทเี กยี วขอ้ ง 2. กราฟแสดงผลการทดลองความยาวเฉลยี ตวั ปลา
สูตรอาหารปลาดุกอยุ สูตรที 1 ทาํ ใหป้ ลาเจริญเตบิ โตไดด้ ีกว่า เนืองจากอาหารสูตรที
1 มโี ปรตีนเปนส่วนผสมหลักมากกว่าสูตรอาหารชนิดอนื 3. ตารางคา่ ความยาวตัวปลา(ซม.) และนําหนักตวั ปลา(กรมั )
ตัวแปรตน้ : สูตรอาหารทวั ไป สัปดาหท์ ี 0-18
ตวั แปรตาม : การเจรญิ เติบโตของปลาดุกอยุ (มวล , ความยาว)
ตวั แปรควบคุม : สถานทเี ลียง จํานวนปลา ปริมาณอาหาร ระยะเวลาในการเลยี ง

วิธีดาํ เนินการทดลอง
ตอนที 1 ขนั ตอนการเตรียมบอ่ เพอื ใหไ้ ด้สภาวะทีเหมาะสมเพอื ใช้ใน
การเลยี งปลาดุกอยุ

แชน่ ําไว้ประมาณ7วัน ให้ฤทธปิ นู ขาวหมด
ถ่ายนําออก แล้วสามารถใช้บ่อได้เลย

ตอนที 2 ขนั ตอนการศึกษาและออกแบบสูตรอาหารปลาดุกอุย
1. สูตรทวั ไป ซอื ตามท้องตลาด
2. สูตรอาหารที 1 นําโครงไกบ่ ด 1 กโิ ลกรมั กบั ราํ 5 ขีด มาคลุกเคลา้ ใหเ้ ข้ากนั
3. สูตรอาหารที 2 นําขนมปง 1.29 ขีด ขา้ ว 1 ทัพพี และปลาปน 1 ขดี ละเอียดมาคลกุ เคลา้ ให้
เขา้ กัน

อาหารอัดเมด็ สูตรที 1 อาหารอัดเม็ดสูตรที 2

ตอนที 3 ขนั ตอนการอดั เม็ด สรปุ ผลการทดลอง
นําอาหารสูตรที 1 ไปบดและตากแหง้ เปนเวลา 1-2 วนั นําอาหาร
สูตรที 2 ไปบดและนําไปปน และตากแห้งเปนเวลา 1-2 วนั จากผลการทดลองทัง 18 สัปดาห์ ไดผ้ ลสรุปวา่ อาหารสูตรที
1 มีผลการทดลองทดี ีทสี ุดทังดา้ นความยาวมากทสี ุด เฉลีย
ตอนที 4 ขนั ตอนการวดั คณุ ภาพของสูตรอาหารปลาดกุ อยุ เทา่ กบั 18.06 เซนติเมตร และนําหนักทมี ากสุด เฉลยี
1. วัดขนาดตวั ของปลา และชังนําหนักปลาทุกๆ 3 สัปดาห์ เทา่ กบั 30.88 กรมั ดงั นันอาหารปลาสูตรที 1 หรอื สูตรโครง
2. ให้อาหารปลาดุกอยุ ทกุ วัน บ่อละ 8 กรัม ไกบ่ ดและรําขา้ วจึงเปนสูตรอาหารทที าํ ใหป้ ลาดกุ อยุ เจริญ
3. เปรยี บเทียบขนาดและนําหนักของปลาดุกอยุ ทัง 3 บอ่ เติบโตได้ดมี ากทสี ุดจากทัง 3 สูตร

โรงเรียนโครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิงแวดลอ้ ม เครือขา่ ยภาคกลางตอนบน
ระหวา่ งวันที 15-16 กันยายน พ.ศ.2564

การนําเสนอโครงงานของนักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
เทคโนโลยีและสิงแวดล้อม เครือข่ายภาคกลางตอนบน
โรงเรียนเสาไห้ "วิมลวิทยานุกูล" นางสาวฉัตรปวณี ์ ภาคบญุ มเี จรญิ
การเปรยี บเทยี บการเพิมมวลของกบนา นางสาวปาณสิ รา จนั ทรภมู ิ
คณะผู้จดั ทํา นางสาวสุจิวรรณ เกาะกลาง
ระหวา่ งอาหารทดแทนจากกากถัวเหลอื ง
หมกั ยสี ต์และกากมนั สําปะหลงั หมกั ยสี ต์ วธิ ีดําเนนิ การ

ทีมาและความสาํ คญั วสั ดุอปุ กรณ์
1. กระบะพลาสตกิ สําหรับผสมอาหารขนาด 15 ลติ ร
เนอื งจากในปจจุบันเกษตรกรในไทยนยิ มเลยี งกบควบคู่ไปกบั การทําเกษตรกรรม 2. ฝาปด
ปลูกพื ชการนําไปขายเพื อใช้ในการประกอบอาหารและ 3. ถังนาํ พลาสตกิ ขนาด 15 ลติ ร
สรา้ งเปนรายได้ จงึ ต้องมคี วามร้ใู นการเลยี งและการลงทุน 4. ทพั พี หรือ ทีคน
มกี ารวางแผนการผลติ ทีดเี พือให้สามารถจาํ หนา่ ยไดร้ าคาสงู มตี น้ ทนุ
ในการผลติ ตาํ และมีอาหารทเี หมาะสมสําหรบั การเจรญิ เติบโต ผลการทดลอง
ดังนนั คณะผ้วู จิ ัยโครงงานจงึ ไดท้ าํ อาหารทดแทนจากกากถวั เหลืองหมักยสี ตแ์ ละ
อาหารทดแทนจากกากมนั สําปะหลังหมกั ยสี ต์ เพือศกึ ษาการเพิมมวลของกบนา ตารางที 1 แสดงผลเปรียบเทียบมวลของกบนาจาก
จากอาหารเสรมิ อาหารทดแทนกบกากถวั เหลืองหมกั ยสี ตก์ ับอาหาร
ทดแทนกบนาจากกากมันสาํ ปะหลงั หมกั ยีสต์
สมมตฐิ าน

อาหารทดแทนกบนาจากกากถวั เหลืองหมกั ยสี ต์นา่ จะเพิมมวลของกบนาไดด้ กี ว่าอาหารทดแทนกบนาจากกาก
มันสาํ ปะหลังหมักยสี ต์

วตั ถุประสงค์

1.เพือศึกษาการทาํ อาหารทดแทนกบนา กราฟที 1 แสดงการเปรยี บเทียบมวลของกบนาจาก
2.เพือเปรียบเทียบระหว่างอาหารทดแทนเพิมมวลของกบนาจากกากถัวเหลืองหมักยสี ตก์ บั อาหารทดแทนกบกากถวั เหลืองหมักยีสตก์ ับอาหาร
ทดแทนกบนาจากกากมันสําปะหลงั หมักยีสต์ และอาหาร
อาหารทดแทนกบนาจากกากมนั สําปะหลังหมักยสี ต์ ปกติ

ตวั แปรทศี ึกษา

ตวั แปรตน้ : ชนิดของกากทีนํามาทําอาหารทดแทนกบนา (กากถวั เหลือง, กากมันสําปะหลัง)
ตัวแปรตาม : มวลของกบนา
ตวั แปรควบคมุ : ปรมิ าณอาหารทใี ห้ ปรมิ าณกบนา บ่อทใี ช้เลยี งกบนา ปรมิ าณนาํ ในบ่อทใี ชเ้ ลียง

กบนา ชนิดของนําทใี ช้ในการเลยี งกบนา ปรมิ าณยสี ต์

วธิ ีการทดลอง

หาสูตรอาหารกบทีใชเ้ ปรียบเทยี บระหว่างกากถวั เหลืองหมกั ยสี ต์ สรปุ ได้วา่ อาหารทดแทนสตู รมันสําปะหลังหมักยสี ต์
กับกากมนั สําปะหลังหมกั ยสี ต์ มแี นวโนม้ ของนําหนักทมี ากขึนกวา่ อาหารชนดิ อนื ๆ
เนอื งจากในกากมันสําปะหลงั มโี ปรตนี และ
สว่ นผสมสตู รที 1 กากถวั เหลือง 1 กโิ ลกรัม ผงยสี ต์ขนมปง คาร์โบไฮเดรตทคี ่อนข้างมาก จงึ ทาํ ให้มวลกบเพิม
0.35 กรัม นาํ ตาลทรายแดง 0.60 กรัม นําสะอาด 1 - 1.5 ลิตร ขึนดกี ว่าอาหารชนิดอืน ๆ

สว่ นผสมสตู รที 2 กากมันสําปะหลัง 1 กโิ ลกรมั ผงยีสต์ขนมปง รปู ภาพการทดลอง
0.35 กรัม นําตาลทรายแดง 0.60 กรัม นําสะอาด 1 - 1.5 ลติ ร

- ส่วนผสมสตู รที 1
1.ขนั ตอนการขยายยสี ต์ขนมปงโดยละลายนาํ ตาลทรายแดงกบั นํา
เปล่า 1 ลิตรในถังพลาสตกิ แลว้ เท ผงยสี ต์ลงไปคนใหเ้ ข้ากันนาน
10-15 นาที สังเกตจากฟองเต็มถงั แสดงว่ายีสต์ขยายตัวแลว้ พรอ้ ม
นําไปใช้งาน

2.นาํ ยีสต์ทขี ยายตวั แลว้ เทลงไปในกระบะผสมอาหาร

3.รอใหย้ ีสตข์ ยายตวั อยา่ งนอ้ ย 1 ชม. แล้วตกั กากถวั เหลอื งทงั หมด
ใส่ลงในกระบะผสมแล้วคลกุ เคลา้ สว่ นผสมทังหมดให้เปนเนอื เดียวกัน

4. ตกั สว่ นผสมทงั หมดใส่ในถงุ พลาสติกหรือกระสอบบรรจอุ าหาสัตว์
ทมี ีถุงพลาสตกิ รองชนั ในแลว้ มัดปากถุง / ปากกระสอบใหแ้ น่นเก็บไว้
ในทรี ม่ ใช้เวลาในการหมัก 21 – 30 วนั จะไดก้ ากถัวเหลืองหรือ
กากมนั หมักยสี ต์พรอ้ มนาํ ไปใชเ้ ลยี งสัตว์ต่อไป

- ส่วนผสมสตู รที 2 บ่อที 1 บ่อที 2 บอ่ ที 3
ทาํ เหมอื นกบั สูตรแรกเปลยี นจากกากถัวเหลืองเปนกากมันสาํ ปะหลงั

โรงเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิงแวดล้อม
เครือข่ายภาคกลางตอนบน ระหว่างวันที 15 16 กันยายน พ.ศ.2564

การนาเสนอโครงงานของนกั เรยี นโครงการห้องเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม
โรงเรยี นหอวัง

การหาปริมาตรและพ้ืนท่ผี วิ ของรูปทรงหลายหน้า Small stellated dodecahedron ทมี่ คี วามสงู และสูงเอียงขนาดตา่ ง ๆ
Finding the Volume and Surface Area of a Small Stellated Dodecahedron at Different Height and Slant Height

ผู้จัดทำโครงงำน : นำงสำวปณุ ยวรี ์ แสงวัฒนกลุ , นำงสำววริศรำ เขยี นเขต, นำงสำวพศั ธนัญญำ สงั ขพ์ นั ธ์
ครทู ่ีปรึกษำ : นำยธเนษฐ ชวำลสนั ตต,ิ นำยศุภชยั ซ่อื ตรง

บทคดั ย่อ

โครงงำนคณิตศำสตร์เร่อื ง “กำรหำปรมิ ำตรและพ้ืนทผ่ี วิ ของรูปทรงหลำยหน้ำ Small stellated dodecahedron ท่มี คี วำมสงู และสูงเอยี งขนำดตำ่ ง ๆ” จัดทำข้ึนโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อหำปรมิ ำตรและพนื้ ทีผ่ ิวของ
รปู ทรงหลำยหนำ้ Small stellated dodecahedron ทม่ี คี วำมสงู และสงู เอียงขนำดต่ำง ๆ โดยใช้ควำมรเู้ รอื่ งเรขำคณติ และตรีโกณมติ ิ มำใชใ้ นกำรคดิ คำนวณหำพื้นทแ่ี ละปริมำตร ซ่งึ ข้นั ตอนมีขน้ั ตอนศึกษำและดำเนินกำรโดย
ศึกษำสูตรกำรหำพ้ืนทผ่ี ิวของรปู สำมเหล่ียมดำ้ นขำ้ งรูปทรงนแ้ี ละกำรหำปรมิ ำตรภำยในของรูปทรงโดยให้มีค่ำควำมสงู ตรงและสูงเอยี งขนำดต่ำง ๆ โดยจำกกำรศึกษำหำปรมิ ำตรและพนื้ ท่ีของรูปทรงหลำยหนำ้ Small stellated
dodecahedron พบว่ำสำมำรถสรปุ สตู รกำรหำพ้ืนทีแ่ ละปริมำตรได้ดังนี้

1. สูตรกำรหำพืน้ ทผ่ี ิว  30r L

2. สูตรกำรหำปรมิ ำตร  r2  5 1  5  h 117 50  10 5  50 250  50 5  90 10  2 5 7 1250  250 5 r3
10  2 5 640


ทีม่ าและความสาคญั วัตถุประสงค์

ทรงหลำยหนำ้ (polyhedron) เป็นรปู ทรงทำงเรขำคณติ ที่ประกอบด้วยหนำ้ เรียบและสันตรง เพ่ือศึกษำสตู รกำรหำปรมิ ำตรและพื้นท่ีผิวของรปู Small stellated dodecahedron
ถูกสรำ้ งขึ้นมำจำกควำมแตกต่ำงในองค์ประกอบหรือเอกลักษณ์ ซึ่งมีควำมเกีย่ วเน่อื งกบั จำนวนที่แตกต่ำงบน
มติ ิ เปน็ ท่ีน่ำหลงใหลในควำมสวยงำมมำตัง้ แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ ำสตร์ ทรงหลำยหนำ้ มกั จะถกู ตง้ั ช่ือตำมจำนวน สมมติฐาน
หน้ำ โดยใช้ระบบเลขในภำษำกรีกเป็นพ้ืนฐำน ตวั อย่ำงเชน่ ทรงสี่หน้ำ (tetrahedron), ทรงห้ำหนำ้
(pentahedron), ทรงหกหน้ำ (hexahedron) เปน็ ต้น และมกั จะมีกำรอธบิ ำยชนดิ ของหนำ้ บนทรงหลำย สำมำรถหำวธิ ีกำรหำปรมิ ำตรและพื้นที่ผิวของรปู Small stellated dodecahedron
หน้ำน้ัน เช่น ทรงสิบสองหน้ำสีเ่ หล่ียมขนมเปยี กปนู (rhombic dodecahedron) กบั ทรงสิบสองหน้ำหำ้
เหล่ยี ม (pentagonal dodecahedron) เปน็ ตน้ ตวั แปรที่เก่ียวขอ้ ง

กำรคำนวณหำสตู รปริมำตรและพน้ื ท่ผี ิวของรูป Small stellated dodecahedron เป็นปัญหำท่ี ตวั แปรต้น: ควำมสงู และควำมสูงเอียงของแต่ละแฉก
นำ่ สนใจ ซ่ึงสำมำรถนำมำประยกุ ต์ในกำรสร้ำงหรอื ออกแบบสถำปตั ยกรรม ประตมิ ำกรรม คณะผูจ้ ัดทำจึง ตัวแปรตำม: ปรมิ ำตรและพ้ืนทผ่ี วิ ของ Small stellated dodecahedron
สนใจศกึ ษำสตู รกำรหำปริมำตรและพนื้ ทผี่ ิวของรปู Small stellated dodecahedron ตัวแปรควบคมุ : ควำมยำวของฐำนแตล่ ะด้ำนของแฉก

วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งาน

1. หำพืน้ ที่ผิวข้ำงของพรี ะมิดฐำนห้ำเหลีย่ มท้ัง 12 รปู จำกกำรพิสจู น์ จะได้ สูตรกำรหำพื้นทีผ่ วิ และปริมำตรของรปู ทรงหลำยหน้ำ Small stellated
2. หำปรมิ ำตรของพรี ะมิดฐำนห้ำเหลีย่ ม dodecahedron ทีม่ คี วำมสูงและสูงเอยี งขนำดตำ่ ง ๆ ดงั นี้
3. หำปริมำตรของรปู ทรงสบิ สองหน้ำ 1. กำรหำพ้นื ทผี่ วิ ข้ำงรปู ทรงหลำยหน้ำ Small stellated dodecahedron ทีม่ ีควำมสูงและสูงเอยี งขนำด
4. นำปรมิ ำตรของพีระมิดฐำนห้ำเหลยี่ มและรปู ทรงสบิ สองหนำ้ มำรวมกัน ตำ่ ง ๆ หำไดจ้ ำกสตู รดังตอ่ ไปนี้

อภิปรายผล พน้ื ที่ผิวขำ้ งของพรี ะมดิ ฐำนห้ำเหลี่ยม 12 รปู  30r L

1. ศกึ ษำหำพน้ื ท่ีผิวของพรี ะมิดฐำนห้ำเหลี่ยมทัง้ หมด 12 รปู 2. กำรหำปรมิ ำตรรปู ทรงหลำยหน้ำ Small stellated dodecahedron หำไดจ้ ำกสูตรดงั ต่อไปน้ี
2. ศกึ ษำหำปรมิ ำตรของพีระมดิ ฐำนหำ้ เหลี่ยมและรูปทรงสบิ สองหนำ้
ปริมำตรของพรี ะมิดฐำนห้ำเหล่ยี ม 12 รปู และทรงสิบสองหนำ้  r2  5 1 5  5  h
จำกกำรศกึ ษำกำรหำพืน้ ทีผ่ ิวและปรมิ ำตรของรูปทรงหลำยหน้ำ Small stellated 10  2
dodecahedron ที่มีควำมสูงและสงู เอียงขนำดต่ำง ๆ พบวำ่ จำกกำรหำพื้นที่ผิวของพรี ะมดิ ฐำนหำ้ เหลยี่ ม
ทั้งหมด 12 รปู มีพื้นท่เี ท่ำกับพืน้ ท่ีผวิ ข้ำงของรูปทรงหลำยหนำ้ Small stellated dodecahedron และจำก 117 50  10 5  50 250  50 5  90 10  2 5 7 1250  250 5  r3
กำรหำปริมำตรของพีระมดิ ฐำนห้ำเหลีย่ มและรูปทรงสิบสองหน้ำ พบวำ่ มีปริมำตรเทำ่ กับปรมิ ำตรของรูปทรง 640
หลำยหน้ำ Small stellated dodecahedron 

โรงเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ้ ม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที่ 15-16 กันยายน พ.ศ. 2564



การนำเสนอโครงงานของนกัเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรคณติศาสตรเทคโนโลยแีละสง่ิแวดลอม
โรงเรยีนเทพศิรนิทร

CAPCULUS

แนวคดิ
ทรัพยากรในปจจุบนัทม่ีจีำนวนจำกัดน้ันเราจะมวีิธกีารบรหิารจัดการ
ทรัพยากรน้นัใหใชไดอยางคมุคาและมปีระสิทธิภาพสงูสดุ
โดยใขทฤษฎีcalculusเขามาชวย
ทางคณะผจูดัทำจงึไดจัดทำบอรดเกม
เพ่ือใชในการอธบิายและสนกุสนานนาสนใจ
วัตถุประสงค
1.ประดิษฐCapCulusบอรดเกมยึดพ้นืทจ่ีากแคลคูลัส
2.เพือ่ใชทรพัยากรทมี่อียูอยางจำกดัใหคุมคาที่สดุ

อานกติกาเกมเพมิ่เติมตรงน้ไีดเลยยยยย

สรปุผล
จากการทดลองเลนบอรดเกมCapCulusและการใชทฤษฎีcalculus
ในการหาพน้ืท่ีมากทีส่ดุพบวาการทีจ่ะไดพน้ืทีม่ากทส่ีดุนน้ัจะทำได
จากการลอมร้ัวเปนสีเ่หลีย่มจัตุรสั

โรงเรียนโครงการหองเรยีนพิเศษวิทยาศาสตรคณิตศาสตรเทคโนโลยีและสิง่แวดลอม
เครอืขายภาคกลางตอนบนวันที่15-16กนัยายนพ.ศ.2564

การนําเสนอโครงงานของนักเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยเี เละสงิ เเวดล้อม
โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์

โครงงานคณติ ศาสตร์ เรอื ง การด์ เกมเสรมิ สรา้ งทักษะทางคณติ ศาสตร์

ทีมาและความสาํ คัญ ขนั ตอนการดาํ เนนิ งาน

ต้นกําเนดิ ของการเล่นการด์ มจี ุดเรมิ ต้นทีจนี อินเดยี และเปอรเ์ ซยี แล้ว 1. ขนั รวบรวมขอ้ มูล
แพรข่ ยายมายงั ยุโรป ผา่ นเสน้ ทางการค้าขาย มหี ลักฐานวา่ ปรากฏใน 1.1 ค้นควา้ ศึกษาขอ้ มูล เนอื หา ความรเู้ กียวกับการด์ เกม และ
สวสิ เซอรแ์ ลนดป์ 1377 และแพรข่ ยายไปยงั เมอื ง ใหญๆ่ ของยุโรป สมการตัวแปร
อยา่ ง บาเซลิ ฟลอเรนส์ บารเ์ ซโลนา่ ปารสี โรเซนบอรก์ และเมอื งท่าตาม
เสน้ ทาง เดนิ เรอื ต่างๆแต่หลักฐานในยุโรปทีพูดถึงการเล่นการด์ นนั สว่ น 2. ขนั วเิ คราะหข์ อ้ มูล
มากถกู พูดบอ่ ยครงั ในชว่ ง ครศิ ต ศตวรรษที 14 – 15 ในลักษณะของคํา 2.1 ตรวจสอบขอ้ มูลทีสบื ค้นมา
สงั จากกษัตรยิ แ์ ละศาสนาจกั รในยุโรปทีหา้ มเล่นการด์ ดงั นนั เชอื วา่ ใน 2.2 นาํ มาขอ้ มูลทีไดม้ าเขยี นเปนไอเดยี ต่างๆ
ชว่ งนนั การเล่นการด์ จงึ เปนทีแพรห่ ลายในยุโรปและสง่ ผลในวงกวา้ งทาง 2.3เลือกแนวทางการด์ เกม
สงั คมจนสถาบนั หลักต้องออกมามบี ทบาทในการควบคมุ การเล่นการด์ 2.4 นาํ ไอเดยี และแนวทางการด์ เกมทีตัดสนิ ใจแล้วไปปฏิบตั
มากมาย
3. ขนั ปฏิบตั ิการทํางาน
วตั ถปุ ระสงค์ 3.1 ทําการด์ เกมตัวจรงิ โดยนาํ การด์ เกมต้นแบบมาเปนรา่ งแล้ว
ตกแต่งใหส้ วยงาน นา่ สนใจ
1.เพอื ประดษิ ฐก์ ารด์ เกมเสรมิ สรา้ งทักษะทางคณติ ศาสตรส์ าํ หรบั วยั รนุ่ 3.2 นาํ การด์ เกมตัวจรงิ ไปทดลองเล่นกับกล่มุ คนจาํ นวนหนงึ เพอื
2.เพอื ทดสอบการด์ เกมในการหาจุดบกพรอ่ งและแก้ไข รวบรวมขอ้ มูลโดย ก่อนและ หลังการทดลองจะมแี บบ
3.เพอื นาํ เสนอขอ้ มูลความพงึ พอใจในการเล่นในรปู แบบกราฟ ทดสอบวดั ทักษะสมการตัวแปรก่อน และ แบบสอบถามความ
พงึ พอใจ
ขอบเขตการดาํ เนนิ งาน 3.3 นาํ ขอ้ มูลทีรวบรวมมาทําเปนสถิติ โดยสถิติทีใชใ้ นการวดั
ขอ้ มูลไดแ้ ก่ ค่าเฉลีย เลขคณติ และการหาสว่ นเบยี งเบน
ขอบเขตการดาํ เนนิ งานโครงงานนนี นั คือ การประดษิ ฐก์ ารด์ เกมเสรมิ มาตรฐาน ความแปรปรวน 3.10 นาํ ขอ้ มูลความพงึ พอใจ มา
ทักษะทางคณติ ศาสตร์ และ ทดสอบหาจุดบกพรอ่ งของการด์ เกมนี หาก ทําเปนกราฟความพงึ พอใจ
พบเจอหาจุดบกพรอ่ งขนึ นนั จะทําการแก้ไข และ ทดสอบอีกครงั หากเปน
ทีพงึ พอใจของคณะผจู้ ดั ทําแล้วจะทําการทดสอบเพอื เก็บเปนตัวอยา่ งใน ผลการดาํ เนนิ งานโครงงาน
การ จดั ทําขอ้ มูลในเชงิ สถิติหากทําสาํ เรจ็ แล้วจะถือวา่ สนิ สดุ ขอบเขตการ
ดาํ เนนิ งาน ทางคณะผจู้ ดั ทําไดป้ ระดษิ ฐก์ ารด์ เกมทีมกี ารผสมของตัวแปรต่างๆทาง
คณติ ศาสตร์ เพอื ใหผ้ ู้ เล่นไดค้ วามรแู้ ละสนกุ ไปกับการด์ เกม รวมทังใหผ้ ู้
วสั ดุ อุปกรณ์ และเครอื งมอื ทีไดท้ ดสอบไดล้ องเล่นและทําแบบสอบถามความ พงึ พอใจจากเพอื นและ
คนในครอบครวั รวมทังสนิ 24 คน ซงึ สามารถ นาํ มาใชเ้ ปนกราฟความพงึ
1.คอมพวิ เตอร์ พอใจได้
2.เครอื งปรนิ เตอร์
3.ดนิ สอ ปากกา สรปุ ผล
4.กระดาษ
5.เมาสป์ ากกา จากการทดลองเล่นการด์ เกมเสรมิ สรา้ งทักษะทางคณติ ศาสตรไ์ ดผ้ ลสรปุ
6.พลาสติกซนี กระดาษ วา่ การด์ เกมยงั มี ความเสถียรของเกมไมเ่ พยี งพอตามความต้องการ
ของคณะผจู้ ดั ทํามากนกั ทวา่ การออกแบบการด์ และความสวยงามของ
การด์ นนั ออกมาไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ของคณะผจู้ ดั ทํา

โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยเี เละสงิ เเวดล้อม
เศรอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กันยายน พ.ศ.2564

การนํ าเสนอโครงงานของนั กเรยี นโครงการห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิงแวดลอ้ ม
โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ บดนิ ทรเดชา

โมเดลรถไฟเหาะ
Roller coaster model

ทมี าและความสําคัญ วธิ กี ารสรา้ งแบบจาํ ลอง

ในปจจุบันสวนสนกุ ทวั โลกจะมรี ถไฟเหาะเปนจุดขายของ 1. วาดแบบแปลนรถไฟเหาะและกําหนดมาตราส่ วนให้
สวนสนกุ และรถไฟเหาะทใี ชใ้ นสวนสนกุ จะเปนแบบรางทใี ช้ เหมาะสม
ความรูร้ ะหว่างคณิตศาสตรก์ บั ฟสิกส์ ซงึ ทางคณะผจู้ ัดทาํ
โครงงานสนใจศึกษาเรอื งรถไฟเหาะทใี ชก้ ารบูรณาการ 2.รา่ งแบบโดยใชโ้ ปรแกรม Sketch up ประกอบกบั ใชว้ ชิ า
ความรูท้ งั ทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตรอ์ ีกทงั ยงั นํ าวชิ า คณิตศาสตรแ์ ละฟสิกส์มาประยกุ ษ์ในการสรา้ งฐาน
คอมพิวเตอรม์ าผสมผสานในการจัดทําแบบจําลองรถไฟเหาะ
แบบใหมเ่ พือเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพในการใชง้ านให้ดียิงขึน 3.สรา้ งเสารางรถไฟตามความสงู ตา่ งๆทกี ําหนดไว้
4.สรา้ งรางรถไฟรอบนอก
วตั ถุประสงค์ 5.สรา้ งรถไฟด้านในโดยทาํ เปนรางขนาน

เพือสรา้ งโมเดลรถไฟเหาะโดยใช้ สรุปผลการศึ กษา
การบรู ณาการความรูค้ ณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ สามารถประดิษฐโ์ มเดลรถไฟเหาะทใี ชค้ วามรูใ้ นรายวิชา
คณิตศาสตร์ เรอื ง ฟงก์ชนั และเรขาคณิตวิเคราะห์ รายวชิ า
วทิ ยาศาสตร์ เรอื ง การเคลือนทแี บบวงกลม แรงเสียดทาน
รายวชิ าคอมพิวเตอร์ เรอื ง โปรแกรม Sketch up ได้สําเรจ็

นิยามศั พทเ์ ฉพาะ

1.โมเดลรถไฟเหาะ หมายถึง แบบจําลองทผี จู้ ดั ทําโครง
งานสรา้ งขนึ โดยการใชก้ ารบรู ณาการความรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์

2.โปรแกรม Sketch up หมายถึง โปรแกรมออกแบบทมี ี
ความสามารถในการเปลียนภาพวาดโครงรา่ งให้กลายเปน
ภาพงานจําลอง 3 มติ ิ เปนโปรแกรมขนาดเลก็ จงึ ทําให้มีการ
ประมวลผลออกมาได้อยา่ งรวดเรว็

คณะผจู้ ดั ทาํ โครงงาน ครูทปี รกึ ษา ข้อเสนอแนะ

นายพชธกร ปลกุ ปลมื นางวิภาดา ปภาพจน์ สามารถประดิษฐโ์ มเดลรถไฟเหาะ
นายภูมิ จารุชตุ มิ า แบบรางส่วนบนโดยใชค้ วามรูเ้ พิมเตมิ
นายภวู ิช กศุ ลจิระกลุ เรอื ง แรงสู่ศนู ยก์ ลาง

โรงเรยี นโครงการห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิงแวดลอ้ ม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กนั ยายน พ.ศ.2564

แอปพลเิ คช่นั จองอาหารในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
(Project Reserved& Restaurant Application )

นายยศวิชญ พิภพภญิ โญ นายธนดล ชินธนากร นายลีนภทั ร เกยี รติสกลุ ทอง
ครทู ปี่ รึกษา นายนเิ ทศก ศรีเมอื ง

โครงงานวทิ ยาศาสตรเ รอื่ งแอปพลเิ คชน่ั จองอาหารในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั มวี ัตถปุ ระสงคเ พอิ่ สรางแอปพลิเคชั่นท่มี ีประสทิ ธภิ าพโดยใชว ิธเี ปรียบ
เทยี บความหนว งในแตล ะชว งรายการสง่ั อาหาร จากการสรา งแอปพลิเคช่ันพบวา เมื่อสง่ั รายการอาหารไมเ กิน 15 รายการจะสามารถทาํ งานไดเ ตม็ ประสิทธิภาพหรือ
ไมมคี วามหนวงเกิดขึ้นโดยแอพพลิเคช่นั สามารถเพม่ิ เมนอู าหารไดไ มจ าํ กดั และประสิทธภิ าพการทาํ งานของโปรแกรมจะลดลงตามไปดว ย

Introduction Result& Discussion

ในปจจุบนั คนท่ใี ชส มารทโฟนหันมาใชต ัวชวยอยา ง“แอพจองคิวรา น ตารางแสดงความสัมพนั ธร ะหวา ง
อาหาร” กันมากขนึ้ เพราะออกมาตอบโจทยผูใ ชไ ดต รงจุด ซึง่ แอปพลเิ คชั่น จํานวนรายการส่ังอาหารกบั ความหนวงของแอปพลเิ คชั่น
สามารถอํานวยความสะดวก ทาํ ใหการจองคิวมคี วามสะดวก รวดเร็ว และ
มปี ระสทิ ธิภาพกลมุ ผูวจิ ัยจึงมคี วามสนใจเกย่ี วกับแอพพลเิ คชัน่ จองอาหาร จาํ นวนรายการสั่งอาหาร (ตอ บญั ชผี ูใช) ความหนว งของแอปพลเิ คชน่ั (วินาท)ี
ในโรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั เน่ืองจากปญ หาในการตอแถวซอ้ื อาหารใน
พ้ืนที่ทจ่ี ํากัดและปญ หาการแออัดระหวางตอแถวซื้ออาหาร 1-5 ไมม ี
6-10 ไมมี
objectives 11-15 ไมมี
16-20 1-2
1.เพ่ือสรา งแอปพลิเคชั่นจองอาหาร 21-25 1-2
26-30 >3
2.เพือ่ ทดสอบประสทิ ธิภาพการทาํ งานของแอปพลิเคช่ันจอง 31-35 >3
อาหารโดยวดั จากความหนว งตอ รายการอาหาร 36-40 >3

methodology จากการทดสอบพบวาแอปพลิเคชน่ั สามารถทาํ งานไดด ี ไมหนว งและไม
กระตุกแตเ ม่อื เร่ิมสงั่ อาหารจนกระท่งั รายการอาหารถงึ จุดหนง่ึ พบวาแอพพลิเคชน่ี
วิธกี ารสรา งแอพพลเิ คชนั่ เร่ิมมีความหนวงโดยใชเวลา 3 วินาทใี นการทํางาน สูงสดุ รายการทีย่ งั ทํางานไดด ี
คอื 15 รายการจึงสรปุ ไดว าการเพมิ่ เมนอู าหารลงในแอปพลเิ คชน่ั โดยเพ่มิ ทั้งรปู ภาพ
ราคา และจํานวนรายการส่งั อาหารจะเพิม่ ความหนวงของแอพพลเิ คช่ันมากขน้ึ เปน
ผลใหแอพปพลเิ คชั่นมปี ระสทิ ธภิ าพในการทํางานที่ลดตา่ํ ลง

วางแผนการสรา งแอพ Firebase conclusion

ศกึ ษาวิธกี ารสรางแอพ (Restaurant) สรุปผลการทดสอบพบวา แอพพลิเคชัน่ สามารถทาํ งานไดเตม็ ประสทิ ธิภาพ
เมือ่ มีรายการส่งั อาหารมากสดุ 15 รายการ และแอพพลิเคช่ันสามารถเพมิ่ เมนู
react native อาหารไดไมจ าํ กดั แตป ระสทิ ธิภาพการทํางานของโปรแกรมจะลดลง

เริม่ สรางแอพ (Reserved) reference

วธิ กี ารทดสอบแอพพลิเคชัน่ เมือ่ เรม่ิ ส่ังอาหารใน เมือ่ เริ่มรบั รายการ Jirawatee (นามแฝง). (2559). รูจัก Firebase Realtime Database
แอพพลเิ คชนั่ ส่งั อาหาร อาหารในหนา รา นคา ตงั้ แต Zero จนเปน Hero. สบื คน เมอื่ วันท่ี 24 ธนั วาคม 2564, จากwww.mediu
เปด แอปพลเิ คชั่น สรางหนารานคา m.com/firebasethailand/รจู กั -firebase-realtime-database-ต้งั แต
โดยมี ช่ือ/ราคา/ (Reserved) zero-จนเปน -hero-5d09210e6fd6
รานอาหาร
(Restaurant) รูปภาพ Jantapa (นามแฝง). (2562). เขียนแอพดว ย React-Native กบั Expo กนั
เถอะ. สบื คนเมื่อวนั ท่ี 24 ธันวาคม 2563, จาก WWW.medium.com/@jantapa204
7/เขยี นแอพดว ย-react-native-กบั -expo-กันเถอะ-10ba4fcd2ba5

โครงการหองเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม
SK SCIENCE EXHIBITION วนั ท่ี 26 สิงหาคม 2564

โครงงานเครือ่ งเขยี นอักขระ และ รูปภาพดว้ ยปากกาจากเคร่ืองพิมพ์สามมติ ิ
( Braille Linear Intregrated Text Zenith : BLITZ )

นายดนุชโพ จนั โททัย นายธีรภทั ร์ เทยี มสขุ นายชิษณชุ า สนั ติอมรทตั
ครทู ่ีปรึกษา ครปู ยิ าภรณ์ หอมจนั ทร์ ครูนิเทศก์ ศรเี มือง

โครงงานนจ้ี ัดทาํ ข้นึ เพื่ อประดิษฐอ์ ุปกรณ์ “เคร่อื งเขียนอกั ขระ รูปภาพ และอักษรเบรลล์ดว้ ยปากกาจากเคร่อื งพิ มพ์ สามมิติ” โดยมีหลักการในเชงิ ประยกุ ตก์ ารทํางานร่วมกนั
ระหวา่ งซอฟต์แวร์อันไดแ้ ก่ Simplify3D Fusion360 Adobe Illustrator กบั เครื่องคอมพิ วเตอร์ และนําไปสู่การทดสอบประสิทธภิ าพการทาํ งาน โดยแบง่ การดําเนนิ โครงงานออกเปน็
2 ขนั้ ตอน คอื การวางโครงสร้างตวั ยดึ เครอ่ื งเขยี นและสไตลัส การวางระบบและตดิ ตั้งแผน่ รองพิ มพ์ อกั ษรเบรลล์ จากการศึกษาและทดสอบประสทิ ธิภาพพบว่า เครอื่ งมืออปุ กรณ์นม้ี ี
ความเที่ยงตรงเฉลย่ี ในการเขยี นอกั ขระ และ ลายเซน็ ร้อยละ 89.08 มปี ระสิทธภิ าพความแม่นยําเฉลี่ยในการพิ มพ์ อักษรเบรลลร์ อ้ ยละ 99.05 ผวู้ จิ ัยมีขอ้ เสนอแนะให้หนว่ ยงาน องคก์ ารท่ี
เก่ยี วข้องกบั ผบู้ กพร่องทางการมองเหน็ ได้นาํ หลักการที่ได้จากการศกึ ษาไปประยกุ ตเ์ พ่ื อใช้ให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผพู้ ิ การหรือบกพร่องทางการมองเห็นอย่างกวา้ งขวางต่อไป

Introduction Results and Discussion

ผพู้ ิการทางสายตาจําเปน็ ตอ้ งเรียนรู้ภาษาเบรลล์ทใ่ี ช้การสัมผัสแทน ในการทดสอบประสทิ ธภิ าพเครอ่ื งเขยี นอกั ขระและรปู ภาพดว้ ยปากกา
การมองเห็นสาํ หรับการอ่านขอ้ ความตา่ งๆ การพิมพ์ภาษาเบรลลต์ อ้ งทํา จากเครอ่ื งพิมพ์สามมติ ิ คณะผจู้ ัดทาํ ได้ออกแบบการทดสอบดังนี้
ใหเ้ กิดจุดนนู บนกระดาษจึงต้องใช้เครื่องพิมพ์อกั ษรเบรลลโ์ ดยเฉพาะ แต่
เคร่อื งพิมพ์ภาษาเบรลลม์ ีราคาสูง ทางคณะผู้วิจยั จึงต้องการสร้างเครื่อง ครัง้ ที่ 1 2 3 45 67 8 9 10
เขยี นอกั ขระจากเครอื่ งพิมพ์สามมิติทใี่ ชป้ ากกาในการเขียนขอ้ ความภาษา
ตา่ งๆ อกั ษรเบรลล์ รวมถงึ ลายเซ็น ลงลายมอื ช่อื และ การร่างภาพ โดย จดุ ท่พี ิมพ์ได้ 2066 2140 2162 2187 2186 2190 2190 2190 2190 2190
การทํางานรว่ มกบั ซอฟตแ์ วร์บนคอมพิวเตอรใ์ ห้ เคร่ืองทาํ การเขียนอักขระ (จดุ )
หรอื รปู ภาพ ได้ตามคําสัง่ 100 100
% เทียบกับจุด 99.05 %
Objectives
ทั้งหมด 2190 94.34 97.72 98.72 99.86 99.82 100 100 100
1. เพื่อสร้างเครื่องเขยี นอกั ขระ และ รูปภาพดว้ ยปากกาจาก (%)
เครือ่ งพิมพ์สามมติ ิ
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบและประสิทธภิ าพการพิมพ์อกั ษรเบรลล์ ประสิทธภิ าพเฉล่ยี
2. เพ่ือทดสอบประสทิ ธภิ าพของคร่อื งเขยี นอักขระ และ รูปภาพ
ดว้ ยปากกาจากเครือ่ งพิมพ์สามมติ ิ จุดท่พี ิมพ์ได้คือ 21,691 จุด จากจํานวนจดุ ทัง้ หมด 21,900 จดุ
ได้ประสทิ ธิภาพของการพิมพ์อักษรเบรลล์อยู่ที่ 99.05%

ครัง้ ท่ี 1 2 34 5 6 7 8 9 10

% ความแตกตา่ ง 10.61 10.81 10.50 11.40 11.54 10.69 10.23 10.64 11.66 11.12
การเขยี นลายเซ็น

กบั รูปต้นฉบับ

(%)

ตารางท่ี 2 ผลการทดสอบและประสทิ ธภิ าพของเครื่องเขยี นอักขระ เฉล่ยี 10.92
สว่ นเบียงเบนมาตรฐาน 0.48
Method
กระบวนการสรา้ งเครอ่ื งเขียนอักขระ ความแตกตา่ งในการพิมพ์ลายเซ็นเมอ่ื เทยี บกบั ตน้ ฉบับมีค่าอยู่ท่ี 10.92% และ
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานมคี ่า 0.48 โดยสง่ิ ทม่ี ผี ลต่อความแตกตา่ งในการพิมพ์ คือ
การสรา้ งตัวยึด Stylus และ ตวั ยดึ เคร่ืองเขียน ความสามารถในการซมึ ของหมกึ ปากกาไปรอบๆ ของการพิมพ์แต่ละคร้ังไมเ่ ท่ากนั

Stylus - ศกึ ษาตําแหนง่ การยึด
- ออกแบบตวั ยึด
- พิมพ์สามมติ ิ
- ติดตง้ั บนเครอ่ื งพิมพ์

ตัวยดึ Stylus กระบวนการส่ังคาํ ส่งั

ตวั ยดึ เครอ่ื งเขียน .svg .stl .gcode PRINT
สาํ หรับใสป่ ากกาหรือเครื่องเขยี นอน่ื ๆ
Illustrator Fusion360 Simplify3D
แผน่ Slate สําหรบั พิมพ์ภาษาเบรลล์

References Conclusion

Uri Shaked. (2561). How to Turn Your 3D Printer into a Plotter. จากเว็บไซต์ จากการทดลองสรุปได้ว่า ประสทิ ธิภาพการทํางานของการเขียน
https://urish.medium.com/how-to-turn-your-3d-printer-into-a-plotter ลายเซน็ อักขระ รูปภาพ และ อกั ษรเบรลล์ อยู่ภายในเกณฑท์ ย่ี อมรบั
- in-one-hour-d6fe14559f1a จงึ สรปุ ไดว้ า่ เครอ่ื งเขยี นลายเซน็ อกั ขระ และ รปู ภาพ ดว้ ยปากกาจาก
เครอ่ื งพิมพ์สามมติ สิ ามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Neeraj Rane. (2563). Draw With Your 3D Printer. จากเวบ็ ไซต์ https://www.
hackster.io/indoorgeek/draw-with-your-3d-printer-976ed3

โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม
เครอื ข่ายภาคกลางตอนบน วนั ท่ี 15-16 กนั ยายน 2564



การสรางแบบจำลองเวบ็ไซตซอ้ืขายสินคาออนไลนภายในชมุชน

ผูจดัทำโครงงาน:นางสาวภควดีเตชพาหพงษ วตัถปุระสงค สมมุติฐาน
นางสาวภูริดาปนโต
นางสาวอชติาแทนทาง 1.เพ่อืสรางแบบจำลองเวบ็ไซตซอื้ขายสนิคาออนไลนภายในชมุชน 1.สามารถสรางแบบจำลองเว็บไซตซอ้ืขายของ
2.เพื่อแกไขปญหาการซอ้ืขายสนิคาภายในชุมชนในชวงท่ี ออนไลนภายในชุมชนการขายสนิคาการสั่งซ้อืสินคา
ทปี่รกึษาโครงงาน:นายทรรศนิอุษาวิจติร,นางเพ็ญลภาการกีล่นิ การจดัสงสนิคาและสามารถบอกระยะเวลา
ประสบปญหาวกิฤตการณCOVID-19 ในการจัดสงสนิคาได
บทคัดยอ 3.เพือ่ศึกษาความพึงพอใจของผูซ้ือและผขูายสินคา
2.ไดแบบจำลองเวบ็ไซตซ้ือขายสนิคาออนไลน
ปจจบุนัการซอื้ขายสินคาออนไลนเปนท่แีพรหลายในสงัคม ท่ีมีตอการใชงานเว็บไซตซอ้ืขายสินคาออนไลนภายในชุมชน ทท่ีำใหผูซื้อและผขูายทใ่ีชบรกิารมีความพึงพอใจ
วงกวางเนอื่งจากมคีวามสะดวกสบายในการขายและการสั่งซอ้ืสนิคา ตอการใชงานเพ่อืเพิม่ความสะดวกสบายและ
สงผลใหการซื้อขายสนิคาออนไลนเปนท่ีนยิมมากขนึ้ในทกุๆประเทศ
รวมไปถึงประเทศไทยที่ในขณะนปี้ระสบปญหาวกิฤตการณCOVID-19 ขอบเขตการศกึษา โครงงานคอมพิวเตอรการสรางแบบจำลองเว็บไซตซ้ือขายสนิคาออนไลนภายในชุมชน
ซึ่งเปนเช้ือไวรสัทส่ีามารถแพรระบาดไดอยางรวดเรว็ทำใหกรมควบคุม เพอื่ใชงานกบัประชาชนในชมุชนที่เปนผซู้อืและผูขายสินคาภายในชมุชน
โรคกระทรวงสาธารณสขุไดออกมาตราการในการปองกนัโรคCOVID-19 ในการใชแบบจำลองเว็บไซตซอ้ืขายสนิคาออนไลนภายในชมุชนเพ่ือการขายสินคา
โดยการสวมใสหนากากอนามยัและหลีกเลีย่งการอยใูนสถานท่ที่มีผีูคน การส่ังซอ้ืสนิคาการจัดสงสนิคาซ่งึสามารถประมาณระยะเวลาในการจดัสงสนิคา

ขน้ัตอนการดำเนนิการทดลอง

1ศกึษาปญหาการซ้อืขายสนิคาของผูขายและผูซือ้
2รวบรวมขอมลูและวเิคราะหปญหาการของผขูายและผูซื้อสนิคาศกึษาและสำรวจปญหาของผซูอื้ขายสินคาภายในชมุชน
3สบืคนวธิกีารจดัทำระบบการลงขอมูลขายสนิคาและการซอื้สนิคาออนไลนและเลือกใชโปรแกรมท่เีหมาะสมกบัการใชงาน

และฟงกชันทีต่องการ
4เขียนผงัระบบการดำเนนิงานของข้นัตอนการสรางแบบจำลองเวบ็ไซตซ้อืขายสินคาออนไลน
5ออกแบบหนาจอรานขายของโดยใชเว็บไซตWix.comเพือ่ใชในการลงขอมูลขายสินคาของผขายและ

การส่ังซ้อืสินคาของผูซ้อื

ทีม่าและความสำคัญ 6พัฒนาแบบจำลองเว็บไซตซือ้ขายสินคาออนไลนภายในชุมชนโดยใชเว็บไซตwix.comเพ่ือดงึขอมลูมาจากฐานขอมลู

ในปจจบุนัการซ้อืขายสนิคาออนไลนเปนทแ่ีพรหลายใน
สงัคมวงกวางเนอ่ืงจากมีความสะดวกสบายในการขายและ
การสั่งซอื้สินคามคีวามสะดวกรวดเร็วทำใหผคูนหันมาสนใจ
การซ้ือขายสนิคาออนไลนมากขึน้โดยเฉพาะในทกุประเทศ
รวมถงึประเทศไทยทขี่ณะนป้ีระสบปญหาวกิฤตการณCOVID-19
ซงึ่เปนโรคอบุัติขึน้ใหมทเ่ีกดิจากเชอ้ืไวรสัโคโรนา2019
และสามารถแพรระบาดไดอยางรวดเรว็โดยโรคนีจ้ะสามารถ
แพรจากคนสูคนผานทางฝอยละอองจากจมูกหรอืปาก

ผลการวิเคราะหขอมูล

สรุปผลการดำเนนิงาน

จากการสรางแบบจำลองเว็บไซตซือ้ขายสนิคาออนไลนภายในชมุชนเพื่อการแกไขปญหาในการเขาถงึสนิคาภายในชมุชนไดงายและรวดเรว็ข้ึน
ผลการดำเนนิงานพบวาแบบจำลองเวบ็ไซตซอ้ืขายสนิคาออนไลนภายในชมุชนชวยแกไขปญหาในการเขาถงึสนิคาภายในชมุชนไดงายและรวดเร็วขนึ้

การแกไขปญหาการซอ้ืขายสินคาภายในชมุชนในชวงทีป่ระสบปญหาวิกฤตการณCOVID-19ผลการดำเนนิงานพบวา
แบบจำลองเวบ็ไซตซอ้ืขายสนิคาออนไลนภายในชมุชนชวยแกไขปญหาการซ้ือขายสนิคาภายในชมุชนในชวงทปี่ระสบ
ปญหาวกิฤตการณCOVID-1ดเปนอยางดีในการชวยลดการอยูใกลชิดกบัคนในชมุชนหรือในสถานทท่ีีม่ีผคูนแออดั

เพือ่ตองการสำรวจความพงึพอใจของผทูใ่ีชเวบ็ไซตซือ้ขายสนิคาออนไลนภายในชมุชมผลการดำเนินงาน พบวาแบบจำลองเว็บไซต

โรงเรยีนโครงการห้องเรียนพเิศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยแีละส่งิแวดล้อม
เครอืขา่ยภาคกลางตอนบนวันที่15-16กันยายนพ.ศ.2564

ทีมาและความสําคญั ขันตอนการดําเนนิ งาน

เนืองจากสถานการณ์ COVID-19 เนืองจากภายใน ขันตอนการศึกษาวิธีการใช้
โรงเรยี นเทพศิรินทร์นัน มนี ักเรยี น และบคุ ลากรจํานวนมาก -ศึกษาปญหาของหัวข้อทไี ดจ้ ดั ตงั ขนึ
จึงมีความจาํ เปนทีจะต้องนําระบบคัดกรองนีมาใช้งาน ซงึ -ศึกษาและค้นหาขอ้ มลู ทีใช้ในการแกไ้ ขปญหา เช่น การหาโปรแกรมที
สามารถนําขอ้ มลู ทีได้จากระบบมาใช้ในการพิจารณาข้อมลู
เกยี วกบั นักเรียน เพือคัดกรองอณุ หภมู หิ รืออาการอืนๆของ เหมาะสมตอ่ การ เขยี นโคด้ ขนึ มา การหาแหลง่ ขอ้ มลู ทีชดั เจนต่อการค้นหา
นกั เรยี นให้มคี วามเปนระเบียบ เรียบร้อย ซงึ จะเปน -ศึกษาการใชโ้ ปรแกรม XAMPP
ประโยชนอ์ ย่างยงิ ในการหาวิธกี ารทเี หมาะสมในการดูแล -ศึกษาการใชโ้ ปรแกรม Visual Studio Code
ช่วยเหลือนักเรียนให้ตรงกับสภาพปญหาและความต้องการ
ด้วยความรวดเร็วและถูกต้องแม่นยํา ขนั ตอนการปฏิบัตกิ ารทาํ งาน
-เริมจัดการแบ่งงานของแต่ละคนในกลุม่ ใหเ้ หมาะสม
วตั ถปุ ระสงค์ -ทําการเขยี นระบบในการพัฒนาระบบคดั กรองอนามยั
-ทดลองใชร้ ะบบกับเพือนภายในหอ้ ง
1. เพือพัฒนาระบบคัดกรองภายในโรงเรยี นเทพศิรินทร์ -แก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมให้สามารถทํางานได้
-จดั ทําคมู่ ือวธิ ีการใช้งานระบบคดั กรองอนามัย
2. เพือศึกษาความพึงพอใจของระบบคดั กรองงานอนามยั

ผลการดาํ เนนิ งาน

อุปกรณ์ และโปรแกรมทีใชใ้ นการพัฒนาระบบ

-คอมพิวเตอร์ และเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็
-อปุ กรณส์ ําหรบั การสือสาร
-XAMPP
-PHP
-MYSQL

สรปุ ผลการดาํ เนินงาน คณะผจู้ ดั ทํา ครทู ปี รึกษาโครงงาน
นายปติชัย ลมิ ปสุชาลี นายสุรชยั ปยะประภาพันธ์
5.1.1 สามารถพัฒนาระบบคดั กรองงานอนามยั ทมี ี นายจิรเมธ ตาตะบตุ ร นายเสฏฐวุฒิ โมลานิล
ประสิทธภิ าพมากกว่าระบบคดั กรองทัวไปได้ นายพงศพัศ เจริญจรัสกุล

5.1.2 จากการศึกษาการพัฒนาระบบคัดกรองงานอนามัย
ทาํ ให้พบวา่ ระบบคดั กรองงานอนามยั ทไี ด้ จดั ทาํ นนั มีความ
สะดวกสบาย ปลอดภัย และมปี ระสิทธภิ าพ พร้อมทงั การ
สํารวจความพึงพอใจของผูท้ ดลองใช้ งานระบบคดั กรองงาน
อนามยั พบว่า ระดบั ความพึงพอใจของผ้ทู ดลองใช้งานทมี ีต่อ
ระบบคัดกรองงาน อนามัยมีคา่ เฉลียอยู่ในระดบั พึงพอใจมาก

โรงเรยี นโครงการห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วนั ที 15-16 กันยายน พศ. 2564

การนําเสนอโครงงานของนักเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนเลยแี ละสงิ แวดล้อม
โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์

ระบบบนั ทึกคะแนนความดี

ทมี าและความสาํ คัญ ภาษาและโปรแกรมทใี ช้ PHP
MySQL
ในชวี ิตประจําวันภายในโรงเรยี นจะมกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ HTML5 Xampp
ของนักเรยี น เปนกระบวนการทใี หผ้ สู้ อนพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น เพราะจะ CSS3
ชว่ ยใหไ้ ด้ขอ้ มลู ขา่ วสารสนเทศทแี สดงการพฒั นาการ ความก้าวหน้าและ Javascript
ความสาํ เรจ็ ทางการเรยี นของผเู้ รยี น รวมถึงขอ้ มลู ทจี ะเปนประโยชน์ต่อ
การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการพฒั นาและเรยี นรูอ้ ยา่ งเต็มศกั ยภาพ ทางคณะ ผลการทดลอง
ผจู้ ัดทําต้องการทจี ะสง่ เสรมิ ในด้านของคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของ
นักเรยี น คณะผจู้ ัดทําจึงพฒั นาระบบบนั ทึกคะแนนความดี ซงึ จะสง่ ผลให้ สรุปผล
นักเรยี นมกี ําลังใจในการทําความดแี ละมคี วามรบั ผดิ ชอบ คณะผจู้ ัดทําเล็ง
เหน็ ประโยชน์ของระบบบนั ทึกคะแนนความดี คือ สามารถสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็ก 5.1.1 สามารถพฒั นาระบบบนั ทึกคะแนนความดสี าํ หรบั ครูและ
นักเรยี นทําความดแี ละ มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมภายในโรงเรยี นและ นักเรยี น
คณุ ครูสามารถใหค้ ะแนนนักเรยี นได้ผา่ นระบบออนไลน์
5.1.2 การศกึ ษาการสรา้ งระบบบนั ทึกคะแนนความดี ทําใหพ้ บว่า
วัตถปุ ระสงค์ ระบบบนั ทึกคะแนนความดนี ันมปี ระสทิ ธิภาพในการใชง้ าน

1.เพอื พฒั นาระบบบนั ทึกคะแนนความดี 5.1.3 การสาํ รวจความพงึ พอใจของผทู้ ดลองใชง้ านระบบบนั ทึก
2.เพอื สาํ รวจความพงึ พอใจทมี ตี ่อระบบบนั ทึกคะแนนความดี คะแนนความดพี บว่า ระดับความพงึ พอใจของผทู้ ดลองใชง้ านทมี ตี ่อ
ระบบบนั ทึกคะแนนความดอี ยูใ่ นระดับพงึ พอใจมากทสี ดุ
ขนั ตอนการทําโครงงาน

1.การวางแผน เรมิ จากการศกึ ษาปญหาทเี กิดขนึ ภายในโรงเรยี น ทางผจู้ ัด
ทําจึงได้พบกับปญหาเรอื งการใหค้ ะแนนของคณุ ครู จึงได้วางแผนทจี ะจัดทํา
ระบบบนั ทึกคะแนนความดี เพอื แก้ปญหาการใหค้ ะแนน โดยคณุ ครูจะ
สามารถใหค้ ะแนนผา่ นระบบออนไลน์

2.การศกึ ษาและวิเคราะหข์ อ้ มลู เปนขนั ตอนการจัดเตรยี มโครงานโดย
คณะผจู้ ัดทําได้มกี ารศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ งานวิจัยเกยี วกับระบบ
บนั ทึกคะแนนความดี และศกึ ษาภาษาคอมพวิ เตอรต์ ่างๆ ทใี ชใ้ นการเขยี น
โปรแกรมและวิธกี ารเขยี นโค้ด, ตัวแปรต่างๆ โดยศกึ ษาจากแหล่งเรยี นรูต้ าม
อินเตอรเ์ น็ต,หนังสอื ,งานวิจัยต่างๆ และขอคําแนะนําครูทปี รกึ ษาโครงงาน

3.การดําเนินการ 1.สรา้ งโมดลู ของระบบคะแนนประพฤติความดี โดย
พฒั นาโมดลู ด้วยโปรแกรมทสี ามารถเรยี กใชง้ านได้ผา่ นเว็บเบราว์เซอร์
(Web Browser) ภาษาทใี ชใ้ นการเขยี นโปรแกรมคือ PHP ทดลองใชง้ าน
โมดลู ของระบบบนั ทึกคะแนนความดี เพอื ยนื ยนั ว่าสามารถใชง้ านได้จรงิ มี
ความเปนไปได้และ มคี วามเหมาะสม และทดลองโดยใหน้ ักเรยี นหอ้ ง 6/5 ป
การศกึ ษา 2564 เขา้ ไปทดลองใชง้ านเว็บไซต์ระบบบนั ทึกคะแนนความดี

โรงเรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ แวดล้อม
เครอื ขา่ ยภาคกลางตอนบน วันที 15-16 กันยายน พ.ศ.2564



HiraganaAlphabetLearningApplication

เครือขายภาคกลางตอนบนวันท่ี15-16กันยายนพ.ศ.2564

การนาํ เสนอโครงงานของนักเรียนโครงการหองเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ ม
โรงเรียนสิงหบรุ ี

เครื่องปลูกผักอตั โนมัติ (Automatic Bean Sprouts Greenhouse)
โดย นายวชริ นั ต วงษเ ล็ก นายธนบดี พศิ รูป และ นายภานุวัฒน ศรบี ัวบาน

ครทู ่ีปรกึ ษา ครกู ติ ตพิ งษ สงวนใจ และ ครปู นดั ดา สุรเมธสกุล

โรงเรยี นโครงการหองเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
เครือขายภาคกลางตอนบน วันท่ี 15-16 กันยายน พ.ศ.2564


Click to View FlipBook Version