โครงงานวทิ ยาศาสตร์
การศึกษาคณุ ภาพปุ๋ยมูลไส้เดือนดินทไี่ ด้จากการยอ่ ยสลาย
วตั ถอุ นิ ทรีย์ประเภทตา่ งๆ
The studing a Quality of Vermicompost form Degradation
of Synthetic chemical Residues form Organic Meterials
โรงเรยี นเดอื่ ศรไี พรวัลย์ อาเภอวานรนวิ าส จังหวัดสกลนคร
คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 (หวั หน้าทีม)
1. นางสาวชฎาพร นอ้ ยฤทธ์ิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
2. นางสาวพัชรา ไชยรบ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3
3. นางสาวศรุตา สารโภคา
อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงาน
นางสาวลาพนู อาแพงพันธ์ ตาแหน่ง ครู อนั ดับ คศ.3
รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของโครงงานวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนต้น
การประกวดโครงงานนกั เรยี นระดับภาคคร้งั ท่ี 17 ประจาปี 2562
จดั โดยมูลนธิ ิเปรม ติณสลู านนท์ จังหวัดนครราชสมี า
ระหว่างวนั ท่ี 17 – 18 สงิ หาคม 2562
ณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี
โครงงานวทิ ยาศาสตร์
การศึกษาคุณภาพป๋ยุ มลู ไส้เดอื นดินทไ่ี ด้จากการย่อยสลาย
วัตถอุ นิ ทรยี ์ประเภทต่างๆ
The Studing a Quality of Vermicompost form Degradation
of Synthetic chemical Residues form Organic Meterials
คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 (หัวหน้าทมี )
1. นางสาวชฎาพร น้อยฤทธ์ิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3
2. นางสาวพชั รา ไชยรบ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
3. นางสาวศรตุ า สารโภคา
อาจารย์ทป่ี รึกษาโครงงาน
นางสาวลาพูน อาแพงพนั ธ์ ตาแหนง่ ครู อนั ดบั คศ.3
อาจารยท์ ป่ี รึกษาพิเศษ
นายพนมเทยี น ลนี าลาศ ตาแหนง่ ครู อนั ดับ คศ.3
เรอื่ ง การศกึ ษาคุณภาพปยุ๋ มูลไส้เดือนดนิ ที่ไดจ้ ากการย่อยสลายวัตถุอินทรยี ์
ประเภทต่างๆ
ช่อื ผทู้ าโครงงาน นางสาวศรตุ า สารโภคา
นางสาวชฎาพร น้อยฤทธิ์
นางสาวพชั รา ไชยรบ
โรงเรียนเดอ่ื ศรีไพรวัลย์ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ครทู ี่ปรึกษา นางสาวลาพูน อาแพงพันธ์ นายพนมเทียน ลนี าลาศ
บทคัดยอ่
โครงงานนี้มจี ดุ มุ่งหมาย เพื่อศกึ ษาการผลติ ปุย๋ มลู ไส้เดือนดินทผี่ ลิตจากวัตถุอนิ ทรยี ส์ ูตรต่างๆ โดยการยอ่ ยสลาย
ของไส้เดือนดินพนั ธุ์อายซิเนยี ฟทู ิดา (Eisenia foetida) เพื่อศึกษาสมบัตทิ างเคมีและธาตุอาหารพชื ในปุย๋ มลู ไส้เดือนดิน
ทผี่ ลติ จากวัตถุอินทรีย์สูตรต่างๆ โดยการยอ่ ยสลาย ของไส้เดือนดนิ พันธ์ุอายซิเนีย ฟูทิดา (Eisenia foetida) โดยทาการ
เลีย้ งไสเ้ ดือนดว้ ยวัตถุอินทรีย์ 4 สตู ร คือ สูตรที่ 1 มลู ววั สูตรที่ 2 มูลวัวผสมใบไม้แหง้ สูตรท่ี 3 มูลววั ผสมใบกระถนิ
แหง้ และสตู รที่ 4 มูลววั ผสมมะละกอสุก เป็นเวลา 1 เดือน จากน้นั นามาทดสอบสมบัตทิ างเคมีและธาตุอาหาร ผล
การทดลองพบวา่ ปุ๋ยมลู ไส้เดือนดินทัง้ 4 สูตร มลี ักษณะเป็นเม็ดร่วนสีดา ค่าความ เป็นกรด-ดา่ งในปยุ๋ มูลไส้เดือนดิน
ทั้ง 4 สตู ร มีสมบัติเปน็ กลาง และปุ๋ยมลู ไสเ้ ดือนดิน สูตรท่ี 1 คือ มคี ่าไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม
(K)นอ้ ยทสี่ ดุ สว่ นป๋ยุ ไส้เดอื นดิน สูตรที่ 2 มฟี อสฟอรัส (P) มากที่สดุ ปุย๋ ไสเ้ ดือนดนิ สตู รที่ 3 มไี นโตรเจน(N)
มากทีส่ ุด และป๋ยุ ไส้เดือนดิน สูตรท่ี 4 มโี พแทสเซียม (K) มากทสี่ ุด
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรอื่ ง การศึกษาคุณภาพป๋ยุ มูลไสเ้ ดือนดนิ ทไ่ี ดจ้ ากการย่อยสลายวัตถุอนิ ทรยี ์
ประเภทต่างๆ สาเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี เนอ่ื งจากไดร้ ับคาแนะนาจากครูทป่ี รึกษาโครงงาน คือ คณุ ครลู าพูน อาแพงพนั ธ์
คณุ ครูพนมเทียน ลนี าลาศ และคุณครูกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คณะผจู้ ดั ทาโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่าง
สงู ที่ใหค้ าแนะนาท่ีดี ๆ จนทาให้โครงงานประสบผลสาเรจ็ ไดด้ ว้ ยดี
ขอขอบพระคณุ ผู้อานวยการสุทัศน์ สวุ รรณโน และคณะครโู รงเรียนเด่อื ศรีไพรวลั ย์
ทีช่ ่วยให้คาปรึกษาแนะนาในการทาโครงงานในครงั้ นี้
ความดีและประโยชน์ทเี่ กดิ จากการทาโครงงานเล่มน้ี ขอมอบแด่บพุ การี ครแู ละผู้มพี ระคุณทกุ ทา่ น ท่ีประสิทธ์ิ
ประสาทวชิ าความรู้ใหแ้ ก่ผูจ้ ดั ทาโครงงานด้วยความรักและเมตตาตลอดมา
ผจู้ ดั ทาโครงงาน
นางสาวศรุตา สารโภคา
นางสาวชฎาพร น้อยฤทธิ์
นางสาวพชั รา ไชยรบ
สารบญั
หน้า
บทคดั ย่อ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง จ
สารบัญกราฟ ฉ
สารบัญรูปภาพ ช
บทท่ี 1
1 บทนา 1
1
ทมี่ าและความสาคัญ 1
จดุ มุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 2
สมมตฐิ านของการศกึ ษาคน้ คว้า 2
ตวั แปรทเี่ กย่ี วข้อง 2
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ และคาศัพท์เทคนิค 3
3
2 เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง 5
ปยุ๋ มูลไส้เดือนดิน 7
ไสเ้ ดือนดนิ 9
รูปแบบทีใ่ ชเ้ พาะเลีย้ งไสเ้ ดือนดนิ 11
ธาตุอาหารหลัก 10
มูลววั 12
กระถิน
มะละกอ 13
13
3 อุปกรณ์และวธิ ีดาเนินการทดลอง 13
วัสดุการทดลอง
วธิ ีดาเนินการทดลอง 15
15
4 ผลการทดลอง 16
ตารางแสดงผลการทดลอง
กราฟแสดงผลการทดลอง
สารบัญ (ตอ่ )
บทท่ี หนา้
5 สรปุ และอภิปรายผลการทดลอง 17
สรปุ ผลการทดลอง 17
อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 17
ขอ้ เสนอแนะ 17
ประโยชน์และแนวทางการนาไปใช้ 18
19
บรรณานกุ รม 20
ภาคผนวก
สารบัญตาราง หนา้
14
ตารางท่ี 14
4.1 คา่ ความเป็นกรด-ด่าง ในปุ๋ยมูลไสเ้ ดือนดินสูตรตา่ งๆ
4.2 ปริมาณของธาตอุ าหารของพชื ในปยุ๋ ไส้เดือนดนิ สูตรต่างๆ
สารบญั กราฟ หน้า
กราฟท่ี 16
4.1 แสดงคา่ ความเปน็ กรด-ด่างในปุ๋ยมูลไส้เดอื นดินสตู รต่างๆ 16
4.2 แสดงคา่ ปรมิ าณของธาตุอาหารของพืชในป๋ยุ ไสเ้ ดือนดนิ สตู รต่างๆ
สารบัญรูปภาพ หนา้
รูปภาพท่ี 5
6
2.1 ปยุ๋ มลู ไส้เดอื นดนิ 6
2.2 วงจรชวี ิตและการสืบพันธุ์ของไส้เดือนดิน 11
2.3 ไสเ้ ดือนพนั ธุ์อายซเิ นยี ฟูทิดา 12
2.4 ใบกระถิน 15
2.5 มะละกอ
4.1 ปยุ๋ มูลไส้เดือนดินท่ีผลิตจากวัตถอุ ินทรีย์ 4 สูตร
บทท่ี 1
บทนา
1.1 ท่มี าและความสาคัญ
ปัจจุบันกระแสรักสุขภาพของผู้บริโภคได้เพ่ิมมากขึ้น พร้อมกับความต้องการบริโภคพืชปลอดสารพิษหรือไร้
สารพิษท่ีเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การเกษตรมีการพัฒนาไปในด้านเกษตรอินทรีย์ ที่เพิ่มขึ้น กรมวิชาการเกษตร ระบุว่า
เกษตรอินทรีย์ เป็นระบบการผลิตที่คานึงถึงสภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยการหลีกเล่ียงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพใน
การบารุงดิน ให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรงสามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตัวเอง ให้
ความสาคัญกับความย่ังยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน เกษตรอินทรีย์เป็นทางเลือกที่เข้ามามีบทบาทในการ
แก้ไข ฟ้ืนฟูสภาพส่ิงแวดล้อมท่ีเส่ือมโทรมลง จากการเกษตรแบบใหม่ โดยเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีทาให้การเกษตรมีความ
ยั่งยืนขึ้น อน่ึงในปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้มีการพัฒนามากข้ึน โดยปุ๋ยมูลไส้เดือนดินก็จัดได้ว่า
เป็นปุ๋ยอินทรียท์ ่ีมกี ารผลติ อย่างแพรห่ ลาย ปยุ๋ มูลไส้เดือนดนิ เป็นผลผลติ ที่ได้จากการย่อย สลายอนิ ทรียวัตถุต่าง ๆ โดย
ผ่านกระบวนการย่อย ในลาไส้ ของไส้เดือนดินและจุลินทรีย์ต่าง ๆ มีลักษณะ เป็นเม็ดสีดา มีความร่วนสูง เก็บน้าได้ดี
ในปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน ยงั ประกอบดว้ ยธาตอุ าหารท่ีพืชสามารถ นาไปใช้ได้ทันที เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม
แคลเซียม และแมกนีเซียม อีกทั้งมูลไส้เดือนดินสามารถปรับโครงสร้างของดินทาให้ปริมาณอินทรยี วัตถุ เพิ่มช่องว่าง
ในดิน ความพรุนของผิวหน้าดิน การดูดซับน้าในดิน การแลกเปล่ียนประจุของดิน ปรับระดับความเป็นกรด -ด่างของดิน
ได้ดีขึ้น มูลไส้เดือนดินจึงถูกนามาใช้ในการปลูกพืชหลายชนิด ได้แก่ ธัญพืช และถั่ว ไม้ดอกไม้ประดับ ผัก พืชสมุนไพร
และไมผ้ ล เปน็ ต้น
คณะผ้จู ัดทาโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้เลง็ เหน็ ประโยชนข์ องปุ๋ยมูลไส้เดอื นดนิ จงึ ได้เริ่ม
ทาการศึกษา หาข้อมลู เกย่ี วกบั ไส้เดือนดนิ วิธีการเล้ียงและการผลิตปุ๋ยจากมูลไสเ้ ดือนดนิ คณะผ้จู ัดทาจงึ คิดพัฒนา
สูตรปยุ๋ จากมูลไส้เดือนดนิ โดยทาการทดลองการเลีย้ งไสเ้ ดือนดนิ ในรูปแบบต่างๆ เพ่อื ผลิตปุ๋ยมลู ไสเ้ ดอื นดนิ ท่เี หมาะ
กับพชื แต่ละชนดิ และเพ่ือเป็นการลดปริมาณการใช้สารเคมปี ้องกนั กาจัดศัตรพู ชื และปริมาณการใช้ปยุ๋ เคมลี ง หลกี เลี่ยง
การปนเปื้อนสารเคมี เพิม่ ความอดุ มสมบรู ณแ์ ละความหลากหลายทางชวี ภาพของดนิ อีกท้งั สามารถชว่ ยให้เกษตรกร
สามารถลดต้นทนุ การผลิต
1.2 จุดมุ่งหมายของการศกึ ษาค้นคว้า
1) เพอื่ ศึกษาการผลิตปุ๋ยมูลไสเ้ ดอื นดินท่ีผลิตจากวัตถอุ นิ ทรีย์สตู รต่างๆ โดยการย่อยสลายของไสเ้ ดือนดินพันธ์ุอาย
ซิเนยี ฟทู ดิ า (Eisenia foetida)
2) เพ่ือศกึ ษาสมบตั ิทางเคมีและธาตุอาหารพืชในปยุ๋ มูลไสเ้ ดือนดนิ ท่ผี ลิตจากวัตถุอินทรียส์ ตู รต่างๆ โดยการย่อย
สลายของไสเ้ ดือนดนิ พนั ธ์ุอายซิเนยี ฟทู ดิ า (Eisenia foetida)
1.3 สมมติฐานของการศกึ ษาคน้ ควา้
สมบตั ทิ างเคมแี ละธาตุอาหารพชื ในปยุ๋ มลู ไส้เดือนดนิ ท่ีผลิตจากวตั ถุอนิ ทรีย์สตู รต่างๆ โดยการย่อยสลายของ
ไส้เดอื นดนิ พันธุ์อายซิเนยี ฟูทิดา (Eisenia foetida) มีสมบัตทิ างเคมีและธาตุอาหารพืชต่างกัน
1.4 ตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง
ตวั แปรต้น ปยุ๋ มูลไสเ้ ดอื นดินพนั ธุ์อายซเิ นยี ฟทู ิดา (Eisenia foetida) ทผ่ี ลิตจากวัตถอุ ินทรีย์ สูตรต่างๆ
ตัวแปรตาม สมบตั ิทางเคมีและปรมิ าณธาตุอาหารพชื
ตัวแปรควบคุม ปริมาณของไส้เดอื นดินพนั ธ์ุอายซเิ นยี ฟูทิดา (Eisenia foetida) ปริมาณของวัตถุอินทรยี ์ทั้ง
4 สตู ร อุปกรณ์ทใี่ ช้ในเลีย้ งไส้เดอื นดิน เคร่ืองชัง่ ชุดตรวจสอบค่า เอน็ พี เค และกรดด่างของดนิ
1.5 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้
1) การศกึ ษาค้นควา้ ในครงั้ นี้เป็นการศึกษาคณุ ภาพของปุย๋ มลู ไส้เดือนดินทผ่ี ลิตจากวตั ถอุ ินทรยี ส์ ูตรต่างๆ โดยการ
ย่อยสลายของไสเ้ ดือนดนิ พนั ธุ์อายซิเนีย ฟูทดิ า (Eisenia foetida) โดยไม่จากัดอายุของไส้เดือนท่นี ามาเลี้ยงแต่ใช้
ปรมิ าณน้าหนกั รวมของไส้เดือน
2) ไสเ้ ดอื นดนิ คือ สายพันธุ์อายซิเนีย ฟูทิดา (Eisenia foetida) เปน็ สายพันธ์ทุ ี่เลยี้ งง่าย และยังเปน็ สายพนั ธทุ์ ่ี
เลีย้ งไดใ้ นทุกพืน้ ที่ ทั้งยังเปน็ สายพนั ธ์ทุ ี่มกี ารเจรญิ เตบิ โตได้ดี
3) มูลวัว คอื มลู ของวัวพันธ์ุพื้นเมืองที่ชาวตาบลเดอ่ื ศรีคนั ไชยเล้ยี งกนั
4) มะละกอ เปน็ มะละกอท่ปี ลูกในโรงเรียนเดื่อศรีไพรวัลย์
5) ใบกระถนิ เป็นใบกระถนิ ทีเ่ กบ็ จากสวนเกษตรโรงเรียนเด่ือศรีไพรวัลย์
6) ใบไมแ้ ห้ง เปน็ เศษใบไมท้ เี่ กบ็ บริเวณสวนปา่ โรงเรียนเดื่อศรีไพรวัลย์
1.6 ข้อตกลงเบ้อื งต้นศัพท์และเทคนิค
1) การเพมิ่ คุณภาพปยุ๋ มูลไส้เดือนดนิ ท่ีคณะผู้จดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้คิดคน้ วิธีการพัฒนาเพอื่ เพ่ิมคุณภาพ
ใหแ้ กป่ ุ๋ยมูลไส้เดือนดนิ ดว้ ยตนเอง โดยใชห้ ลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ โดยเลือกวิธีเล้ียงในกะละมงั พลาสติก เพ่ือเปน็ ท่ีอยู่
ของไสเ้ ดอื นดิน
2) ระยะเวลาของการเจริญเตบิ โตของไสเ้ ดือนดนิ คอื การสังเกตการถ่ายของไส้เดือนดนิ และขนาดตัวของไสเ้ ดือน
ดนิ จะมกี ารเจริญเตบิ โตมากขึ้นทุก 1 สปั ดาห์
3) ปรมิ าณของมูลไส้เดือนดิน ทเ่ี พมิ่ มากข้นึ คือปรมิ าณของอาหารทใี่ ห้แก่ไสเ้ ดือนดินในแต่ละกะละมังเทา่ ๆ กนั เพอ่ื
วดั ปรมิ าณการถ่ายของมลู ไสเ้ ดอื นดิน
4) วัตถอุ นิ ทรีย์ คือ มลู วัว ใบไมแ้ หง้ ใบกระถินแหง้ มะละกอสุก
5) ชดุ ตรวจสอบค่า เอน็ พี เค และกรดดา่ งของดิน (NPK pH Test Kit for soil) คือ ชุดตรวจสอบ N P K และ
pH สามารถวเิ คราะห์ไนโตรเจนที่เปน็ ประโยชน์ของดินในรูปของ แอมโมเนียมไนเตรต ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
โพแทสเซยี มทเี่ ปน็ ประโยชน์ และค่าความเปน็ กรด-ด่างของดนิ (pH)
บทท่ี 2
เอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง
เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องแบ่งออกเป็นหวั ขอ้ ตามลาดบั ต่อไปนี้
2.1 ปุ๋ยมลู ไส้เดอื นดิน
2.2 ไสเ้ ดือนดิน
2.3 รปู แบบทใ่ี ชเ้ พาะเล้ียงไส้เดือนดนิ
2.4 ธาตอุ าหารหลกั
2.5 มลู ววั
2.6 กระถนิ
2.7 มะละกอ
2.1 ปุ๋ยมูลไสเ้ ดือน
ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดนิ (Vermicompost) หมายถงึ เศษซากอินทรยี ์วัตถุตา่ งๆ รวมท้ังดินและจลุ นิ ทรยี ์ที่ไส้เดอื น
ดนิ กินเขา้ ไปแล้วผ่านกระบวนการยอ่ ยสลาย อนิ ทรียวัตถเุ หล่านั้นภายในลาไสข้ องไส้เดือนดนิ แลว้ จงึ ขับถา่ ยเป็นมลู
ออกมาทางรทู วาร ซงึ่ มูลทไ่ี ด้จะมลี ักษณะเป็นเมด็ สดี า มธี าตุอาหารพืชอยใู่ นรูปท่ีพชื สามารถนาไปใช้ไดใ้ นปริมาณท่สี ูง
และมี จุลินทรียจ์ านวนมาก ซึ้งในกระบวนการผลติ ปุ๋ยหมกั โดยใช้ไส้เดอื นดนิ ขยะอินทรยี ์ที่ไสเ้ ดอื นดินกนิ เข้าไป และผา่ น
การยอ่ ยสลายในลาไสแ้ ล้วขบั ถา่ ยออกมา มลู ไส้เดือนดินท่ีได้เรยี กวา่ “ป๋ยุ หมกั มลู ไส้เดือนดนิ ”
คณุ สมบัตขิ องปุ๋ยหมกั มลู ไสเ้ ดอื นดนิ
ลกั ษณะ โครงสรา้ งทางกายภาพของปุย๋ หมักไสเ้ ดือนดนิ มีลักษณะเป็นเม็ดร่วนละเอยี ด มีสีดาออกน้าตาล โปร่ง
เบา มคี วามพรุนระบายน้าและอากาศได้ดมี าก มีความจุความชืน้ สงู และมปี ระมาณอินทรียวตั ถสุ ูงมาก ซึ่งผลจากการย่อย
สลายขยะอินทรียท์ ่ีไส้เดือนดินดดู กินเข้าไปภายในลาไส้ และดว้ ยกจิ กรรมของจุลนิ ทรียท์ ่ีอยูใ่ นลาไสแ้ ละน้าย่อยของ
ไส้เดอื นดนิ จะช่วย ให้ธาตอุ าหารหลายๆ ชนิดท่ีอย่ใู นเศษอินทรยี วตั ถเุ หล่านั้นถกู เปล่ียนให้อย่ใู นรปู ท่ีพืชสามารถ นาไปใช้
ได้ เช่น เปลย่ี นไนโตรเจน ใหอ้ ยใู่ นรปู ไนเตรท หรอื แอมโมเนยี ฟอสฟอรัสในรูปทเี่ ป็นประโยชน์ โพแทสเซียมในรปู ท่ี
แลกเปล่ยี นได้ และนอกจากน้ียังมีสว่ นประกอบของธาตุอาหารพืชชนดิ อื่นและจลุ ินทรีย์หลายชนิด ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อดนิ
รวมทง้ั สารควบคมุ การเจริญเติบโตของพชื หลายชนิดท่ีเกิดจากกจิ กรรมของ จุลนิ ทรยี ใ์ นลาไส้ของไส้เดือนดนิ อีกดว้ ย
การใชป้ ุ๋ยหมักมลู ไส้เดือน ดินและนา้ หมักมลู ไส้เดือนดินในการปลูกพชื จะส่งผลให้ดินมีโครงสร้างดขี ้นึ คือทาให้
ดินกกั เก็บความชน้ื ได้มากขึน้ มคี วามโปรง่ ร่วนซุย รากพชื สามารถชอนไชและแพร่กระจายไดก้ วา้ ง ดินมีการระบายนา้ และ
อากาศได้ดี ทาให้จุลนิ ทรยี ์ดินทเ่ี ปน็ ประโยชน์บริเวณรากพืชสามารถสรา้ งเอนโซม์ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อพืชไดเ้ พ่ิมชน้ึ
นอกจากนจ้ี ลุ ินทรยี ์ดินทปี่ นออกมากบั มลู ของไสเ้ ดือนดนิ ยงั สามารถสร้างเอ็น ไซม์ฟอสฟาเตสไดอ้ ีกดว้ ย ซง่ึ จะมีสว่ นช่วย
เพิ่มประมาณฟอสฟอรัสในดนิ ใหส้ งู ขึน้ ได้
ประโยชนแ์ ละความสาคัญของปุ๋ยหมกั มูลไส้เดือนดนิ
1) สง่ เสริมการเกดิ เมด็ ดิน
2) เพ่ิมปรมิ าณอนิ ทรียวัตถแุ กด่ ิน
3) เพมิ่ ช่องวา่ งในดินให้การระบายน้าและอากาศดยี ่ิงขึน้
4) ส่งเสรมิ ความพรนุ ของผิวหน้าดนิ ลดการจับตวั เป็นแผน่ แข็งของหน้าดนิ
5) ช่วยให้ระบบรากพชื สามารถแพรก่ ระจายตัวในดนิ ได้กว้าง
6) เพิ่มขีดความสามารถในการดูดซับนา้ ในดิน ทาใหด้ นิ ชุม่ ข้นึ
7) เพิ่มธาตุอาหารพืชใหแ้ กด่ ินโดยตรงและเป็นแหล่งอาหารของสัตวแ์ ละจลุ ินทรียด์ นิ
8) เพมิ่ ศักยภาพการแลกเปล่ยี นประจบุ วกของดนิ
9) ช่วยลดความเปน็ พิษของธาตุอาหารพืชบางชนดิ ทีม่ ีปริมาณมาเกินไป เชน่ อะลูมินัม และ
แมงกานีส
10) ชว่ ยเพมิ่ ความตา้ นทานในการเปลี่ยนแปลงระดับความเปน็ กรด-เบส (Buffer capacity)
ทาใหก้ ารเปลีย่ นแปลงเกิดข้ึนไม่เร็วเกินไปจนเป็นอนั ตรายต่อพชื
11) ช่วย ควบคมุ ปรมิ าณไส้เดือนฝอยในดนิ เนอ่ื งจากการใส่ปุย๋ หมักมูลไส้เดือนดินจะทาให้มี
ปรมิ าณจลุ ินทรีย์ทส่ี ามารถ ขับสารพวกอบั คาลอยด์และกรดไขมันท่เี ป็นพิษต่อไส้เดือนฝอยได้เพมิ่ ข้นึ
การใช้ปุ๋ยหมกั มูลไส้เดือนดนิ เป็นส่วนผสมของวสั ดปุ ลูกและวัสดเุ พาะกลา้ พชื นอกจากการนาปุ๋ยหมกั มูลไสเ้ ดือน
ดนิ ไปใช้เปน็ ปุ๋ยแลว้ ยงั สามารถนามาใชเ้ ป็นสว่ นผสมของวสั ดุปลูกและวัสดุเพาะกลา้ พชื ได้ วัสดุปลกู พชื หรอื วสั ดเุ พาะกลา้
พชื ทมี่ ีส่วนผสมของปุย๋ หมักมูลไสเ้ ดือนดนิ จะมี ธาตุอาหารพืชอยู่ในปรมิ าณทีเ่ จือจางและอยู่ในรูปพร้อมใช้ ซ่งึ จะค่อยๆ
ปลดปล่อยธาตุอาหารให้กบั ต้นกล้าพชื ในการเจรญิ เติบโตระยะแรกไดอ้ ย่างเหมาะสม ประกอบกับปยุ๋ หมักมลู ไส้เดือนดินมี
โครงสร้างที่โปร่งเบาระบายน้าและอากาศได้ ดี และจคุ วามช้ืนไดม้ าก ดงั นั้นตน้ กลา้ พืชจะสามารถเจรญิ เติบโตออกราก
และชอนไชไดด้ มี าก ในการนามาปลูกพชื จาพวกได้ประดับจะส่งเสรมิ ใหพ้ ชื ออกดอกไดด้ ีมากเนื่องจาก จุลนิ ทรีย์ในป๋ยุ
หมกั มลู ไส้เดือนดินสามารถสร้างเอนไซม์ฟอสฟาเตสได้ จึงทาใหว้ ัสดุปลูกนั้นมปี รมิ าณของฟอสฟอรัสเพิม่ สงู ขึน้ ส่งผลให้พืช
ออกดอกได้ ดยี ่งิ ขน้ึ คุณสมบตั ิ ของปยุ๋ หมักมูลไส้เดอื นดนิ ท่ีนามาใชเ้ ป็นวัสดุปลกู พชื จะแตกตา่ งกันตามวัสดุ ที่นามาใชผ้ ลิต
ปยุ๋ หมกั มลู ไสเ้ ดือนดนิ แต่โดยทั่วไปแลว้ โครงสร้างของปยุ๋ หมักมลู ไสเ้ ดือนดินที่ไดจ้ ะมีลกั ษณะที่ คลา้ ยกนั คอื จะมี
ส่วนประกอบของธาตุอาหารพืชอย่ใู นรปู ท่ีพชื สามารถดดู ไปใชไ้ ด้ มสี ว่ นประกอบของธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม
เกอื บทกุ ชนิดท่ีพชื ต้องการ
ใน การนาปุ๋ยหมักมูลไสเ้ ดือนดนิ มาใชเ้ ปน็ วสั ดุปลกู ควรจะนามาผสมกบั วัสดปุ ลูกชนิดอ่ืนๆ กอ่ น เนื่องจากปุ๋ย
หมกั มลู ไส้เดือนดนิ จะประกอบด้วยอินทรยี วัตถุเปน็ สว่ นใหญ่ และมีอนภุ าคของดนิ อยูน่ อ้ ย ดังนนั้ ในการนาปุ๋ยหมักมูล
ไสเ้ ดอื นดนิ ทไ่ี ด้มาผสมกบั วัสดปุ ลูกชนดิ อื่นๆ จะได้ผลดีกว่าและส้นิ เปลอื งน้อยกวา่ การใช้ปุย๋ หมักมูลไส้เดือนดินเพยี งอยา่ ง
เดยี ว ซง่ึ ในการปลูกพชื สวนประดบั สามารถนาปุย๋ หมักมลู ไส้เดอื นดนิ มาเจือจากได้หลาย ระดับ
ภาพที่ 2.1 ปุ๋ยมูลไสเ้ ดอื นดนิ
ทม่ี า https://www.thaigreenagro.com
2.2 ไสเ้ ดอื นดนิ
ลกั ษณะและอวัยวะของไส้เดือนดิน
สามารถคน้ พบได้ท่ัวๆไปตามระบบนิเวศ สิ่งมีชวี ิตชนดิ น้สี ามารถอย่รู อดไดท้ งั้ ในส่งิ แวดลอ้ ม
เดิมและส่งิ แวดล้อมใหม่ โดยทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบต่อการดารงชวี ิต ซึ่งโดยทั่วไปนั้นไสเ้ อนดินสามารถจาแนกได้ 2 ชนิดใหญ่ๆ
คอื ชนดิ ท่ีอาศัยอยู่บนดนิ และชนิดอาศัยอยใู่ ตด้ ิน ปรมิ าณไส้เดือนดนิ น้ันข้นึ อยู่กบั ปัจจัยทเ่ี ข้ามารบกวนระบบนิเวศของ
ดนิ เช่น การไถดนิ ของแทรกเตอร์ มลภาวะทางสิง่ แวดล้อม หรอื แม้แต่แมลงต่างๆ
รูปรา่ งไสเ้ ดือน
ไสเ้ ดือนเปน็ สตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง
ไสเ้ ดือนมีผิวพรรณท่ีออ่ นนุ่ม
โดยสว่ นใหญไ่ ส้เดอื นมีสนี า้ ตาล ชมพูหรือแดง
รูปรา่ งของไส้เดือนมลี กั ษณะเปน็ ปลอ้ งๆ
ทกุ ๆปลอ้ งของไส้เดือนจะมีขนเล็กๆเพือ่ ช่วยในการเคลื่อนไหว ขนนน้ั ช่ือว่า “setae”
วงจรชีวิตของไส้เดอื นดินจะประกอบดว้ ย
1) ระยะถุงไข่
2) ระยะตัวอ่อน
3) ระยะก่อนเต็มวยั
4) ระยะตวั เต็มวยั (ไคเทลลัมเจริญเตม็ ท่ี)
โดยทั่วไปไส้เดือนดนิ จะจบั คู่ผสมพนั ธก์ุ ันในบรเิ วณใตด้ นิ แต่บางสายพันธกุ์ จ็ ับค่ผู สมพันธ์ุกัน
บรเิ วณผิวดนิ ด้วย ลกั ษณะการผสมพันธก์ุ นั ของไส้เดือนจะเร่มิ โดยไสเ้ ดือนวัยหนุม่ สาว สงั เกตไดจ้ ากการมีไคเทลลมั
(Clitellum) ทเ่ี ห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน โดยไส้เดอื นจะมีการแลกเปล่ียนสเปิร์มซึง่ กันและกันและเกิดการปฏิสนธิแบบข้ามตัว
ปกตไิ สเ้ ดือนจะผสมพันธใ์ุ นช่วงเวลากลางคืน การผสมพนั ธุ์เริ่มด้วยไสเ้ ดือนดนิ สองตวั จับคู่กนั กลับหัวกลับหาง นาส่วน
ท้องท่ีเปน็ ส่วนของไคเทลลัม (Clitellum) มาแนบตดิ กัน ซ่งึ เม่ือจบั คู่ผสมพนั ธ์กุ ันแล้วไสเ้ ดือนดนิ แต่ละตวั กจ็ ะสร้างปลอก
ไวร้ อบคอ ลกั ษณะคลา้ ยวงแหวนสชี มพูออ่ น หลังจากนนั้ จะฟักตัวภายใน 7-13 วนั
ภาพที่ 2.2 วงจรชวี ิตและการสืบพันธุ์ของไสเ้ ดอื นดิน
ที่มา http://archive.mfu.ac.th/nremc/content_detail.php?id=118
ไส้เดอื นพนั ธอ์ุ ายซเิ นีย ฟูทิดา ( Eisenia foetida)
ช่อื สามญั The Tiger worm, Manure worm, Compost worm
ภาพท่ี 2.3 ไสเ้ ดอื นพนั ธุ์อายซิเนีย ฟูทดิ า ( Eisenia foetida)
ทีม่ า https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=17417
ลักษณะโดยท่ัวไป
เปน็ ไส้เดอื นดินสีแดงทม่ี ีลาตัวกลม ขนาดเลก็ ลาตวั มสี แี ดงสด เหน็ ปล้องแตล่ ะปล้องแบ่งอย่างชดั เจนสามารถ
แพรข่ ยายพันธุไ์ ด้รวดเร็วและมกี ล่ินตัวทีร่ นุ แรง มลี ักษณะโดยทั่วไปดงั น้ี
- ลาตวั มขี นาด 35-140 x 3-5 มลิ ลิเมตร ลาตวั มสี แี ดง ร่างระหวา่ งปลอ้ งและบริเวณปลายหางมีสีเหลอื ง
- อายยุ นื ยาว 4-5 ปี แต่มักจะอย่ไู ด้ 1-2 ปี เมื่อเล้ียงในบอ่
- สืบพันธุโ์ ดยอาศัยเพศสรา้ งไขไ่ ด้ประมาณ 900 ฟอง/ตวั /ปี ใช้เวลาในการฟักเป็นตวั ประมาณ 32-40วัน ใช้เวลา
ในการเติบโตเต็มวัย 3-6 เดือน (ขึน้ อยู่กับฤดูกาล)
- อาศยั อยูบ่ รเิ วณผิวดิน กนิ เศษซากอินทรยี วัตถุท่ีเน่าสลายและมีอนภุ าคขนาดเล็ก
- ไสเ้ ดอื นพันธุน์ ม้ี ีอยูท่ ั่วไปในบรเิ วณทีม่ ีขยะอนิ ทรีย์
- ขอ้ ดี มคี วามทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไมเ่ หมาะสมได้ดีมาก
- ข้อเสยี มรี ะยะฟักไขน่ าน
2.3 รปู แบบทใี่ ชเ้ พาะเลี้ยงไส้เดอื นดิน
ไสเ้ ดือนดินเปน็ สัตวท์ เ่ี ล้ียงง่าย เจริญเติบโตเร็ว แพรพ่ นั ธุแ์ ละขยายจานวนเร็วในเวลาสน้ั ๆ ถ้าอยใู่ น
สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมและมีอาหารท่ีเพยี งพอ
รูปแบบทใี่ ชเ้ พาะเลย้ี งไส้เดอื นมีหลายรูปแบบตงั้ แต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ในทน่ี ี้ขอเสนอ 5 รปู แบบ คอื
1) การเลีย้ งบนพ้นื ดนิ
2) การเลย้ี งในลน้ิ ชัก
3) การเล้ียงในถังพลาสตกิ
4) การเลี้ยงในกระบะไม้
5) การเลีย้ งในถังคอนกรีต
1) การเลยี้ งบนพนื้ ดนิ
วธิ กี ารน้ีเป็นการกองวัสดุท่เี ป็นทอ่ี าศัยของไส้เดือนไว้บนดนิ โดยยมีกรอบไม้เป็นคอกกน้ั แล้วใส่อาหารไวด้ ้านบน
ในระหว่างการเลย้ี งถา้ ให้อาหารอย่างเพยี งพอไสเ้ ดือนจะอยู่ในบริเวณกรอบไม้ไม่หนีไปไหน วิธีนป้ี ระหยัดและสะดวก
เวลาเกบ็ ปุย๋ หมกั ไส้เดือนก็สะดวก หรอื จะคลุกเคล้าลงในดินทาการเพาะปลูกได้ทนั ที
วิธีการ
1.1 ทากรอบไมส้ งู 50 เซนติเมตร กวา้ ง 1 เมตร ยาวตามพื้นที่ที่วางไวบ้ นดินเหนียวบริเวณใตร้ ม่ ไม้
1.2 ใช้ฟางขา้ วที่แชน่ า้ ไว้ 2-3 วัน ผสมกบั มลู ววั แหง้ หรอื มลู ไกแ่ หง้ อตั ราส่วน 1:1 ใส่ลงในคอกสูง 30
เซนติเมตร
1.3 ใสไ่ สเ้ ดือนลงไปบนกองฟาง คร่งึ กิโลกรมิ ต่อพน้ื ที่ 1 ตารางเมตร แลว้ โรยอาหารไสเ้ ดือนใหท้ ่วั บรเิ วณผิวหน้า
หนา 3-4 เซนตเิ มตร
1.4 คลมุ ด้วยฟาง หรือกระดาษหนังสอื พิมพ์ แล้วรดนา้ ใหช้ ุ่ม
1.5 เมอื่ อาหารหมด คอยเติมอาหารให้ไส้เดือนชว่ งแรกอาจใชเ้ วลา 3-4 วนั ให้ปรมิ าณไส้เดอื นเพ่ิมมากขนึ้ จะต้อง
ให้ดกี ว่านนั้ คือ ทุกๆ 2-3 วัน
1.6 เม่อื เล้ยี งไปได้ 2-3 เดือนสามารถแยกปยุ๋ หมักไส้เดือนและไสเ้ ดือนได้
2) การเล้ยี งในลนิ้ ชักพลาสติก
วิธกี ารนีเ้ ปน็ วิธีการทค่ี ิดคน้ โดย ดร. อานฐั ตนั โช โดยดัดแปลงมาจากภาชนะเล้ียงไสเ้ ดือนแบบตา่ งๆของ
ต่างประเทศโดยใชช้ ั้นใสเ่ สื้อผ้าใสข่ องแบบลิ้นชัก 4 ช้ันโดยชัน้ ล่างใชเ้ ปน็ ชัน้ สาหรับรองปุย๋ น้าส่วนอกี 3 ช้ันจะต้องเจาะรู
เพ่ือระบายน้าเหมาะสาหรบั ใช้เลย้ี งไสเ้ ดือนภายในครวั เรือนทีใ่ ชเ้ ล้ยี งเพ่ือการค้าได้โดยใช้พลาสติกหลายชดุ
วธิ กี าร
2.1 เจาะรูหลายรทู ีพ่ น้ื ของล้ินชักทกุ ชั้นยกพืน้ ช้นั ล่างสดุ ไมต่ ้องเจาะเพ่ือใชร้ องรับปุ๋ยนา้ ชัน้ ที่ 2-3-4 ใชเ้ ลี้ยง
ไสเ้ ดอื น
2.2 ใชฟ้ างแช่นา้ ท้งิ ไว้ 2-3 วันมาวางไวช้ น้ั ที่ 2 3 4 หนา 1-2 นวิ้ ใหท้ วั่
2.3 ใช้ดินดผี สมปยุ๋ คอกอยา่ งละเทา่ ๆกนั ใสล่ งไป 3-4 น้ิว แล้วจะปล่อยไส้เดือนลงไปในชนั้ เลยี้ งแตล่ ะชน้ั
2.4 ใสเ่ ศษอาหารเศษผักผลไม้ ทใ่ี ชเ้ ปน็ อาหารของไสเ้ ดือนโรยให้ท่ัวแต่อย่าใหห้ นาปดิ ลิน้ ชักไว้
2.5 เติมอาหารไสเ้ ดือนทกุ 3-4 วนั หรอื ไมเ่ ห็นว่าเศษอาหารหมดแล้ว จากน้ัน 2-3 วนั สามารถเก็บปยุ๋ หมัก
ไสเ้ ดอื นและเก็บแยกไสเ้ ดือนที่เพมิ่ จานวนขึ้นไดส้ ่วนป๋ยุ น้าก็สามารถเกบ็ แยกออกมาเม่ือใดก็ได้เม่ือเห็นว่ามมี ากพอแล้ว
3) การเลี้ยงในถังพลาสตกิ
เป็นวธิ กี ารท่ใี ชเ้ ลีย้ งไสเ้ ดือนเพื่อทาการกาจดั ขยะสดในครวั เรอื นและเล้ียงเพื่อการคา้ โดยใชถ้ งั พลาสติกหลายๆใบ
ถงั พลาสติกดัดแปลงมาจากถังขยะใบใหญเ่ ช่นถังปากกว้าง 50 เซนตเิ มตร สูง 60 เซนติเมตร เปน็ ตน้
วิธกี าร
3.1 เจาะรทู ี่กน้ ถงั ใส่ก๊อกปดิ เปดิ เพ่ือใชร้ ะบายปุย๋ น้าออกจากถัง
3.2 ใส่กรวดหรือหินลงด้านลา่ งของถังสงู ประมาณ 15 เซนติเมตร ตดั แผน่ ไม้เปน็ รูปกลมขนาดพอดีกับพ้ืนท่ีผวิ
ของกรวดหนิ ภายในถงั เจาะรูหลายๆรูระบายนา้ หรอื อาจใช้ลวดตะแกรงแทนไมอ้ ดั ได้
3.3 ใสเ่ ศษฟางแชน่ ้าป๋ยุ คอกใบไม้แหง้ เศษกระดาษหนังสือพิมพ์หนา 15-30 เซนตเิ มตรโรยทับด้วยดิน
3.4 ใส่ไสเ้ ดอื นดนิ แล้วใส่อาหารไส้เดือนไดแ้ ก่เศษอาหารเศษพชื ผักผลไมจ้ ากครัวเรือน
3.5 ปดิ ทบั ดว้ ยฟางหรือกระดาษหนงั สือพิมพแ์ ลว้ คอยเติมอาหารทกุ 3-4 วนั หรือไม่เห็นว่าอาหารหมดภายใน 2-
3 เดอื นสามารถเร่มิ เก็บปุ๋ยหมักไส้เดือนและเกบ็ แยกไสเ้ ดือนที่เพ่ิมขึน้ ได้
4) การเพาะเลี้ยงในกระบะไม้
เป็นวธิ กี ารท่ีใชเ้ ลี้ยงไส้เดือนในครวั เรือนก็ได้หรอื ใชเ้ ลย้ี งในลักษณะความเพ่ือการค้าก็ได้โดยใช้กระดาษหลายๆอัน
วิธีการ
4.1 ทากระบะไม้ให้มคี วามสงู 50 เซนตเิ มตร ยาว 1 เมตร กว้าง 50 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร
4.2 ใชฟ้ างข้าวที่แช่นา้ ไว้แลว้ รองพ้นื กระบะหนา 1 ถึง 2 นว้ิ หาทางเขา้ ไม่ไดใ้ หใ้ ชเ้ ศษกล่องกระดาษ กระดาษ
หนังสอื พมิ พห์ รือเศษใบไมแ้ ห้งก็ได้
4.3 ใช้ดนิ ดีผสมกับมูลสตั ว์แห้งหรอื ปุย๋ คอกในอตั รา 1 ต่อ 1 โดยทบั ลงไปหนา 3-4 นิว้ จากนน้ั ให้ปลอ่ ยไสเ้ ดอื น
แล้วใสเ่ ศษอาหารเศษพืชผักผลไมไ้ ว้ดา้ นบนให้ทัว่ แตอ่ ย่าหนาจนเกินไป
5) การเพาะเลย้ี งในถงั คอนกรตี
วิธกี ารน้ีใช้เลี้ยงในครวั เรือนโดยใชถ้ ังเพียงชดุ หรือ 2 ชุดเลย้ี งไส้เดือนในชมุ ชนหรอื ใช้เลย้ี งเป็นฟารม์ เพอื่ การค้าก็
ได้ไม่ตอ้ งเกบ็ แยกปยุ๋ หมักและเก็บแยกไส้เดอื นบ่อยๆเพราะภาชนะมขี นาดใหญบ่ รรจปุ ๋ยุ หมักไสเ้ ดือนเยอะมาก
วิธีการ
5.1 ใชถ้ งั คอนกรตี ขนาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 1 เมตร สงู 80 เซนตเิ มตร จานวน 2 ถงั วางซอ้ นกนั โดยใบลา่ งมีฝารอง
ก้นถงั และเจาะรูใสท่ อ่ ระบายนา้ มีก๊อกปดิ เปดิ เพ่ือเก็บป๋ยุ น้าตั้งไว้ในบริเวณใตร้ ม่ ท่ีแสงแดดส่องไมถ่ งึ
5.2 ทกี่ ้นถงั ใสเ่ ศษอิฐหนิ กรวดสงู 15 cm เพ่ือช่วยใหร้ ะบายนา้ ไดด้ ขี นึ้ แลว้ ใชล้ วดตาข่ายหรือตาขา่ ยพลาสตกิ ปิด
ทบั
5.3 ใชฟ้ างข้าวท่ีแช่นา้ แลว้ หรือเศษวัชพชื แชน่ า้ ผสมกบั มลู สัตว์แหง้ เช่นมลู วัวแห้งมลู ไก่แห้งหรอื ปุย๋ คอกใน
อตั ราสว่ น 1:1 ลงในถงั ใบล่างจนเตม็ ถงั
5.4 ปลอ่ ยไสเ้ ดือนแล้วใสเ่ ศษอาหารเศษพืชผักผลไม้ลงไปใหท้ ัว่ ผวิ ด้านบนแตอ่ ยา่ ใหห้ นาแล้วอาจปดิ ทบั ด้วยฟาง
ผสมนา้ ให้ชมุ่ ควรใช้ตาขา่ ยพลาสตกิ คลมุ ฝาถังด้านบนไว้
2.4 ธาตอุ าหารหลักของพืช
ธาตุอาหารหลัก 3 ธาตุ เป็นธาตุทีม่ คี วามสาคัญตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช และพืชต้องการในปริมาณมาก
แตใ่ นดนิ มักจะขาด คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม จึงต้องเพิ่มเตมิ ใหใ้ นรูปของป๋ยุ
ธาตไุ นโตรเจน
ธาตไุ นโตรเจนปกตจิ ะมีอยู่ในอากาศในรูปของกา๊ ซไนโตรเจนเปน็ จานวนมาก แต่ไนโตรเจน
ในอากาศในรปู ของก๊าซน้นั พืชนาเอาไปใชป้ ระโยชน์อะไรไม่ได้ (ยกเว้นพืชตระกลู ถ่ัวเทา่ นน้ั ท่ีมีระบบรากพิเศษ สามารถ
แปรรปู ก๊าซไนโตรเจนจากอากาศ เอามาใชป้ ระโยชนไ์ ด)้ ธาตไุ นโตรเจนทพ่ี ืชท่วั ๆ ไปดึงดดู ขน้ึ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้นัน้
จะต้องอยู่ในรูปของอนุมลู ของสารประกอบ เชน่ แอมโมเนียมไอออน (NH4+) และไนเทรตไอออน (No3-) ธาตไุ นโตรเจนใน
ดนิ ท่อี ยู่ในรปู เหลา่ นีจ้ ะมาจากการสลายตวั ของสารอนิ ทรียวัตถุในดนิ โดยจลุ นิ ทรีย์ในดินจะเป็นผูป้ ลดปล่อยให้
นอกจากน้ันก็ไดม้ าจากการท่เี รา ใสป่ ยุ๋ เคมีลงไปในดินด้วย
พืชโดยทัว่ ไปมีความตอ้ งการธาตไุ นโตรเจนเปน็ จานวนมาก เปน็ ธาตอุ าหารท่ีสาคญั มาก ในการส่งเสริมการ
เจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ของพืช พชื ท่ีไดร้ บั ไนโตรเจนอยา่ งเพียงพอ ใบจะมสี ีเขยี วสด มีความแขง็ แรง โตเรว็ และทาให้
พืชออกดอกและผลทส่ี มบรู ณ์ เม่อื พืชไดร้ ับไนโตรเจนมากๆ บางคร้ังก็ทาให้เกิดผลเสยี ได้เหมือนกัน เชน่ จะทาให้พืชอวบ
นา้ มาก ตน้ ออ่ น ลม้ ง่าย โรคและแมลงเข้ารบกวนทาลายได้งา่ ย คุณภาพ ผลติ ผลของพชื บางชนิดก็จะเสียไปได้ เช่น ทาให้
ตน้ มันไมล่ งหัว มีแป้งนอ้ ย อ้อยจดื สม้ เปร้ียว และมีกากมาก แตบ่ างพืชก็อาจทาให้คุณภาพดี ข้นึ โดยเฉพาะพวกผัก
รบั ประทานใบ ถ้าไดร้ ับไนโตรเจนมากจะอ่อน อวบนา้ และกรอบ ทาให้มีเสน้ ใยน้อย และมนี ้าหนักดี แต่ผกั มักจะเนา่ ง่าย
และแมลงชอบรบกวน
พชื เมอื่ ขาดไนโตรเจนจะแคระแกรน็ โตชา้ ใบเหลอื ง โดยเฉพาะใบล่างๆ จะแห้ง ร่วงหลน่ เร็ว ทาใหแ้ ลดตู น้ โกรน๋
การออกดอกออกผลจะชา้ และไม่ค่อยสมบรู ณ์นัก ดนิ โดยท่ัวๆ ไปมักจะมไี นโตรเจนไม่เพียงพอกับความตอ้ งการของพืช
ดงั นน้ั เวลาปลูกพืชจงึ ควรใสป่ ุ๋ยคอก หรือปุ๋ยเคมี เพ่ิมเติมให้กบั พชื ด้วย
ธาตฟุ อสฟอรัส
ธาตุฟอสฟอรสั ในดินมีกาเนิดมาจากการสลายตัวผพุ งั ของแร่บางชนิดในดิน การสลายตวั ของ
สารอินทรียวตั ถใุ นดนิ กจ็ ะสามารถปลดปลอ่ ยฟอสฟอรสั ออกมาเปน็ ประโยชนต์ ่อพืชที่ปลกู ได้ เชน่ เดียวกบั ไนโตรเจน
ดงั นั้น การใชป้ ๋ยุ คอก นอกจากจะไดธ้ าตไุ นโตรเจนแล้ว ก็ยังไดฟ้ อสฟอรสั อีกดว้ ย ธาตุฟอสฟอรัสในดนิ ทจ่ี ะเป็นประโยชน์
ตอ่ พืชได้ จะต้องอยู่ในรูปของอนมุ ูลของสารประกอบทีเ่ รยี กวา่ ฟอสเฟตไอออน (H2PO4- และ HPO4-) ซง่ึ จะต้องละลาย
อยู่ในนา้ ในดิน สารประกอบของฟอสฟอรสั ในดนิ มีอยเู่ ป็นจานวนมาก แตส่ ว่ นใหญ่ละลายน้ายาก ดงั นน้ั จงึ มักจะมปี ัญหา
เสมอว่า ดินถงึ แมจ้ ะมีฟอสฟอรสั มากกจ็ รงิ แต่พืชกย็ ังขาดฟอสฟอรสั เพราะส่วนใหญ่อยใู่ นรปู ที่ ละลายน้ายากน่ันเอง
นอกจากนัน้ แรธ่ าตุต่างๆ ในดินชอบทีจ่ ะทาปฏกิ ิรยิ ากับอนุมลู ฟอสเฟตที่ ละลายนา้ ได้ ดังน้ันปยุ๋ ฟอสเฟตทีล่ ะลายน้าได้
เม่ือ ใส่ลงไปในดินประมาณ 80-90% จะทาปฏิกิรยิ า กับแร่ธาตุในดนิ กลายเปน็ สารประกอบทล่ี ะลาย นา้ ยากไม่อาจเป็น
ประโยชน์ตอ่ พชื ได้ ดงั นนั้ การ ใส่ปยุ๋ ฟอสเฟตจงึ ไมค่ วรคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กับดนิ เพราะยิ่งจะทาใหป้ ยุ๋ ทาปฏกิ ิริยากบั แรธ่ าตุ
ตา่ งๆ ในดนิ ไดเ้ ร็วย่ิงข้นึ แตค่ วรจะใสแ่ บบเปน็ จดุ หรือ โรยเป็นแถบใหล้ ึกลงไปในดินในบริเวณรากของพืช ปุย๋ ฟอสเฟตน้ี
ถึงแมจ้ ะอยู่ใกลช้ ดิ กบั รากกจ็ ะไม่ เป็นอนั ตรายแกร่ ากแต่อย่างใด ปยุ๋ คอกจะชว่ ย ปอ้ งกนั ไม่ใหป้ ๋ยุ ฟอสเฟตทาปฏกิ ิรยิ ากับ
แรธ่ าตใุ น ดินและสูญเสียความเปน็ ประโยชนต์ ่อพชื เรว็ จน เกินไป
พืชเมอ่ื ขาดฟอสฟอรสั จะมตี ้นแคระแกร็น ใบมีสีเขยี วคล้า ใบลา่ งๆ จะมีสีม่วงตามบริเวณขอบใบ รากของพชื
ชะงักการเจรญิ เติบโต พชื ไม่ออกดอกและผล พชื ท่ีได้รับฟอสฟอรสั อยา่ งเพียงพอ จะมีระบบรากที่แข็งแรงแพร่กระจายอยู่
ในดินอยา่ งกวา้ งขวาง สามารถดึงดูดน้าและธาตุอาหารได้ดี การออกดอกออกผลจะเร็วขึ้น
ธาตุโพแทสเซียม
ธาตโุ พแทสเซียมในดินที่พืชนาเอาไปใชเ้ ป็นประโยชน์ได้ มีกาเนดิ มาจากการสลายตวั ของหนิ และแร่มากมาย
หลายชนดิ ในดนิ โพแทสเซยี มที่อยใู่ นรูปอนมุ ลู บวก หรอื โพแทสเซยี มไอออน (K+) เท่าน้นั ท่ีพชื จะดงึ ดูดไปใช้เป็น
ประโยชน์ได้ ถ้าธาตุโพแทสเซียมยังคงอยใู่ นรูปของสารประกอบ ยังไม่แตกตัวออกมาเปน็ อนมุ ลู บวก (K+) พืชก็ยงั ดงึ ดูด
ไปใช้เปน็ ประโยชนอ์ ะไรไม่ได้ อนุมลู โพแทสเซียมในดนิ อาจจะอยู่ในน้า ในดนิ หรือดูดยึดอยูท่ ่ีพื้นผิวของอนุภาคดนิ เหนียว
กไ็ ด้ ส่วนใหญ่จะดูดยดึ ท่ีพื้นผิวของอนุภาคดนิ เหนียว ดังน้ันดนิ ทมี่ ีเน้อื ดนิ ละเอยี ด เช่น ดนิ เหนียว จึงมปี รมิ าณของธาตุนี้
สูงกวา่ ดินพวกเนื้อหยาบ เชน่ ดินทราย และดนิ ร่วนปนทราย ถึงแม้โพแทสเซยี มไอออน จะดดู ยึดอย่ทู ่ีอนภุ าคดนิ เหนยี ว
รากพืชกส็ ามารถดึงดดู ธาตุนไี้ ปใช้ประโยชนไ์ ด้ง่ายๆ พอกันกับ เม่อื มนั ละลายอย่ใู นนา้ ในดนิ ดงั นน้ั การใส่ป๋ยุ โพแทสเซยี ม
อาจจะใส่แบบคลกุ เคล้าให้เข้ากบั ดนิ ก่อนปลูกพืชได้ หรอื จะใสโ่ ดยโรยบนผิวดนิ แลว้ พรวนกลบก็ได้ถ้าปลกู พืชไว้ก่อนแลว้
ธาตุ โพแทสเซียมมีความสาคัญในการสรา้ งและการ เคล่อื นยา้ ยอาหารพวกแป้งและนา้ ตาลไปเลย้ี ง สว่ นท่กี าลงั เตบิ โต
และส่งไปเก็บไว้เป็นเสบยี งที่ หัวหรือท่ีลาตน้ ดังนน้ั พชื พวกอ้อย มะพรา้ ว และ มนั จงึ ต้องการโพแทสเซยี มสูงมาก ถา้ ขาด
โพแทสเซียมหวั จะลบี มะพร้าวไม่มัน และอ้อยก็ไม่ค่อยมนี ้าตาล พืชทข่ี าดโพแทสเซยี มมกั เห่ยี วงา่ ย แคระแกรน็ ใบล่าง
เหลือง และเกิดเป็นรอยไหม้ตามขอบใบ พืชทปี่ ลูกในดินทรายท่เี ป็นกรดรุนแรงมกั จะมปี ัญหาขาดโพแทสเซยี ม แต่ถ้าปลกู
ในดนิ เหนยี วมักจะมโี พแทสเซียมพอเพียง และไมค่ ่อยมปี ัญหาทีจ่ ะต้องใส่ป๋ยุ น้ีเท่าใดนกั
2.5 มูลววั
เป็นปยุ๋ อนิ ทรีย์ชนิดหนึ่งซง่ึ ไดม้ าจากการเลย้ี งวัวและได้มีการนามาใชท้ างการเกษตรอยา่ งแพร่หลายเปน็ เวลานาน
หลายปมี าแลว้ ไม่เพยี งแต่จะให้อินทรยี วัตถุ ธาตุอาหารหลกั และธาตุอาหารรอง ท่จี าเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพืช แต่
ยังช่วยปรบั ปรงุ โครงสร้างของดินใหเ้ หมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื ทาใหด้ ินมีการระบายนา้ และอากาศดีขึ้น ชว่ ย
เพ่มิ ความคงทนใหแ้ ก่เมด็ ดินเปน็ การลดการชะลา้ งพังทลายของดินและชว่ ยรักษาหน้าดินไว้ นอกจากน้ยี งั เป็นแหลง่ ธาตุ
อาหารของจลุ นิ ทรียท์ ีเ่ ป็นประโยชน์ในดิน ซึ่งมีผลทาให้กจิ กรรมต่าง ๆ ของจลุ นิ ทรียด์ าเนินไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและยงั
ช่วยเพม่ิ ปริมาณของจุลินทรยี ์ในดินอีกด้วย โดยท่ัวไปแลว้ มีธาตุอาหารตา่ กวา่ มูลสัตวช์ นิดอ่นื เพราะเป็นสัตวก์ ินหญา้ ไม่
ควรใส่แปลงปลกู ผักโดยตรง เพราะจะมปี ัญหาเมล็ดวชั พชื ปะปนมา ควรนาไปหมักเปน็ ป๋ยุ หมักเสยี ก่อน
2.5 กระถิน
กระถนิ (Leucaena leucocephala) เป็นพชื ตระกูลถว่ั อีกหนง่ึ ชนดิ ซง่ึ ถิ่นกาเนิดอยู่ที่อเมริกากลาง โดยเริม่ เขา้
มาประเทศไทยในปี พ.ศ. 2519 กระถินถือว่าเปน็ ไม้ท่โี ตได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทีจ่ ะปลกู ได้ในทุกๆ รูปแบบ แต่
ความพเิ ศษนอกเหนือจากน้ีคือ ถงึ แม้วา่ ภายในพื้นท่ีบรเิ วณน้ันจะมโี รคหรือมีแมลงระบาด รวมทั้งสภาพอากาศทแี่ ย่ แต่
กระถินก็สามารถที่จะเติบโตไดด้ ี
กระถนิ ถอื วา่ เปน็ ต้นไม้ทอ่ี ดุ มไปดว้ ยประโยชนใ์ นการใชเ้ พื่อการเกษตร เพราะอย่างแรกกระถนิ สามารถท่จี ะ
นามาใช้เปน็ ปุ๋ยหมักให้กบั ตน้ ไม้ได้ เนื่องจากภายในลาต้นนั้นจะมีไนโตรเจนและโพแทสเซยี ม จงึ เป็นอาหารทดี่ ีให้กบั ต้นไม้
นอกจากนี้ ลาต้นของกระถินยงั สามารถนามาใชท้ าเป็นด้ามจับให้กับอุปกรณท์ างการเกษตร หรอื สาหรับบางคนก็อาจจะ
นามาทาเป็นน้าส้มควันไม้เพ่ือใชใ้ นการไล่แมลงให้กับตน้ ไม้
ภาพท่ี 2.4 ใบกระถิน
ทีม่ า http://www.vegetweb.com
2.6 มะละกอ
มะละกอ ชื่อสามญั Papaya
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Carica papaya L. จดั อยูใ่ นวงศ์มะละกอ (CARICACEAE)
มะละกอเป็นผลไม้เพอ่ื สุขภาพทม่ี ีต้นกาเนดิ จากอเมรกิ ากลาง เปน็ ผลไมอ้ ีกชนดิ หน่งึ ทีน่ ิยมรบั ประทานมากใน
บ้านเรา ด้วยการรบั ประทานสด ๆ หรอื นามาประกอบอาหาร เช่น ส้มตา แกงส้ม หรือนาไปแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์อืน่ ๆ ก็
ได้ มะละกอน้นั จัดวา่ เปน็ ไม้ล้มลกุ (หลาย ๆ คนมักเข้าใจผดิ ว่าเป็นไม้ยืนต้น)
ภาพที่ 2.5 มะละกอ
ทม่ี า https://medthai.com
ประโยชน์ของมะละกอนั้นกม็ ีคอ่ นข้างมาก มสี รรพคณุ เป็นทั้งยารักษาโรค โดยสรรพคุณมะละกอกเ็ ชน่ ใชเ้ ป็นยา
ระบาย ยาขบั ปสั สาวะ ชว่ ยรกั ษาโรคลกั ปิดลักเปดิ เปน็ ต้น และยงั มวี ิตามนิ และแรธ่ าตุที่มีประโยชนต์ ่อร่างกาย เชน่
วติ ามินซี วิตามนิ เอ วติ ามนิ บี 1 วิตามินบี 2 วติ ามนิ บี 3 ธาตุแคลเซยี ม ธาตโุ ซเดยี ม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตเุ หล็ก โปรตีน
เปน็ ต้น
บทที่ 3
อปุ กรณ์และวิธีการดาเนินการทดลอง
1. วัสดุการทดลอง
1.1 สตั วท์ ดลอง
ไส้เดือนดินชนดิ สายพันธ์ุอายซิเนยี ฟูทดิ า (Eisenia foetida)
1.2 วสั ดทุ ใ่ี ชเ้ ลี้ยงไส้เดอื น
1) กะละมัง จานวน 4 ใบ
2) มลู ววั 13.5 กโิ ลกรัม
3) ใบไมแ้ ห้ง 500 กรมั
4) ใบกระถินตากแห้ง 500 กรัม
5) มะละกอสุก 500 กรมั
6) เครือ่ งชั่ง
7) สว่าน
8) เชือกฟาง
1.3 อุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบสมบัติทางเคมีและธาตุอาหารพชื ในปุ๋ยมูลไสเ้ ดอื นดนิ
1) ชดุ ตรวจสอบคา่ เอ็น พี เค และกรดดา่ งของดิน (NPK pH Test Kit for soil)
2) บีกเกอร์
3) แท่งแก้วคนสาร
4) กรวยกรอง
5) กระดาษกรอง
6) หลอดหยด
7) ยนู ิเวอร์ซลั อนิ ดิเคเตอร์
2. วธิ กี ารดาเนนิ การทดลอง
2.1 การวางแผนการทดลอง
วางแผนการทดลองการเล้ยี งไสเ้ ดอื นดนิ สายพนั ธ์ุอายซิเนยี ฟูทิดา (Eisenia foetida) และศึกษาการผลิต
ปยุ๋ มูลไสเ้ ดือนดินสตู รตา่ งๆ สมบตั ทิ างเคมแี ละธาตอุ าหารพืชในปุย๋ มูลไส้เดือนดินจากชนดิ ของอาหารท่ีใช้เลย้ี งไสเ้ ดือน
ดิน ได้แก่ 1) มูลวัว 2) ใบไม้แห้ง 3) ใบกระถนิ ตากแห้ง 4) มะละกอสุก
2.2 การเลย้ี งไสเ้ ดอื นดนิ
สูตรท่ี 1 ผสมมลู วัวอัตรา 5 กโิ ลกรัมลงในกะละมงั ใบท่ี 1
สตู รท่ี 2 มลู วัวผสมใบไม้แห้งลงในกะละมงั ใบที่ 2
สูตรที่ 3 มลู ววั ผสมใบกระถินแหง้ ลงในกะละมงั ใบที่ 3
สตู รท่ี 4 มลู ววั ผสมมะละกอสุก ลงในกะละมงั ใบที่ 4
นาไส้เดอื นดนิ ลงเลีย้ งในกะละมงั ท่ีเตรียมไว้อตั รา 500 กรัม/กะละมงั จากนัน้ รดน้าสปั ดาห์ละ 2 ครง้ั หรอื ตาม
ความเหมาะสม เพื่อรักษาความชืน้ และให้อาหารสัปดาห์ละ 2 ครงั้ เม่ือเลีย้ งไส้เดือนเป็นเวลา 1 เดอื น จะไดป้ ยุ๋ มลู
ไสเ้ ดือนท่สี มบรูณ์ จากนัน้ คดั แยกตัวไส้เดือน ออกจากปุย๋ มูลไส้เดือนดินแลว้ นาปยุ๋ มาร่อนในเครอ่ื งร่อนปุ๋ย
2.3 ศกึ ษาสมบตั ิทางเคมีลาตุอาหารพืชในปุย๋ มูลไสเ้ ดอื นดนิ
2.3.1 การสกัด (การละลาย) ธาตอุ าหารพชื ตวงตัวอยา่ งโดยใชซ้ อ้ นตวงทใี่ ห้ไว้ เคาะเบาๆ กับฝา่ มือ 3 คร้งั ให้
ตัวอย่างยบุ ตัว ใช้แผ่นเหลก็ ปาดส่วนท่เี กินออก แลว้ ใส่ตวั อย่างลงในขวดพลาสติก เติมนา้ ยาสกดั เบอร์ 1 ลงไป 20
มลิ ลลิ ติ ร ใหเ้ ทน้ายาสกดั ลงในถ้วยพลาสติกกอ่ น แล้วจึงเทลงในกระบอกตวง ปดิ ฝา ขวดเขย่าให้ตัวอย่างทาปฏกิ ิริยากับ
นา้ ยาสกัด ประมาณ 5 นาทีกรองสารละลาย ดินโดยใช้กระดาษกรองท่ี เตรียมไว้ จากนั้นนาส่งิ ที่กรองได้ไปตรวจสอบ
ปริมาณ เอ็น-พ-ี เค ต่อไป
2.3.2 การตรวจสอบ เอ็น-พ-ี เค
1) ตรวจหาไนโตรเจนในรปู ของไนเตรต ดูดตัวอย่าง 2.5 มิลลิลติ ร ใสล่ งในหลอดแก้วเตมิ น้ายาเบอร์ 4
ลงไป 0.5 มลิ ลลิ ิตร เติมผงเบอร์ 5 หน่ึงช้อนเล็ก ปิดฝาหลอดแก้วดว้ ยจุกยาง เขย่าให้เข้ากนั ท้งิ ไว้ 5 นาทีอ่านค่า “ไน
เตรต” โดยเปรยี บเทียบกบั แผ่นสมี าตรฐาน
- 2) ตรวจหาฟอสฟอรัส ดูดตัวอย่าง 2.5 มิลลิลิตร ใส่ลงในหลอดแก้ว เติมน้ายาเบอร์ 6 ลงไป 0.5
มิลลิลิตร เติมผงเบอร์ 7 ครึง่ ซอ้ นเล็ก ปิดฝาหลอดแกว้ ด้วยจกุ ยาง เขย่าให้เข้ากน้ ทงิ้ ไว้ 5 นาที
อ่านค่า '‘ฟอสฟอรสั ” โดยเปรยี บเทียบกบั แผ่นสมิ าตรฐาน
3) ตรวจหาโพแทสซียม ดูดตัวอยา่ ง 0.8 มิลลลิ ิตร ใสล่ งในหลอดแกว้ เติมน้ายาเบอร์ 8 ลงไป 2.0
มลิ ลิลิตร (ห้ามเขย่า) เติมนา้ ยาเบอร์ 9A ลงไป 1 หยด (ห้ามเขยา่ ) เติมน้ายา เบอร์ 9 ลงไป 2 หยด (หา้ มเกิน)ปิดฝา
หลอดแก้วดว้ ยจกุ ยาง เขย่าให้เข้ากนั แลว้ อา่ นค่า “โพแทสเซยี ม”
• ถา้ มี “ตะกอน” อา่ นวา่ “เค” สงู
• ถ้ามี “ฝ้าขาว” อา่ นวา่ “เค” ปานกลาง
• ถา้ ไมม่ ีท้ัง “ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อา่ นวา่ “เค” ตา่
2.3.3 ตรวจสอบค่าความเปน็ กรด-ดา่ ง โดยใช้ยูนิเวอร์ซลั อินดิเคเตอร์
บทที่ 4
ผลการทดลอง
4.1 ศกึ ษาการผลติ ปุ๋ยมูลไส้เดือนดนิ ท่ผี ลิตจากวัตถุอินทรีย์สูตรตา่ งๆ โดยการยอ่ ยสลายของไส้เดือนดินพนั ธุ์ อายซิ
เนีย ฟูทิดา (Eisenia foetida)
จากการศึกษาผลติ ป๋ยุ มูลไสเ้ ดือนดินท่ผี ลิตจากวัตถุอนิ ทรยี ส์ ตู รต่างๆ ปุ๋ยมูลไส้เดือนดนิ ท้ัง 4 สูตร มีลักษณะเป็น
เมด็ ร่วน สีดา
สตู รท่ี 1 สตู รท่ี 2 สูตรท่ี 3 สูตรท่ี 4
ภาพที่ 4.1 ภาพปยุ๋ มูลไสเ้ ดือนดินท่ผี ลติ จากวตั ถอุ ินทรีย์ 4 สตู ร
4.2 ศึกษาสมบัติทางเคมแี ละธาตุอาหารพชื ในป๋ยุ มลู ไส้เดือนดินทผี่ ลิตจากวัตถุอินทรยี ์สตู รต่างๆ โดยการย่อยสลาย
ของไส้เดือนพันธุ์ อายซิเนีย ฟทู ดิ า (Eisenia foetida)
ตารางที่ 4.1 ค่าความเปน็ กรด-ด่าง ในปุ๋ยมลู ไส้เดือนดินสูตรตา่ งๆ
สูตรปยุ๋ ไส้เดือนดิน คา่ pH
สูตรท่ี 1 (มลู วัว) 7
สูตรท่ี 2 (มูลววั +ใบไม้แหง้ ) 7
สูตรที่ 3 (มูลววั +ใบกระถนิ แห้ง) 7
สูตรที่ 4 (มลู วัว+มะละกอสุก) 7
จากตารางท่ี 4.1 พบว่าปุย๋ มลู ไสเ้ ดอื นดินท้ัง 4 สตู ร มสี มบัติเปน็ กลาง
ตารางที่ 4.2 ปรมิ าณของธาตุอาหารของพชื ในป๋ยุ ไส้เดือนดินสูตรตา่ งๆ
สูตรปุ๋ยไส้เดอื นดิน ค่า N คา่ P ค่า K
3 2
สูตรท่ี 1 (มลู วัว) 3 4 2
3 2
สูตรที่ 2 (มลู ววั +ใบไมแ้ ห้ง) 3 3 3
สูตรท่ี 3 (มูลวัว+ใบกระถินแห้ง) 4
สูตรที่ 4 (มูลววั +มะละกอสกุ ) 3
*** ค่า N = 0 คือ ไมม่ ี ค่า N = 1 คอื ต่ามาก ค่า N = 2 คือ ต่า ค่า N = 3 คือ ปานกลาง ค่า N = 4
คอื สงู
จาคก่าตPาร=าง1ทคี่ ือ4.ต2า่ มพากบวค่า่าปPยุ๋ ม=ูล2ไสคเ้ือดตือ่านคด่านิ Pสูต=ร3ท่ี ค1อื คปือานมกลู าวงัวคา่มPีคา่ =ไ4นคโตอื รสเจงู นค่า(NP)=ฟ5อคสือฟอสูงรมัสาก(P) โพแทสเซียม
(K)น้อยทค่าี่สุดK =ส่ว1นคปือุ๋ยตไา่สเ้ ดคือา่ นKด=ิน 2สตูคือรทปี่ า2นกมลีฟางอสคฟ่าอKรัส= (3Pค) ือมาสกูงทส่ี ดุ ปุ๋ยไส้เดือนดนิ สูตรที่ 3 มีไนโตรเจน(N) มากทสี่ ุด
และปยุ๋ ไส้เดือนดิน สูตรที่ 4 มีโพแทสเซยี ม (K) มากที่สุด
กราฟแสดงผลการเปรียบเทียบการทดลอง
กราฟท่ี 4.1 แสดงคา่ ความเป็นกรด-ด่างในปยุ๋ มูลไสเ้ ดอื นดนิ สูตรตา่ งๆ
คา่ พีเอช 7.0 ค่า พเี อช 7.0
10.0 7.0 7.0 ค่า พเี อช
0.0
สูตรปุย๋ ไสเ้ ดือนดนิ
จากกราฟท่ี 4.2 มีพบวา่ ปยุ๋ ไส้เดือนดินสตู รที่ 1-4 มีสมบัติเปน็ กลาง
กราฟท่ี 4.2 แสดงค่าปรมิ าณของธาตุอาหารของพชื ในปยุ๋ ไสเ้ ดอื นดินสูตรต่างๆ
ธาตุอาหาร (%) 4
4.00 3.00 3 33
3.00 2.00 2
2.00 2 คา่ N
1.00 สตู รท่ี 1 มลู ววั สตู รที่ 2 มลู ววั +ใบไมแ้ หง้ คา่ P
0.00 สตู รท่ี 3 มลู ววั +ใบกระถิน ค่า K
แหง้
สตู รที่ 4 มลู ววั +มะละกสอตู สกรุ ปุ๋ยไสเ้ ดือนดนิ
จากกราฟท่ี 4.2 พบว่าป๋ยุ มลู ไสเ้ ดือนดนิ สูตรที่ 1 คอื มลู วัว มีค่า ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P)
โพแทสเซียม (K)น้อยที่สดุ ส่วนปยุ๋ ไสเ้ ดือนดิน สตู รท่ี 2 มีฟอสฟอรสั (P) มากทีส่ ุด ปุ๋ยไสเ้ ดอื นดนิ สูตรท่ี 3 มีไนโตรเจน
(N) มากทส่ี ดุ และปยุ๋ ไสเ้ ดือนดิน สตู รที่ 4 มโี พแทสเซยี ม (K) มากทส่ี ดุ
บทที่ 5
สรุปและอภปิ รายผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาการผลติ ปุ๋ยมูลไสเ้ ดอื นดนิ ท่ีผลิตจากวัตถอุ ินทรยี ส์ ตู รตา่ งๆ โดยการยอ่ ยสลายของไสเ้ ดือนดินพันธุ์
Eisenia foetida (The Tiger worm) พบวา่ ปุ๋ยมูลไส้เดือนดนิ ท้ัง 4 สตู ร มีลกั ษณะเป็นเม็ดร่วนสีดา และการศึกษา
สมบัติทางเคมแี ละธาตอุ าหารพชื ในปุ๋ยมลู ไส้เดือนดนิ ทผี่ ลิตจากวัตถุอนิ ทรยี ส์ ตู รต่างๆ โดยการย่อยสลายของไส้เดือนพันธ์ุ
Eisenia foetida (The Tiger worm) ค่าความเปน็ กรด-ด่าง ในปุ๋ยมลู ไสเ้ ดือนดนิ สตู รต่างๆ พบว่าปุ๋ยไสเ้ ดือนดินท้ัง 4
สูตร มีสมบัติเป็นกลาง การหาปริมาณของธาตุอาหารของพืชในปุย๋ ไส้เดือนดินสตู รต่างๆ พบวา่ ปุ๋ยมูลไสเ้ ดือนดนิ สตู รที่
1 มคี า่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซยี ม (K) น้อยทสี่ ุด ส่วนปยุ๋ ไสเ้ ดือนดนิ สูตรท่ี 2 มฟี อสฟอรสั (P) มาก
ท่สี ดุ ปยุ๋ ไสเ้ ดอื นดนิ สตู รที่ 3 มีไนโตรเจน(N) มากท่สี ดุ และปุย๋ ไส้เดือนดิน สตู รท่ี 4 มโี พแทสเซยี ม (K) มากท่สี ุด
อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
จากการศึกษาการผลติ ป๋ยุ มลู ไสเ้ ดอื นดิน สมบัติทางเคมีและธาตุอาหารพืชในปยุ๋ มลู ไส้เดือนดินทผ่ี ลติ จากวตั ถุ
อินทรียส์ ูตรตา่ งๆ โดยการยอ่ ยสลายของไส้เดือนดนิ พันธ์ุ Eisenia foetida (The Tiger worm) พบวา่ ได้ปุ๋ยมูล
ไส้เดอื นดินท่ีมลี ักษณะเป็นเม็ดร่วน สีดา ป๋ยุ ไสเ้ ดอื นดินสตู ร ที่ 2 (มูลววั +ใบไมแ้ ห้ง) มปี ริมาณฟอสฟอรัสมากที่สุด
ฟอสฟอรัสจะชว่ ยเร่งการเจริญเตบิ โตและการแพร่กระจาย ของราก ควบคุมการออกดอก ออกผล และการสร้างเมลด็
ปุ๋ยไสเ้ ดือนดนิ สูตรท่ี 3 (มลู วัว+ใบกระถินแห้ง) มปี ริมาณไนโตรเจนมากท่สี ดุ ไนโตรเจนเปน็ ส่วนประกอบของโปรตนี
ชว่ ยให้ พชื มีสเี ขียว เรง่ การเจรญิ เติบโตทางใบ และปยุ๋ ไส้เดือนดินสตู รที่ 4 (มูลววั +มะละกอสุก) มปี ริมาณโพแทสเซยี ม
มากท่ีสดุ โพแทสเซียมช่วยในการสังเคราะห์นา้ ตาล แปง้ และโปรตีน สง่ เสริมการเคลื่อนยา้ ยน้าตาลจากใบไปสผู่ ล ชว่ ย
ในการออกดอกและสร้างเมล็ด ทาใหผ้ ลเตบิ โตเร็วและมคี ุณภาพดีช่วยใหพ้ ืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด
แสดงวา่ การเลีย้ งไส้เดือนดนิ ด้วยวตั ถอุ ินทรยี ท์ ่ตี า่ งกันจะทาใหไ้ ด้ปุ๋ยมูลไส้เดือนดนิ ทมี่ ปี ริมาณธาตุอาหารตา่ งกัน ทาให้
สามารถผลิตปุ๋ยท่เี หมาะกับความต้องการของพชื แตล่ ะชนิดได้ ซึง่ เกษตรกรสามารถเลือกนาไปใช้ให้เหมาะสมกบั พืชท่ี
ปลูก เป็นการชว่ ยลดการใช้สารเคมี ลดตน้ ทนุ การผลิตและมีความปลอดภยั ต่อผูบ้ รโิ ภค
ข้อเสนอแนะ
1) ควรใช้ภาชนะในการเลีย้ งไสเ้ ดือนดนิ ใหเ้ หมาะสม คือ รกั ษาความช้นื ได้ดี โดยมรี ะบบระบายน้า ป้องกันศตั รูและ
การหลบหนีของไสเ้ ดือนดนิ ได้
2) การเลี้ยงไสเ้ ดือนดินไม่ควรใหน้ ้าท่วมขงั หรอื ดินแห้งจนเกินไป
3) ปยุ๋ มูลไส้เดอื นดินทผ่ี ลติ ได้ในแต่ละครั้งจะมีธาตุอาหารแตกต่างกันเนื่องมาจากความไม่แน่นอน
ของอาหารทน่ี ามาเลี้ยง
4) เพ่ือใหไ้ ดป้ ยุ๋ มลู ไส้เดือนดนิ ทมี่ ากขึ้น ควรนาไปเลีย้ งในภาชนะท่ใี หญ่ขน้ึ เช่น ท่อซีเมนตข์ นาด
80-100 เซนติเมตร
ประโยชน์และแนวทางการนาไปใช้
1) เพอื่ ให้ไดป้ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ที่มปี รมิ าณธาตุอาหารหลักได้ใกลเ้ คียงปยุ๋ เคมี
2) เพอื่ ลดการใชส้ ารเคมี เนื่องจากเมื่อมีการเลย้ี งไสเ้ ดือนดนิ ในพื้นท่เี กษตรก็จะต้องใช้สารเคมีลดน้อยลง
3) เปน็ ข้อมูลเพ่ือใชใ้ นการตัดสินใจในการนาพนั ธ์ุไส้เดือนดินที่เหมาะสมมาใชป้ ระโยชน์
4) เพอ่ื ปรับปรุงคุณสมบัติของดนิ ให้ดแี บบยงั่ ยืน
5)