The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuimanti, 2023-11-26 22:51:59

โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รายงานเพิ่มสัดส่วนผู้เรียน

ค ำน ำ รายงานผลการด าเนินงานโครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2566 กิจกรรม “เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์” เล่มนี้ เป็นการรวบรวมผลการด าเนินงาน ตามโครงการส่งเสริมการเพิ่ม สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาการการด าเนินงานในครั้งต่อไป ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ให้การสนับสนุนในการด าเนิน กิจกรรมส าเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี บงกชษกรณ์ ศิริถาวร กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ผู้รายงาน


สารบัญ เรื่อง หน้า ค ำน ำ สำรบัญ รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนโครงกำรส่งเสริมกำรเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสำยอำชีพ ปีกำรศึกษำ 2566 1 หลักกำรและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ของกำรรำยงำน 2 กลุ่มเป้ำหมำย 2 ขั้นตอน/วิธีกำรด ำเนินโครงกำร 6 ผลกำรด ำเนินงำน 10 - ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษำที่เรียนในปีกำรศึกษำ 2565 และปกำรศึกษำ 2566 ในระดับปวช. และในระดับปวส.ของอำชีวศึกษำจังหวัดนครปฐม 11 - ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษำที่ส ำเร็จกำรศึกษำในปีกำรศึกษำ 2565 และมีงำนท ำ ในระดับ ปวช. และในระดับ ปวส. 31 สรุปผลกำรด ำเนินงำน 50 ปัญหำและอุสรรค 51 แผนกำรด ำเนินงำนครั้งต่อไป 52 ภำคผนวก - ภำพกิจกรรม 53 - โครงกำร 59 - บันทึกข้อตกลง (MOU) 67


1 รายผลงานการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2566 หลักการและเหตุผล จากสถาณการณ์การขับเคลื่อนสำคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมาย จึงจำเป็นต้องมีการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในช่วงวัยเรียน/วัยรุ่นให้เป็นทรัพยากร มนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพ มีนิสัยรักการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรนักคิด โดยมีสัมมาอาชีพตามความถนัดของตนเอง พัฒนาและยกระดับได้เต็มศักยภาพและ เหมาะสม มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถกำกับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นพัฒนาคน เชิงคุณภาพในช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น เพื่อการพัฒนาเต็มศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจ การวางพื้นฐานการเรียนรู้ เพื่อวางแผนชีวิต วางแผนการทำงาน การเงิน ตลอดจนการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ที่เชื่อมต่อกับโลกการทำงานรวมถึงอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมซึ่งได้กำหนดสัดส่วนของผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสายสามัญ ในแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566–2570) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ต่อปี จึงได้จัดโครงการส่งเสริม การเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพเพิ่มขึ้น โดยจัดรูปแบบ แนวทางการขับเคลื่อน เพื่อดึงกลุ่มเป้าหมายในการจัด การศึกษาอย่างชัดเจนให้กับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา 2566 เรียนต่อสายอาชีพแล้วมีงานทำทุก คนนั้นควรเริ่มจากการปรับทัศนคติของสังคมกับการเรียนสายอาชีพ ซึ่งภาพลักษณ์สังคมไทยดั้งเดิม ปลูกฝังให้บุตร หลานเรียนด้านสามัญศึกษา และต่อจนจบปริญญาตรี เพื่อที่จะได้รับราชการหรือทำงานในธุรกิจการเงิน การธนาคาร ฯลฯ และมีความเชื่อว่าการเรียนปริญญาตรี จะทำให้เป็นเจ้าคนนายคน หากเรียนในสายวิชาชีพจะต้อง อยู่ในโรงงาน ทำงานหนัก รายได้น้อยเป็นลูกน้องตลอดชาติ ดังนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดจึงต้องเปลี่ยนค่านิยมการศึกษา สายอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องสื่อสารกับผู้ปกครอง โดยระบบการแนะแนวต้องสร้างความเข้าใจ สื่อสารเข้าถึง นักเรียน และผู้ปกครองให้เกิดความมั่นใจ และระบบสารสนเทศที่มีความแม่นยำ เพราะผู้ปกครอง นักเรียนยังไม่ เข้าใจว่าหากจบสายอาชีพแล้วจะประกอบอาชีพอะไร ทั้งนี้จะต้องให้สถานคึกษาคัดกรองข้อมูล และวัดความถนัด ของแต่ละบุคคลโดยเฉพาะเร่งประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนเข้าใจภาพลักษณ์ใหม่ของอาชีวศึกษา และมองเห็น ทิศทางการผลิต การพัฒนากำลังคนในสาขาเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเพิ่มมากขึ้น


2 วัตถุประสงค์ของการรายงาน 1. เพื่อรายงานผลการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายสามัญต่อสายอาชีพระหว่างปีการศึกษา 2565– 2566 ของผู้เรียนระดับปวช. และระดับปวส. ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง 2. เพื่อรายงานผู้เรียนเรียนจบสายอาชีพปีการศึกษา 2565 และมีงานทำของผู้เรียนระดับปวช. และระดับ ปวส. ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ“โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ” ในครั้งนี้ ได้แก่ ครูแนะแนว และนักเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ เขต 2 (โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) ดังนี้ ตารางที่ 1 ข้อมูลนักเรียนที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ มัธยมศึกษานครปฐม (เฉพาะโรงเรียนที่มีนักเรียนน้อยกว่า 500 คน) ใน 6 อำเภอ จำนวน 13 แห่ง มีจำนวน นักเรียนรวมทั้งสิ้น 959 คน ดังนี้ ลำดับที่ โรงเรียน ตำบล อำเภอ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 พระปฐมวิทยาลัย 2 หลวงพ่อเงินอนุสรณ์ ดอนยายหอม เมืองนครปฐม 125 2 สระกะเทียมวิทยาคม "สังวรเจษฎ์ประภาคมอุปถัมภ์" สระกะเทียม เมืองนครปฐม 89 3 ศาลาตึกวิทยา ทุ่งลูกนก กำแพงแสน 110 4 บ้านหลวงวิทยา บ้านหลวง ดอนตูม 82 5 งิ้วรายบุญมีรังสฤษดิ์ งิ้วราย นครชัยศรี 68 6 อุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม บางแก้ว นครชัยศรี 102 7 พลอยจาตุรจินดา ท่าพระยา นครชัยศรี 28 8 แหลมบัววิทยา เเหลมบัว นครชัยศรี 29 9 เพิ่มวิทยา นครชัยศรี นครชัยศรี 44 10 บางหลวงวิทยา บางหลวง บางเลน 89 11 สถาพรวิทยา ลำพญา บางเลน 84 12 บัวปากท่าวิทยา บัวปากท่า บางเลน 48 13 ปรีดารามวิทยาคม คลองจินดา สามพราน 61 รวม 959 ข้อมูล 10 มิถุนายน 2565


3 ตารางที่2 ข้อมูลนักเรียนที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2565 ของสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑ (เฉพาะโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) ใน 3 อำเภอ จำนวน ๑๙ แห่ง มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 582 คน ดังนี้ ลำดับที่ โรงเรียน ตำบล อำเภอ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 วัดตาก้อง(รัฐราษฎร์บำรุง) ตาก้อง เมืองนครปฐม 37 2 วัดเกาะวังไทร ถนนขาด เมืองนครปฐม 57 3 วัดทัพหลวง ทัพหลวง เมืองนครปฐม 28 4 วัดธรรมศาลา ธรรมศาลา เมืองนครปฐม 69 5 บ้านหนองกะโดน บ้านยาง เมืองนครปฐม 17 6 วัดพระประโทณเจดีย์ พระประโทน เมืองนครปฐม 26 7 บ้านหนองงูเหลือม (ประชารัฐบำรุง) หนองงูเหลือม เมืองนครปฐม 46 8 วัดทะเลบก กระตีบ กำแพงแสน 37 9 วัดบ่อน้ำจืด ดอนข่อย กำแพงแสน 25 10 วัดสองห้อง ห้วยขวาง กำแพงแสน 11 11 วัดลาดหญ้าไทร ห้วยขวาง กำแพงแสน 19 12 วัดนิยมธรรมวราราม ทุ่งบัว กำแพงแสน 21 13 วัดหนองศาลา ทุ่งลูกนก กำแพงแสน 28 14 วัดวังน้ำเขียว วังน้ำเขียว กำแพงแสน 32 15 วัดสระสี่มุม สระพัฒนา กำแพงแสน 55 16 วัดหนองโพธิ์ (ศิลปวิทยาคม) ห้วยหมอนทอง กำแพงแสน 20 17 วัดลำเหย ลำเหย ดอนตูม 22 18 วัดตะโกสูง สามง่าม ดอนตูม 9 19 วัดกงลาด ห้วยด้วน ดอนตูม 23 รวม 582 ข้อมูล 10 มิถุนายน 2565


4 ตารางที่ 3 ข้อมูลนักเรียนที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 (เฉพาะโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) ใน 4 อำเภอ จำนวน 22 แห่ง มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 863 คน ดังนี้ ลำดับที่ โรงเรียน ตำบล อำเภอ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 วัดโคกพระเจดีย์(เอกเผ่าพิทยา) โคกพระเจดีย์ นครชัยศรี 27 2 วัดบางพระ บางแก้วฟ้า นครชัยศรี 23 3 วัดศรีมหาโพธิ์ ศรีมหาโพธิ์ นครชัยศรี 44 4 วัดศีรษะทอง ศรีษะทอง นครชัยศรี 35 5 วัดลานคา ดอนตูม บางเลน 21 6 วัดโพธิ์ ไทรงาม บางเลน 28 7 วัดนราภิรมย์ นราภิรมย์ บางเลน 34 8 วัดบางปลา บางปลา บางเลน 12 9 ตลาดเกาะแรต บางปลา บางเลน 24 10 วัดบึงลาดสวาย บางภาษี บางเลน 64 11 ไทยรัฐวิทยา 4 บางระกำ บางเลน 17 12 บ้านประตูน้ำพระพิมล บางเลน บางเลน 20 13 วัดไผ่หูช้าง ไผ่หูช้าง บางเลน 26 14 บ้านกระทุ่มล้ม กระทุ่มล้ม สามพราน 79 15 วัดวังน้ำขาว คลองจินดา สามพราน 17 16 วัดจินดาราม ตลาดจินดา สามพราน 51 17 วัดดอนหวาย(นครรัฐประสาท) บางกระทึก สามพราน 107 18 วัดท่าพูด ไร่ขิง สามพราน 131 19 วัดหอมเกร็ด หอมเกร็ด สามพราน 34 20 บ้านคลองสว่างอารมณ์ คลองโยง พุทธมณฑล 10 21 วัดมะเกลือ คลองโยง พุทธมณฑล 35 22 บ้านคลองโยง มหาสวัสดิ์ พุทธมณฑล 24 รวม 863 ข้อมูล 10 มิถุนายน 2565


5 ขั้นตอนการดำเนินงาน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีขั้นตอนกระบวนการการดำเนินงาน“โครงการส่งเสริมการเพิ่ม สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ” ตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ กิจกรรมที่ 1 : ประชุมผู้บริหาร/ผู้รับใบอนุญาตวิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐมเพื่อปรึกษาหารือ แนวทางการจัดโครงการ ฯ ดังนี้ 1.1 จัดประชุมในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ประชุมย่อย เพื่อเตรียมการก่อนประชุม ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุมวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม มีผู้เข้าร่วม ประชุมทั้งสิ้น 22 คน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบไปด้วย - ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - ผู้บริหาร/ตัวแทนอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง - คณะศึกษานิเทศก์ - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 1.2 จัดประชุมในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 การประชุมครั้งที่ 1/2566 ณ ห้องประชุม GSN 2 วิทยาคาร 72 พรรษา มหามงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ P B A C ต.สระกะเทียม อ.เมือง นครปฐม จ.นครปฐม เพื่อปรึกษาหารือแนวทางการจัดโครงการ ฯ มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบไปด้วย - ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม - ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - ผู้บริหาร/ตัวแทนอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง - คณะศึกษานิเทศก์ - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง รายงานการประชุมการขับเคลื่อน“ส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายสามัญต่อสายอาชีพ”ครั้งที่1/2566 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ เวลา 09.00 น. – 16.00 น.ณ ห้องประชุม GSN 2 วิทยาคาร 72 พรรษา มหามงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ P B A C โดยมีนายสุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็น ประธาน นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เป็นเลขานุการ และนางสาวบงกชษกรณ์ ศิริถาวร ศึกษานิเทศก์ผู้ช่วยเลขานุการ มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จำนวน 28 คน ในที่ประชุมประธานแจ้ง ในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต้องอาศัยกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ในการพัฒนาในการดำเนินการโครงการ“ส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ”ต้องการอะไรที่เกี่ยวข้องให้


6 นำเสนอในที่ประชุม กศจ. และให้มีการดำเนินการอย่างรวดเร็ว ให้เกิดความต่อเนื่อง สถานศึกษาควรเข้าแนะแนว ผู้เรียนก่อนที่จะจบการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกเรียนที่ตามถนัด และสนใจ และสถานศึกษาควรมีวิธีการ แนะแนวที่มีความแปลกใหม่ การดำเนินงานในการจัดงานแนะแนวอาชีพโดยคณะผู้ประชุมร่วมกันวางแผนการจัด กิจกรรมแนะแนวการศึกษาเพื่อเรียนต่อสายอาชีพ ประกอบด้วย กิจกรรมลงนามบันทึกความร่วมมือ (MOU) กิจกรรมนำเสนอจุดเด่น และสาขาวิชาที่เปิดสอนโดยวิทยาลัยอาชีวศึกษา กิจกรรมบอกเล่าประสบการณ์ศิษย์เก่า อาชีวศึกษาที่ประสบผลสำเร็จ ในการประกอบอาชีพและดำเนินชีวิต (Hero คนพันธุ์ R) กิจกรรมเยี่ยมชมและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบูธนำเสนอผลงานและนิทรรศการเรื่องเพื่อพิจารณา และเสนอ ชี้แจงแนวทางการรับ นักเรียน/นักศึกษา เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียน/นักศึกษา ปีการศึกษา 2566 ทั้งนี้ประธาน : ให้อาชีวศึกษาทั้ง 11 แห่ง จัดทำข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน มีสาขาใดบ้าง เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศในการแนะแนว สื่อสาร กับนักเรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครอง ให้มีความเข้าใจในการเรียนสายอาชีพ เช่น ตำแหน่ง สถานที่สถานศึกษา สาขาที่เปิดสอน และค่าใช้จ่ายในการเรียนต่อปีการศึกษา เป็นต้น เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน ส่งลูกเข้าศึกษาต่อ ที่ประชุมร่วมกันเสนอแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมที่จะจัดขึ้น โดยมิจกรรมดังนี้ ลงนาม บันทึกความร่วมมือ (MOU) โดยมีผู้ลงนาม ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐมศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประธาน อาชีวศึกษา ผู้อำนวยการเขตพื้นที่ เขต 1 และ 2 ผู้อำนวยการ สพม.นครปฐม และ พยาน กิจกรรมนำเสนอจุดเด่น และสาขาวิชาที่เปิดสอน โดยให้ผู้แทนอาชีวศึกษา นำเสนอที่ประชุม ชี้แจง ข้อมูล เพื่อให้ครูแนะแนว ผู้ปกครอง และนักเรียนรับทราบข้อมูลทางการศึกษาต่อและจุดเด่นของแต่วิทยาลัย กิจกรรมบอกเล่าประสบการณ์ศิษย์เก่า อาชีวศึกษาที่ประสบผลสำเร็จ ผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จทั้งทางด้านธุรกิจ รับราชการ และผู้เป็นครูอาชีวศึกษา มีแนวคิด การวางแผนการศึกษาต่อสายอาชีพ กิจกรรมเยี่ยมชม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบูธนำเสนอผลงานและ นิทรรศการ เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ที่สนใจของวิทยาลัยแห่งไหนก็ให้เข้าศึกษาที่บูธเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ เรียนสายอาชีพซึ่งนักเรียนสามารถลงชื่อ/กรอกใบสมัคร กำหนดวันการดำเนินการจัดโครงการ“ส่งเสริมการเพิ่ม สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ” เป็นที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 ทั้งนี้ในที่ประชุมมีการเสนอแนะ ลงมติในการจัดประชุม ร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เพื่อชี้แจงแนวทางการจัด กิจกรรมอีกครั้ง เลิกประชุมเวลา 14.00 น. กิจกรรมที่ 2 : ประชุมผู้บริหาร/ผู้รับใบอนุญาตวิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม ผู้อำนวยการโรงเรียน (เฉพาะโรงเรียนที่มีนักเรียนน้อยกว่า 500 คน) ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม และ ผู้อำนวยการโรงเรียน (เฉพาะโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 และ เขต 2 เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ ฯ ซึ่งมีการดำเนินงาน ดังนี้


7 2.1 จัดประชุมในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ประชุมครั้งที่ 2/2566 ณ อาคาร 70 ปี ไทย ประกันชีวิต โรงเรียนวัดห้วยจระเข้ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ ฯ มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบไปด้วย - ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม นายสุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ - ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - ผู้บริหาร/ตัวแทนอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง - คณะศึกษานิเทศก์ - ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม - ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ เขต 2 - ผู้บริหารสถานศึกษา(เฉพาะโรงเรียนที่มีนักเรียนน้อยกว่า 500 คน) สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม จำนวน 13 แห่ง - ผู้อำนวยการโรงเรียน (เฉพาะโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 22 แห่ง และ เขต 2 จำนวน 19 แห่ง - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง รายงานการประชุมการขับเคลื่อนโครงการ“ส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ”ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมอาคาร 70 ปี ไทยประกันชีวิต โรงเรียน วัดห้วยจรเข้วิทยาคม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม โดยมีนายสุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็นประธาน นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เป็นเลขานุการ และนางสาวบงกชษกรณ์ ศิริถาวร ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศพ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จำนวน 75 คน ไม่มาประชุม จำนวน 5 คน มีผู้เข้าร่วมประชุม คือ นางอัธยา อ่ำหนองโพ จัดหางานจังหวัดนครปฐม ประธาน : แจ้งการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพในส่วนหนึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจภาพรวมของ จังหวัด ลดปัญหาของการว่างงาน สภาพปัญหาสังคมที่เกิดจากสถานการณ์ว่างงานทำให้มีการมั่วสุ่ม การติดยาเสพ ติดของนักเรียน จึงให้มีการแนะแนวให้ผู้เรียนเข้ามาเรียนสายอาชีพให้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากความต้องการแรงงาน ฝีมือของสถานประกอบการมีมากในจังหวัดนครปฐม นางอัธยา อ่ำหนองโพ จัดหางานจังหวัดนครปฐม : ชี้แจงความต้องการแรงงานตำแหน่งงาน ผ่านระบบ ไทย มีงานทำของกรมการจัดหางาน ปี 2565 ระดับ ปวช. – ปวส. มีจำนวน 323,128 อัตรา หมวดช่างเทคนิคและ เกี่ยวข้อง จำนวน 210,900 อัตรา เช่น เครื่องกล อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า เครื่องกลโรงงาน ช่างเชื่อม ฯลฯ หมวดพนักงานสำนักงาน จำนวน 252,072 อัตรา เช่น บัญชี คอมพิวเตอร์ เป็นต้น หมวดพนักงานบริการ


8 จำนวน 251,038 อัตรา เช่น การตลาด อาหารโภชนการ การท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคาร ฯลฯ ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเลือกเรียนมาทางสายอาชีพให้มาก เลขา : กศจ.นครปฐมได้อนุมัติแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ๕ ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ประเด็นการ เพิ่มสัดส่วนของผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสายสามัญให้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ต่อปี ประธาน : ให้มีการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนให้เพิ่มขึ้น ให้มีการแนะแนวอย่างต่อเนื่อง ประธานอาชีวศึกษา : ชี้แจงข้อมูลแนวทางการรับนักเรียน/นักศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลให้ครูแนะแนวชี้แนะ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน และผู้ปกครอง ในการตัดสินใจให้ศึกษาต่อสายอาชีพได้ศึกษา และเข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมวันงานมหกรรม“เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์”ที่จะจัดขึ้นใน วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 ณ วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม เลิกประชุมเวลา 16.00 น. กิจกรรมที่ 3: ดำเนินโครงการการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ งบประมาณ 5,000 บาท ดำเนินการ ดังนี้ 3.1 จัดกิจกรรม ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 จัดกิจกรรม“เรียนต่อสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์”ภายใต้โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ณ วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้นประมาณ 1,500 คน ซึ่งประกอบไปด้วย - ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ - ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม - ผู้บริหาร/ตัวแทนอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง - คณะศึกษานิเทศก์ และบุคลากรสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม -ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ เขต 2 -ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูแนะแนว นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้ปกครอง และผู้สนใจ - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดกิจกรรม“เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์” ภายใต้โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียน สายอาชีพปีการศึกษา 2566 ในวันที่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 ณ วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม โดย นายอรรถพล สังขวาสีปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เป็นประธาน และนายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เป็นผู้กล่าวรายงาน ซึ่งในงานมีกิจกรรม ดังนี้การบรรยาย หัวข้อ “จุดเด่น” ตัวแทนอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐมของภาครัฐ ภาคเอกชน และ ผู้ประกอบการ อาชีวะบอกเล่าเก้าสิบ : ความสำเร็จ Show & Share พิธีลงนาม MOU และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามบูธนิทรรศการ เป็นต้น


9 ผลการดำเนินงาน กิจกรรม “เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์” ภายใต้ โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2566 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้มีนโยบายการเรียนต่อสายอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2566 ได้มีการประชุมวางแผนการดำเนินการ ร่วมกับอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 11 แห่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1 และ เขต2 สำนักงานจัดหางานจังหวัดนครปฐม และสถาน ประกอบการ ในการจัดมหกรรม“เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์” ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 ณ วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อำภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ในครั้งนี้เพื่อส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกสังกัดที่จะจบการศึกษาในปีการศึกษา 2565 เข้าศึกษาต่อสายอาชีพให้เพิ่มขึ้น ในปีการศึกษา 2566 ทั้งในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ของอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐมทั้ง 11 แห่ง จากการดำเนินงานกิจกรรม“เรียนสายอาชีพ มีงาน มีเงิน มีวุฒิ ชัวร์” ภายใต้โครงการส่งเสริมการ เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2566 เสร็จสิ้นแล้วนั้น สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดได้ดำเนินการเก็บ ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 เพื่อนำข้อมูลของแต่ละอาชีวะ มาเปรียบเทียบการเข้าเรียนของนักเรียน/นักศึกษาที่เพิ่มขึ้น/ลดลง เพื่อเป็นข้อมูลที่จะนำมาพัฒนา ส่งเสริมการเพิ่ม สัดส่วนของผู้เรียนในสายอาชีพให้เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565 และมีงานทำของผู้เรียนในระดับปวช. และในระดับปวส.ของอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม มีงานทำ รายละเอียดดังนี้


ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกทั้ง 11 แห่ง ดังนี้ ดังนี้ ตารางที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวน ห้องเรียนที่เปิด (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึสถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาวิชาการบัญชี 3 120 92 2. สาขาวิชาการตลาด 2 80 54 3. สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน 1 30 2 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3 120 115 5. สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 3 120 119 6. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 1 40 23 7. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 20 17 8. สาขาวิชาการออกแบบ 1 30 27 9. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 120 99 10.สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ 1 20 9 11.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 3 120 98 12.สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 1 15 3 13.สาขาวิชาการโรงแรม 2 80 33 รวม 25 915 691 ระดับ ปวส. 1. สาขาวิชาการบัญชี 2 80 65 2. สาขาวิชาการตลาด 1 40 31 3. สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน 1 20 9 4. สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 2 30 49 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก 2 60 79 6. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 1 40 39 7. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 30 14 8. สาขาวิชาการออกแบบ 1 15 4


10 กษา 2566 ในระดับ ปวช. และในระดับ ปวส.ของอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม ศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปี การศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 76.66 112 -20 -17.85 67.50 54 - - 6.66 - 2 200 95.83 115 - - 99.16 106 13 12.26 57.50 24 -1 -4.16 85 20 -3 -15 90 17 10 58.82 82.50 87 12 13.79 45 2 7 350 81.66 100 -2 -2 20 2 1 50 41.25 38 -5 -13.15 75.51 677 14 2.06 81.25 76 -11 14.47 77.5 33 -2 6.06 45 7 2 28.57 163.33 32 17 53.12 131.66 73 6 8.21 97.5 19 20 105.26 46.66 16 -2 -12.50 26.66 10 -6 -60.00


ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวน ห้องเรียนที่เปิด (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึสถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) 9. สาขาวิชาดิจิทัลกราฟิก 1 40 29 10.สาขาวิชาเทคโนโลยีแฟชั่นและเครื่องแต่งกาย 1 10 5 11.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 2 70 45 12.สาขาวิชาการจัดงานดอกไม้และงานประดิษฐ์ 1 15 2 13.สาขาวิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่ม 1 30 20 รวม 17 480 391 จากตารางที่ 1 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. ซึ่งมีสาขาที่เปิดสอน จำนวน 13 สปีการศึกษา 2566 จำนวน 915 คน มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนนักเจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.06 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน จำนวน 13 สปีการศึกษา 2566 จำนวน 480 คน มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียนจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.08


11 ศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปี การศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 72.50 46 -17 -36.95 50.00 6 -1 -16.66 64.28 50 -5 -10.00 13.33 6 -4 -66.66 66.66 9 11 122.22 81.45 383 8 2.08 565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม อ.เมืองนครปฐม สาขา จำนวน 25 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับ ำนวน 691 คน คิดเป็นร้อยละ 75.51 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษา เรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 สาขา จำนวน 17 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับ ำนวน 391 คน คิดเป็นร้อยละ 81.45 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษา น/นักศึกษาที่รเข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565


ตารางที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกษาสถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. ช่างยนต์ 14 120 84 2. ช่างกลโรงงาน 6 60 47 1. ช่างเชื่อมโลหะ 3 40 11 2. ช่างไฟฟ้ากำลัง 16 120 104 3. ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ 24 20 12 4. ช่างอิเล็กทรอนิกส์ 3 20 27 5. ช่างก่อสร้าง 3 30 17 6. สถาปัตยกรรม 3 30 11 7. ช่างซ่อมบำรุง 11 40 31 10. แมคคาทรอนิกส์ 1 20 - รวม 84 500 344 ระดับ ปวส. 1. เทคนิคเครื่องกล 6 90 47 2. เทคนิคการผลิต 3 30 18 3. เทคนิคอุตสาหกรรม 2 30 11 4. เทคนิคโลหะ 3 45 6 5. ไฟฟ้า 10 115 79 6. อิเล็กทรอนิกส์ 2 20 3 7. ช่างก่อสร้าง 3 45 8 8. เทคนิคสถาปัตยกรรม 2 30 0 9. แมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ 0 20 0 10. เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 15 16 รวม 33 440 188


12 า 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อย ละ 70.00 111 -27 -24.32 78.33 47 0 0.00 27.50 28 -17 -60.71 1.16 121 -17 -14.04 60.00 22 -10 -45.45 135.00 23 4 17.39 56.66 20 -3 -15.00 36.66 26 15 57.69 77.50 32 1 3.12 - 0 0 0 68.80 430 -86 -20.00 52.22 47 0 0 60.00 18 0 0 36.66 11 0 0 13.33 6 0 0 68.69 79 0 0 15.00 3 0 0 17.77 8 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 106.66 16 0 0 42.72 188 เท่ากัน 100


จากตารางที่ 2 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 10 สาขา จำนวน 8จำนวน 500 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 344 คน คิดในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีจำนวนนักเรียน/จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 10 สาขา จำนวนจำนวน 440 คน มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 188 คน คิดเป็น2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าคิดเป็นร้อยละ 100


13 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม อ.เมืองนครปฐม 84 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 เป็นร้อยละ 68.80 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน /นักศึกษาที่เข้าเรียน /นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 33 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 นร้อยละ 42.72 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา เรียนในปีการศึกษา 2566 เท่ากับปีการศึกษา 2565 จำนวน 188 คน


ตารางที่ 3 วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม อ.สามพราน จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกษสถานศึกษาเปิดรับ (คน) สมัครเข้า เรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. สาขายานยนต์ 4 80 85 2. สาขาเครื่องมือกล 3 90 58 3. สาขาผลิตภัณฑ์ 1 40 10 4. สาขาไฟฟ้ากำลัง 4 90 91 5. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 2 40 39 6. การบัญชี 1 40 43 7. การตลาด 1 40 47 8. คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 80 87 9. อาหารและโภชนาการ 2 40 31 รวม 20 540 491 ระดับ ปวส. 1. สาขาเทคนิคยานยนต์ 1 20 23 2. สาขาเครื่องมือกล 1 30 31 3. สาขาเทคโนโลยีงานเชื่อมและขึ้นรูปโลหะ 1 20 11 4. สาขาไฟฟ้ากำลัง 1 25 37 5. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 1 20 21 6. การบัญชี (ปกติ) 1 25 22 7. การบัญชี (ทวิภาคี) 1 20 6 8. การตลาด (ทวิภาคี) 1 20 22 9. ธุรกิจดิจิทัล (ทวิภาคี) 1 20 23 10. อาหารและโภชนาการ (ทวิภาคี) 1 20 21 รวม 10 220 217


14 ษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อย ละ 106.25 91 -6 -6.59 64.44 73 -15 -20.54 25.00 14 -4 -28.57 101.11 89 2 2.24 97.50 37 2 5.40 107.50 41 2 4.87 117.50 39 8 20.51 77.50 80 7 8.75 90.92 36 5 13.88 90.92 500 -9 -1.80 115.00 19 4 21.05 103.33 22 9 40.90 55.00 0 11 0.00 148.00 25 12 48.00 105.00 4 17 425.00 88.00 18 4 22.22 30.00 11 -5 -45.45 110.00 17 5 29.41 115.00 23 0 0.00 105.00 14 7 50.00 98.63 153 64 41.83


จากตารางที่ 3 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษจ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 9 สาขา จำนวน จำนวน 540 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 491 คน คิในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 1.80 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 10 สาขา จำนวจำนวน 220 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 217 คน คิในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 41.83


15 ษา 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยการอาชีพนครปฐม อ.สามพราน 20 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 ิดเป็นร้อยละ 90.92 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน าที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 9 คน น 10 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 ดเป็นร้อยละ 98.63 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน าที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 64 คน


ตารางที่ 4 วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีสถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรี(คนระดับ ปวช. 1. สาขายานยนต์ 1 20 102. สาขาไฟฟ้า 1 20 33. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 1 20 34. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 20 15. สาขาบัญชี 1 20 1รวม 5 100 18ระดับ ปวส. 1. สาขาเทคนคยานยนต์ 1 20 22. สาขาไฟฟ้ากำลัง 1 20 13. สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 1 30 0รวม 3 70 3จากตารางที่ 4 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 25จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 5 สาขา จำนวน 5จำนวน 100 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 18 คน คิดเในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาทีคิดเป็นร้อยละ 44.44 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 3 สาขา จำนวน จำนวน 70 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 3 คน คิดเป็ในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาทีคิดเป็นร้อยละ 75.00


16 ปีการศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปีการศึกษา 2566เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ รียน ) คิดเป็นร้อยละ 0 50.00 2 8 400 3 15.00 8 -5 -62.50 3 15.00 - 3 100 5.00 - 1 100 5.00 - 1 100 8 18.00 10 8 44.44 2 10.00 6 -4 -66.66 5.00 4 -3 -75.00 0 0.00 2 -2 -50.00 3 4.28 12 -9 -75.00 565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม อ.เมืองนครปฐม 5 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 เป็นร้อยละ 18.00 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 8 คน 3 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 ป็นร้อยละ 4.28 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 9 คน


ตารางที่5 วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกสถานศึกษา เปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาวิชาช่างยนต์ 2 40 38 2. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน 1 20 15 3. สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง 2 40 43 4. สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ 1 20 9 5. สาขาวิชาการบัญชี 1 20 9 6. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 20 13 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 1 20 15 8. สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 1 20 - 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 20 - 10.สาขาวิชาการโรงแรม 1 20 4 11.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1 20 2 รวมระดับ ปวช. 13 260 148 ระดับปวส. 1. สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล 1 20 21 2. สาขาวิชาเทคนิคการผลิต 1 20 5 3. สาขาวิชาไฟฟ้า 1 20 8 4. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ 1 20 2 5. สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 1 20 6 6. สาขาวิชาดิจิทัลกราฟิก 1 20 10 รวมระดับปวส. 6 120 52


17 กษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 95.00 53 -15 -28.30 75.00 - 0 0.00 107.50 42 1 2.38 45.00 - 0 0.00 45.00 13 -4 -30.76 65.00 13 0 0.00 75.00 30 -15 -50.00 0 - 0 0.00 0 - 0 0.00 20.00 12 -8 -66.66 10.00 - 2 0.00 56.92 163 -39 -23.92 105 14 7 50.00 25.00 5 0 0.00 40.00 29 -21 -72.41 10.00 - 2 0.00 30.00 - 6 0.00 50.00 22 -12 -54.54 43.33 70 -18 -25.71


จากตารางที่ 5 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 11 สาขา จำนวน 1จำนวน 260 คน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 148 คนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาทีคิดเป็นร้อยละ 23.92 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 6 สาขา จำนวน จำนวน 120 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ ปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้


18 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล อ.พุทธมณฑล 13 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 น คิดเป็นร้อยละ 56.92 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เรียน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 39 คน 6 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 43.33 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เรียนในปีการศึกษา 2565 และ ้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 25.71


ตารางที่ 6 วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า(หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) อ.นครชัยศรีจระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีสถานศึกษา เปิดรับ (คน) เข้าเรีย(คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาวิชาช่างยนต์ 4 80 63 2. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน 2 40 27 3. สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ 1 20 11 4. สาขาวิชาช่างไฟฟ้า 4 80 85 5. สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ 1 20 23 6. สาขาวิชาการบัญชี 1 40 20 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 60 51 8. สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 1 20 30 9. สาขาวิชาการโรงแรม 1 20 19 รวม 17 380 329 ระดับ ปวส. 1. สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ 2 20 39 2. สาขาวิชาซ่อมตัวถังและสีรถยนต์ 1 20 1 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอุตสาหกรรม 2 20 22 4.สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง 2 20 32 5.สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ 2 20 7 6.สาขาวิชาการบัญชี 2 20 16 7.สาขาวิชาธุรกิจดิจิทัล 2 40 19 8.สาขาวิชาบริการอาหารและเครื่องดื่ม 2 20 12 รวม 15 180 148


19 จ.นครปฐม การศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ น คิดเป็นร้อยละ 78.75 81 -18 -22.22 67.50 38 -11 -28.94 55.00 25 -14 -56.00 106.25 82 3 3.65 115.00 29 -6 -20.68 50.00 26 -6 -23.07 85.00 40 11 27.5 150.00 22 8 36.36 95.00 12 7 58.33 86.57 355 -19 -5.35 195.00 27 12 44.44 5.00 10 -9 -90.00 110.00 26 -4 -15.38 160.00 41 -9 -21.95 35.00 16 -9 -56.25 80.00 30 -14 -46.66 47.00 26 -7 -26.92 60.00 10 2 20.00 82.22 186 -38 -20.43


จากตารางที่ 6 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึ(หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช.ที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 จำนวน 380 คน มีนักเรียน/นักศึกษานักศึกษาที่เรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเีจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 5.35 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 8 สาขา จำนวน จำนวน 180 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 148 คน คิในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนผู้เรียนที่เข้าคิดเป็นร้อยละ 20.43


20 ศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า . มีสาขาที่เปิดสอน 9 สาขา จำนวน 17 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษา าที่เรียน จำนวน 329 คน คิดเป็นร้อยละ 86.57 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/ รียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 15 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ 82.22 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เรียน าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 38 คน


ตารางที่ 7 วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวน ห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566สถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาการบัญชี 1 30 14 2. สาขาการตลาด 1 20 10 3. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 35 37 ๔. สาขาธุรกิจค้าปลีก 1 40 42 รวม 4 125 103 ระดับ ปวส. 1. สาขาการบัญชี 1 40 34 2. สาขาดิจิทัลมีเดีย 1 40 35 3. สาขาธุรกิจค้าปลีก 1 20 13 4. สาขาการจัดการโลจิสติกส์ฯ 1 40 36 รวม 4 14 118


21 6 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็น ร้อยละ 46.66 24 -10- -41.66 50.00 - 10 100 105.71 10 27 270 105.00 28 14 50.00 82.40 92 41 44.56 85.00 41 -7 -17.07 87.50 19 16 84.21 65.00 11 2 18.18 90.00 32 4 12.50 84.28 103 15 14.56


จากตารางที่ 7 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษาอ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2566 จำนวน 125 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เรียน จำนวน 10ในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนผู้เรียนที่เข้คิดเป็นร้อยละ 44.56 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 4 สาขา จำนวน 4 จำนวน 14 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ ปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนผู้เรียนที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่า


22 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ 4 สาขา จำนวน 4 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับ 03 คน คิดเป็นร้อยละ 82.40 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เรียน าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 41 คน ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 84.28 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เรียนในปีการศึกษา 2565 และ าปีการศึกษา 2565 จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 14.56


ตารางที่ 8 วิทยาลัยเทคโนโลยีนครปฐม อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวน ห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีกสถานศึกษาเปิดรับ (คน) เข้าเรี(คน)ระดับ ปวช. 1. สาขาการบัญชี 1 10 2 2. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 10 1 3. สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง 1 10 5 4. สาขาช่างยนต์ 1 10 1 5. สาขาสถาปัตยกรรม 1 10 4 รวม 5 50 13ระดับ 1. สาขาการบัญชี 1 10 2 2. สาขาการจัดการ 1 20 4 3. สาขาธุรกิจดิจิทัล 1 10 - 4. สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง 1 25 9 5. สาขาช่างยนต์ 1 10 5 6. สาขาสถาปัตยกรรม 1 10 4 รวม 6 85 24จากตารางที่ 8 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2จ.นครปฐม ในระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 5 สาขา จำนวน 5 ห้องเรียน จำมีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26.00 เมื่ปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 6 สาขา จำที่สถานศึกษาเปิดรับ จำนวน 83 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 2ในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนผู้เรียนที่เข้าคิดเป็นร้อยละ 72.09


23 การศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปีการศึกษา 2566เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ รียน ) คิดเป็นร้อยละ 20.00 5 3 60.00 10.00 6 5 83.33 50.00 11 -6 -54.54 10.00 5 -4 -0.80 40.00 5 -1 -20.00 3 26.00 32 -19 -59.37 ปวส. 20.00 7 -5 -71.42 20.00 15 -11 -73.33 0.00 12 -12 -100 36.00 30 -21 -70 50.00 9 -4 -44.44 40.00 30 -26 -86.66 4 28.23 86 -62 -72.09 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีนครปฐม อ.เมืองนครปฐม นวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 จำนวน 50 คน อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 และ ยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 59.37 ำนวน 6 ห้องเรียน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 24 คน คิดเป็นร้อยละ 28.23 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 62 คน


ตารางที่ 9 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนครปฐม อ.นครชัยศรีจ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกสถานศึกษา เปิดรับ (คน) เข้าเรียน (คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาการบัญชี 1 10 5 2. สาขาการตลาด 1 10 1 3. สาขาคอมพิวเตอร์ 1 10 5 รวม 3 30 11 ระดับ ปวส. 1. สาขาการบัญชี 1 20 6 2. สาขาการตลาด 1 20 5 3. สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 1 20 5 รวม 3 60 16 จากตารางที่ 9 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษาอ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 3 สาขา 2566 จำนวน 30 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เรียน จำนวน 11 คน คิดในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนนักเรียน/นักศึกษคิดเป็นร้อยละ 8.33 ส่วนในภาพรวมของระดับ ปวส. มีสาขาที่เปิดสอน 3 สาขา จำนวนจำนวน 60 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 256


24 กษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 50.00 1 4 400 10.00 8 -7 -87.50 50.00 3 2 66.66 36.66 12 1 8.33 30.00 4 2 50.00 10.00 8 -3 -37.50 25.00 9 -4 -44.40 25.00 21 -5 -23.80 า 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนครปฐม จำนวน 3 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา ดเป็นร้อยละ 36.66 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 คน 3 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับปีการศึกษา 2566 25.00 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2565 66 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 23.80


ตารางที่ 10 โรงเรียนช่างสำรวจนครปฐมและเทคโนโลยีอ.เมือง จ.นครปฐม ระดับและสาขาที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./นศ.ที่เข้าเรียนในปีการศึกจำนวนที่สถานศึกษารับ (คน) นักเรียนสมัครเข้า(คน) ระดับ ปวช. 1. สาขา งานสำรวจ 1 15 7 รวม 1 15 7 จากตารางที่ 10 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษอ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ในระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน จำนวน 1 สปีการศึกษา 2566 จำนวน 15 คน มีนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน จำนวน 7 ในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียน/นักศึกษาทีคิดเป็นร้อยละ 75.00


25 ษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ เรียน คิดเป็นร้อยละ 46.66 4 3 75.00 46.66 4 3 75.00 ษา 2565 และปีการศึกษา 2566 โรงเรียนช่างสำรวจนครปฐมและเทคโนโลยี สาขา จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับ คน คิดเป็นร้อยละ 46.66 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 3 คน


ตารางที่ 11 วิทยาลัยเทคโนโลยีนาคประสิทธิ์บริหารธุรกิจ อ. สามพราน จ.นครระดับและสาขา ที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ปีกาสถานศึกษาเปิดรับ (คน) สมัครเข้าเรียน(คน) ระดับ ปวช. 1. สาขาวิชาการตลาด 1 20 8 2. สาขาวิชาการบัญชี 1 20 11 3. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 70 62 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1 20 11 รวม 5 130 92 จากตารางที่ 11 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2อ. สามพราน จ.นครปฐม ในภาพรวมของระดับ ปวช. มีสาขาที่เปิดสอน 4 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 130 คน มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาเข้าเรียน จำนเรียนในปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 พบว่า จำนวนผู้เรียนทีคิดเป็นร้อยละ 1.07


26 ปฐม ารศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้า เรียนปีการศึกษา 2566 เพิ่ม (+) / ลดลง (-) (คน) คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 40.00 7 1 14.28 55.00 12 -1 -8.33 88.57 67 -5 -7.46 55.00 7 4 57.14 70.76 93 -1 -1.07 2565 และปีการศึกษา 2566 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีนาคประสิทธิ์บริหารธุรกิจ สาขา จำนวน 5 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่สถานศึกษาเปิดรับ วน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 70.76 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้า ี่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 คน


ตารางที่ 12 ข้อมูลในภาพรวมในระดับ ปวช. ของสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังลำดับที่ สถานศึกษา จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./น.ศ.ที่เข้าเสถานศึกษาเปิดรับ (คน) 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม 25 915 2 วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม 83 500 3 วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม 20 540 4 วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม 5 100 5 วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล 13 260 6 วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า(หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) 17 380 7 วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ 4 125 8 วิทยาลัยเทคโนโลยีนครปฐม 5 50 9 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนครปฐม 3 30 10 โรงเรียนช่างสำรวจนครปฐมและเทคโนโลยี 1 15 11 วิทยาลัยเทคโนโลยีนาคประสิทธิ์บริหารธุรกิจ 5 130 รวม 181 3,045 จากตารางที่ 12 ในภาพรวมของข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เรียนในปีกาจำนวน 11 แห่ง พบว่า จำนวนห้องเรียนที่เปิดสอนรวมทั้งสิ้น จำนวน 181 ห้องเรีจำนวน 3,045 คน มีนักเรียน/นักศึกษาเข้าเรียนปีการศึกษา 2566 จำนวน 2,24ปีการศึกษา 2565 พบว่า มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษาน้อยกวนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนนในปีการศึกษา 2566 มากกว่าปีการศึกษา 2565 ดั2) วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม เพิ่มขึ้นจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 3) วิทยา4) โรงเรียนช่างสำรวจนครปฐมและเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 75


27 ังหวัดนครปฐม เรียนในปีการศึกษา 2566 จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนปีกศ.2565 (คน) จำนวนนร./นศ. ที่เข้าเรียนนในปีกศ. 2566 เพิ่ม(+) หรือ ลดลง(-) (คน) คิดเป็นร้อยละ สมัครเข้าเรียน (คน) คิดเป็นร้อยละ 691 75.51 677 14 2.06 344 68.80 430 -86 -20.00 491 90.92 500 -9 -1.80 18 18.00 6 3 50.00 148 56.92 163 -39 -23.92 329 86.57 355 -19 -5.35 103 82.40 62 41 67.21 13 26.00 32 -19 -59.37 11 36.66 12 -1 -8.33 7 46.66 4 3 75.00 92 70.76 93 -1 -1.07 2,247 73.79 2,334 -87 -3.72 รศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 ในระดับ ปวช. ของอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม ยน นักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 จำนวนที่สถานศึกษาเปิดรับ 47 คน คิดเป็นร้อยละ 73.79 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียน ว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 3.72 ทั้งนี้มีอาชีวศึกษาที่มีจำนวน ดังนี้ 1) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม เพิ่มขึ้นจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.06 าลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ เพิ่มขึ้นจำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 67.21 และ


ตารางที่ 13 ข้อมูลในภาพรวมในระดับ ปวส. ของสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษลำดับที่ สถานศึกษา จำนวนห้องเรียน (ห้อง) นร./น.ศ.ที่เข้าเีสถานศึกษาเปิดรับ (คน) 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม 17 480 2 วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม 33 440 3 วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม 10 220 4 วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม 3 70 5 วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล 6 120 6 วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) 15 180 7 วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ 4 140 8 วิทยาลัยเทคโนโลยีนครปฐม 6 85 9 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนครปฐม 3 60 10 โรงเรียนช่างสำรวจนครปฐมและเทคโนโลยี 11 วิทยาลัยเทคโนโลยีนาคประสิทธิ์บริหารธุรกิจ รวม 97 1,795 จากตารางที่ 13 ในภาพรวมของข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาที่เรียนในนครปฐม จำนวน 11 แห่ง พบว่า จำนวนห้องเรียนที่เปิดสอนรวมทั้งสิ้น จำนวน 97เปิดรับ จำนวน 1,795 คน มีผู้สมัครเข้าเรียนปีการศึกษา 2566 จำนวน 1,157 คน 2565 กับปีการศึกษา 2566 พบว่า มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนปีการทั้งนี้มีอาชีวศึกษาที่มีจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนนในปีการศึกษา 2566 มาคิดเป็นร้อยละ 2.08 2) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม เพิ่มขึ้นจำนวน 64 คน คิดเป็นร้คิดเป็นร้อยละ 14.56


28 ษาจังหวัดนครปฐม รียนในปีการศึกษา 2566 จำนวน นร./นศ. ที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2565 (คน) จำนวนนร./นศ.ที่เข้าเรียน ปีการศึกษา 2566 เพิ่ม(+)หรือ ลดลง (-) คิดเป็น ร้อยละ สมัครเข้าเรียน (คน) คิดเป็น ร้อยละ 391 81.45 383 8 2.08 188 42.72 188 0 0 217 98.63 153 64 41.83 3 4.28 12 -9 -75.00 52 43.33 70 -18 -25.71 148 82.22 186 -38 -20.43 118 103 103 15 14.56 24 28.23 86 -62 -72.09 16 25.00 21 -5 -23.80 ไม่เปิดการเรียนการสอน ไม่เปิดการเรียนการสอน 1,157 87.98 1,202 -45 -3.74 นปีการศึกษา 2565 และปีการศึกษา 2566 ในระดับ ปวส. ของอาชีวศึกษาจังหวัด 7 ห้องเรียน นักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 จำนวนที่สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 87.98 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนปีการศึกษา รศึกษา 2566 น้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 3.74 กกว่าปีการศึกษา 2565 ดังนี้ 1) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม เพิ่มขึ้นจำนวน 8 คน ร้อยละ 41.83 และ 3) วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบริหารธุรกิจ เพิ่มขึ้นจำนวน 15 คน


Click to View FlipBook Version