45 ที่ รายชื่อโรงเรียน สังกัด อําเภอ 8. โรงเรียนคงทองวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม ดอนตูม 9. โรงเรียนบางเลนวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม บางเลน 10. โรงเรียนวัดห้วยจรเข้วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม เมืองฯ รวม 10 โรงเรียน 3.6 นวัตกรรมการบริหารจัดการที่เกิดขึ้น ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 1. การศึกษาผลการบริหาร จัดการด้วยรูปแบบ WJSS + SCALE Up เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน วัดห้วยจรเข้วิทยาคม โรงเรียนวัดหวยจรเข วิทยาคม นางสุภัทรา สภาพอัตถ์ นางเบญจวรรณ แสงทอง นายวรรณธนะ ปัดชา สพม. นครปฐม 2. รูปแบบการบริหารจัดการ โรงเรียนแห่งความสุข โดยใช้ HAPPY Model โรงเรียนวัดรางกําหยาด นางสาวพิชญาภร อุ่นศิริ นางสาวชลธิชา โบวิเชียร นายไพบูลย์ คมแสนนฤชัยศรี สพป. นครปฐม เขต 2 3.7 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษาที่เกิดขึ้น ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 1. นวัตกรรมการศึกษาเพื่อ พัฒนาและเสริมสร้าง สมรรถนะ การสื่อสาร โดยใช้ กระบวนการ BCGT Model สำหรับนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนคลองทางหลวง นายสมพงษ์ ปัญญาจิรวุฒิ นางสาววรรณพร ภูฆัง นายวิเชียร ภคพามงคลชัย สพป. นครปฐม เขต 2 2. การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริม ทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ด้วยรูปแบบการ จัดการเรียนรู้ A - KATE Model โรงเรียนเทศบาล 4 (เชาวนปรีชาอุทิศ) นางสาวลภัสรดา ทิพย์แก้ว นางพัฒน์นรี อินทร์อ่อน นางสาวพัชยา สบบง อปท.
46 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 3. กลไกไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ ขั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1โดยใช้เกมตอบคำถาม Blooket โรงเรียนงิ้วรายบุญมี รังสฤษดิ์ นางสาวพุทธชาติ สุขาบูรณ์ นายนกรณ์ จุลหอม สพม. นครปฐม 4. การพัฒนาทักษะการแปล บทความภาษาอังกฤษของ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยเทคนิค Jigsaw โรงเรียนราษฎรบํารุงวิทยา นางรัสพัทธ์ บุญขจาย นางสาวรัตนา ศรีจำรัส นางสาวรุ่งนภา นิลยาน สช. 5. การพัฒนาทักษะการอ่านออก เสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ วิธีการสอนแบบโฟนิกส์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดบางปลา นางจุฑามาศ นุชนาถ นางสาวภาณี ขุนทอง นางสาวพัชรี ประสิทธินาวา สพป. นครปฐม เขต 2 6. การจัดการเรียนรู้โดยใช้บอร์ด เกม Food Bomb เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง อาหารและสารอาหาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดตะโกสูง นายจตุรงค์ การดำริห์ นางสาวนภาศรี นิ่มพิลา สพป. นครปฐม เขต 1 7. การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ รูปแบบโมเดลชิปปา เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดหวยตะโก นางอลิสรา จันทราช นางสาวจมาพร แก้วพันเดิม สพป. นครปฐม เขต 2
47 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 8. EF กับการพัฒนาสุขภาวะขั้น พื้นฐานของผู้เรียนด้วย Process Art ตาม กระบวนการ WHAT IF MODEL โรงเรียนวัดเชิงเลน นางสาววรางค์ เวชประเสริฐ นางสาวบุญทิพา คุ้มเนตร สพป. นครปฐม เขต 2 9. รายงานผลการใช้แบบฝึก ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพระงาม นายพีรเศรษฐ ผดุงค์รุ่งเรือง นางอุทัยรัตน์ ทรัพย์โชติธนดล นางสาว ดวงใจ โพธิ์พันธ์ อปท. 10. W.S.S.T Model เพื่อ ยกระดับผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ชั้น ป.6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ โรงเรียนวัดศีรษะทอง นางนวลรัตน์ กุลจิตติรัตน์ นางสาวเทียมรัตน์ เอี่ยมศรีเพ็ง นางสาวจันจิรา ผึ้งพงษ์ สพป. นครปฐม เขต 2 11. รูปแบบ DHREE MODEL (ดรี โมเดล) การยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดทุ$งสีหลง นางสาวเสาวนีย์ ชาญช่าง นางสาวปภาดา อุณหพงศา สพป. นครปฐม เขต 1 12. การพัฒนาทักษะการอ่านและ การเขียนคำไม่ตรงตามมาตรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบ ความร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแบบฝึกทักษะสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบานดอนซาก นางสาวณัฐรดา จิตรแก้วดี นางสาวเกวลี เปียโสม นางสาวช่อผกา นามวัน สพป. นครปฐม เขต 1
48 3.8 นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาที่เกิดขึ้น (สถานศึกษา/ศึกษานิเทศก์/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง) ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา/หน่วยงาน ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด การนิเทศภายในสถานศึกษา โดยใช้ THAIYAWAS Model ในการพัฒนาห้องเรียนแห่ง อนาคต (FUTURE Classroom) โรงเรียนวัดไทยาวาส นางสาวอภิญญา เดชกุญชร นางสาวดวงกมล เหล็งบำรุง นางสาวนภาพร ธนาวร สพป. นครปฐม เขต 2 การใช้รูปแบบการนิเทศ Ngiurai Coaching Model โรงเรียนวัดงิ้วราย ว่าที่ร้อยตรีธวัฒน์ ประภาวิทย์ นางสาวนวกชมณ อุราโรจน์ นางสาวอุบลวรรณ ดอนปัญญาไพร สพป. นครปฐม เขต 2 กระบวนการนิเทศแบบ APORE ร่วมกับ กระบวนการ PLC เพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนการสอน โรงเรียนวัดหนองศาลา นางสาวฉันทนา ภุมมา นางสาวโนรี เจริญผล นางสาวกาญคริมา จ้อยบำรุง สพป. นครปฐม เขต 1 รูปแบบการพัฒนาเพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้การนิเทศภายในแบบ SANEHA MODEL ของ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา (สมัครพลผดุง) โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา นางนิรมล วิบูลมงคล นางศศิธร กิตติรัตน์ชัชวาล นางขนิษฐา โชตจิตตะ อปท. 4. แนวปฏิบัติที่เปRนเลิศ (Best Practice) นวัตกรรมการบริหารจัดการ (Best Practice) ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 1. การศึกษาผลการบริหาร จัดการด้วยรูปแบบ WJSS + SCALE Up เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน วัดห้วยจรเข้วิทยาคม โรงเรียนวัดหวยจรเข วิทยาคม นางสุภัทรา สภาพอัตถ์ นางเบญจวรรณ แสงทอง นายวรรณธนะ ปัดชา สพม. นครปฐม
49 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 2. รูปแบบการบริหารจัดการ โรงเรียนแห่งความสุข โดยใช้ HAPPY Model โรงเรียนวัดรางกําหยาด นางสาวพิชญาภร อุ่นศิริ นางสาวชลธิชา โบวิเชียร นายไพบูลย์ คมแสนนฤชัยศรี สพป. นครปฐม เขต 2 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ (Best Practice) ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 1. นวัตกรรมการศึกษาเพื่อ พัฒนาและเสริมสร้าง สมรรถนะ การสื่อสาร โดยใช้ กระบวนการ BCGT Model สำหรับนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนคลองทางหลวง นายสมพงษ์ ปัญญาจิรวุฒิ นางสาววรรณพร ภูฆัง นายวิเชียร ภคพามงคลชัย สพป. นครปฐม เขต 2 2. การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริม ทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ด้วยรูปแบบการ จัดการเรียนรู้ A - KATE Model โรงเรียนเทศบาล 4 (เชาวนปรีชาอุทิศ) นางสาวลภัสรดา ทิพย์แก้ว นางพัฒน์นรี อินทร์อ่อน นางสาวพัชยา สบบง อปท. 3. กลไกไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ ขั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1โดยใช้เกมตอบคำถาม Blooket โรงเรียนงิ้วรายบุญมี รังสฤษดิ์ นางสาวพุทธชาติ สุขาบูรณ์ นายนกรณ์ จุลหอม สพม. นครปฐม 4. การพัฒนาทักษะการแปล บทความภาษาอังกฤษของ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยเทคนิค Jigsaw โรงเรียนราษฎรบํารุงวิทยา นางรัสพัทธ์ บุญขจาย นางสาวรัตนา ศรีจำรัส นางสาวรุ่งนภา นิลยาน สช.
50 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 5. การพัฒนาทักษะการอ่านออก เสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ วิธีการสอนแบบโฟนิกส์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดบางปลา นางจุฑามาศ นุชนาถ นางสาวภาณี ขุนทอง นางสาวพัชรี ประสิทธินาวา สพป. นครปฐม เขต 2 6. การจัดการเรียนรู้โดยใช้บอร์ด เกม Food Bomb เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง อาหารและสารอาหาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดตะโกสูง นายจตุรงค์ การดำริห์ นางสาวนภาศรี นิ่มพิลา สพป. นครปฐม เขต 1 7. การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ รูปแบบโมเดลชิปปา เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดหวยตะโก นางอลิสรา จันทราช นางสาวจมาพร แก้วพันเดิม สพป. นครปฐม เขต 2 8. EF กับการพัฒนาสุขภาวะขั้น พื้นฐานของผู้เรียนด้วย Process Art ตาม กระบวนการ WHAT IF MODEL โรงเรียนวัดเชิงเลน นางสาววรางค์ เวชประเสริฐ นางสาวบุญทิพา คุ้มเนตร สพป. นครปฐม เขต 2 9. รายงานผลการใช้แบบฝึก ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพระงาม นายพีรเศรษฐ ผดุงค์รุ่งเรือง นางอุทัยรัตน์ ทรัพย์โชติธนดล นางสาว ดวงใจ โพธิ์พันธ์ อปท.
51 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 10. W.S.S.T Model เพื่อ ยกระดับผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ชั้น ป.6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ โรงเรียนวัดศีรษะทอง นางนวลรัตน์ กุลจิตติรัตน์ นางสาวเทียมรัตน์ เอี่ยมศรีเพ็ง นางสาวจันจิรา ผึ้งพงษ์ สพป. นครปฐม เขต 2 11. รูปแบบ DHREE MODEL (ดรี โมเดล) การยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดทุ$งสีหลง นางสาวเสาวนีย์ ชาญช่าง นางสาวปภาดา อุณหพงศา สพป. นครปฐม เขต 1 12. การพัฒนาทักษะการอ่านและ การเขียนคำไม่ตรงตามมาตรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบ ความร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแบบฝึกทักษะสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนบานดอนซาก นางสาวณัฐรดา จิตรแก้วดี นางสาวเกวลี เปียโสม นางสาวช่อผกา นามวัน สพป. นครปฐม เขต 1 3.8 นวัตกรรมการนิเทศการศึกษา (Best Practice) ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา/หน่วยงาน ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 1. การนิเทศภายในสถานศึกษา โดยใช้ THAIYAWAS Model ในการพัฒนาห้องเรียนแห่ง อนาคต (FUTURE Classroom) โรงเรียนวัดไทยาวาส นางสาวอภิญญา เดชกุญชร นางสาวดวงกมล เหล็งบำรุง นางสาวนภาพร ธนาวร สพป. นครปฐม เขต 2 2. การใช้รูปแบบการนิเทศ Ngiurai Coaching Model โรงเรียนวัดงิ้วราย ว่าที่ร้อยตรีธวัฒน์ ประภาวิทย์ นางสาวนวกชมณ อุราโรจน์ นางสาวอุบลวรรณ ดอนปัญญาไพร สพป. นครปฐม เขต 2
52 ลำดับ ชื่อนวัตกรรม ชื่อสถานศึกษา/หน่วยงาน ผู้พัฒนานวัตกรรม สังกัด 3. กระบวนการนิเทศแบบ APORE ร่วมกับ กระบวนการ PLC เพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนการสอน โรงเรียนวัดหนองศาลา นางสาวฉันทนา ภุมมา นางสาวโนรี เจริญผล นางสาวกาญคริมา จ้อยบำรุง สพป. นครปฐม เขต 1 4. รูปแบบการพัฒนาเพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้การนิเทศภายในแบบ SANEHA MODEL ของ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา (สมัครพลผดุง) โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา นางนิรมล วิบูลมงคล นางศศิธร กิตติรัตน์ชัชวาล นางขนิษฐา โชตจิตตะ อปท. 5. จุดเด$นและจุดที่ควรพัฒนาในการดําเนินโครงการ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา 1.ความสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการยกระดับคุณภาพ การศึกษา 1.การได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ 2.การประชุมหารือร่วมกันแบบ Face to Face 2.การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาที่มีความหลากหลาย สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ 3.การใช้ทรัพยากรร่วมกัน ในระดับพื้นที่ 6. ปVญหาและอุปสรรค งบประมาณไม่เพียงพอ 7. ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม จัดสรรงบประมาณให้เพิ่มเติม 8. ผูรายงาน/ผูรับผิดชอบโครงการ ผูรายงาน....นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ.................ตําแหน$ง....ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ..................... กลุ่มงาน นิเทศติดตามและประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม โทรศัพท 086 6230365... โทรสาร...034306417............................. e–mail : [email protected] 23. วันที่รายงาน ณ วันที่ ......11......... เดือน .....กันยายน...............พ.ศ. ......2566...................................
53 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ สรุปผลการดําเนินโครงการ ผลการดําเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ได้แก่ 1. เพื่อพัฒนาศูนย กลางขอมูลสารสนเทศอยางบูรณาการ ดานนวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาใน ระดับจังหวัด พบว่า สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้จัดทำข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียนระดับชาติ (O-NET) สารสนเทศด้านการพัฒนา นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ซึ่งจะเป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในจังหวัดต่อไป 2. เพื่อสงเสริม สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการนิเทศ การศึกษารวมทั้งการยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาอยางบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่ เกี่ยวของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการสร้างนวัตกรรม ทางการศึกษาให้กับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกสังกัด มีกิจกรรมการนิเทศ ติดตามการดำเนินงานสร้างและ พัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และด้านการนิเทศ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิจาก สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัด ได้แก่ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมและมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒน์ และกิจกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี โดยมีผลงานนวัตกรรมที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Best practice) ระดับเหรียญทอง ระดับจังหวัด จำนวน 18 ผลงาน จำแนกเป็น นวัตกรรมด้านการจัดการ เรียนรู้ จำนวน 12 ผลงาน นวัตกรรมด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล จำนวน 4 ผลงาน และนวัตกรรม ด้านการบริหารจัดการ จำนวน 2 ผลงาน ทั้งนี้ได้รับการคัดเลือกผลงานนวัตกรรมยอดเยี่ยมระดับภาค 2 จำนวน 2 ผลงาน ระดับดีเลิศ จำนวน 1 ผลงาน 3. เพื่อสรางเครือขายความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการนิเทศติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษา ซึ่งเป็นความร่วมมือของหน่วยงานในการพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ เขต 2 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและคณาจารย์จากคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย ศิลปากรคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน์ โดยได้แต่งตั้งคณะนิเทศ (Supervisor Teams) ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ จากสังกัด สพม. สพป. สช. และอปท.และผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วยคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม และ
54 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน์ ร่วมลงพื้นที่นิเทศติดตามโรงเรียนในโครงการ โดยดำเนินการพัฒนาครู ผู้บริหาร สถานศึกษา ด้วยกระบวนการนิเทศโดยใช้เทคนิคการโค้ช (Coaching) และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้(PLC) ในสถานศึกษาด้านการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด นครปฐม วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และการนิเทศ ติดตามและประเมินผล โดยจัดกิจกรรมการประชุมปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม รายงานผลและเผยแพร่ไปยังหน่วยงานการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอื่นๆรวมทั้งการ เผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ ผลการนิเทศติดตามผลที่เกิดจากการดําเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE)วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม พบว่า สถานศึกษาทุกแห่งในโครงการมี การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการ มีการสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ โดยสถานศึกษาต้นแบบ ด้านการจัดการเรียนรู้ทุกแห่งมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาต้นแบบด้านการนิเทศทุกแห่งมีนวัตกรรม การนิเทศติดตามและประเมินผล สถานศึกษาต้นแบบทุกแห่งด้านการบริหารจัดการมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ ผลการประเมินความพึงพอใจต>อการนิเทศติดตามและประเมินผลโครงการ โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและครูมีความพึงพอใจต่อการนิเทศติดตามและประเมินผลโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม อยู่ในระดับมากที่สุดในทุกด้าน โดยผู้บริหารโรงเรียนและครูมีความพึงพอใจมากที่สุดในด้านบุคลากรผู้ให้การนิเทศ โดยมีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด หน>วยงานทางการศึกษาในจังหวัด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และหน่วยงาน ทางการศึกษาได้แนวทางการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ได้นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดีทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล ด้านการบริหารจัดการ และได้เครือข่าย ความร่วมมือในการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในระดับจังหวัดเพื่อ พัฒนาการศึกษาและยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ผูบริหารสถานศึกษา เล็งเห็นปัญหาและสามารถวางแผนออกแบบนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน (PLC) และสื่อสารให้มีความเข้าใจตรงกัน สามารถถอดบทเรียน สกัดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการนิเทศ เยี่ยมชั้นเรียนและมีการโค้ชครูอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ครูได้จัดทำสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสอดคล้องกับ เป้าหมายการเรียนรู้ ครูผูสอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดนครปฐมที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาด้วยการ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา ด้วยเทคนิคการโค้ช (Coaching) และกระบวนการ PLC โดยสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาวิชาชีพของตนเอง ครูได้นวัตกรรมจากการปฏิบัติการสอนด้วยการ
55 นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา ด้วยเทคนิคการโค้ช (Coaching) และกระบวนการ PLC นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ที่สูงขึ้นในรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สถานศึกษาในแต>ละสังกัด สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดการ เรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมินผล และด้านการบริหารจัดการ ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาใน แต่ละสังกัด ทีมโคช (Supervisor Teams) ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้ทำหน้าที่นิเทศ มีความรู้ความเข้าใจและ ทักษะด้านการโค้ชและกระบวนการPLC ศึกษานิเทศก์มีทักษะการโค้ช ช่วยเหลือส่งเสริมครูอย่างต่อเนื่องด้วย กระบวนการPLC อภิปรายผล ผลจากประเมินการดำเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education(IFTE) วิจัยนวัตกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม พบว่า มีผลการปฏิบัติ ทุกด้านร้อยละ 100 โดยพบว่า สถานศึกษาทุกแห่งในโครงการมีการประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการ มีการสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน โครงการ โดยสถานศึกษาต้นแบบด้านการจัดการเรียนรู้ทุกแห่งมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษา ต้นแบบด้านการนิเทศทุกแห่งมีนวัตกรรมการนิเทศติดตามและประเมินผล สถานศึกษาต้นแบบทุกแห่งด้านการ บริหารจัดการมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า มีการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการ วาง แผนการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วมและเป็นระบบโดยได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายการนิเทศจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ได้รับความร่วมมือจากสถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งได้รับคำปรึกษาแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญจาก สถาบันอุดมศึกษา และการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานจากหน่วยงานต้นสังกัด ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการนิเทศติดตามและประเมินผลโครงการโดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหาร โรงเรียนและครู มีความพึงพอใจต่อการนิเทศติดตามและประเมินผลโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม อยู่ในระดับมากที่สุดในทุกด้าน โดยผู้บริหาร โรงเรียนและครูมีความพึงพอใจมากที่สุดในด้านบุคลากรผู้ให้การนิเทศที่มีความเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ และ เปิดโอกาศให้ผู้รับการนิเทศได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่าคณะนิเทศ (Supervisor Teams) มาจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการโค้ช จากหลากหลายสังกัด โดยให้ การนิเทศด้วยเทคนิคการโค้ชอย่างเป็นกัลยาณมิตรและการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน(PLC) ที่เน้นการ มีส่วนร่วมและการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนา
56 ปGญหาอุปสรรค 1. การประสานงาน ค่อนข้างยุ่งยาก มีอุปสรรค เนื่องจากต้องประสานหลายหน่วยงาน 2. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานให้สมบูรณ์และสนับสนุนสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย การดำเนินงานจึงต้องบูรณาการกับโครงการอื่น 3. คณะนิเทศ หรือทีมโค้ช (Supervisor Teams) มาจากหลากหลายหน่วยงาน มีภารกิจที่แตกต่างกัน จึงมีปัญหาความพร้อมเพียงในการลงนิเทศ ติดตาม ณ สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ขอเสนอแนะที่ไดจากการดําเนินงานโครงการ 1. ควรจัดสรรงบประมาณ ให้เพียงพอต่อการดำเนินงานให้สมบูรณ์และสนับสนุนสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย 2. ควรเป็นโครงการที่มีความต่อเนื่อง เพื่อให้เครือข่ายการนิเทศและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน ระดับพื้นที่เกิดความยั่งยืน ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. การพัฒนาครูควรใช้การพัฒนาด้วยวิธีด้วยวิธีการที่หลากหลาย ไม่ใช่การอบรมเพียงอย่างเดียว ซึ่ง วิธีการนิเทศด้วยเทคนิคการโค้ช ก็เป็นวิธีการที่สามารถเพิ่มศักยภาพครูได้ เนื่องจากการโค้ชเป็นกระบวนการที่เน้น ความต้องการในการพัฒนาตัวครูเองเป็นสำคัญ และการโค้ชเป็นกระบวนการที่ช่วยให้ครูสร้างความรู้ในการพัฒนา ตนเองได้ดี บนพื้นฐานข้อตกลงระหว่างครูและผู้โค้ช และที่สำคัญคือครูไม่ละทิ้งห้องเรียน 2. ควรส่งเสริมการพัฒนาครู ผู้บริหารโรงเรียนในรูปแบบของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC เนื่องจากชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นสิ่งจำเป็นที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน และช่วยให้ผู้ ร่วมวิชาชีพระดับต่าง ๆ ร่วมมือกัน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เปลี่ยนวัฒนธรรมทางวิชาการ มาเป็นวัฒนธรรมทางวิชาชีพ ทั้งนี้การสร้าง PLC ควรใช้รูปแบบความเป็นวิชาชีพ (Professional Approaches) ไม่เน้นกระบวนการแบบทางการมากไปและไม่ใช้ศูนย์รวมอำนาจในการจัดการ 3. หน่วยงานทางการศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน และอาศัยเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ชุมชน เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพ การศึกษาต่อไป
57 บรรณานุกรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.ชุดฝ กอบรมโครงการพัฒนาครูโดยใชกระบวนการสราง ระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ประจําป3 2562. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม., 2556 เจือจันทร์ จงสถิตอยู่. โคชครูสู8ผูเรียน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)., ม.ป.พ. ทัศนีย์ จารุสมบัติ. ชีวิตที่ใช8ในแบบโคชและฟา. (พิมพ์ครั้งที่ 1) กรุงเทพ : พริ้น ซิตี้ จำกัด., 2561 รัตนะ บัวสนธ์. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. พิษณุโลก : หจก.ริมปิงการพิมพ์., 2554 วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. กระบวนทัศนBใหม8การ Mentor and Coaching ในสังคมสื่อสารสนเทศเพื่อ เสริมสรางศักยภาพนักศึกษาฝ กประสบการณBวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ., 2557 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. การนําผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ไปสู8การ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน. ม.ป.ท. :, 2557 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. เอกสารประกอบการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาก8อนแต8งตั้งใหดํารงตําแหน8งศึกษานิเทศกB หน8วยที่ 2 เรื่องความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการนิเทศ การศึกษา. ม.ป.ท., 2553 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. UTQ-225 นวัตกรรมการนิเทศ (Coaching) การศึกษาชั้นเรียน (Lesson study). ม.ป.ท., 2555 สำนักทดสอบทางการศึกษา. การเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาการเรียนรูของ ผูเรียน : การนิเทศแบบใหคําชี้แนะ (Coaching). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย., 2553
57 ภาคผนวก
58 กิจกรรมที่ 1 และ กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมชี้แจงสรางการรับรูแนวทางการดําเนินงานโครงการ IFTE ป%งบประมาณ 2566 และประชุมปฏิบัติการเสริมสรางศักยภาพ Supervisor Teams และโรงเรียนกลุ:มเป;าหมาย ดานการพัฒนารูปแบบแนวทางการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
59
60 กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนานักเรียนและการใชนวัตกรรมดาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศการศึกษา และการดําเนินงานโครงการ ณ โรงเรียนกลุ:มเป;าหมาย
61
62 กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียนและคัดเลือกนวัตกรรมที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการนิเทศการศึกษา ระดับจังหวัด ผ:านระบบ Zoom Cloud Meeting
63
64 คณะกรรมการดําเนินงานจัดกิจกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมการศึกษาตามโครงการ IFTE สํานักงานศึกษาธิการภาค 2
65
66 ร%วมนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ IFTE ในการประชุมขับเคลื่อนการบริหารการศึกษาของประเทศไทยในระดับภูมิภาค ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
67
68 ได0รับการคัดเลือกนําเสนอผลงานระดับประเทศตามโครงการ IFTE ป1งบประมาณ 2566
69
70
71 เกียรติบัตรผลที่เกิดขึ้นกับผู0บริหารโรงเรียนตามโครงการ IFTE ด0านบริหารจัดการ เกียรติบัตรผลที่เกิดขึ้นกับผู0บริหารโรงเรียนตามโครงการ IFTE ด0านการนิเทศติดตามและประเมินผล
72 เกียรติบัตรผลที่เกิดขึ้นกับครูตามโครงการ IFTE ด0านการจัดการเรียนรู0 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
73 เกียรติบัตรผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
74 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
75 โครงการ... Innovations For Thai Education(IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์งบรายจ่ายอื่น ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง โครงการใหม่ ยุทธศาสตรWชาติ (Z) ดาน …………….3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์……………… (1) เป้าหมาย........คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21........ (2) ประเด็น.....ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21................ แผนแม:บทภายใตยุทธศาสตรWชาติ ประเด็น (12) การพัฒนาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2)......คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะ ที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ.......12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21.......... (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1)......คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และ ทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดีขึ้น................ ความสอดคลองห:วงโซ:คุณค:าฯ (Value Chains) ของเป;าหมายแผนแม:บทย:อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : ……………V03 รูปแบบและระบบการเรียนรู้……………………. (2) ชื่อปัจจัย (F) : .......F0302 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติและทักษะอาชีพ……………. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห:งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูงมุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์พัฒนาแห่งอนาคต (กลยุทธ์ที่ 1) คนไทยทุกช่วง วัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ (กลยุทธ์ที่ 3) การเรียนรู้ตลอดชีวิต นโยบายและแผนระดับชาติว:าดวยความมั่นคงแห:งชาติ (พ.ศ. 2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่..............................................-........................................................................ นโยบายรัฐบาล (1) นโยบายหลักที่....การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย (2) นโยบายเร่งด่วนที่............................................................-........................................................................ เป;าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป;าหมายที่ 4 ดานการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)...............................................-................................................................................ นโยบายและจุดเนนกระทรวงศึกษาธิการ ประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 ..............................2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา................................................................................... แผนการศึกษาแห:งชาติ พ.ศ. 2560 – 2570
76 ยุทธศาสตร์ที่…ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้… แผนปฏิบัติราชการประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 กระทรวงศึกษาธิการ ประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่...3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้........ แผนปฏิบัติราชการประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่...3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ….........……. แผนปฏิบัติราชการประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนากระบวนการเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ และ ความสามารถในการแข่งขัน แผนปฏิบัติราชการประจําป%งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 1. หลักการและเหตุผลความจําเปeน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) มีเป้าหมายด้านการเสริมสร้างศักยภาพและทรัพยากรมนุษย์ ที่มุ่งให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ มีความพร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตามเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ด้านการปฏิรูปการศึกษาภายใต้แผนปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษา ได้แก่ (1) ยกระดับคุณภาพการศึกษา (2) ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (3) มุ่งความ เป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (4) ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้หน่วยงานการศึกษา ทุกระดับนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมจากรายงานสรุปผลการดำเนินการตาม ยุทธศาสตร์ชาติ พบว่า ในแผนแม่บทด้านการพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งมีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้และทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิดวิเคราะห์รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมืองมีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาปรับตัวสื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลผลการประเมินด้านทักษะอยู่ในระดับ ต่ำ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด มีหน้าที่สำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนางานด้านวิชาการของ กระทรวงศึกษาธิการในระดับจังหวัด โดยการสั่งการ กำกับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติงานของ ส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของ กระทรวง ตลอดจนปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยต้องอาศัยความ ร่วมมือกันของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน การสร้างเครือข่ายในการทำงานในแต่ละพื้นที่ จึงมีความสำคัญอย่าง ยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผลอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนากระบวนการทำงานและสร้างนวัตกรรมในการทำงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบท และความต้องการของแต่ละพื้นที่ รองรับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 จากเหตุผลและ ความจำเป็นดังกล่าว สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดทำโครงการ IFTE (Innovation For Thai Education) ระยะที่ 3 ขึ้น ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยการนำผลการวิเคราะห์ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อ
77 ยกระดับคุณภาพการศึกษา มาใช้ในการวางแผนการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงาน โดยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของบุคลากรในทุกภาคส่วน เพื่อสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านการบริหาร จัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้มีทักษะ การเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 ต่อไป 2. วัตถุประสงคW 3.1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษา รวมทั้งการยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาอย่างบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.2 เพื่อพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศอย่างบูรณาการ ด้านนวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาในระดับ จังหวัด 3.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. เป;าหมายโครงการ ผลผลิต (Output) (1) มีรูปแบบ/แนวทางการพัฒนานักเรียน หรือแนวทางการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษา รวมทั้งการยกระดับคุณภาพ และประสิทธิภาพการจัดการศึกษา (2) มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด เพื่อให้บริการข้อมูลด้านด้านนวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษา (3) มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับจังหวัด ผลลัพธ์ (Outcome) (1) มีแนวทางการพัฒนานักเรียนหรือนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ การศึกษาที่สามารถนำไปใช้ได้จริงในระดับพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ (2) มีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา นวัตกรรมและการวิจัยทางการศึกษาในระดับจังหวัด ที่มี ความถูกต้อง ชัดเจน และเป็นปัจจุบัน สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับจังหวัด (4) มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา (5) มีการขยายผล เผยแพร่ นวัตกรรมการการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล (6) ผู้เรียนในสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อมีความพร้อมในการเข้าสู่สังคมคุณภาพ
78 4. ผลที่คาดว:าจะเกิด สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีขอมูลสารสนเทศเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ มีการบูรณาการด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผลระหว่างสถานศึกษาและ หน่วยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัด มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อการพัฒนาคนให้ พร้อมเข้าสู่สังคมคุณภาพในศตวรรษที่ 21 เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถรายงานผล การดําเนินงานแก-หน-วยงานที่เกี่ยวของและเผยแพร-ประชาสัมพันธ/แก-สาธารณชน 5. ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1) มีรูปแบบ/แนวทางการพัฒนานักเรียน หรือแนวทางการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษา รวมทั้งการยกระดับคุณภาพ และประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 2) มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด เพื่อให้บริการข้อมูล ด้านด้านนวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษา 3) มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับจังหวัด อย่างน้อย 1 เครือข่าย 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1) รูปแบบ/แนวทางการพัฒนานักเรียนหรือนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา สามารถนำไปใช้ได้จริงในระดับสถานศึกษา 2) ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด มีความครอบคลุม ชัดเจน เป็น ปัจจุบัน สามารถนำไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3) เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับจังหวัด มีการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การดำเนินงานโครงการ โดยเป็นคณะ Supervisor Teams ระดับจังหวัด 6. กลุ:มเป;าหมาย/ผูที่ไดรับผลประโยชนW 6.1 ผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สพฐ. สช. อปท. ในจังหวัดนครปฐม 6.2 หน-วยงานการศึกษาและสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน และผูมีส-วนไดส-วนเสียกับหน-วยงานและ สถานศึกษา
79 7. วิธีการดําเนินงาน กิจกรรม งบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย.-มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค.-ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงสร้างการ รับรู้แนวทางการดำเนินงานโครงการ IFTE ปีงบประมาณ 2566 500 - กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมปฏิบัติการ เสริมสร้างศักยภาพ Supervisor Teams และโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายด้านการพัฒนา รูปแบบแนวทางการพัฒนานักเรียนและ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 43,000 - กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนานักเรียน และการใช้นวัตกรรมด้านการบริหาร จัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ การศึกษา และการดำเนินงานโครงการ ณ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 20,000 – กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนและ คัดเลือกนวัตกรรมที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการพัฒนานักเรียน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และ การนิเทศการศึกษาระดับจังหวัด 17,700 - กิจกรรมที่ 5 จัดประชุมปฏิบัติการ วิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัยทางการ ศึกษา นวัตกรรมด้านการพัฒนานักเรียน 2,100 -
80 กิจกรรม ไตรมาสที่1 (ต.ค.-ธ.ค.) ไตรมาสที่2 (ม.ค.-มี.ค.) ไตรมาสที่3 (เม.ย.-มิ.ย.) ไตรมาสที่4 (ก.ค.-ก.ย.) การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การ นิเทศการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัด กิจกรรมที่ 6 จัดประชุมปฏิบัติการจัดทำ รายงานผลการดำเนินงานโครงการและ เผยแพร่นวัตกรรม 2,700 - 43,500 42,500 รวมวงเงิน (บาท) 86,000 - 8. ระยะเวลาดําเนินการ (วัน/เดือน/ป%) เดือน พฤษภาคม 2566 ถึง กันยายน 2566 9. สถานที่ดําเนินการ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมและสถานศึกษาที่เขาร-วมโครงการ 10. งบประมาณ………86,000………..พร้อมระบุรายละเอียดงบประมาณ (ถัวจ่ายทุกรายการ) หมวดงบรายจ:าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงสร้างการรับรู้แนวทางการดำเนินงานโครงการ IFTE ปีงบประมาณ 2566 (500) • ค-าใชสอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 50 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน 500 - กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมปฏิบัติการเสริมสร้างศักยภาพ Supervisor Teams และ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายด้านการพัฒนารูปแบบแนวทางการพัฒนานักเรียนและ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (43,000) • ค-าตอบแทน - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 คน x วันละ 3 ชม.x ชม.ละ 600 บาท 9,000 -
81 หมวดงบรายจ:าย งบประมาณ (บาท) • ค่าใช้สอย - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 95 คน x 150 บาท x 1 วัน 14,250 - - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 95 คน x 50 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน 9,500 - - ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 1 วัน x วันละ 1,500 บาท 1,500 - • ค่าวัสดุ 8,750 - กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนานักเรียน และการใช้นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และการดำเนินงานโครงการ ณ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (20,000) • ค-าตอบแทน - ค-าตอบแทนผูเขาร-วมประชุมใหขอมูล คณะ Supervisor Teams และ ผูทรงคุณวุฒิที่ร-วมทําวิจัย จำนวน 35 คน x 500 บาท x 1 วัน 17,500 - • ค-าใชสอย - ค-าพาหนะเดินทางไปประชุมนิเทศ จํานวน 5 คน x 500 บาท x 1 วัน 2,500 - กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและคัดเลือก นวัตกรรมที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการพัฒนานักเรียน การบริหาร จัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษาระดับจังหวัด (17,700) • ค-าตอบแทน - ค-าตอบแทนวิทยากร จํานวน 6 คน x 1,200 บาท 7,200 - • ค-าใชสอย - ค-าอาหารกลางวัน จํานวน 12 คน x 150 บาท x 2 วัน 3,600 -
82 หมวดงบรายจ:าย งบประมาณ (บาท) - ค-าอาหารว-างและเครื่องดื่ม จํานวน 12 คน x 50 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน 2,400 - - ค-าจางพิมพ/เกียรติบัตร จํานวน 100 ใบ x ใบละ 15 บาท 1,500 - - ค-าพาหนะเดินทางไปราชการ 3,000 - กิจกรรมที่5 จัดประชุมปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา นวัตกรรมด้านการพัฒนานักเรียน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ การศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัด (2,100) • ค-าใชสอย - ค-าจางพิมพ/ตนฉบับเอกสารรายงาน หนาละ 15 บาท x 100 หน้า 1,500 - - ค-าจัดทํารูปเล-มเอกสารรายงาน เล-มละ 200 บาท x 3 เล-ม 600 - กิจกรรมที่ 6 จัดประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการและ เผยแพร่นวัตกรรม (2,700) - ค-าจางพิมพ/ตนฉบับเอกสารรายงาน หนาละ 15 บาท x 130 หน้า 1,950 - - ค-าจัดทํารูปเล-มเอกสารรายงาน เล-มละ 125 บาท x 6 เล-ม 750 - รวมทั้งสิ้น 86,000 - 11. การวิเคราะหWความเสี่ยง 11.1 ความเสี่ยง ดานการดําเนินงาน เนื่องจากมีหน-วยงานที่เกี่ยวของในการดําเนินงานเปFนจํานวนมากอาจทําใหเกิด อุปสรรคในเรื่องการสื่อสาร และความเขาใจที่ไม-ตรงกัน 11.2 การบริหารความเสี่ยง แต-งตั้งคณะทํางาน และประชุมชี้แจงทําความเขาใจกิจกรรมโครงการใหชัดเจน 12. กลุ:มงานรับผิดชอบ นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล สํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม
83 การเผยแพร%ผลงาน
84 คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม นางทองเจือ เอี่ยมธนานุรักษ์ รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม คณะทํางาน 1. นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดต าม และประเมินผล 2. นายไชยากาล เพชรชัด ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจงหวัดนครปฐม 3. นางสาวจุรีพร แจ้งธรรมมา ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 4. นางสาวบงกชษกรณ์ ศิริถาวร ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 5. นายจิรประวัติ ศรีวัฒนทรัพย์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 6. นางสาววะชิราพรรณ์ พรหมฤทธิ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เขียนรายงาน/บรรณาธิการกิจ : นางกุลธิดา ปญญาจิรวุฒิ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล พิมพที่ : กลุ มนิเทศติดตามและประเมินผล สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม , 2566