The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuimanti, 2023-11-26 22:45:33

รายงานนิเทศ ติตาม และประเมินผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตรววษที่ 21 ภาคเรียนที่1/2566

รายงานนิเทศ ภาคเรียนที่ 1-66

ก คำนำ รายงานการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประจำปีงบประมาณ 2566 ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้นำเสนอผลการปฏิบัติงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ในสถานศึกษาศึกษาสังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน 5 แห่ง เพื่อสรุปผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผล พร้อมทั้งนำผลการนิเทศมาวิเคราะห์สภาพปัญหาและจัดทำข้อเสนอแนะ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและสาธารณะชนทั่วไปได้รับทราบ เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงานทางการศึกษา และใช้เป็น ข้อมูลการวางแผนพัฒนาการศึกษาในอนาคตต่อไป บงกชษกรณ์ ศิริถาวร กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 การดำเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผล 3 บทที่ 3 ผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผล 6 บทที่ 4 สรุปผลการนิเทศ และข้อเสนอแนะ 19 ภาคผนวก 20 - กำหนดการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล - เครื่องมือนิเทศ - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา - เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 - ภาพประกอบ ปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผล 21 24 43 46


๑ บทที่ 1 บทนำ ๑. หลักการและความสำคัญ กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศการศึกษา สำหรับกระบวนการ นิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการที่ผู้นิเทศใช้ข้อมูลจากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล สำหรับการวางแผน ในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ร่วมคิด ร่วมทำ และสนับสนุน ให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้นตรงตาม สภาพความต้องการที่แท้จริงของการพัฒนา โดยผ่านครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน รวมทั้งการชี้แจง การแสดง หรือการแนะนำเกี่ยวกับการสอน การนิเทศการศึกษาจึงเป็นภารกิจที่จำเป็นต่อการจัดการศึกษา ที่ต้องอาศัยความ ร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนมี คุณภาพและให้ทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้งความ เจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ตระหนักและเห็น ความสำคัญของการนิเทศการศึกษา จึงได้ปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะใน ศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โดยใช้ฐานข้อมูลและ สารสนเทศ จากการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ซึ่งได้ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ที่เน้น การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ ตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ กลยุทธ์ หลักสูตรและองค์ประกอบต่าง ๆ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน เพื่อยกระดับมาตรฐานทางการศึกษา ให้ได้มาตรฐาน ตามภารงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ ของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อนิเทศส่งเสริมการดำเนินการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในศตวรรษที่ 21 ของ นักเรียน ๒.๒ เพื่อนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล สนองยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ๒.๓ เพื่อรายงานผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ต่อหน่วยงาน และ ผู้เกี่ยวข้อง


๒ ๓. เป้าหมายการนิเทศ ๓.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุน การตรวจราชการ ได้รับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ตามขอบข่ายการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล อย่าง น้อย ๑ ครั้ง ดังนี้ -สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน 5 แห่ง -สถานศึกษาในโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 ประกอบด้วย โรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น จำนวน 2 โรงเรียน ๓.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถจัดการศึกษาตามขอบข่าย ภารกิจและมาตรฐานของประเภทสถานศึกษา และสนองนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้อง กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน และสอดคล้องตามเป้าหมายของโครงการได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ๔. ขอบข่ายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ขอบข่ายการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 มีดังนี้ 1. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุน การตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประกอบด้วย 1) การจัดการศึกษาปฐมวัย 2) ความปลอดภัยในสถานศึกษา 3) การนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2. นิเทศ ติดตามและประเมินผลโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัย นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566


๓ บทที่ 2 การดำเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผล 1. กระบวนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ศึกษาแนวคิด เกี่ยวกับการนิเทศและพัฒนารูปแบบการนิเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาการจัดการศึกษามาใช้ในการดำเนินการ นิเทศ และขั้นตอนกระบวนการนิเทศ ดังนี้ รูปแบบการนิเทศ C-MEC Model ซึ่งประกอบด้วย C (Cooperative Development) : นิเทศแบบร่วมพัฒนา M (Mentoring) : นิเทศแบบพี่เลี้ยงให้คำปรึกษา E (Empowerment) : นิเทศแบบเสริมพลังอำนาจ C (Coaching) : นิเทศแบบชี้แนะ กระบวนการนิเทศ : ใช้กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE มีขั้นตอนในการนิเทศ ๕ ขั้นตอน ขั้นที่ ๑ วางแผนการนิเทศ (Planning – P) ขั้นที่ ๒ ให้ความรู้ความเข้าใจในการทำงาน (Informing - I) ขั้นที่ ๓ ลงมือปฏิบัติงาน (Doing - D) ขั้นที่ ๔ สร้างขวัญกำลังใจ (Reinforcing – R) ขั้นที่ ๕ ประเมินผลการนิเทศ (Evaluation – E) 1.1. วางแผนการนิเทศ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติ O-NET/NT V-NET ข้อมูลการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวัดประเมินผล การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย ข้อมูลระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาทุกสังกัด ทุกประเภท 2) ศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3) ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติการนิเทศ คู่มือ เครื่องมือการนิเทศ 1.2 สร้างความรู้ความเข้าใจในการทำงาน 1) ประชุมสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างคณะผู้นิเทศการศึกษา 2) สร้างความเข้าใจร่วมกับคณะผู้นิเทศในการนำเครื่องมือไปใช้


๔ 1.3 ปฏิบัติการนิเทศ/การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการนิเทศ 1) นิเทศระดับสถานศึกษา 2) เยี่ยมสถานศึกษา/ชั้นเรียน 3) ให้คำปรึกษา แนะนำ 4) นิเทศ ติดตามกลยุทธ์/จุดเน้น/นโยบาย/กิจกรรม/โครงการต่าง ๆ 5) การนิเทศออนไลน์ 1.4. สร้างขวัญกำลังใจ 1) ประชุมสรุปผลการนิเทศและสะท้อนคิดให้กับผู้บริหารและคณะครู (AAR) 2) ร่วมชื่นชมแบบกัลยาณมิตรและสอบถามความต้องการนิเทศในครั้งต่อไป 1.5 ประเมินผล สรุปและรายงานผล 1) ประเมินผลการนิเทศ/สรุปและจัดทำเป็นสารสนเทศ 2) ประเมินความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ 3) พัฒนาและเผยแพร่ผลการนิเทศและพัฒนารูปแบบในการนิเทศอย่างต่อเนื่องและ เป็นระบบ 1.6 ตัวชี้วัดความสำเร็จในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 1) ร้อยละของสถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ได้รับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ตามเป้าหมาย 2) ร้อยละของสถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย มีการดำเนินงานและจัดการศึกษาตาม ขอบข่ายภารกิจของประเภทสถานศึกษาที่กำหนด 1.7 ผู้รับการนิเทศ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา และรองผู้อำนวยการสถานศึกษา 2) ครูวิชาการโรงเรียน หรือครูที่ทำหน้าที่นิเทศภายในโรงเรียน และครูผู้สอนที่ เกี่ยวข้อง 1.8 ระยะเวลในการนิเท ติดตาม และประเมินผล 30 พฤษภาคม 2566 – 31 สิงหาคม 2566 1.9 เครื่องมือการนิเทศ 1. โรงเรียนเอกชน มีเครื่องมือนิเทศ ได้แก่ แบบนิเทศ ติดตามและประเมินผลการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และ สนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประกอบด้วย 1) การจัดการศึกษาปฐมวัย 2) ความปลอดภัยในสถานศึกษา 3) การนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา


๕ 2. โรงเรียนในโครงการ 2.1 โรงเรียนในโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อ พัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 เครื่องมือนิเทศ ประกอบด้วย 1) แบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education(IFTE) 2) แบบสังเกตการสอนตามแนวทาง Active Learning 2.2 โรงเรียนในโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนา หลักสูตรต่อเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เครื่องมือนิเทศ ประกอบด้วย 1) แบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและ การพัฒนา หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา


๖ บทที่ 3 ผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 1. ผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน (สช.) จำนวน 5 แห่ง มีผลการนิเทศตามขอบข่ายการนิเทศ ดังนี้ 1.1 การจัดการศึกษาปฐมวัย จำนวน 5 แห่ง* ประเด็นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จำนวนสถานศึกษา/ร้อยละ ดำเนินการ ไม่ได้ ดำเนินการ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 1. โรงเรียนจัดการความปลอดภัยของพื้นที่เล่น/ สนามเด็กเล่น และ สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร 5 (ร้อยละ 100) - 2. โรงเรียนจัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคล ทั้งภายในและภายนอกสถาน พัฒนาเด็กปฐมวัย 5 (ร้อยละ 100) - 3. โรงเรียนมีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วยเบื้องต้น 5 (ร้อยละ 100) - 4. โรงเรียนจัดให้มีพื้นที่/มุมประสบการณ์ และ แหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนและ นอกห้องเรียน 5 (ร้อยละ 100) - 5. โรงเรียนจัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ที่แปรงฟัน ที่ล้างมือ ให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภัย และเหมาะสมกับการใช้งานของเด็ก 5 (ร้อยละ 100) - ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย 6. ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติของ เด็กที่เรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส ลงมือทำ ปฏิสัมพันธ์ และการเล่น 5 (ร้อยละ 100) - 7. ครูจัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะการดูภาพ ฟัง เรื่องราว พูด เล่า อ่าน วาด/เขียน เบื้องต้น ตามลำดับพัฒนาการ โดยครู/ผู้ดูแล เด็กเป็นตัวอย่างของการพูด และการอ่านที่ถูกต้อง 5 (ร้อยละ 100) - 8. ครูจัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบื้องต้น ตามวัย โดยเด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 5 (ร้อยละ 100) - 9. ครูเฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคล เป็นระยะ เพื่อใช้ผลในการจัด กิจกรรมพัฒนาเด็กทุกคนให้เต็มตามศักยภาพ 5 (ร้อยละ 100) - 10. ครูตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวัน ความสะอาดของร่างกายฟันและ ช่องปาก เพื่อคัดกรองโรคและการบาดเจ็บ 5 (ร้อยละ 100) - คุณภาพของเด็กปฐมวัย 11. เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึกเป็นรายบุคคล 5 (ร้อยละ 100) - 12. เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ สามารถเคลื่อนไหวและทรง ตัวได้ตามวัย 42 (ร้อยละ 100) - 13. เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งชั่งใจ ทำตามข้อตกลง คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น มีกาลเทศะ ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้สมวัย 5 (ร้อยละ 100) -


๗ ประเด็นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จำนวนสถานศึกษา/ร้อยละ ดำเนินการ ไม่ได้ ดำเนินการ 14. เด็กสามารถฟัง พูด จับใจความ เล่า สนทนา และสื่อสารได้สมวัย 5 (ร้อยละ 100) - 15. เด็กสามารถเล่น และทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นกลุ่ม เป็นได้ทั้งผู้นำและ ผู้ตาม แก้ไข ข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 5 (ร้อยละ 100) - ผลการนิเทศ พบว่า ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน จำนวน 5 แห่ง ดำเนินการด้านการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นไปตามประเด็นการนิเทศครบ ทุกประเด็น ดังนี้ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีการจัดการอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียนให้สะอาด ร่มรื่น สวยงาม สะดวก มีความปลอดภัย และเหมาะสม มีการดูแล ตรวจสอบ ซ่อมบำรุง และพัฒนาอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องเล่นในสนามเด็กเล่น และ สภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพปลอดภัยพร้อมใช้งานตลอด มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ โดยการเชิญเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลมาตรวจสุขภาพ การตรวจฟัน การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ให้เด็กทุก คน เป็นต้น ด้านครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย พบว่า ครูจัดกิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติของเด็กที่เรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส ลงมือทำ ปฏิสัมพันธ์ และการเล่น มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านการเขียน การพูด สื่อสารการวาดภาพ เป็นไปตามระดับชั้น มีการเรียนการสอนจินตคณิต มีกิจกรรมนักวิทยาศาสตร์น้อยลงมือปฏิบัติจริง ด้านคุณภาพของเด็กปฐมวัย พบว่ามีการศึกษาเด็กเป็นรายบุคคล นำผลมาพัฒนาตามศักยภาพ มีการตรวจสุขภาพอนามัยของเด็ก มีบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียน มีกิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ และ การเคลื่อนไหว มีกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะในการอดทน และการรอคอย จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการพูด การเล่าและการสื่อสาร มีกิจกรรมส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตาม บันทึกนิเทศเพิ่มเติม สถานศึกษาได้ให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาปฐมวัย มีการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 มีการจัดประสบการณ์สอน แบบบูรณาการผ่านการเล่นตามหน่วยการเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านเหมาะสมกับวัย


๘ 1.2 ความปลอดภัยในสถานศึกษา รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จำนวนสถานศึกษา (ร้อยละ) ดำเนินการ ไม่ ดำเนินการ 1. มีการจัดครูเวรดูแลหน้าประตูโรงเรียนช่วงเช้าและเย็น 5 (ร้อยละ 100) - 2. มีการควบคุมดูแลการใช้รถโรงเรียน และกำหนดพื้นที่จอดรถ จุดรับ-ส่ง นักเรียนให้มีความปลอดภัย 5 (ร้อยละ 100) - 3. มีการตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบของอาคารห้องเรียนและ ห้องปฏิบัติการ ตลอดจนอุปกรณ์ที่ติดตั้งในส่วนต่างๆ ของอาคาร ให้อยู่ใน สภาพที่พร้อมใช้งานอย่างปลอดภัย 5 (ร้อยละ 100) - 4. มีการจัดรายการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าครบถ้วนตามหลักโภชนาการ และเพียงพอ 5 (ร้อยละ 100) - 5. งดจำหน่ายหรือปรุงอาหาร ขนมและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของสารเสพ ติด รวมทั้งสมุนไพรควบคุม(กัญชา) 5 (ร้อยละ 100) - 6. มีห้องพยาบาลและเวชภัณฑ์ยาที่ไม่หมดอายุของยา 5 (ร้อยละ 100) - 7. มีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ของกระทรวงศึกษาธิการ และคู่มือแนวทางลดและป้องกันผลกระทบ ต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ของกรมอนามัย 5 (ร้อยละ 100) - 8. มีการเฝ้าระวังและปฏิบัติตามมาตรการ 6 – 6 – 7 ของกระทรวง สาธารณสุข อย่างเคร่งครัด ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 5 (ร้อยละ 100) - 9. มีการเฝ้าระวังนักเรียนจากโรคลมแดด หรือฮีทสโตรก (Heatstroke) หลีกเลี่ยงการอยู่กลางแดดหรือจัดกิจกรรมในสภาพอากาศร้อน 5 (ร้อยละ 100) - ผลการนิเทศ พบว่า ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน จำนวน 5 แห่ง ดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาเป็นไปตามประเด็นการนิเทศ ครบทุกประเด็น บันทึกนิเทศเพิ่มเติม สถานศึกษาตระหนักถึงความสำคัญถึงความปลอดภัยของนักเรียน ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักเรียนได้ มีการติดตั้งกล้องวงจรปิด และแต่งตั้งมอบหมายให้มีเจ้าหน้าที่ดูแล ตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และ รายงานให้ผู้อำนวยการทราบทุกวัน ติดตั้งเครื่องตัดไฟ (safe -t-cut) เครื่องดับเพลิง อุปกรณ์ฝาครอบปลั๊ก ไฟฟ้า เครื่องสัญญาณเตือนภัย สายดิน รวมไปถึงอุปกรณ์เครื่องใช้ และเครื่องสำหรับป้องกันอันตรายที่จำเป็น ตามสถานการณ์จัดให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ครูเวรรักษาการณ์ ทำหน้าที่ดูแลสอดส่อง ความปลอดภัย จากบุคคลภายนอก ตลอดทั้งวัน ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ทราบข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับมาตรการที่โรงเรียนกำหนด การดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหาพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เป็น ปัญหาทางสังคม และอาจเกิดขึ้นในโรงเรียนให้ทราบทั่วถึงและสม่ำเสมอ เช่น สำรวจการแพ้อาหารของนักเรียน


๙ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการแพ้อาหาร และเรียนรู้วิธีช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน มีการให้ความรู้ครูในการปฐม พยาบาลเบื้องต้น เช่น การช่วยเหลือนักเรียนที่อาหารติดคอ การทำ CPR ในช่วงสถานการณ์โควิดให้ปฏิบัติตาม คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเอกชน เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีการป้องกันฝุ่น MP 2.5 ล้างพื้นสนามเป็นระยะ รณรงค์สวมหน้ากากอนามัย มีมาตรการป้องกันและดูแลโรคติดต่อโควิด-19 ปฏิบัติตามมาตรการ 6 6 7 อย่างเคร่งครัด มีหลังคาโดมให้ร่มเงาในการปฏิบัติกิจกรรมหรือเล่นกีฬากลางแจ้ง เป็นต้น 1.3 การนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จำนวนสถานศึกษา (ร้อยละ) ดำเนินการ ไม่ดำเนินการ 1. สถานศึกษามีการประชุมครูเพื่อวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ผลการทดสอบ RT NT O-NET ปีการศึกษา 2565 5 (ร้อยละ 100) - 2. สถานศึกษากำหนดเป้าหมายและแนวทางในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ RT NT O-NET โดยใช้ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย 5 (ร้อยละ 100) - 3. ครูมีสารสนเทศการวิเคราะห์ผลการทดสอบ RT NT O-NET และนำมาใช้ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่สอน 5 (ร้อยละ 100) - 4. ครูมีสื่อ นวัตกรรมแก้ปัญหานักเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 (ร้อยละ 100) - 5. สถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 (ร้อยละ 100) - 6. สถานศึกษามีระบบนิเทศภายในเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ชัดเจน 5 (ร้อยละ 100) - ผลการนิเทศ พบว่า ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชนที่จัดการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน จำนวน 5 แห่ง ดำเนินการด้านการนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามประเด็นการนิเทศครบทุกประเด็น นำผลการสอบมาวิเคราะห์ หาข้อบกพร่อง มาตรฐาน ตัวชี้วัด ที่มีคะแนนต่ำ มาประชุมชี้แจงกับคณะครูผู้สอน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพโดยใช้วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ระหว่างเพื่อนครูสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หรือ Professional Learning Community ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบผสมผสาน คือ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Online และรูปแบบ On-site ทำให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ มีทักษะ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี สามารถนำผลการทดสอบ RT NT O-NET มาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนา จัดการ และแก้ไขปัญหาระหว่างการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วยกันปรับปรุงแก้ไขวิธีการ จัดการเรียนรู้หรือการส่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานภาพของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนี้ยัง ช่วยกันแบบเพื่อนช่วยเพื่อน นิเทศติดตามประเมินผลการสอนซึ่งกัน และกันจนเกิดประสิทธิผลด้านการสอนที่ดี


๑๐ ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะ และสามารถปรับตัวเข้ากับยุควิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ทำให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามเกณฑ์ของสถานศึกษาที่กำหนดไว้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.4 การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 1) การดำเนินงานตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา 1 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน (ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากร คณะกรรมการบริหารโรงเรียน และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง) 5 - - - สถานศึกษาควรแต่งตั้งคำสั่งตาม แบบที่ถูกต้องและคอบคุม ชัดเจน นำ ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์ และสรุปเป็นเป้าหมาย ของสถานศึกษา และศึกษาขั้นตอน วิธีการกำหนดค่าเป้าหมายของ สถานศึกษา มีเอกสารหลักฐานที่ อ้างอิงในการตั้งค่าเป้าหมายที่ชัดเจน และตั้งค่าเป้าหมายที่ท้าทาย นำเข้า ในวาระการประชุมคณะกรรมการ บริหารโรงเรียน และควรบันทึก รายงานการประชุม พร้อมภาพถ่าย ประกาศให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายใน และ ภายนอกทราบที่หลากหลายช่องทาง - อนึ่งสถานศึกษาควรเก็บข้อมมูล เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ไว้เพื่อรองรับ การประกันคุณภาพภายนอก และ เป็นข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์ใน ปีถัดไป 2 นำข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์และสรุป เป็นเป้าหมายของสถานศึกษา 5 - - 3 กำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายและค่าเป้าหมายของ สถานศึกษา 5 - - 4 นำมาตรฐานการศึกษาเป้าหมาย และค่าเป้าหมายเสนอ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนให้ ความเห็นชอบ 5 - - 5 ประกาศมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา เป้าหมาย และค่า เป้าหมายให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกทราบ 5 - - 2. การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1 แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 5 - - - สถานศึกษาควรแต่งตั้งคำสั่งตาม แบบที่ถูกต้องและครอบคลุม ชัดเจน บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนร่วมกัน รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับสภาพภายในและ ภายนอกของสถานศึกษาควรกำหนด วิสัยทัศน์ให้เข้ากับบริบทของ สถานศึกษา กำหนดเป้าหมาย กล ยุทธ์ และตัวชี้วัด ความสำเร็จให้ ชัดเจน และครอบคลุม ควรมีการ ปรับปรุงแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ได้ตาม 2 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับสภาพภายใน และภายนอกของสถานศึกษา 5 - - 3 จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาโดยกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 5 - - 4 กำหนดแผนการดำเนินงาน งบประมาณ วิธีการนำแผนพัฒนา 5 -


๑๑ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน การจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติ โครงการ กิจกรรม นโยบายและจุดเน้นของกระทรวง ศึกษาธิการ กำหนดแผนการ ดำเนินงาน และปฏิทินการดำเนินงาน ตลอดปีการศึกษา ควรมีการประชุม คณะกรรมการบริหารโรงเรียนและ คณะครู เพื่อรับทราบและลงนาม เห็นชอบ และบันทึกรายงานการ ประชุม พร้อมภาพถ่าย 5 นำเสนอแผนพัฒนาการจัด การศึกษาให้คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนให้ความเห็นชอบ 5 - 3. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1 วิเคราะห์แผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 5 - - - ผู้บริหาร คณะครู ร่วมกันวิเคราะห์ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีให้เป็น ปัจจุบัน ควรมีกำหนดปฏิทินการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อการ พัฒนางานที่เป็นระบบ สถานศึกษา ควรแจ้งปฏิทินการปฏิบัติงานให้ทุก คนรับทราบของการดำเนินงานของ แต่ละโครงการและกิจกรรมที่จะ ดำเนินงานในช่วงวัน เวลาใด เพื่อการ ดำเนินงานที่เป็นระบบ และ โครงการกิจกรรมแต่ละกิจกรรมควร มีการกำกับติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ พร้อม รวบรวมจัดทำรายงานตามแผนงาน ประจำปีในทุก ๆ ภาคเรียน / ทุกปี การศึกษา 2 กำหนดปฏิทินการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5 - - 3 ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายปฏิบัติตามปฏิทิน การดำเนินงาน 5 - - 4 กำกับ ติดตาม และประเมินผลการ ดำเนินงาน - 5 - 5 รายงานผลการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจำปี - 5 - 4. การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 1 แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในของ สถานศึกษา - 5 - - สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของสถานศึกษาตามแบบที่ถูกต้อง และคอบคุม ชัดเจน ควรมีการ ประชุม วางแผนการประเมินผล และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ร่วมกันสร้างเครื่องมือการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา ร่วมกันจัดทำ ร า ย ง า น ผลการประเม ิ น แ ล ะ 2 วางแผนการประเมินผล และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 5 - - 3 สร้างเครื่องมือการประเมินผล และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา - 5 - 4 ดำเนินงานการประเมินผล และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา - 5 -


๑๒ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 5 จัดทำรายงานผลการประเมินและ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา - 5 - ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 5. การติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 1 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการติดตาม ผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา - 5 - -สถานศึกษาควรแต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ สถานศึกษาตามแบบที่ถูกต้อง และ ครอบคลุม ชัดเจน - ควรมีการประชุมวางแผนติดตามผล การดำเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา บุคลากรควรร่วมกัน ออกแบบ สร้าง เครื่องมือติดตามผลการดำเนินงานเพื่อ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา คณะกรรมการ ร่วมกันรวบรวมและสรุปข้อมูลการ ติดตามผลการดำเนินงาน ร่วมกันจัดทำ รายงานผลการดำเนินงาน และพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมารตฐาน การศึกษาต่อไป 2 วางแผนติดตามผลการดำเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา - 5 - 3 สร้างและใช้เครื่องมือติดตามผล การดำเนินงานเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา - 5 - 4 รวบรวมและสรุปข้อมูลการติดตาม ผลการดำเนินงาน - 5 - 5 รายงานผลการดำเนินงานเพื่อ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา - 5 - 6. การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) 1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงาน ผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา 5 - - - สถานศึกษานำผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา (SAR) นำมา วิเคราะห์เป็นข้อมูลในการพัฒนาในปี 2 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ และข้อมูล การศึกษาถัดไป อื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการจัดทำ รายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา 5 - - 3 สรุปข้อมูลและจัดทำรายงานผล การประเมินตนเองของสถานศึกษา 5 - - 4 นำรายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาเสนอคณะกรรมการ บริหารโรงเรียนพิจารณาให้ความ เห็นชอบ 5 - - 5 ส่งรายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่ ต่อสาธารณชน 5 - -


๑๓ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 7. การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 1 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่ได้จาก การประเมินจากแหล่งต่าง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษามา พัฒนาคุณภาพการศึกษา 5 - - - สถานศึกษานำข้อมูลสารสนเทศที่ ได้จากการประเมินจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มาพัฒนาคุณภาพการศึกษา นำมา วางแผนใช้ข้อมูลสารสนเทศโดย กำหนดรูปแบบแนวทาง และแบบ แผนไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษานำผลที่ได้จากการปฏิบัติไป ใช้สะท้อนกลับ และมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วยการจัดการความรู้ (KM) หรือจัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ฯลฯ เพื่อการพัฒนาการศึกษา อย่างต่อเนื่องส่งเสริม และสนับสนุน ให้ครู และบุคลากรในสถานศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจ ให้เกิดความ ตระหนักและเห็นความสำคัญของ งานการประกันคุณภาพการศึกษาที่ เป็นตัวบ่งบอกถึงคุณภาพของ สถานศึกษา คุณภาพครู และคุณภาพ ของผู้เรียน มีการสร้างเครือข่าย และ ให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา อีกทั้งสถานศึกษา ควรมีการเผยแพร่ผลการดำเนินงาน ของสถานศึกษาผ่านช่องทางสื่อ ออนไลน์ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 2 วางแผนใช้ข้อมูลสารสนเทศโดย กำหนดรูปแบบแนวทางและแบบ แผนไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในด้านต่าง ๆ ตามบริบท ของสถานศึกษา 5 - - 3 นำผลที่ได้จากการปฏิบัติไปใช้ สะท้อนกลับ และมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วยการจัดการความรู้ (KM) หรือจัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ฯลฯ เพื่อการพัฒนาการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง 5 - - 4 ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและ บุคลากรในสถานศึกษาเข้าใจ ตระหนักและเห็นความสำคัญของ การประกันคุณภาพการศึกษา 5 - - 5 สร้างเครือข่าย ผู้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา และ เผยแพร่ผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 5 - - 2) การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - ระดับปฐมวัย ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ 5 - - - สถานศึกษาควรจัดหาอุปกรณ์/เครื่อง เล่น/ของเล่นเสริมพัฒนาการเด็กให้ เพียงพอต่อจํานวนเด็กทั้งในร่ม และ


๑๔ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง อารมณ์ได้ 5 - - กลางแจ้ง โดยคํานึงถึงความปลอดภัย เป็นหลัก จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เช่น Art Painting Music เป็นต้น ควร ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมสาธารณะ ประโยชน์ ร่วมกับองค์กรภายนอก และ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทาง วิชาการให้เด็กทุกคนได้มีทักษะการคิด วิเคราะห์วางแผน และแสวงหาความรู้ได้ ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม 3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือ ตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของ สังคม 5 - - 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 5 - - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท ของท้องถิ่น 5 - - - สถานศึกษามีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา และท้องถิ่น จัดหาครูที่มี วุฒิการศึกษา และมีประสบการณ์สอน ระดับปฐมวัย ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้มี โอกาสพัฒนาตนเองทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ มีการปรับปรุงอาคาร สถานที่/ห้องกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็ก แต่ละช่วงวัย และคํานึงถึงความปลอดภัย สูงสุดต่อเด็ก มีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ จัด โครงการ/กิจกรรมเปิดโอกาสให้ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 5 - - 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ ด้านการจัดประสบการณ์ 5 - - 4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพื่อ การเรียนรู้อย่างปลอดภัย และ เพียงพอ 5 - - 5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ 5 - - 6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิด โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี ส่วนร่วม 5 - - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่าง สมดุลเต็มศักยภาพ 5 - - - สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมที่ หลากหลาย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ควรมีการส่งเสริมเข้าร่วมแข่งขันทั้ง ภายใน และภายนอกสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่องจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ วัยเพื่อการพัฒนานาการที่สมวัย ประเมิน พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผล การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ ตรงเล่นและปฏิบัติอย่างมี ความสุข 5 - - 3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัย 5 - -


๑๕ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพ จริงและนำผลการประเมิน พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก 5 - - การจัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก อย่างต่อเนื่อง - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ 5 - - - จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เหมาะสมกับ ช่วงวัยของผู้เรียน มีเวทีให้ผู้เรียนได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความคิดเป็นของ ตนเอง กล้าแสดงออก และสามารถ แก้ปัญหาได้ ผู้เรียนสามารถคิด สรรสร้าง นวัตกรรม เลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับวัย และการสร้างสรรค์ผลงาน มีการ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ผู้เรียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ชีวิต และมีทัศนคติที่ดีต่องานอาชีพ 2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา 5 - - 3 มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม 5 - - 4 มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร 5 - - 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา 5 - - 6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และ เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 5 - - คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1 การมีคุณลักษณะและค่านิยม ที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 5 - - - ส่งเสริมคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ให้เกิดมีความ ภูมิใจในท้องถิ่นกำเนิด และความเป็นไทย มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันในสังคม 2 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและ ความเป็นไทย 5 - -


๑๖ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 3 มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและ หลากหลาย 5 - - บนความแตกต่าง และหลากหลายมีสุข ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 4 มีสุขภาวะทางร่างกายและจิต สังคม 5 - - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธ กิจ ที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน 5 - - - สถานศึกษาควรกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน มีการ บริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ เป็นระบบ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพ ควรจัดภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความ ปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา 5 - - 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย 5 - - 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5 - - 5 จัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ 5 - - 6 จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ 5 - - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ คิด และปฏิบัติจริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชีวิตได้ 5 - - - ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง ที่สามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการดำเนินชีวิต ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียน มีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนให้เป็นระบบ และนำผลการประเมิน มาพัฒนาผู้เรียน ควรมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับกับ ผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ 2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ 5 - - 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวก 5 - - 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผลมา พัฒนาผู้เรียนมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ 5 - -


๑๗ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ 3) นวัตกรรม (Innovation) / แบบอย่างที่ดี (Best Practice) มาตรฐานการศึกษา ชื่อนวัตกรรม (Innovation) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - มาตรฐานการศึกษา ชื่อแบบอย่างที่ดี (Best Practice) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - 4) ความโดดเด่นของสถานศึกษา ความโดดเด่นของสถานศึกษา ได้รับการยอมรับเป็นต้นแบบระดับ (จำนวนโรง) นานาชาติ (C3) ชาติ (C2) ท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - - -


๑๘ 5) การประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่หรือตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน - โรงเรียนที่ได้รับการประเมินแล้ว จำนวน....5....โรง - โรงเรียนที่ยังไม่ได้รับการประเมิน จำนวน..... - ....โรง ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน (จำนวนโรง) สรุปข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน กรณียัง ไม่เคย ได้รับ ประเมิน การเตรียมความพร้อมเพื่อรับ การประเมินคุณภาพภายนอก - - - กรณี ได้รับ การ ประเมิน แล้ว การนำข้อเสนอแนะจาก ผู้ประเมินไปจัดทำแผนเพื่อ ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา - - สถานศึกษาควรการนำข้อเสนอแนะจาก ผู้ประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปปรับปรุง แก้ไข พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาเพื่อการยกระดับคุณภาพ การศึกษา การได้รับการติดตามจาก หน่วยงานต้นสังกัด หรือ หน่วยงานที่กำกับดูแล - - การได้รับการติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลตลอดปีการศึกษา 2. ผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล โรงเรียนในโครงการ 2.1 โครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 มีผลการนิเทศ ดังนี้ ได้เข้านิเทศติดตาม ฯ สถานศึกษาต้นแบบด้านการนิเทศ ด้วยกระบวนการสร้าง ชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน (PLC) และสื่อสารให้มีความเข้าใจตรงกันสามารถถอดบทเรียน สกัดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการนิเทศ เยี่ยมชั้นเรียนและมีการโค้ชครูอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ครูได้จัดทำสื่อการ เรียนการสอนที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑


๑๙ บทที่ 4 สรุปผลการนิเทศ 1. สรุปผลการนิเทศ 1.1 โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จำนวน 5 แห่ง สรุปผล การนิเทศตามขอบข่ายการนิเทศ ดังนี้ 1) การจัดการศึกษาปฐมวัย สถานศึกษาดำเนินการ ร้อยละ 100 2) ความปลอดภัยในสถานศึกษาดำเนินการ ร้อยละ 100 3) การนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสถานศึกษา ดำเนินการร้อยละ 75.00 4) การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาดำเนินการ ร้อยละ 100 1.2 โรงเรียนในโครงการ 1.2.1 โรงเรียนในโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) วิจัยนวัตกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 สรุปผลการนิเทศ ดังนี้ 1) โรงเรียน 2 แห่งในโครงการมีการประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการมีการสร้างการรับรู้เกี่ยวกับ การดำเนินงานโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 3) โรงเรียนต้นแบบด้านการนิเทศ ฯ ทั้ง 2 แห่งมีนวัตกรรมการนิเทศติดตามและประเมินผล คิดเป็นร้อยละ 100 8) ครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดนครปฐมที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนา ด้วยการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา ด้วยเทคนิคการโค้ช (Coaching) และ กระบวนการ PLC


๒๐ ภาคผนวก - กำหนดการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - เครื่องมือการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - ภาพประกอบปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผล


๒๑ กำหนดการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) วัน เดือน ปี สถานศึกษาที่นิเทศ ผู้นิเทศ 09.00 – 12.00 น. 13.00 – 16.00 น. อำเภอเมืองนครปฐม จำนวน 14 แห่ง 13 มิ.ย. 66 อนุบาลสุธีธร บอสโกพิทักษ์ ศน.ไชยากาล เพชรชัด 15 มิ.ย. 66 การดีวิทยา หอเอกวิทยา 16 มิ.ย. 66 อนุบาลเสริมปัญญา อนุบาลจันทร์สว่างกูล 20 มิ.ย. 66 สารสาสน์วิเทศนครปฐม สัมมาสิกขาปฐมอโศก เอกจิตรานุสรณ์ 22 มิ.ย. 66 บำรุงวิทยา/สว่างวิทยา อนุบาลเพ็ญศิริ 23 มิ.ย. 66 อำนวยวิทย์นครปฐม อนุบาลไผทวิทยา อำเภอกำแพงแสน จำนวน 2 แห่ง 31 พ.ค. 66 อนุบาลณัฐกฤตา - 1. ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 14 มิ.ย. 66 เด็กสายรุ้ง - 2. ศน.จุรีพร แจ้งธรรมมา อำเภอดอนตูม จำนวน 2 แห่ง 31 พ.ค. 66 - สหบำรุงวิทยา 1. ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 14 มิ.ย. 66 - ราษฎร์บำรุงวิทยา 2. ศน.จุรีพร แจ้งธรรมมา อำเภอนครชัยศรี จำนวน 6 แห่ง 30 พ..ค. 66 เดชอนุสรณ์ เม่งฮั้วกงฮัก ศน.บงกชษกรณ์ ศิริถาวร 31 พ..ค. 66 สาธิตวิทยา แสงทองวิทยา 1 มิ.ย. 66 พรรณวดีวิทยา - อำเภอสามพราน จำนวน 14 แห่ง 2 มิ.ย. 66 เบญญาพัฒน์ สกลวิทยา ศน.จิรประวัติ ศรีวัฒนทรัพย์ 6 มิ.ย. 66 สุคนธีรวิทย์ นาคประสิทธิ์ 7 มิ.ย. 66 อนุบาลหมู่บ้านเด็กสานรัก กันตวิชญ์ 8 มิ.ย. 66 เซนต์อัลฟอนโซ ยุวธัช ไร่ขิง/ ยุวธัช พุทธมณฑล 5 9 มิ.ย. 66 วัฒนารักษ์ เอกดรุณ 12 มิ.ย. 66 มารีย์อุปถัมภ์ ยอแซฟอุปถัมภ์ 13 มิ.ย. 66 นักบุญเปโตร - อำเภอบางเลน จำนวน 3 แห่ง 8 มิ.ย. 66 เจี้ยนหัว อนุบาลแสงอรุณ 1. ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 15 มิ.ย. 66 เซนต์แอนดรูว์ - 2. ศน.จุรีพร แจ้งธรรมมา อำเภอพุทธมณฑล จำนวน 3 แห่ง 9 มิ.ย. 66 อนุบาลเอื้อเพชร ธรรมรักษา 1. ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 15 มิ.ย. 66 - อนุบาลพรละมัย 2. ศน.จุรีพร แจ้งธรรมมา


๒๒ กำหนดการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล โรงเรียนในโครงการ Innovation For Thai Educations (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2566 ด้านการจัดการเรียนรู้ (นิเทศเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการจัดการเรียนรู้) โรงเรียน วัน เดือน ปี ที่นิเทศ คณะนิเทศ 1. โรงเรียนวัดตะโกสูง 11 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.ดร.มารุต พัฒผล ผศ.ดร.จำรัส อินทลาภาพร Supervisor Teams 1. นายเกษมสันต์ มีจันทร์ 2. นางสาวนิภารัตน์ เชื้อชาย 3. นายรัตนชัย เอี่ยมพิทักษ์พร 4. นางสาวจุรีพร แจ้งธรรมมา 2. โรงเรียนวัดบางปลา 11 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.) 3. โรงเรียนเทศบาล 4 (เชาวนปรีชาอุทิศ) 24 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.ดร.มารุต พัฒผล ผศ.ดร.จำรัส อินทลาภาพร Supervisor Teams 1. นางจันทรพิมพ์ รัตนเดช กำจาย 2. นางสาววชิราพรรณ์ พรหม ฤทธิ์ 3. นางสาวดวงเดือน รื่นนาค 4. นางนวลรัตน์ กุลจิตติรัตน์ 5. นางสาวจุรีพร แจ้งธรรมมา 4. โรงเรียนราษฎร์บำรุงวิทยา 24 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.) 5. โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพระงาม 13 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ผศ.ดร.ศิริวรรณ วณิชวัฒนวร ชัย อ.ดร.สุวิมล สพฤกษ์ศรี Supervisor Teams 1. นางสาวอำพรรณ น้อยนารถ 2. นางสาลิณี ธวัฒน์อธิชัย 3. นางอุบล สุรสาคร 4. นางสาวมณีรัตน์ รูปคมสัน 5. นายไชยากาล เพชรชัด 6. โรงเรียนวัดห้วยตะโก 13 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.)


๒๓ ด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล (นิเทศการนำเสนองานผลการดำเนินงานพัฒนานวัตกรรมด้านการนิเทศ) โรงเรียน วัน เดือน ปี ที่นิเทศ คณะนิเทศ 1. โรงเรียนวัดหนองศาลา 13 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ผศ.ดร.มาเรียม นิลพันธ์ รศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน Supervisor Teams 1. นางสินีนาฎ จันทวาท 2. นางพัตรา เมฆประยูร 3. นายธวัฒน์ ประภาวิทย์ 4. นางสาวบงกชษกรณ์ ศิริถาวร 5. นายจิรประวัติ ศรีวัฒนทรัพย์ 2. โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา 13 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.) 3. โรงเรียนวัดงิ้วราย 11 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ดร.มณกาญจน์ ทองใย Supervisor Teams 1. นางสาวฐิดาภรณ์ เพ็งหนู 2. นายสมพงษ์ ปัญญาจิรวุฒิ 3. นายอเนก อัคคีเดช 4. นางลภัสรดา ทิพย์แก้ว 5. นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 4. โรงเรียนวัดไทยาวาส 11 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.) ด้านการบริหารจัดการ (นิเทศการนำเสนองานผลการดำเนินงานพัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ) โรงเรียน วัน เดือน ปี ที่นิเทศ คณะนิเทศ 1. บ้านดอนซาก 24 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ดร.มณกาญจน์ ทองใย Supervisor Teams 1. นางสาวฐิดาภรณ์ เพ็งหนู 2. นายสมพงษ์ ปัญญาจิรวุฒิ 3. นายอเนก อัคคีเดช 4. นางลภัสรดา ทิพย์แก้ว 5. นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ 2. โรงเรียนวัดรางกำหยาด 24 กรกฎาคม 2566 (ช่วงบ่าย 13.00 น.-16.30 น.) 3. โรงเรียนวัดห้วยจรเข้วิทยาคม 24 กรกฎาคม 2566 (ช่วงเช้า 0.900 น.-12.00 น.) ผู้ทรงคุณวุฒิ นางทองเจือ เอี่ยมธนานุรักษ์ ผศ.ดร.อุบลวรรณ ส่งเสริม นายอรรฐพนธ์ ศรีโพธิ์ Supervisor Teams 1. นางนิรมล วิบูลมงคล 2. นางศศิธร ศรีพรหม 3. นายยุทธนา หิรัญ 4. นายไชยากาล เพชรชัด


๒๔ แบบนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ********************************************************** คำชี้แจง พิจารณารายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล แล้วใส่เครื่องหมาย P ในช่องการปฏิบัติ พร้อมทั้ง บันทึกข้อมูลนิเทศเพิ่มเติม ชื่อสถานศึกษา.................................................................... วัน/เดือน/ปี ที่นิเทศ............................................. ผู้รับการนิเทศ ได้แก่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนที่ 1 การจัดการศึกษาปฐมวัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติ บันทึกนิเทศเพิ่มเติม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 1. โรงเรียนจัดการความปลอดภัยของพื้นที่เล่น/ สนามเด็กเล่น และสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร 2. โรงเรียนจัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคล ทั้งภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 3. โรงเรียนมีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วย เบื้องต้น 4. โรงเรียนจัดให้มีพื้นที่/มุมประสบการณ์ และ แหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน 5. โรงเรียนจัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ที่แปรงฟัน ที่ล้างมือ ให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภัย และเหมาะสม กับการใช้งานของเด็ก ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย 6. ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่าง บูรณาการตามธรรมชาติของเด็กที่เรียนรู้ด้วยประสาท สัมผัส ลงมือทำ ปฏิสัมพันธ์ และการเล่น 7. ครูจัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะการดูภาพ ฟัง เรื่องราว พูด เล่า อ่าน วาด/ เขียน เบื้องต้น ตามลำดับพัฒนาการ โดยครู/ผู้ดูแล เด็กเป็นตัวอย่างของการพูด และการอ่านที่ถูกต้อง


๒๕ รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติ บันทึกนิเทศเพิ่มเติม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 8. ครูจัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เบื้องต้นตามวัย โดยเด็กเรียนรู้ผ่าน ประสาทสัมผัส และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 9. ครูเฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคล เป็น ระยะ เพื่อใช้ผลในการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กทุกคนให้ เต็มตามศักยภาพ 10. ครูตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวัน ความ สะอาดของร่างกายฟันและช่องปาก เพื่อคัดกรองโรค และการบาดเจ็บ คุณภาพของเด็กปฐมวัย 11. เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึกเป็นรายบุคคล 12. เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ สามารถเคลื่อนไหวและทรงตัวได้ตามวัย 13. เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้ง ชั่งใจ ทำตามข้อตกลง คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น มี กาลเทศะ ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้สมวัย 14. เด็กสามารถฟัง พูด จับใจความ เล่า สนทนา และ สื่อสารได้สมวัย 15. เด็กสามารถเล่น และทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นกลุ่ม เป็นได้ทั้งผู้นำและผู้ตาม แก้ไข ข้อขัดแย้งอย่าง สร้างสรรค์ จุดเด่น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. จุดที่ควรพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


๒๖ ตอนที่ 2 ความปลอดภัยในสถานศึกษา รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติ บันทึกนิเทศเพิ่มเติม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 1. มีการจัดครูเวรดูแลหน้าประตูโรงเรียนช่วงเช้าและเย็น 2. มีการควบคุมดูแลการใช้รถโรงเรียน และกำหนดพื้นที่ จอดรถ จุดรับ-ส่งนักเรียนให้มีความปลอดภัย 3. มีการตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบของอาคาร ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ตลอดจนอุปกรณ์ที่ติดตั้งใน ส่วนต่างๆ ของอาคาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานอย่าง ปลอดภัย 4. มีการจัดรายการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าครบถ้วนตาม หลักโภชนาการและเพียงพอ 5. งดจำหน่ายหรือปรุงอาหาร ขนมและเครื่องดื่มที่มี ส่วนผสมของสารเสพติด รวมทั้งสมุนไพรควบคุม(กัญชา) 6. มีห้องพยาบาลและเวชภัณฑ์ยาที่ไม่หมดอายุของยา 7. มีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่น ละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ของกระทรวงศึกษาธิการ และ คู่มือแนวทางลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่น ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ของกรมอนามัย 8. มีการเฝ้าระวังและปฏิบัติตามมาตรการ 6 – 6 – 7 ของกระทรวงสาธารณสุข อย่างเคร่งครัด ในการป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 9. มีการเฝ้าระวังนักเรียนจากโรคลมแดด หรือฮีทสโตรก (Heatstroke) หลีกเลี่ยงการอยู่กลางแดดหรือจัดกิจกรรม ในสภาพอากาศร้อน จุดเด่น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. จุดที่ควรพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


๒๗ ตอนที่ 3 การนำผลการทดสอบ RT NT O-NET ไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติ บันทึกนิเทศเพิ่มเติม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 1. สถานศึกษามีการประชุมครูเพื่อวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ผลการทดสอบ RT NT O-NET ปีการศึกษา 2565 2. สถานศึกษากำหนดเป้าหมายและแนวทางในการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ RT NT O-NET โดยใช้ผลการ วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย 3. ครูมีสารสนเทศการวิเคราะห์ผลการทดสอบ RT NT O-NET และนำมาใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ในวิชา ที่สอน 4. ครูมีสื่อ นวัตกรรมแก้ปัญหานักเรียนเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5. สถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. สถานศึกษามีระบบนิเทศภายในเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ที่ชัดเจน จุดเด่น ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. จุดที่ควรพัฒนา ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...........................................................ผู้นิเทศ (........................................................) ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ศธจ.นครปฐม วันที่..........เดือน........................พ.ศ............


๒๘ แบบนิเทศติดตามเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเอกชน คำชี้แจง แบบนิเทศติดตามเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเอกชน จัดทำขึ้นเพื่อ ใช้ในการนิเทศติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเอกชน แบบนิเทศติดตามชุด นี้แบ่งออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ตอนที่ 2 การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2.1 การดำเนินงานตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 2.2 การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตอนที่ 3 นวัตกรรม (Innovation) / แบบอย่างที่ดี (Best Practice) ตอนที่ 4 ความโดดเด่นของสถานศึกษา ตอนที่ 5 การประเมินคุณภาพภายนอก ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน (ให้บันทึกข้อมูลของปีการศึกษาปัจจุบัน) 1. ชื่อโรงเรียน......................................................................................................................... 2. ที่ตั้ง .................................................................................................................................................... โทรศัพท์........................................โทรสาร............................E-mail………….………………............ 3. ระดับที่เปิดสอน ระดับ.....................................................ถึงระดับ.............................................. 4. ขนาดโรงเรียน ขนาดเล็ก (นักเรียนน้อยกว่า 301 คน) ขนาดกลาง (นักเรียนตั้งแต่ 301 - 1,000 คน) ขนาดใหญ่ (นักเรียนตั้งแต่ 1,001 - 2,000 คน) ขนาดใหญ่พิเศษ (นักเรียนตั้งแต่ 2,001 คนขึ้นไป) 5. จำนวนนักเรียน รวม.......................คน 5.1 ระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน.......................คน 5.2 ระดับประถมศึกษา จำนวน.......................คน 5.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน.......................คน 5.4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน.......................คน 6. จำนวนผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวม.......................คน


๒๙ ตอนที่ 2 การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 1. การดำเนินงานตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2561 1) ประเด็นการนิเทศติดตามที่ 1 - 5 ใช้ข้อมูลปีการศึกษาปัจจุบันหรือพิจารณาตาม ช่วงเวลาเข้านิเทศติดตามที่สัมพันธ์กับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาใน สถานศึกษา 2) ประเด็นการนิเทศติดตามที่ 6 - 7 ใช้ข้อมูลปีการศึกษาที่ผ่านมาหรือพิจารณาตาม ช่วงเวลาเข้านิเทศติดตามที่สัมพันธ์กับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาใน สถานศึกษา ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา 1 แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน(ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู บุคลากร คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนและผู้ที่ เกี่ยวข้อง) 2 นำข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ และสรุปเป็นเป้าหมาย ของสถานศึกษา 3 กำหนดมาตรฐาน การศึกษาเป้าหมาย และค่าเป้าหมายของ สถานศึกษา 4 นำมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่า เป้าหมายเสนอ คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนให้ความ เห็นชอบ 5 ประกาศมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมาย ให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกทราบ 2. การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา


๓๐ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 1 แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ แผนพัฒนาการจัด การศึกษาของ สถานศึกษา 2 รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับสภาพภายใน และภายนอกของ สถานศึกษา 3 จัดทำแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของ สถานศึกษาโดยกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 4 กำหนดแผนการ ดำเนินงาน งบประมาณ วิธีการนำแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาสู่การปฏิบัติ โครงการ กิจกรรม 5 นำเสนอแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาให้ คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนให้ความ เห็นชอบ 3. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1 วิเคราะห์แผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของ สถานศึกษาเพื่อจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี 2 กำหนดปฏิทินการ ดำเนินงาน ตาม แผนปฏิบัติการประจำปี 3 ผู้รับผิดชอบและ ผู้เกี่ยวข้อง


๓๑ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน ทุกฝ่ายปฏิบัติตามปฏิทิน การดำเนินงาน 4 กำกับ ติดตามและ ประเมินผล การดำเนินงาน 5 รายงานผลการ ดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจำปี 4. การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 1 แต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของ สถานศึกษา 2 วางแผนการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศึกษา 3 สร้างเครื่องมือการ ประเมินผลและ ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศึกษา 4 ดำเนินงานการ ประเมินผลและ ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศึกษา 5 จัดทำรายงานผลการ ประเมินและตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 5. การติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 1 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ การติดตามผลการ ดำเนินงานเพื่อพัฒนา


๓๒ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน สถานศึกษาให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา 2 วางแผนติดตามผล การดำเนินการเพื่อ พัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา 3 สร้างและใช้เครื่องมือ ติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา 4 รวบรวมและสรุปข้อมูล การติดตามผลการ ดำเนินงาน 5 รายงานผลการ ดำเนินงานเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา 6. การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) 1 แต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำรายงานผลการ ประเมินตนเองของ สถานศึกษา 2 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ใน การจัดทำ รายงานผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา 3 สรุปข้อมูลและจัดทำ รายงานผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา 4 นำรายงานผลการ ประเมินตนเองของ สถานศึกษาเสนอ


๓๓ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนพิจารณาให้ ความเห็นชอบ 5 ส่งรายงานผลการ ประเมินตนเองของ สถานศึกษาต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด หรือหน่วยงาน ที่กำกับดูแล หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน 7. การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 1 รวบรวมข้อมูล สารสนเทศที่ได้จาก การประเมินจากแหล่ง ต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษามา พัฒนาคุณภาพการศึกษา 2 วางแผนใช้ข้อมูล สารสนเทศโดยกำหนด รูปแบบแนวทางและ แบบแผนไปใช้ใน การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในด้านต่าง ๆ ตามบริบท ของสถานศึกษา 3 นำผลที่ได้จากการปฏิบัติ ไปใช้สะท้อนกลับ และมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยการจัดการความรู้ (KM) หรือจัดชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ฯลฯ เพื่อการพัฒนา การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 4 ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาเข้าใจ


๓๔ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ร่องรอย หลักฐาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน ตระหนักและเห็น ความสำคัญของการ ประกันคุณภาพ การศึกษา 5 สร้างเครือข่าย ผู้มีส่วน ร่วมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา และ เผยแพร่ผลการ ดำเนินงานของ สถานศึกษาผ่านช่องทาง ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 2. การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.1 ระดับปฐมวัย ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ดำเนินงาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ 2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง อารมณ์ได้ 3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็น สมาชิกที่ดีของสังคม 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 1 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. .............................................................................................................................................................. .


๓๕ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ดำเนินงาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท ของท้องถิ่น 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ ด้านการจัดประสบการณ์ 4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อ การเรียนรู้อย่างปลอดภัย และ เพียงพอ 5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ 6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิด โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี ส่วนร่วม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 2 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่าง สมดุลเต็มศักยภาพ 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรง เล่นและ ปฏิบัติอย่างมีความสุข 3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตาม สภาพจริงและนำผลการประเมิน พัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการ จัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก


๓๖ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ดำเนินงาน ไม่ดำเนินงาน จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 3 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. 2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1 มีความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสารและการคิด คำนวณ 2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา 3 มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม 4 มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา 6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจต คติที่ดีต่องานอาชีพ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด 2 มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย


๓๗ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 3 มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บน ความแตกต่างและหลากหลาย 4 มีสุขภาวะทางร่างกายและจิต สังคม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 1 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธ กิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุ กลุ่มเป้าหมาย 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 2 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวน การ คิด และปฏิบัติจริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชีวิตได้


๓๘ ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ดำเนินงาน อยู่ระหว่าง ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน 2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิง บวก 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ จุดเน้นและกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 3 ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ตอนที่ 3 นวัตกรรม (Innovation) /แบบอย่างที่ดี (Best Practice) มาตรฐานการศึกษา ชื่อนวัตกรรม (Innovation) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น สำคัญ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานการศึกษา ชื่อแบบอย่างที่ดี (Best Practice) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น สำคัญ


๓๙ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอนที่ 4 ความโดดเด่นของสถานศึกษา ตอนที่ 5 การประเมินคุณภาพภายนอก 1. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุด (เลือกเพียง 1 รอบเท่านั้น) รอบสี่ (พ.ศ. 2559 - 2563) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ. ....................... o ปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 ระดับคุณภาพ.................................... มาตรฐานที่ 2 ระดับคุณภาพ.................................... มาตรฐานที่ 3 ระดับคุณภาพ.................................... o ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 ระดับคุณภาพ.............................. มาตรฐานที่ 2 ระดับคุณภาพ............................... มาตรฐานที่ 3 ระดับคุณภาพ................................ การประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19 วันที่......เดือน............พ.ศ. ........ ระยะที่ 1 ประเมินจากการวิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระยะที่ 2 การตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลของสถานศึกษาด้วย ระบบวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ o ปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 ระดับคุณภาพ.................................... มาตรฐานที่ 2 ระดับคุณภาพ.................................... มาตรฐานที่ 3 ระดับคุณภาพ.................................... o ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 ระดับคุณภาพ.............................. มาตรฐานที่ 2 ระดับคุณภาพ............................... มาตรฐานที่ 3 ระดับคุณภาพ................................. ยังไม่เคยได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก เนื่องจาก............................................................ ความโดดเด่นของสถานศึกษา ได้รับการยอมรับเป็นต้นแบบระดับ นานาชาติ (C3) ชาติ (C2) ท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1)


๔๐ 2. การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุด ประเด็นการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ ดำเนินงาน ไม่ ดำเนินงาน กรณียังไม่ เคยได้รับ ประเมิน การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก กรณีได้รับ การประเมิน แล้ว การนำข้อเสนอแนะจาก ผู้ประเมินไปจัดทำแผนเพื่อปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา การได้รับการติดตามจากหน่วยงาน ต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแล ลงชื่อ.....................................................ผู้นิเทศติดตาม ลงชื่อ...................................................ผู้นิเทศ ติดตาม (...........................................................) (...........................................................) ดำเนินการนิเทศติดตาม วันที่………......เดือน................................พ.ศ. .....................


๔๑ แบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 …………………………………………………… คำชี้แจง แบบติดตามนี้ใช้ในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการของ สถานศึกษา ******************************* ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อสถานศึกษา.......................................................................... สังกัด....................................................... เปิดทำการสอนในระดับชั้น ............................................. ถึงระดับชั้น .............................................. จำนวนนักเรียนทั้งหมด............. คน ชาย................คน หญิง................... คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวนครูทั้งหมด .............................................. คน ชาย............... คน หญิง................... คน จำนวนบุคลากรทางการศึกษาทั้งหมด ............... คน ชาย............... คน หญิง................... คน ตอนที่ 2 การติดตามผลที่เกิดกับการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 3 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1) สถานศึกษามีการประชุมชี้แจงการดำเนินการโครงการ มี .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไม่มี เนื่องจาก ................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 2) สถานศึกษามีการสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการฯ มี .................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ไม่มี เนื่องจาก ................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 3) สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการ ชื่อนวัตกรรม............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไม่มี เนื่องจาก ................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 4) สถานศึกษามีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ชื่อนวัตกรรม................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. . ไม่มีเนื่องจาก ................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


๔๒ 5) สถานศึกษามีนวัตกรรมด้านการนิเทศ ชื่อนวัตกรรม.................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไม่มี เนื่องจาก ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . บันทึกเพิ่มเติม / จุดเด่น / ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................... (...................................................) ผู้นิเทศ


๔๓ คำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ที่ 463 / ๒๕๖5 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และ สนับสนุนการตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ 2566 ........................................................ ตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาใน ภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 กำหนดบทบาทภารกิจของสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดว่า (๗) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนว การศึกษา ทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้งติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา และระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ขอ ๒๔ กําหนดวา การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับจังหวัดเปนการติด ตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา และการนิเทศการศึกษาที่อยูในจังหวัดนั้น ๆ ตามภารกิจของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดดําเนินการ ดังนี้(๑) กําหนดแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของหนวยงานการศึกษาในระดับจังหวัด (4) รวบรวม ศึกษา วิ เคราะห สังเคราะห ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ของหนวยงานการศึกษาใน สังกัดและจัดทํารายงานเสนอ ตอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และสํานักงานศึกษาธิการภาค เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาในจังหวัด นครปฐม ตามบทบาทและภารกิจตามกฎหมายข้างต้น สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ ที่ปรึกษา ๑. นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 2. นางทองเจือ เอี่ยมธนานุรักษ์ รองศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม คณะกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมินผล คณะศึกษานิเทศก์ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาในอำเภอที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. นางกุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิตำแหน่ง ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล - ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา ในอำเภอกำแพงแสน และอำเภอดอนตูม 2. นายไชยากาล เพชรชัด ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ - ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา ในอำเภอเมืองนครปฐม / 3. นางสาว


๔๔ 3. นางสาวบงกชษกรณ์ ศิริถาวร ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ - ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา ในอำเภอนครชัยศรี 4. นางสาวจุรีพร แจ้งธรรมมา ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ - ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา ในอำเภอพุทธมณฑล และอำเภอบางเลน 5. นายจิรประวัติ ศรีวัฒนทรัพย์ ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ - ปฏิบัติหน้าที่นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา ในอำเภอสามพราน หน้าที่ 1. วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ตาม นโยบายกระทรวงศึกษาธิการเพื่อร่วมจัดทำแผนและเครื่องมือนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 2. นิเทศ ติดตามและประเมินผลเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ สถานศึกษาในอำเภอที่รับผิดชอบ 3. นำผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลมาวิเคราะห์สภาพปัญหาและจัดทำข้อเสนอแนะ รายงานผลการ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖5


๔๕ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้บริหาร/ครูต่อการนิเทศ แบบนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ********************************************************************************* จากการประเมินความความพึงพอใจของผู้บริหาร และครูที่มีต่อการนิเทศของศึกษานิเทศก์ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการตรวจราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม สรุปผล ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน 142 คน 1. เพศ 1.1 ชาย จำนวน 21 คน (ร้อยละ 21.00) 1.2 หญิง จำนวน 79 คน (ร้อยละ 79.00) 2. อายุ 2.1 20 – 30 ปีจำนวน 13 คน (ร้อยละ 13.00) 2.2 31 – 40 ปี จำนวน 24 คน (ร้อยละ 24.00) 2.3 41 – 50 ปี จำนวน 37 คน (ร้อยละ 37.00) 2.4 51 ปี ขึ้นไป จำนวน 26 คน (ร้อยละ 26.00) 3. สถานะ 3.1 ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 23 คน (ร้อยละ 23.00) 3.2 ครู – บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 77 คน (ร้อยละ 77.00) 4. ระดับชั้นที่สอน 4.1 อนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 จำนวน 18 คน (ร้อยละ 18.00) 4.2 ประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 3 จำนวน 22 คน (ร้อยละ 22.00) 4.3 ประถมศึกษาชั้นปีที่ 4 – 6 จำนวน 28 คน (ร้อยละ 28.00) 4.4 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 3 จำนวน 18 คน (ร้อยละ 18.00) 4.5 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 – 6 จำนวน 14 คน (ร้อยละ 14.00)


๔๖ ภาพประกอบ ปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21


๔๗


Click to View FlipBook Version